SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
พันเอก มารวย ส่งทานินทร์
maruays@yahoo.com
7 กุมภาพันธ์ 2559
เกณฑ์ TQA 2559-2560 ถามว่า
 4.2ก(1) การจัดการความรู้ (Knowledge Management) องค์กรมี
วิธีการอย่างไรในการจัดการความรู้ขององค์กร
 รวบรวมและถ่ายทอดความรู้ของบุคลากร
 ผสาน/หาความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ (Big Data) เพื่อสร้างความรู้ใหม่
 ถ่ายทอดความรู้ระหว่างองค์กรกับลูกค้า ผู้ส่งมอบ พันธมิตร และผู้ให้ความร่วมมือ
 รวบรวมและถ่ายทอดความรู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้ในการสร้างนวัตกรรมและกระบวนการ
วางแผนเชิงกลยุทธ์
 4.2ก(2) การเรียนรู้ระดับองค์กร (Organizational Learning) องค์กรมี
วิธีการอย่างไรในการใช้องค์ความรู้และทรัพยากรต่างๆ เพื่อให้การ
เรียนรู้ฝังลึกลงไปในวิถีการปฏิบัติงานขององค์กร
หมายเหตุ 4.2ก(1)
 การผสานและหาความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ
อาจเกี่ยวข้องกับ การจัดการชุดข้อมูลขนาดใหญ่ (Big data) และ
ประเภทข้อมูลและสารสนเทศที่แตกต่างกัน
 ความรู้ขององค์กรที่สร้างขึ้นจากข้อมูลเหล่านี้ ต้องมีการปกป้ อง
จากการนาไปใช้งานด้วยจุดมุ่งหมายอื่น
ข้อสังเกต การจัดการความรู้
 ต้องมุ่งเน้นที่ความรู้ที่บุคลากรต้องใช้ในการปฏิบัติงาน เพื่อการ
ปรับปรุง กระบวนการ ผลิตภัณฑ์ และบริการ (processes,
products, and services) และใช้ นวัตกรรม (innovation) เพื่อเพิ่ม
คุณค่า (value) ให้แก่ลูกค้าและองค์กร
ทรัพย์สินทางความรู้
 หมายถึง ทรัพยากรทางปัญญาที่มีการสั่งสมภายในองค์กร โดย
เป็นความรู้ที่ทั้งองค์กรและบุคลากรเก็บรวบรวมในรูปแบบ
สารสนเทศ
 เช่น ซอฟต์แวร์ สิทธิบัตร ฐานข้อมูล เอกสาร นโยบายและแนว
ทางการปฏิบัติ แผนภาพทางเทคนิค นอกจากนี้ สินทรัพย์ทาง
ความรู้ยังมีอยู่ที่ลูกค้า ผู้ส่งมอบ และพันธมิตรด้วย
 เพื่อองค์กรจะได้นาไปใช้ประโยชน์ในการลงทุน ใช้ในการสร้าง
คุณค่าให้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และ ความได้เปรียบเชิงแข่งขัน
การเรียนรู้
 หมายถึง ความรู้หรือทักษะใหม่ ที่ได้รับจากการประเมิน
การศึกษา ประสบการณ์ และนวัตกรรม
 การเรียนรู้ระดับบุคคล ได้มาจากการศึกษา การฝึกอบรม และ
โอกาสในการพัฒนาเพื่อความเจริญก้าวหน้าของแต่ละบุคคล
 การเรียนรู้ระดับองค์กร ได้มาจากการวิจัย วงจรการประเมินและ
การปรับปรุง (PDCA) ความคิดและมุมมองจากบุคลากรและผู้มี
ส่วนได้ส่วนเสีย การแบ่งปันวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (best
practice) และ การจัดระดับเทียบเคียง (benchmarking)
ข้อสังเกต การเรียนรู้ระดับองค์กร
 จากการทา KM ทาให้องค์กรได้ประโยชน์จากสินทรัพย์ทาง
ความรู้ของ บุคลากร ลูกค้า ผู้ส่งมอบ ผู้ให้ความร่วมมือ และ
พันธมิตร ซึ่งร่วมกันขับเคลื่อนให้เกิด การเรียนรู้ระดับองค์กร
(Organizational Learning) และ การสร้างนวัตกรรม (innovation)
 การจัดการความรู้ เป็นตัวผลักดันให้เกิด การเรียนรู้ขององค์กร
การเรียนรู้ระดับองค์กร
 การเรียนรู้ควรเป็น
 ส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงานประจาวัน
 เพื่อการแก้ปัญหาที่ต้นเหตุโดยตรง
 เน้นการสร้างและแบ่งปันองค์ความรู้
 ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมีความหมาย รวมทั้ง การ
สร้างนวัตกรรม (innovation)
การเรียนรู้ระดับองค์กร
 ส่งผลดังนี้
 เพิ่มคุณค่าให้ลูกค้าผ่านผลิตภัณฑ์และการบริการใหม่ (หรือที่
ปรับปรุงใหม่) เป็นการสร้างโอกาสใหม่ ๆ ให้กับธุรกิจ
 ลดความสูญเปล่า และต้นทุนที่เกี่ยวข้อง
 เพิ่มความสามารถในการดาเนินการขององค์กร
 มีความคล่องตัวสูง
การสร้างนวัตกรรม
 หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่สาคัญเพื่อปรับปรุงผลิตภัณฑ์
บริการ แผนงาน กระบวนการ การปฏิบัติการ และรูปแบบทาง
ธุรกิจขององค์กร เพื่อสร้างคุณค่าใหม่ให้แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
 จาเป็นต้องมีสภาพแวดล้อมที่เกื้ อหนุน ในการระบุ โอกาสเชิงกล
ยุทธ์ (strategic opportunities) และ ความกล้าเสี่ยงอย่างฉลาด
(intelligent risks) ที่เป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมการเรียนรู้ของ
องค์กร รวมทั้งบูรณาการนวัตกรรมเข้าไว้ในการปฏิบัติงาน
ประจาวัน
โอกาสเชิงกลยุทธ์
 หมายถึง ภาพอนาคตที่เกิดจากการคิดนอกกรอบ การระดม
สมอง การใช้ประโยชน์จากความบังเอิญ กระบวนการวิจัยและ
สร้างนวัตกรรม การประมาณการอย่างฉีกแนวจากสภาพปัจจุบัน
และแนวทางอื่นๆ เพื่อมองอนาคตที่แตกต่างออกไปจากเดิม
 การเลือกว่าจะดาเนินการตามโอกาสเชิงกลยุทธ์ใด ต้องพิจารณา
ถึง ความเสี่ยงสัมพัทธ์ (Relative Risk) ด้านภาระการเงิน และ
ด้านอื่นๆ จากนั้นจึงตัดสินใจอย่างรอบคอบ (ความกล้าเสี่ยง
อย่างฉลาด – Intelligent Risks)
ความกล้าเสี่ยงอย่างฉลาด
 หมายถึง โอกาสที่จะได้รับประโยชน์มีสูงกว่าโอกาสที่จะเกิดความ
เสียหาย หรือหากไม่นาโอกาสนั้นมาพิจารณาจะบั่นทอนความ
ยั่งยืนขององค์กร
 ความกล้าเสี่ยงอย่างฉลาด องค์กรต้องกล้ายอมรับความล้มเหลว
 องค์กรต้องยอมรับว่า ไม่สามารถคาดหวังให้เกิด นวัตกรรม ได้
หากดาเนินการเฉพาะเรื่องที่มีโอกาสสาเร็จเพียงอย่างเดียว
 องค์กรต้องลงทุนในเรื่องที่มีโอกาสสาเร็จ และในขณะเดียวกัน
ต้องตระหนักถึงความล้มเหลวที่อาจเกิดขึ้นด้วย
การได้คะแนนการเรียนรู้ 90 - 100%
 มีกระบวนการประเมินและปรับปรุงอย่างเป็นระบบโดยใช้ข้อมูล
จริง และมีการเรียนรู้ในระดับองค์กรจากการสร้างนวัตกรรมเป็น
เครื่องมือที่สาคัญในการจัดการทั่วทั้งองค์กร มีการแสดงให้เห็น
อย่างชัดเจนทั่วทั้งองค์กรว่าการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้ นและ
นวัตกรรม มีพื้นฐานจากการวิเคราะห์และการแบ่งปันระดับ
องค์กร
 สรุปคือ PDCA + innovation + sharing = whole organization
การได้คะแนนการเรียนรู้ 70 - 85%
 มีกระบวนการประเมินและปรับปรุงอย่างเป็นระบบโดยใช้ข้อมูล
จริง และมีการเรียนรู้ในระดับองค์กรรวมถึงการสร้างนวัตกรรม
เป็นเครื่องมือที่สาคัญในการจัดการ มีการแสดงให้เห็นอย่าง
ชัดเจนถึงการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น อันเป็นผลจากการวิเคราะห์
และการแบ่งปันระดับองค์กร
 สรุปคือ PDCA + innovations + sharing
การได้คะแนนการเรียนรู้ 50 - 65%
 มีกระบวนการประเมินและปรับปรุงอย่างเป็นระบบโดยใช้ข้อมูล
จริง และมีการเรียนรู้ในระดับองค์กรรวมถึงการสร้างนวัตกรรม
ในบางเรื่อง เพื่อการปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของ
กระบวนการที่สาคัญ
 สรุปคือ PDCA + some innovations
การได้คะแนนการเรียนรู้ 30 - 45%
 แสดงให้เห็นว่าเริ่มมีกระบวนการประเมินและปรับปรุงของ
กระบวนการที่สาคัญ
 สรุปคือ PDCA
การได้คะแนนการเรียนรู้ 10 - 25%
 แสดงให้เห็นว่าเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงจากการตั้งรับปัญหา มา
เป็นแนวคิดในการปรับปรุงทั่ว ๆ ไป
 สรุปคือ beginning
Learn how to learn
(Personal Learning)
Learn how to share
(Knowledge
Management: KM)
Learn how to connect
(Community of
Practice: CoP)
Learn how to innovate
(Innovation)
Organizational Learning Learning Organization
Goals
Advanced
economic
country
Societal well-being
Societal contributions:
environment, social, and economy
Competitive advantages
Improved processes, capabilities, and results
Workforce capability
Knowledge, skills, abilities, and competencies
Country level
Societal level
Organizational Level
Personal Level
 การจัดการความรู้ หมายถึง กระบวนการของการดักจับ การ
พัฒนา การแบ่งปัน และการใช้ความรู้ขององค์กรได้อย่างมี
ประสิทธิผล
 การเรียนรู้ หมายถึง ความรู้หรือทักษะใหม่ ที่ได้รับจากการ
ประเมิน การศึกษา ประสบการณ์ และนวัตกรรม
 การสร้างนวัตกรรม หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่สาคัญเพื่อ
ปรับปรุงผลิตภัณฑ์ บริการ แผนงาน กระบวนการ การปฏิบัติการ
และรูปแบบทางธุรกิจขององค์กร เพื่อสร้างคุณค่าใหม่ให้แก่ผู้มี
ส่วนได้ส่วนเสีย
- Henry Ford
ความรู้ การเรียนรู้ และการสร้างนวัตกรรม Knowledge, learning, and innovation

More Related Content

What's hot

คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ 2018 criteria item commentary
 คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ 2018 criteria item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ 2018 criteria item commentary
คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ 2018 criteria item commentary
maruay songtanin
 
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
Walaiporn Mahamai
 
Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การ
Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การChapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การ
Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การ
wanna2728
 
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การ
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การChapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การ
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การ
wanna2728
 
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
jeabjeabloei
 
KM Project present by Tiparat KU MSIT11
KM Project present by Tiparat KU  MSIT11KM Project present by Tiparat KU  MSIT11
KM Project present by Tiparat KU MSIT11
Amp Tiparat
 

What's hot (20)

ความหลากหลาย Diversity
ความหลากหลาย Diversity ความหลากหลาย Diversity
ความหลากหลาย Diversity
 
การพัฒนาองค์การ (Organization Development:OD)
การพัฒนาองค์การ (Organization Development:OD)การพัฒนาองค์การ (Organization Development:OD)
การพัฒนาองค์การ (Organization Development:OD)
 
พื้นฐานการจัดการความรู้ Basic KM
พื้นฐานการจัดการความรู้ Basic KMพื้นฐานการจัดการความรู้ Basic KM
พื้นฐานการจัดการความรู้ Basic KM
 
คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ 2018 criteria item commentary
 คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ 2018 criteria item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ 2018 criteria item commentary
คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ 2018 criteria item commentary
 
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
 
Learning Organization
Learning OrganizationLearning Organization
Learning Organization
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
523
523523
523
 
สานต่อ คุณธรรม คุณค่า และคุณภาพ สังคม Online - Ha forum gotoknow 2018
 สานต่อ คุณธรรม คุณค่า และคุณภาพ สังคม Online - Ha forum gotoknow 2018  สานต่อ คุณธรรม คุณค่า และคุณภาพ สังคม Online - Ha forum gotoknow 2018
สานต่อ คุณธรรม คุณค่า และคุณภาพ สังคม Online - Ha forum gotoknow 2018
 
จุดบอดกลยุทธ์ Strategy blind spots
จุดบอดกลยุทธ์ Strategy blind spotsจุดบอดกลยุทธ์ Strategy blind spots
จุดบอดกลยุทธ์ Strategy blind spots
 
Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การ
Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การChapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การ
Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การ
 
Strategic management
Strategic managementStrategic management
Strategic management
 
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การ
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การChapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การ
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การ
 
Po
PoPo
Po
 
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
 
Chap2
Chap2Chap2
Chap2
 
ให้เวลากับการคิด A time to think
ให้เวลากับการคิด A time to thinkให้เวลากับการคิด A time to think
ให้เวลากับการคิด A time to think
 
ความรู้เกี่ยวกับนโยบายและแผน
ความรู้เกี่ยวกับนโยบายและแผนความรู้เกี่ยวกับนโยบายและแผน
ความรู้เกี่ยวกับนโยบายและแผน
 
KM Project present by Tiparat KU MSIT11
KM Project present by Tiparat KU  MSIT11KM Project present by Tiparat KU  MSIT11
KM Project present by Tiparat KU MSIT11
 
e-commerce
e-commercee-commerce
e-commerce
 

Viewers also liked

การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า Value chain analysis
การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า Value chain analysis การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า Value chain analysis
การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า Value chain analysis
maruay songtanin
 
การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์ Item integration & expected results
การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์ Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์ Item integration & expected results
การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์ Item integration & expected results
maruay songtanin
 
อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง ตอนที่ 1 - Internet of things part i
อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง ตอนที่ 1 - Internet of things part i อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง ตอนที่ 1 - Internet of things part i
อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง ตอนที่ 1 - Internet of things part i
maruay songtanin
 
ความได้เปรียบจากการสะสม Cumulative advantage
ความได้เปรียบจากการสะสม Cumulative advantage ความได้เปรียบจากการสะสม Cumulative advantage
ความได้เปรียบจากการสะสม Cumulative advantage
maruay songtanin
 
ทำไมองค์กรไม่เรียนรู้ Why organizations don’t learn
ทำไมองค์กรไม่เรียนรู้ Why organizations don’t learn ทำไมองค์กรไม่เรียนรู้ Why organizations don’t learn
ทำไมองค์กรไม่เรียนรู้ Why organizations don’t learn
maruay songtanin
 
เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย Do you hate your boss
เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย Do you hate your boss
เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย Do you hate your boss
maruay songtanin
 
ผู้นำแบบ Blue Ocean - Blue ocean leadership
ผู้นำแบบ Blue Ocean - Blue ocean leadership ผู้นำแบบ Blue Ocean - Blue ocean leadership
ผู้นำแบบ Blue Ocean - Blue ocean leadership
maruay songtanin
 
วิวัฒนาการความคิดการออกแบบ Evolution of design thinking
วิวัฒนาการความคิดการออกแบบ Evolution of design thinking วิวัฒนาการความคิดการออกแบบ Evolution of design thinking
วิวัฒนาการความคิดการออกแบบ Evolution of design thinking
maruay songtanin
 
ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม The truth about blockchain
ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม The truth about blockchain
ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม The truth about blockchain
maruay songtanin
 
การสร้างตราสินค้า Brand building
การสร้างตราสินค้า Brand building การสร้างตราสินค้า Brand building
การสร้างตราสินค้า Brand building
maruay songtanin
 
ขั้นตอนการสัมภาษณ์ Effective interviewing steps
ขั้นตอนการสัมภาษณ์ Effective interviewing steps ขั้นตอนการสัมภาษณ์ Effective interviewing steps
ขั้นตอนการสัมภาษณ์ Effective interviewing steps
maruay songtanin
 
คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ 2016 criteria category and item commentary
คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ 2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ 2016 criteria category and item commentary
คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ 2016 criteria category and item commentary
maruay songtanin
 
เคมีของทีม Team chemistry
เคมีของทีม Team chemistry เคมีของทีม Team chemistry
เคมีของทีม Team chemistry
maruay songtanin
 
การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ Key factors linkage
การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ Key factors linkage การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ Key factors linkage
การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ Key factors linkage
maruay songtanin
 
การสร้างบุคลากรสำหรับอนาคต Building a workforce for the future
การสร้างบุคลากรสำหรับอนาคต Building a workforce for the future การสร้างบุคลากรสำหรับอนาคต Building a workforce for the future
การสร้างบุคลากรสำหรับอนาคต Building a workforce for the future
maruay songtanin
 
สามารถ (Ability) สมรรถนะ (competency)
สามารถ (Ability) สมรรถนะ (competency)สามารถ (Ability) สมรรถนะ (competency)
สามารถ (Ability) สมรรถนะ (competency)
KMUTT
 

Viewers also liked (20)

การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า Value chain analysis
การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า Value chain analysis การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า Value chain analysis
การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า Value chain analysis
 
ค่านิยมและแนวคิดหลัก New core values and concepts
ค่านิยมและแนวคิดหลัก New core values and concepts ค่านิยมและแนวคิดหลัก New core values and concepts
ค่านิยมและแนวคิดหลัก New core values and concepts
 
การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์ Item integration & expected results
การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์ Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์ Item integration & expected results
การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์ Item integration & expected results
 
อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง ตอนที่ 1 - Internet of things part i
อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง ตอนที่ 1 - Internet of things part i อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง ตอนที่ 1 - Internet of things part i
อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง ตอนที่ 1 - Internet of things part i
 
การเขียนรายงาน How to write application report (part 2 of 4)
การเขียนรายงาน How to write application report (part 2 of 4) การเขียนรายงาน How to write application report (part 2 of 4)
การเขียนรายงาน How to write application report (part 2 of 4)
 
ความได้เปรียบจากการสะสม Cumulative advantage
ความได้เปรียบจากการสะสม Cumulative advantage ความได้เปรียบจากการสะสม Cumulative advantage
ความได้เปรียบจากการสะสม Cumulative advantage
 
ทำไมองค์กรไม่เรียนรู้ Why organizations don’t learn
ทำไมองค์กรไม่เรียนรู้ Why organizations don’t learn ทำไมองค์กรไม่เรียนรู้ Why organizations don’t learn
ทำไมองค์กรไม่เรียนรู้ Why organizations don’t learn
 
เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย Do you hate your boss
เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย Do you hate your boss
เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย Do you hate your boss
 
ผู้นำแบบ Blue Ocean - Blue ocean leadership
ผู้นำแบบ Blue Ocean - Blue ocean leadership ผู้นำแบบ Blue Ocean - Blue ocean leadership
ผู้นำแบบ Blue Ocean - Blue ocean leadership
 
วิวัฒนาการความคิดการออกแบบ Evolution of design thinking
วิวัฒนาการความคิดการออกแบบ Evolution of design thinking วิวัฒนาการความคิดการออกแบบ Evolution of design thinking
วิวัฒนาการความคิดการออกแบบ Evolution of design thinking
 
ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม The truth about blockchain
ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม The truth about blockchain
ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม The truth about blockchain
 
การสร้างตราสินค้า Brand building
การสร้างตราสินค้า Brand building การสร้างตราสินค้า Brand building
การสร้างตราสินค้า Brand building
 
ขั้นตอนการสัมภาษณ์ Effective interviewing steps
ขั้นตอนการสัมภาษณ์ Effective interviewing steps ขั้นตอนการสัมภาษณ์ Effective interviewing steps
ขั้นตอนการสัมภาษณ์ Effective interviewing steps
 
แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น 2016 comment guidelines
แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น 2016 comment guidelines แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น 2016 comment guidelines
แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น 2016 comment guidelines
 
คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ 2016 criteria category and item commentary
คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ 2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ 2016 criteria category and item commentary
คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ 2016 criteria category and item commentary
 
เคมีของทีม Team chemistry
เคมีของทีม Team chemistry เคมีของทีม Team chemistry
เคมีของทีม Team chemistry
 
การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ Key factors linkage
การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ Key factors linkage การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ Key factors linkage
การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ Key factors linkage
 
การสร้างบุคลากรสำหรับอนาคต Building a workforce for the future
การสร้างบุคลากรสำหรับอนาคต Building a workforce for the future การสร้างบุคลากรสำหรับอนาคต Building a workforce for the future
การสร้างบุคลากรสำหรับอนาคต Building a workforce for the future
 
10 เหตุผลที่ไม่ต้องพัฒนาคุณภาพ 10 reasons not to do Baldrige
10 เหตุผลที่ไม่ต้องพัฒนาคุณภาพ  10 reasons not to do Baldrige 10 เหตุผลที่ไม่ต้องพัฒนาคุณภาพ  10 reasons not to do Baldrige
10 เหตุผลที่ไม่ต้องพัฒนาคุณภาพ 10 reasons not to do Baldrige
 
สามารถ (Ability) สมรรถนะ (competency)
สามารถ (Ability) สมรรถนะ (competency)สามารถ (Ability) สมรรถนะ (competency)
สามารถ (Ability) สมรรถนะ (competency)
 

Similar to ความรู้ การเรียนรู้ และการสร้างนวัตกรรม Knowledge, learning, and innovation

การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้
uncasanova
 
กลยุทธ์ หรือ ยุทธศาสตร์องค์กร Strategy
กลยุทธ์ หรือ ยุทธศาสตร์องค์กร Strategy  กลยุทธ์ หรือ ยุทธศาสตร์องค์กร Strategy
กลยุทธ์ หรือ ยุทธศาสตร์องค์กร Strategy
maruay songtanin
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
Sawittri Phaisal
 
Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การ
Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การChapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การ
Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การ
wanna2728
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
Phornpen Fuangfoo
 
สาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิดสาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิด
Wareerut Hunter
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
praphol
 
10 กลเม็ดผู้นำ 10 Tips for Effective Leadership.pdf
10 กลเม็ดผู้นำ 10 Tips for Effective Leadership.pdf10 กลเม็ดผู้นำ 10 Tips for Effective Leadership.pdf
10 กลเม็ดผู้นำ 10 Tips for Effective Leadership.pdf
maruay songtanin
 

Similar to ความรู้ การเรียนรู้ และการสร้างนวัตกรรม Knowledge, learning, and innovation (20)

การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้
 
Introduction to Knowledge Management
Introduction to Knowledge ManagementIntroduction to Knowledge Management
Introduction to Knowledge Management
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
 
9789740335603
97897403356039789740335603
9789740335603
 
Km3
Km3Km3
Km3
 
Plans
PlansPlans
Plans
 
กลยุทธ์ หรือ ยุทธศาสตร์องค์กร Strategy
กลยุทธ์ หรือ ยุทธศาสตร์องค์กร Strategy  กลยุทธ์ หรือ ยุทธศาสตร์องค์กร Strategy
กลยุทธ์ หรือ ยุทธศาสตร์องค์กร Strategy
 
Organization Theory
Organization TheoryOrganization Theory
Organization Theory
 
Adapt die ha_620313
Adapt die ha_620313Adapt die ha_620313
Adapt die ha_620313
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การ
Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การChapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การ
Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การ
 
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและแผน
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและแผนความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและแผน
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและแผน
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
Hr and organization innovation@KKU 20140824
Hr and organization innovation@KKU 20140824Hr and organization innovation@KKU 20140824
Hr and organization innovation@KKU 20140824
 
สาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิดสาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิด
 
การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ Strategy implementation
การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ Strategy implementation การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ Strategy implementation
การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ Strategy implementation
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
Tim how to assess the innovation capability
Tim how to assess the innovation capabilityTim how to assess the innovation capability
Tim how to assess the innovation capability
 
10 กลเม็ดผู้นำ 10 Tips for Effective Leadership.pdf
10 กลเม็ดผู้นำ 10 Tips for Effective Leadership.pdf10 กลเม็ดผู้นำ 10 Tips for Effective Leadership.pdf
10 กลเม็ดผู้นำ 10 Tips for Effective Leadership.pdf
 

More from maruay songtanin

300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
 
298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
297 กามวิลาปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
297 กามวิลาปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...297 กามวิลาปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
297 กามวิลาปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
295 อันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
295 อันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx295 อันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
295 อันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
290 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
290 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...290 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
290 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
289 นานาฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
289 นานาฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...289 นานาฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
289 นานาฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
288 มัจฉุททานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
288 มัจฉุททานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...288 มัจฉุททานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
288 มัจฉุททานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 

ความรู้ การเรียนรู้ และการสร้างนวัตกรรม Knowledge, learning, and innovation

  • 2. เกณฑ์ TQA 2559-2560 ถามว่า  4.2ก(1) การจัดการความรู้ (Knowledge Management) องค์กรมี วิธีการอย่างไรในการจัดการความรู้ขององค์กร  รวบรวมและถ่ายทอดความรู้ของบุคลากร  ผสาน/หาความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ (Big Data) เพื่อสร้างความรู้ใหม่  ถ่ายทอดความรู้ระหว่างองค์กรกับลูกค้า ผู้ส่งมอบ พันธมิตร และผู้ให้ความร่วมมือ  รวบรวมและถ่ายทอดความรู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้ในการสร้างนวัตกรรมและกระบวนการ วางแผนเชิงกลยุทธ์  4.2ก(2) การเรียนรู้ระดับองค์กร (Organizational Learning) องค์กรมี วิธีการอย่างไรในการใช้องค์ความรู้และทรัพยากรต่างๆ เพื่อให้การ เรียนรู้ฝังลึกลงไปในวิถีการปฏิบัติงานขององค์กร
  • 3. หมายเหตุ 4.2ก(1)  การผสานและหาความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ อาจเกี่ยวข้องกับ การจัดการชุดข้อมูลขนาดใหญ่ (Big data) และ ประเภทข้อมูลและสารสนเทศที่แตกต่างกัน  ความรู้ขององค์กรที่สร้างขึ้นจากข้อมูลเหล่านี้ ต้องมีการปกป้ อง จากการนาไปใช้งานด้วยจุดมุ่งหมายอื่น
  • 4. ข้อสังเกต การจัดการความรู้  ต้องมุ่งเน้นที่ความรู้ที่บุคลากรต้องใช้ในการปฏิบัติงาน เพื่อการ ปรับปรุง กระบวนการ ผลิตภัณฑ์ และบริการ (processes, products, and services) และใช้ นวัตกรรม (innovation) เพื่อเพิ่ม คุณค่า (value) ให้แก่ลูกค้าและองค์กร
  • 5. ทรัพย์สินทางความรู้  หมายถึง ทรัพยากรทางปัญญาที่มีการสั่งสมภายในองค์กร โดย เป็นความรู้ที่ทั้งองค์กรและบุคลากรเก็บรวบรวมในรูปแบบ สารสนเทศ  เช่น ซอฟต์แวร์ สิทธิบัตร ฐานข้อมูล เอกสาร นโยบายและแนว ทางการปฏิบัติ แผนภาพทางเทคนิค นอกจากนี้ สินทรัพย์ทาง ความรู้ยังมีอยู่ที่ลูกค้า ผู้ส่งมอบ และพันธมิตรด้วย  เพื่อองค์กรจะได้นาไปใช้ประโยชน์ในการลงทุน ใช้ในการสร้าง คุณค่าให้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และ ความได้เปรียบเชิงแข่งขัน
  • 6. การเรียนรู้  หมายถึง ความรู้หรือทักษะใหม่ ที่ได้รับจากการประเมิน การศึกษา ประสบการณ์ และนวัตกรรม  การเรียนรู้ระดับบุคคล ได้มาจากการศึกษา การฝึกอบรม และ โอกาสในการพัฒนาเพื่อความเจริญก้าวหน้าของแต่ละบุคคล  การเรียนรู้ระดับองค์กร ได้มาจากการวิจัย วงจรการประเมินและ การปรับปรุง (PDCA) ความคิดและมุมมองจากบุคลากรและผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย การแบ่งปันวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (best practice) และ การจัดระดับเทียบเคียง (benchmarking)
  • 7. ข้อสังเกต การเรียนรู้ระดับองค์กร  จากการทา KM ทาให้องค์กรได้ประโยชน์จากสินทรัพย์ทาง ความรู้ของ บุคลากร ลูกค้า ผู้ส่งมอบ ผู้ให้ความร่วมมือ และ พันธมิตร ซึ่งร่วมกันขับเคลื่อนให้เกิด การเรียนรู้ระดับองค์กร (Organizational Learning) และ การสร้างนวัตกรรม (innovation)  การจัดการความรู้ เป็นตัวผลักดันให้เกิด การเรียนรู้ขององค์กร
  • 8. การเรียนรู้ระดับองค์กร  การเรียนรู้ควรเป็น  ส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงานประจาวัน  เพื่อการแก้ปัญหาที่ต้นเหตุโดยตรง  เน้นการสร้างและแบ่งปันองค์ความรู้  ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมีความหมาย รวมทั้ง การ สร้างนวัตกรรม (innovation)
  • 9. การเรียนรู้ระดับองค์กร  ส่งผลดังนี้  เพิ่มคุณค่าให้ลูกค้าผ่านผลิตภัณฑ์และการบริการใหม่ (หรือที่ ปรับปรุงใหม่) เป็นการสร้างโอกาสใหม่ ๆ ให้กับธุรกิจ  ลดความสูญเปล่า และต้นทุนที่เกี่ยวข้อง  เพิ่มความสามารถในการดาเนินการขององค์กร  มีความคล่องตัวสูง
  • 10. การสร้างนวัตกรรม  หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่สาคัญเพื่อปรับปรุงผลิตภัณฑ์ บริการ แผนงาน กระบวนการ การปฏิบัติการ และรูปแบบทาง ธุรกิจขององค์กร เพื่อสร้างคุณค่าใหม่ให้แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย  จาเป็นต้องมีสภาพแวดล้อมที่เกื้ อหนุน ในการระบุ โอกาสเชิงกล ยุทธ์ (strategic opportunities) และ ความกล้าเสี่ยงอย่างฉลาด (intelligent risks) ที่เป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมการเรียนรู้ของ องค์กร รวมทั้งบูรณาการนวัตกรรมเข้าไว้ในการปฏิบัติงาน ประจาวัน
  • 11. โอกาสเชิงกลยุทธ์  หมายถึง ภาพอนาคตที่เกิดจากการคิดนอกกรอบ การระดม สมอง การใช้ประโยชน์จากความบังเอิญ กระบวนการวิจัยและ สร้างนวัตกรรม การประมาณการอย่างฉีกแนวจากสภาพปัจจุบัน และแนวทางอื่นๆ เพื่อมองอนาคตที่แตกต่างออกไปจากเดิม  การเลือกว่าจะดาเนินการตามโอกาสเชิงกลยุทธ์ใด ต้องพิจารณา ถึง ความเสี่ยงสัมพัทธ์ (Relative Risk) ด้านภาระการเงิน และ ด้านอื่นๆ จากนั้นจึงตัดสินใจอย่างรอบคอบ (ความกล้าเสี่ยง อย่างฉลาด – Intelligent Risks)
  • 12. ความกล้าเสี่ยงอย่างฉลาด  หมายถึง โอกาสที่จะได้รับประโยชน์มีสูงกว่าโอกาสที่จะเกิดความ เสียหาย หรือหากไม่นาโอกาสนั้นมาพิจารณาจะบั่นทอนความ ยั่งยืนขององค์กร  ความกล้าเสี่ยงอย่างฉลาด องค์กรต้องกล้ายอมรับความล้มเหลว  องค์กรต้องยอมรับว่า ไม่สามารถคาดหวังให้เกิด นวัตกรรม ได้ หากดาเนินการเฉพาะเรื่องที่มีโอกาสสาเร็จเพียงอย่างเดียว  องค์กรต้องลงทุนในเรื่องที่มีโอกาสสาเร็จ และในขณะเดียวกัน ต้องตระหนักถึงความล้มเหลวที่อาจเกิดขึ้นด้วย
  • 13. การได้คะแนนการเรียนรู้ 90 - 100%  มีกระบวนการประเมินและปรับปรุงอย่างเป็นระบบโดยใช้ข้อมูล จริง และมีการเรียนรู้ในระดับองค์กรจากการสร้างนวัตกรรมเป็น เครื่องมือที่สาคัญในการจัดการทั่วทั้งองค์กร มีการแสดงให้เห็น อย่างชัดเจนทั่วทั้งองค์กรว่าการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้ นและ นวัตกรรม มีพื้นฐานจากการวิเคราะห์และการแบ่งปันระดับ องค์กร  สรุปคือ PDCA + innovation + sharing = whole organization
  • 14. การได้คะแนนการเรียนรู้ 70 - 85%  มีกระบวนการประเมินและปรับปรุงอย่างเป็นระบบโดยใช้ข้อมูล จริง และมีการเรียนรู้ในระดับองค์กรรวมถึงการสร้างนวัตกรรม เป็นเครื่องมือที่สาคัญในการจัดการ มีการแสดงให้เห็นอย่าง ชัดเจนถึงการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น อันเป็นผลจากการวิเคราะห์ และการแบ่งปันระดับองค์กร  สรุปคือ PDCA + innovations + sharing
  • 15. การได้คะแนนการเรียนรู้ 50 - 65%  มีกระบวนการประเมินและปรับปรุงอย่างเป็นระบบโดยใช้ข้อมูล จริง และมีการเรียนรู้ในระดับองค์กรรวมถึงการสร้างนวัตกรรม ในบางเรื่อง เพื่อการปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของ กระบวนการที่สาคัญ  สรุปคือ PDCA + some innovations
  • 16. การได้คะแนนการเรียนรู้ 30 - 45%  แสดงให้เห็นว่าเริ่มมีกระบวนการประเมินและปรับปรุงของ กระบวนการที่สาคัญ  สรุปคือ PDCA การได้คะแนนการเรียนรู้ 10 - 25%  แสดงให้เห็นว่าเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงจากการตั้งรับปัญหา มา เป็นแนวคิดในการปรับปรุงทั่ว ๆ ไป  สรุปคือ beginning
  • 17. Learn how to learn (Personal Learning) Learn how to share (Knowledge Management: KM) Learn how to connect (Community of Practice: CoP) Learn how to innovate (Innovation) Organizational Learning Learning Organization
  • 18. Goals Advanced economic country Societal well-being Societal contributions: environment, social, and economy Competitive advantages Improved processes, capabilities, and results Workforce capability Knowledge, skills, abilities, and competencies Country level Societal level Organizational Level Personal Level
  • 19.
  • 20.  การจัดการความรู้ หมายถึง กระบวนการของการดักจับ การ พัฒนา การแบ่งปัน และการใช้ความรู้ขององค์กรได้อย่างมี ประสิทธิผล  การเรียนรู้ หมายถึง ความรู้หรือทักษะใหม่ ที่ได้รับจากการ ประเมิน การศึกษา ประสบการณ์ และนวัตกรรม  การสร้างนวัตกรรม หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่สาคัญเพื่อ ปรับปรุงผลิตภัณฑ์ บริการ แผนงาน กระบวนการ การปฏิบัติการ และรูปแบบทางธุรกิจขององค์กร เพื่อสร้างคุณค่าใหม่ให้แก่ผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย