SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
Download to read offline
พ.อ. มารวย ส่งทานินทร์
12 พฤศจิกายน 2553
Dr. Shigeo Shingo แต่ งขึนในปี ค.ศ. 1958
้
แปลจากภาษาญี่ปน เป็ นภาษาอังกฤษโดย Enna Products Corporation and PCS Inc. ในปี ค.ศ. 2007
ุ่


มาจากภาษาญี่ปุ่น คาว่าไค แปลว่าเปลี่ยนแปลง เซ็น
แปลว่าดี เมื่อแปลรวมกันได้ความหมายคือ การพัฒนา
อย่างต่อเนื่อง หรือการเปลี่ยนแปลงที่ดีข้ ึน







เกิดที่เมือง Saga ประเทศ
ญี่ปุ่น ในปี ค.ศ. 1909
จบการศึกษาจาก Saga
Technical High School ได้รบ
ั
ปริญญาทาง Mechanical
Engineer จาก Yamanashi
Technical College
ได้รบปริญญาดุษฎีบณฑิต
ั
ั
กิตติมศักดิ์จาก Utah State
University
ถึงแก่กรรมในปี ค.ศ. 1990

1.
2.
3.

แต่งตาราไว้กว่า 20 เล่ม และได้รบการแปลเป็ นภาษาอังกฤษ 6 เล่ม
ั
A Study of the Toyota Production System
Revolution in Manufacturing: The SMED System
Zero Quality Control: Source Inspection and the Poka-Yoke System
4. The Sayings of Shigeo Shingo: Key Strategies for Plant
Improvement
5. Non-Stock Production: The Shingo System for Continuous
Improvement
6. The Shingo Production Management System: Improving Process
Functions





Dr. Shigeo Shingo และ Taiichi Ohno ร่วมกันสร้างระบบ TPS
(Toyota Production System) ในการพัฒนากระบวนการผลิต
TPS เน้นการเลื่อนไหลของการผลิตมากกว่าการสร้างผลผลิตให้
มากที่สุดในทุกขั้นตอน
ผลพวงของ TPS ทาให้เกิดกระบวนการพัฒนาอย่างต่อเนื่องคือ
ไคเซ็น ( Kaizen) และลีน (Lean production process)
ซึ่งมีปรัชญาคือ ทันเวลา (Just-in-time philosophy)
1.
2.

3.
4.
5.
6.

มีมาตรฐานของการปฏิบตการ (Standardize an operation)
ั ิ
วัดการปฏิบตการที่เป็ นมาตรฐาน คือวงรอบเวลาการปฏิบตการและ
ั ิ
ั ิ
รายการสิ่งของที่ใช้ (Measure the standardized operation - find
cycle time and amount of in-process inventory)
เปรียบเทียบค่าที่วดได้กบค่าที่ตองการ (Gauge measurements
ั
ั
้
against requirements)
สร้างนวัตกรรมเพื่อทาให้ได้ตามที่ตองการและเพิ่มผลผลิต
้
(Innovate to meet requirements and increase productivity)
จัดทาเป็ นมาตรฐานใหม่จากการปฏิบตการที่ได้ผล (Standardize the
ั ิ
new, improved operations)
ทาเป็ นวงรอบอย่างต่อเนื่อง (Continue cycle ad infinitum)
1.
2.
3.
4.

5.
6.

หลักการคิดวิเคราะห์ (Principles of Analytical Thinking)
การหาสาเหตุที่แท้จริง (Capturing Problems)
การสร้างความคิดในการพัฒนา (Idea Generation for
Improvement)
วิวฒนาการของการพัฒนา (Evolution of Improvement)
ั
การเปลี่ยนความคิดเป็ นหนทางปฏิบติ (From Ideas to Reality)
ั
การส่งเสริมแนวคิดการพัฒนา (Promoting Improvement Ideas)







คานึงถึงหลักการแบ่ง โดยแบ่งกลุมออกเป็ นทีละคู่ออกไปเรื่อย ๆ
่
มีปัญหาว่าถ้ามีความคลุมเครือไม่ชดเจน จะแบ่งอย่างไร วิธีคือ
ั
สร้างคานิยามให้ชดเจนขึ้น
ั
เพราะวิธีการมองเรืองต่าง ๆ ของคนเรามีความแตกต่างกัน การ
่
แบ่งทีละคู่แบบนี้ทาให้มองเรืองต่าง ๆ ได้ง่ายขึ้น และเห็น
่
ตรงกัน
ถ้าเป็ นเรืองที่เกิดในอดีต ต้องมีระยะเวลากากับตามลาดับด้วย
่
เป็ นการมองตามเป็ นจริง โดยไม่ใช้ความคิดการตัดสินว่าใช่หรือ
ไม่ใช่ ถูกหรือผิด เพื่อบริหารจัดการได้ตอไป
่
Principles of Analytical Thinking






หาปั ญหาให้พบโดยการไม่ยอมรับสิ่งที่เป็ นอยูในปั จจุบนว่าดีแล้ว
่
ั
(ตามความเคยชิน) เพราะทุกสิ่งมีการเปลี่ยนแปลงเมื่อเวลา
เปลี่ยนไป รวมถึงระยะเวลาที่ปัญหาเกิดขึ้นด้วย
พิจารณาให้ถี่ถวน อย่าพึ่งสรุปอะไรง่าย ๆ ต้องระบุปัญหาให้
้
ชัดเจน หาสาเหตุรากเหง้าของปั ญหาที่มี นั ่นคือการตั้งคาถามว่า
who, what, when, where, why, and how และมองให้เห็น
ภาพรวมของทั้งระบบด้วย นั ่นคือเห็นป่ าไม่ได้เห็นแค่ตนไม้
้
การคิดวิเคราะห์ในการแก้ปัญหาคือแบ่งปั ญหาออกเป็ นส่วน ๆ
ศึกษาแต่ละส่วน แล้วประกอบกลับอย่างมีเหตุผล ส่วนวิธีในการ
หาสาเหตุของปั ญหานั้น คือให้ต้งคาถาม เพราะเหตุใด (Why ?)
ั
ไปเรื่อย ๆ จนตอบต่อไปไม่ได้ ก็จะพบสาเหตุที่แท้จริงได้
Capturing Problems





มีหนทางที่หลากหลายที่มุ่งไปสู่ยอดเขา
ดังนั้นการวางแผนการปรับปรุง ขึ้นกับวิธีการพัฒนาความคิด
มีการสร้างความคิดใหม่ ๆ
การเชื่อมโยงสิ่งต่าง ๆ เข้าด้วยกันคือหลักสาคัญที่สุดในการคิด
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
12.

การกาจัด (Eliminate) กระบวนการนี้หรือขั้นตอนนี้ไม่ตองมีได้หรือไม่
้
เปลี่ยนมุมมอง (Perspective) เป็ นมองจากมุมตรงกันข้าม และหาวิธีใหม่ที่ได้ผลดีกว่าเดิม
ดูความเบี่ยงเบน (Deviation) การจัดการกับส่วนย่อยที่มีผลเท่ากันกับจัดการเต็มจานวน
การดัดแปลง (Adaptation) คือการปรับเปลี่ยนสิ่งที่เปลี่ยนได้ให้เข้ากันกับสิ่งที่เปลี่ยนไม่ได้
สัดส่วน (Proportion) การกาหนดขนาดที่พอดี คือถ้าใหญ่ไปก็ทาให้เล็กลง ถ้าเล็กเกินก็ขยาย
ให้ใหญ่ข้ ึน
การกระจาย (Distribution) เป็ นการรวมสิ่งที่เหมือนกันไว้ดวยกัน หรือใช้การแยกสิ่งที่
้
แตกต่างกันออกไป
หน้าที่ (Functionality) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพโดยการดัดแปลงเครื่องมือให้เข้ากับงาน
เศรษฐกิจ (Economy) พยายามลดการเคลื่อนไหวหรือการเคลื่อนที่ของคนหรือสิ่งของ
ทิศทาง (Direction) ดูทิศทางการไหลของงานว่าเป็ นแบบอนุกรม หรือเป็ นแบบขนาน จึงจะ
เหมาะสม
เปลี่ยนลาดับ (Rearrange) เป็ นการเรียงลาดับการทางานใหม่ ที่ได้ผลมากกว่าเดิม
เปรียบเทียบ (Comparison) ดูจากความเหมือนหรือความแตกต่าง
ออกแบบวิธีการทางานใหม่ (Redefine) เพื่อเป็ นการลดระยะเวลารอคอย
Idea Generation for Improvement



มนุษย์มีการวิวฒนาการจากคนถ้าสูวิศวกรได้น้น เครืองมือถือว่า
ั
่
ั
่
เป็ นความก้าวหน้าของมนุษย์
ดังนั้นหลักการในการปรับปรุงเครืองมือเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพมี
่
5 ข้อ
1.

2.
3.

4.
5.

กลไกการทางานกับเครื่องจักรกล (Mechanization and Motorization) เป็ นการศึกษาการ
เคลื่อนที่ของวัสดุให้สอดคล้องไปกับเครื่องจักรกลในสายกระบวนการผลิต เพื่อลดความสูญ
เปล่า
การแบ่งงานกันทา (The Division of Labor) ให้พนักงานทางานหน้าที่เดียว แล้วส่งต่อให้ผอื่น
ู้
ทาส่วนอื่นต่อไป จนกระทั ่งสาเร็จออกมาเป็ นชิ้นงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทางาน
ประโยชน์สูงสุด (Optimization) ศึกษาการทางานของมนุษย์เพื่อประสิทธิภาพ โดยจัดงานที่
เหมาะสมให้เข้ากับความถนัดของแต่ละคน และออกแบบงานให้สอดคล้องกับความสามารถ
ของมนุษย์ทั ่วไปด้วย
ความสอดคล้อง (Synchronization) ในสายการผลิตระหว่างบุคลากรของฝ่ ายต่าง ๆ ที่แบ่ง
หน้าที่กนทางานจะต้องมีการประสานสอดคล้องกัน เพื่อไม่ให้เกิดความล่าช้า
ั
การทางานอัตโนมัติ (Automation) เป็ นการตัดสินโดยเครื่องจักรกล ด้วยกลไกการป้ อนกลับ
ของข้อมูล ทาให้การทางานเป็ นแบบอัตโนมัติ หรือบางกรณีก็ไม่จาเป็ นต้องมีระบบป้ อนข้อมูล
กลับก็ได้ ข้อมูลป้ อนกลับจากเครื่องมีประโยชน์สาหรับผูควบคุมดูแลในการบริหารจัดการ
้
ผลผลิต
The Evolution of Improvement





ให้แยกความคิดเห็นที่เสนอมาออกจากการตัดสินว่าถูกหรือผิด
เพราะการตัดสินเป็ นการปิ ดกั้นความคิดในการพัฒนาเรืองใหม่ ๆ
่
วิธีการฟั นฝ่ าการปิ ดกั้นความคิดคือ การลองผิดลองถูก เป็ นขั้นการ
ทดลองที่มีเหตุผลและมีข้นตอนที่สมเหตุสมผล และไม่ถือว่าเป็ น
ั
ความผิดหากเกิดผิดพลาดขึ้นมา
เราอาจเจอคาคัดค้านซึ่งเป็ นเรืองธรรมชาติของมนุษย์
่
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.

การคัดค้านเพราะเป็ นข้อยกเว้น (Objection Based on Exceptions) เนื่องจากไม่มีขอมูล
้
สนับสนุน
การคัดค้านเพราะความเห็ นส่วนตัว (Nit-picking Objection) โดยยังไม่ได้ศึกษาถึงข้อดี
ข้อเสีย
การคัดค้านโดยการบิดเบือนหน่วยนับ (Unit Manipulation Objection) เพื่อให้ฟังแล้วดูดี
การคัดค้านเพราะได้ขอมูลมาไม่ครบ (Objection Based on Incomplete Evidence) ยัง
้
ศึกษาไม่ครบถ้วน
การคัดค้านโดยไม่เข้ากับบริบท (Out-of-context Objection) ทาให้เกิดการเข้าใจผิด
การคัดค้านเรื่องไก่กบไข่ (Chicken or Egg Objection) เป็ นปั ญหาโลกแตก ไม่มีประโยชน์
ั
้
การคัดค้านแบบติเรือทังโกลน (Tadpole Objection) เป็ นการคาดการณ์แบบเลวร้าย
ล่วงหน้า
การคัดค้านแบบปิ ดหูปิดตา (Crossed-eye Objection) คือขอปฏิเสธไว้ก่อน อ้างโน่นอ้างนี่
การคัดค้านแบบวนเวียน (Rotary Objection) ออกนอกเรืองนอกราว คนละเรื่องราวกัน
่
การคัดค้านไม่ตรงประเด็น (Evasive Objection) ตอบไม่ตรงคาถาม






ในการปฏิบตเมื่อถูกคัดค้านคือ เราต้องไม่เข้าไปเป็ นคู่กรณี
ั ิ
ขัดแย้งโดยตรง
การแสดงออกได้คือ การยอมรับว่าเป็ นความคิดของเขา
การที่ถกคัดค้านเป็ นการแสดงว่า การเสนอความคิดของเรายังไม่
ู
ดีพอ
เมื่อประเมินคาคัดค้านแล้ว สมควรแสดงออกในข้อเสนอแนะ
มากกว่าจะพูดคัดค้านแบบตรง ๆ อีก
เมื่อทาการแก้ไขโดยการให้ขอมูลตามความเป็ นจริงมากขึ้น หรือ
้
ปรับคาพูดใหม่ในเรืองเดียวกัน ส่วนใหญ่จะออกมาดี
่
From Ideas to Reality





การกระตุนให้เกิดความกระตือรือร้นในการเปลี่ยนแปลง เพราะ
้
บุคลากรมักคิดว่าสิ่งที่ทาในปั จจุบนดีอยูแล้ว
ั
่
วิธีหนึ่งคือการนาเสนอแนวคิดที่ยงไม่สมบูรณ์ คือได้คะแนนแค่
ั
ร้อยละ 90 แล้วเปิ ดโอกาสให้บุคคลอื่นมีส่วนร่วมเสนอแนวคิดที่
ทาให้ออกมาได้สมบูรณ์ดวย
้
แต่ความเข้าใจเพียงอย่างเดียวไม่ทาให้เกิดการลงมือ ยกเว้นมี
การชักชวนให้ลงมือปฏิบติ
ั





คุณค่าที่แท้จริงของการเปลี่ยนแปลงนั้นในช่วงแรกของการ
เปลี่ยนแปลง อาจทาให้ผลผลิตลดลง
จะต้องไม่ยอท้อมีความอดทน โดยการให้ความรูความเข้าใจและ
่
้
ชักชวนให้ทา
จนเมื่อบุคลากรมีความมั ่นใจในระบบใหม่แล้ว มีการปฏิบตตาม
ั ิ
แนวทางใหม่ที่วางไว้
ผลผลิตจึงจะได้ผลมากกว่าเดิม
Promoting Improvement Ideas




ไคเซ็น เป็ นวิธีหนึ่งในการแก้ปัญหา โดยแนวคิดว่าสิ่งที่ทาในปั จจุบน
ั
ยังสามารถพัฒนาให้ดข้ ึนกว่าเดิมได้ มีแนวคิดอย่างเป็ นขั้นเป็ นตอน
ี
คือ เริมต้นด้วยการระบุปัญหาอย่างระมัดระวัง มีจุดประสงค์ในการ
่
แก้ปัญหาอย่างรอบคอบ อย่าใช้ความคิดเห็นตัดสินถูกผิดระหว่าง
การระดมความคิด เพราะวิธีแก้ปัญหามีได้หลายหลาก อย่าเพิ่งรีบ
สรุปถึงสาเหตุปัญหาทันที
และมีวิธีการในการนาแนวคิดไปสูวิธีการปฏิบติ นั ่นคือการสอนให้
่
ั
บุคลากรสามารถแก้ปัญหาได้ดวยตนเอง ด้วยการคาถาม และโค้ช
้
บุคลากรด้วยการคิดอย่างเป็ นระบบสร้างสรรค์ 12 ข้อ
A problem (or delay) occurs ask
 Why ?
Describe.
 Why ?
Describe.
 Why ?
Describe.
 Why ?
Describe.
 Why ?
Respond !
Japanese Proverb

More Related Content

Viewers also liked

Operating Management
Operating ManagementOperating Management
Operating Managementtltutortutor
 
Agile66 Virtual Bar Camp: Lean
Agile66 Virtual Bar Camp: LeanAgile66 Virtual Bar Camp: Lean
Agile66 Virtual Bar Camp: LeanKamon Treetampinij
 
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจNapitchaya Jina
 
ประเภทของระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ประเภทของระบบสารสนเทศทางธุรกิจประเภทของระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ประเภทของระบบสารสนเทศทางธุรกิจManow Butnow
 
How Toyota became the world’s best manufacturer
How Toyota became the world’s best manufacturerHow Toyota became the world’s best manufacturer
How Toyota became the world’s best manufacturerglenferry
 
Ru Fm Chapter02 Updated
Ru Fm Chapter02 UpdatedRu Fm Chapter02 Updated
Ru Fm Chapter02 Updatedtltutortutor
 
รายงานการศึกษา ปรัชญา ความเชื่อโตโยต้า
รายงานการศึกษา ปรัชญา ความเชื่อโตโยต้า รายงานการศึกษา ปรัชญา ความเชื่อโตโยต้า
รายงานการศึกษา ปรัชญา ความเชื่อโตโยต้า DrDanai Thienphut
 
The toyota way presentation
The toyota way presentationThe toyota way presentation
The toyota way presentationKewin Nick
 
Toyota information technology management
Toyota information technology managementToyota information technology management
Toyota information technology managementSamruay Pakseeda
 
Lean thinking in healthcare ประสบการณ์ Lean ในระบบสุขภาพ
Lean thinking in healthcare ประสบการณ์ Lean ในระบบสุขภาพLean thinking in healthcare ประสบการณ์ Lean ในระบบสุขภาพ
Lean thinking in healthcare ประสบการณ์ Lean ในระบบสุขภาพmaruay songtanin
 
Lean 5 การแก้ปัญหาด้วยกระดาษ A3
Lean 5 การแก้ปัญหาด้วยกระดาษ A3Lean 5 การแก้ปัญหาด้วยกระดาษ A3
Lean 5 การแก้ปัญหาด้วยกระดาษ A3maruay songtanin
 
Kanban @ Agile Thailand 2012
Kanban @ Agile Thailand 2012Kanban @ Agile Thailand 2012
Kanban @ Agile Thailand 2012Kulawat Wongsaroj
 
Blazey's scoring guidlines
Blazey's scoring guidlinesBlazey's scoring guidlines
Blazey's scoring guidlinesmaruay songtanin
 
Fast track project management ทางด่วนสู่ความสำเร็จ การบริหารโครงการ
Fast track project management ทางด่วนสู่ความสำเร็จ การบริหารโครงการFast track project management ทางด่วนสู่ความสำเร็จ การบริหารโครงการ
Fast track project management ทางด่วนสู่ความสำเร็จ การบริหารโครงการmaruay songtanin
 
Pmk internal assessor 6 แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น
Pmk internal assessor 6 แนวทางการเขียนข้อคิดเห็นPmk internal assessor 6 แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น
Pmk internal assessor 6 แนวทางการเขียนข้อคิดเห็นmaruay songtanin
 
Baldrige criteria 2015 2016 thai
Baldrige criteria 2015 2016 thaiBaldrige criteria 2015 2016 thai
Baldrige criteria 2015 2016 thaimaruay songtanin
 

Viewers also liked (20)

Operating Management
Operating ManagementOperating Management
Operating Management
 
Sipoc model
Sipoc modelSipoc model
Sipoc model
 
Agile66 Virtual Bar Camp: Lean
Agile66 Virtual Bar Camp: LeanAgile66 Virtual Bar Camp: Lean
Agile66 Virtual Bar Camp: Lean
 
happyJit
happyJit happyJit
happyJit
 
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
 
Poka yoke
Poka yokePoka yoke
Poka yoke
 
ประเภทของระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ประเภทของระบบสารสนเทศทางธุรกิจประเภทของระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ประเภทของระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
 
How Toyota became the world’s best manufacturer
How Toyota became the world’s best manufacturerHow Toyota became the world’s best manufacturer
How Toyota became the world’s best manufacturer
 
Ru Fm Chapter02 Updated
Ru Fm Chapter02 UpdatedRu Fm Chapter02 Updated
Ru Fm Chapter02 Updated
 
รายงานการศึกษา ปรัชญา ความเชื่อโตโยต้า
รายงานการศึกษา ปรัชญา ความเชื่อโตโยต้า รายงานการศึกษา ปรัชญา ความเชื่อโตโยต้า
รายงานการศึกษา ปรัชญา ความเชื่อโตโยต้า
 
The toyota way presentation
The toyota way presentationThe toyota way presentation
The toyota way presentation
 
Toyota information technology management
Toyota information technology managementToyota information technology management
Toyota information technology management
 
Lean thinking in healthcare ประสบการณ์ Lean ในระบบสุขภาพ
Lean thinking in healthcare ประสบการณ์ Lean ในระบบสุขภาพLean thinking in healthcare ประสบการณ์ Lean ในระบบสุขภาพ
Lean thinking in healthcare ประสบการณ์ Lean ในระบบสุขภาพ
 
toyota
toyotatoyota
toyota
 
Lean 5 การแก้ปัญหาด้วยกระดาษ A3
Lean 5 การแก้ปัญหาด้วยกระดาษ A3Lean 5 การแก้ปัญหาด้วยกระดาษ A3
Lean 5 การแก้ปัญหาด้วยกระดาษ A3
 
Kanban @ Agile Thailand 2012
Kanban @ Agile Thailand 2012Kanban @ Agile Thailand 2012
Kanban @ Agile Thailand 2012
 
Blazey's scoring guidlines
Blazey's scoring guidlinesBlazey's scoring guidlines
Blazey's scoring guidlines
 
Fast track project management ทางด่วนสู่ความสำเร็จ การบริหารโครงการ
Fast track project management ทางด่วนสู่ความสำเร็จ การบริหารโครงการFast track project management ทางด่วนสู่ความสำเร็จ การบริหารโครงการ
Fast track project management ทางด่วนสู่ความสำเร็จ การบริหารโครงการ
 
Pmk internal assessor 6 แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น
Pmk internal assessor 6 แนวทางการเขียนข้อคิดเห็นPmk internal assessor 6 แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น
Pmk internal assessor 6 แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น
 
Baldrige criteria 2015 2016 thai
Baldrige criteria 2015 2016 thaiBaldrige criteria 2015 2016 thai
Baldrige criteria 2015 2016 thai
 

More from maruay songtanin

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdfmaruay songtanin
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docxmaruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfmaruay songtanin
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 

Shigeo shingo - Kaizen and the Art of Creative Thinking ไคเซ็น

  • 2. Dr. Shigeo Shingo แต่ งขึนในปี ค.ศ. 1958 ้ แปลจากภาษาญี่ปน เป็ นภาษาอังกฤษโดย Enna Products Corporation and PCS Inc. ในปี ค.ศ. 2007 ุ่
  • 3.  มาจากภาษาญี่ปุ่น คาว่าไค แปลว่าเปลี่ยนแปลง เซ็น แปลว่าดี เมื่อแปลรวมกันได้ความหมายคือ การพัฒนา อย่างต่อเนื่อง หรือการเปลี่ยนแปลงที่ดีข้ ึน
  • 4.     เกิดที่เมือง Saga ประเทศ ญี่ปุ่น ในปี ค.ศ. 1909 จบการศึกษาจาก Saga Technical High School ได้รบ ั ปริญญาทาง Mechanical Engineer จาก Yamanashi Technical College ได้รบปริญญาดุษฎีบณฑิต ั ั กิตติมศักดิ์จาก Utah State University ถึงแก่กรรมในปี ค.ศ. 1990
  • 5.  1. 2. 3. แต่งตาราไว้กว่า 20 เล่ม และได้รบการแปลเป็ นภาษาอังกฤษ 6 เล่ม ั A Study of the Toyota Production System Revolution in Manufacturing: The SMED System Zero Quality Control: Source Inspection and the Poka-Yoke System 4. The Sayings of Shigeo Shingo: Key Strategies for Plant Improvement 5. Non-Stock Production: The Shingo System for Continuous Improvement 6. The Shingo Production Management System: Improving Process Functions
  • 6.     Dr. Shigeo Shingo และ Taiichi Ohno ร่วมกันสร้างระบบ TPS (Toyota Production System) ในการพัฒนากระบวนการผลิต TPS เน้นการเลื่อนไหลของการผลิตมากกว่าการสร้างผลผลิตให้ มากที่สุดในทุกขั้นตอน ผลพวงของ TPS ทาให้เกิดกระบวนการพัฒนาอย่างต่อเนื่องคือ ไคเซ็น ( Kaizen) และลีน (Lean production process) ซึ่งมีปรัชญาคือ ทันเวลา (Just-in-time philosophy)
  • 7. 1. 2. 3. 4. 5. 6. มีมาตรฐานของการปฏิบตการ (Standardize an operation) ั ิ วัดการปฏิบตการที่เป็ นมาตรฐาน คือวงรอบเวลาการปฏิบตการและ ั ิ ั ิ รายการสิ่งของที่ใช้ (Measure the standardized operation - find cycle time and amount of in-process inventory) เปรียบเทียบค่าที่วดได้กบค่าที่ตองการ (Gauge measurements ั ั ้ against requirements) สร้างนวัตกรรมเพื่อทาให้ได้ตามที่ตองการและเพิ่มผลผลิต ้ (Innovate to meet requirements and increase productivity) จัดทาเป็ นมาตรฐานใหม่จากการปฏิบตการที่ได้ผล (Standardize the ั ิ new, improved operations) ทาเป็ นวงรอบอย่างต่อเนื่อง (Continue cycle ad infinitum)
  • 8. 1. 2. 3. 4. 5. 6. หลักการคิดวิเคราะห์ (Principles of Analytical Thinking) การหาสาเหตุที่แท้จริง (Capturing Problems) การสร้างความคิดในการพัฒนา (Idea Generation for Improvement) วิวฒนาการของการพัฒนา (Evolution of Improvement) ั การเปลี่ยนความคิดเป็ นหนทางปฏิบติ (From Ideas to Reality) ั การส่งเสริมแนวคิดการพัฒนา (Promoting Improvement Ideas)
  • 9.      คานึงถึงหลักการแบ่ง โดยแบ่งกลุมออกเป็ นทีละคู่ออกไปเรื่อย ๆ ่ มีปัญหาว่าถ้ามีความคลุมเครือไม่ชดเจน จะแบ่งอย่างไร วิธีคือ ั สร้างคานิยามให้ชดเจนขึ้น ั เพราะวิธีการมองเรืองต่าง ๆ ของคนเรามีความแตกต่างกัน การ ่ แบ่งทีละคู่แบบนี้ทาให้มองเรืองต่าง ๆ ได้ง่ายขึ้น และเห็น ่ ตรงกัน ถ้าเป็ นเรืองที่เกิดในอดีต ต้องมีระยะเวลากากับตามลาดับด้วย ่ เป็ นการมองตามเป็ นจริง โดยไม่ใช้ความคิดการตัดสินว่าใช่หรือ ไม่ใช่ ถูกหรือผิด เพื่อบริหารจัดการได้ตอไป ่
  • 10.
  • 12.    หาปั ญหาให้พบโดยการไม่ยอมรับสิ่งที่เป็ นอยูในปั จจุบนว่าดีแล้ว ่ ั (ตามความเคยชิน) เพราะทุกสิ่งมีการเปลี่ยนแปลงเมื่อเวลา เปลี่ยนไป รวมถึงระยะเวลาที่ปัญหาเกิดขึ้นด้วย พิจารณาให้ถี่ถวน อย่าพึ่งสรุปอะไรง่าย ๆ ต้องระบุปัญหาให้ ้ ชัดเจน หาสาเหตุรากเหง้าของปั ญหาที่มี นั ่นคือการตั้งคาถามว่า who, what, when, where, why, and how และมองให้เห็น ภาพรวมของทั้งระบบด้วย นั ่นคือเห็นป่ าไม่ได้เห็นแค่ตนไม้ ้ การคิดวิเคราะห์ในการแก้ปัญหาคือแบ่งปั ญหาออกเป็ นส่วน ๆ ศึกษาแต่ละส่วน แล้วประกอบกลับอย่างมีเหตุผล ส่วนวิธีในการ หาสาเหตุของปั ญหานั้น คือให้ต้งคาถาม เพราะเหตุใด (Why ?) ั ไปเรื่อย ๆ จนตอบต่อไปไม่ได้ ก็จะพบสาเหตุที่แท้จริงได้
  • 13.
  • 16. 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. การกาจัด (Eliminate) กระบวนการนี้หรือขั้นตอนนี้ไม่ตองมีได้หรือไม่ ้ เปลี่ยนมุมมอง (Perspective) เป็ นมองจากมุมตรงกันข้าม และหาวิธีใหม่ที่ได้ผลดีกว่าเดิม ดูความเบี่ยงเบน (Deviation) การจัดการกับส่วนย่อยที่มีผลเท่ากันกับจัดการเต็มจานวน การดัดแปลง (Adaptation) คือการปรับเปลี่ยนสิ่งที่เปลี่ยนได้ให้เข้ากันกับสิ่งที่เปลี่ยนไม่ได้ สัดส่วน (Proportion) การกาหนดขนาดที่พอดี คือถ้าใหญ่ไปก็ทาให้เล็กลง ถ้าเล็กเกินก็ขยาย ให้ใหญ่ข้ ึน การกระจาย (Distribution) เป็ นการรวมสิ่งที่เหมือนกันไว้ดวยกัน หรือใช้การแยกสิ่งที่ ้ แตกต่างกันออกไป หน้าที่ (Functionality) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพโดยการดัดแปลงเครื่องมือให้เข้ากับงาน เศรษฐกิจ (Economy) พยายามลดการเคลื่อนไหวหรือการเคลื่อนที่ของคนหรือสิ่งของ ทิศทาง (Direction) ดูทิศทางการไหลของงานว่าเป็ นแบบอนุกรม หรือเป็ นแบบขนาน จึงจะ เหมาะสม เปลี่ยนลาดับ (Rearrange) เป็ นการเรียงลาดับการทางานใหม่ ที่ได้ผลมากกว่าเดิม เปรียบเทียบ (Comparison) ดูจากความเหมือนหรือความแตกต่าง ออกแบบวิธีการทางานใหม่ (Redefine) เพื่อเป็ นการลดระยะเวลารอคอย
  • 17.
  • 18. Idea Generation for Improvement
  • 20. 1. 2. 3. 4. 5. กลไกการทางานกับเครื่องจักรกล (Mechanization and Motorization) เป็ นการศึกษาการ เคลื่อนที่ของวัสดุให้สอดคล้องไปกับเครื่องจักรกลในสายกระบวนการผลิต เพื่อลดความสูญ เปล่า การแบ่งงานกันทา (The Division of Labor) ให้พนักงานทางานหน้าที่เดียว แล้วส่งต่อให้ผอื่น ู้ ทาส่วนอื่นต่อไป จนกระทั ่งสาเร็จออกมาเป็ นชิ้นงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทางาน ประโยชน์สูงสุด (Optimization) ศึกษาการทางานของมนุษย์เพื่อประสิทธิภาพ โดยจัดงานที่ เหมาะสมให้เข้ากับความถนัดของแต่ละคน และออกแบบงานให้สอดคล้องกับความสามารถ ของมนุษย์ทั ่วไปด้วย ความสอดคล้อง (Synchronization) ในสายการผลิตระหว่างบุคลากรของฝ่ ายต่าง ๆ ที่แบ่ง หน้าที่กนทางานจะต้องมีการประสานสอดคล้องกัน เพื่อไม่ให้เกิดความล่าช้า ั การทางานอัตโนมัติ (Automation) เป็ นการตัดสินโดยเครื่องจักรกล ด้วยกลไกการป้ อนกลับ ของข้อมูล ทาให้การทางานเป็ นแบบอัตโนมัติ หรือบางกรณีก็ไม่จาเป็ นต้องมีระบบป้ อนข้อมูล กลับก็ได้ ข้อมูลป้ อนกลับจากเครื่องมีประโยชน์สาหรับผูควบคุมดูแลในการบริหารจัดการ ้ ผลผลิต
  • 21.
  • 22. The Evolution of Improvement
  • 23.    ให้แยกความคิดเห็นที่เสนอมาออกจากการตัดสินว่าถูกหรือผิด เพราะการตัดสินเป็ นการปิ ดกั้นความคิดในการพัฒนาเรืองใหม่ ๆ ่ วิธีการฟั นฝ่ าการปิ ดกั้นความคิดคือ การลองผิดลองถูก เป็ นขั้นการ ทดลองที่มีเหตุผลและมีข้นตอนที่สมเหตุสมผล และไม่ถือว่าเป็ น ั ความผิดหากเกิดผิดพลาดขึ้นมา เราอาจเจอคาคัดค้านซึ่งเป็ นเรืองธรรมชาติของมนุษย์ ่
  • 24. 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. การคัดค้านเพราะเป็ นข้อยกเว้น (Objection Based on Exceptions) เนื่องจากไม่มีขอมูล ้ สนับสนุน การคัดค้านเพราะความเห็ นส่วนตัว (Nit-picking Objection) โดยยังไม่ได้ศึกษาถึงข้อดี ข้อเสีย การคัดค้านโดยการบิดเบือนหน่วยนับ (Unit Manipulation Objection) เพื่อให้ฟังแล้วดูดี การคัดค้านเพราะได้ขอมูลมาไม่ครบ (Objection Based on Incomplete Evidence) ยัง ้ ศึกษาไม่ครบถ้วน การคัดค้านโดยไม่เข้ากับบริบท (Out-of-context Objection) ทาให้เกิดการเข้าใจผิด การคัดค้านเรื่องไก่กบไข่ (Chicken or Egg Objection) เป็ นปั ญหาโลกแตก ไม่มีประโยชน์ ั ้ การคัดค้านแบบติเรือทังโกลน (Tadpole Objection) เป็ นการคาดการณ์แบบเลวร้าย ล่วงหน้า การคัดค้านแบบปิ ดหูปิดตา (Crossed-eye Objection) คือขอปฏิเสธไว้ก่อน อ้างโน่นอ้างนี่ การคัดค้านแบบวนเวียน (Rotary Objection) ออกนอกเรืองนอกราว คนละเรื่องราวกัน ่ การคัดค้านไม่ตรงประเด็น (Evasive Objection) ตอบไม่ตรงคาถาม
  • 25.      ในการปฏิบตเมื่อถูกคัดค้านคือ เราต้องไม่เข้าไปเป็ นคู่กรณี ั ิ ขัดแย้งโดยตรง การแสดงออกได้คือ การยอมรับว่าเป็ นความคิดของเขา การที่ถกคัดค้านเป็ นการแสดงว่า การเสนอความคิดของเรายังไม่ ู ดีพอ เมื่อประเมินคาคัดค้านแล้ว สมควรแสดงออกในข้อเสนอแนะ มากกว่าจะพูดคัดค้านแบบตรง ๆ อีก เมื่อทาการแก้ไขโดยการให้ขอมูลตามความเป็ นจริงมากขึ้น หรือ ้ ปรับคาพูดใหม่ในเรืองเดียวกัน ส่วนใหญ่จะออกมาดี ่
  • 26.
  • 27. From Ideas to Reality
  • 28.    การกระตุนให้เกิดความกระตือรือร้นในการเปลี่ยนแปลง เพราะ ้ บุคลากรมักคิดว่าสิ่งที่ทาในปั จจุบนดีอยูแล้ว ั ่ วิธีหนึ่งคือการนาเสนอแนวคิดที่ยงไม่สมบูรณ์ คือได้คะแนนแค่ ั ร้อยละ 90 แล้วเปิ ดโอกาสให้บุคคลอื่นมีส่วนร่วมเสนอแนวคิดที่ ทาให้ออกมาได้สมบูรณ์ดวย ้ แต่ความเข้าใจเพียงอย่างเดียวไม่ทาให้เกิดการลงมือ ยกเว้นมี การชักชวนให้ลงมือปฏิบติ ั
  • 30.
  • 32.   ไคเซ็น เป็ นวิธีหนึ่งในการแก้ปัญหา โดยแนวคิดว่าสิ่งที่ทาในปั จจุบน ั ยังสามารถพัฒนาให้ดข้ ึนกว่าเดิมได้ มีแนวคิดอย่างเป็ นขั้นเป็ นตอน ี คือ เริมต้นด้วยการระบุปัญหาอย่างระมัดระวัง มีจุดประสงค์ในการ ่ แก้ปัญหาอย่างรอบคอบ อย่าใช้ความคิดเห็นตัดสินถูกผิดระหว่าง การระดมความคิด เพราะวิธีแก้ปัญหามีได้หลายหลาก อย่าเพิ่งรีบ สรุปถึงสาเหตุปัญหาทันที และมีวิธีการในการนาแนวคิดไปสูวิธีการปฏิบติ นั ่นคือการสอนให้ ่ ั บุคลากรสามารถแก้ปัญหาได้ดวยตนเอง ด้วยการคาถาม และโค้ช ้ บุคลากรด้วยการคิดอย่างเป็ นระบบสร้างสรรค์ 12 ข้อ
  • 33. A problem (or delay) occurs ask  Why ? Describe.  Why ? Describe.  Why ? Describe.  Why ? Describe.  Why ? Respond !