SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
Download to read offline
พันเอก มารวย ส่งทานินทร์
maruays@hotmail.com
19 มีนาคม 2560
Suzanne M. Johnson Vickberg and Kim Christfort
Harvard Business Review, March-April 2017
Understanding how to meld different work styles will help you manage
your team—and yourself—better.
บทสรุปสาหรับผู้บริหาร
 เมื่อทีมขาดศักยภาพ อาจเป็นเพราะผู้นาไม่ทราบวิธีสังเกตและจัดการ
ความแตกต่างของผู้คน ด้วยเหตุนี้ ความคิดที่ดีที่สุดบางเรื่องจงไม่เกิดข้น
 Suzanne M. Johnson Vickberg และ Kim Christfort มีกรอบในการระบุผู้คน
เป็น 4 ประเภทคือ 1.) ผู้บุกเบิก (Pioneers) ให้ความสาคัญกับความ
เป็นไปได้ กระตุ้นให้เกิดพลังงานและจินตนาการในทีม 2.) ผู้พิทักษ์
(Guardians) ให้ความสาคัญกับความมั่นคงและกฎระเบียบ 3.) ผู้ผลักดัน
(Drivers) ให้ความสาคัญกับความท้าทายและสร้างแรงผลักดัน 4.) ผู้
รอมชอม (Integrators) ให้ความสาคัญการเชื่อมโยงและดงทีมเข้าด้วยกัน
 เพื่อให้ได้รูปแบบที่ดีที่สุดจากทีมงาน ผู้นาควร (1) ดงคนประเภทที่
ตรงกันข้ามเข้าหากัน เพื่อสร้างแรงเสียดทานที่มีประสิทธิผล (2) ให้
ความสาคัญกับเสียงส่วนน้อย และ (3) ให้ความใส่ใจเป็นพิเศษกับผู้เก็บ
เนื้ อเก็บตัว ที่สามารถสร้างคุณค่าได้ ซ่งเสี่ยงต่อการถูกละเลย
THE PROBLEM
When teams fall short of their potential, it’s often because leaders don’t know how to
manage the differences in how people approach their work.
THE RISK
The four work styles described here—Pioneers, Guardians, Drivers, and Integrators—all have
something important to offer. But they can cause conflict among team members.
THE SOLUTION
To foster productive friction, leaders should pull opposite types closer, seek input from
people with nondominant styles, and pay attention to sensitive introverts, who risk being
drowned out but have essential contributions to make.
เกริ่นนา
 การที่ทีมไม่มีผลงาน บ่อยครั้งความผิดไม่ได้อยู่กับสมาชิกในทีม
แต่ข้นอยู่กับผู้นา ที่ไม่สามารถใช้รูปแบบและมุมมองที่หลากหลาย
ในการทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 ผู้จัดการบางคนไม่เข้าใจความแตกต่างระหว่างคน ไม่ทราบวิธี
จัดการกับช่องว่างและความตงเครียด ดังนั้นจงไม่ได้ความคิดที่ดี
ที่สุดจากทีม ทาให้ผลงานแย่ลง
 เพื่อช่วยผู้นาในเรื่องนี้ บริษัท Deloitte ได้สร้างระบบที่เรียกว่า
เคมีของธุรกิจ (Business Chemistry) ซ่งระบุรูปแบบวิธีการทางาน
หลัก ๆ สี่รูปแบบของผู้คน และกลยุทธ์ที่เกี่ยวข้องในการบรรลุ
เป้ าหมายร่วมกัน
ทาความเข้าใจลักษณะเฉพาะของบุคคล
 ผู้บุกเบิก (Pioneers) ให้ความสาคัญกับความเป็นไปได้ กระตุ้นให้เกิด
พลังงานและจินตนาการในทีม พวกเขาเชื่อว่าความเสี่ยงเป็นสิ่งที่คุ้มค่า และ
ใช้จิตสานกในการตัดสินใจ จุดเน้นของพวกเขาคือภาพใหญ่ พวกเขาดงดูด
ความคิดใหม่ ๆ และมีแนวทางที่สร้างสรรค์
 ผู้พิทักษ์ (Guardians) ให้ความสาคัญกับความมั่นคงและเคารพกฎระเบียบ
พวกเขาเป็นผู้ปฏิบัติจริง และลังเลที่จะยอมรับความเสี่ยง ชอบใช้ข้อมูลและ
ข้อเท็จจริงเป็นข้อกาหนดพื้นฐาน และลงในรายละเอียด พวกเขาคิดว่าควรที่
จะเรียนรู้จากอดีต
 ผู้ผลักดัน (Drivers) ชอบความท้าทายและสร้างแรงผลักดัน เน้นที่ผลลัพธ์
และชอบเป็นผู้ชนะ มักจะมองปัญหาเป็นขาวหรือดา แก้ปัญหาด้วยข้อมูล
และเหตุผล
 ผู้รอมชอม (Integrators) เชื่อมต่อและดงทีมเข้าด้วยกัน เน้นความสัมพันธ์
และความรับผิดชอบของกลุ่ม มักจะเชื่อว่าสิ่งต่างๆ ส่วนใหญ่มีความสัมพันธ์
ซ่งกันและกัน พวกเขามีความสัมพันธ์แบบการทูต และมุ่งเน้นไปที่ฉันทามติ
ความตงเครียดและความเข้าใจผิด
 ความแตกต่างเกี่ยวกับการโต้ตอบของผู้คน เช่น ผู้รอมชอม
(Integrators) เกลียดความขัดแย้ง แต่ ผู้ผลักดัน (Drivers) ชอบที่
จะโต้แย้ง
 ความแตกต่างในการคิดและการมีส่วนร่วมของแต่ละบุคคล
สามารถสร้างปัญหาได้ เช่นการที่ ผู้พิทักษ์ (Guardian) ลงใน
รายละเอียดแต่ละบรรทัด อาจสร้างความอดอัดให้กับ ผู้บุกเบิก
(Pioneer) ซ่งต้องการให้ข้ามไปข้างหน้าอย่างรวดเร็ว
 ความตรงกันข้ามกันของ ผู้บุกเบิกที่พูดโดยไม่มีวาระหรือ
โครงสร้าง อาจทาให้ผู้พิทักษ์รู้สกว่าเป็นการยุ่งเหยิงไม่มีระเบียบ
ความขัดแย้งระหว่างบุคคล
 ทีมนาแห่งหน่งประสบปัญหาความขัดแย้งระหว่างบุคคล ในการ
พยายามทาให้ทุกคน ทาตนให้สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์
 จากการสังเกตได้ค้นพบบรรทัดฐานบางอย่างที่ไม่เหมาะ เช่น ผู้
พิทักษ์รู้สกว่าพวกเขาได้รับการรีบเร่งให้ผ่านกระบวนการที่ต้อง
อาศัยรายละเอียด ผู้บุกเบิกรู้สกว่านวัตกรรมถูกต้านด้วยการ
ตีความแนวทางการปฏิบัติตามกฎระเบียบที่เข้มงวด ผู้ผลักดัน
รู้สกผิดหวังกับความไม่เต็มใจของทีมในการตัดสินใจ และผู้
รอมชอมทาอะไรไม่ได้นอกจากมองไปมองมา
การจัดการกับลักษณะของบุคคล สามารถทาได้สามวิธี
1. ดงฝั่งตรงข้ามกันให้ใกล้ชิดมากข้น (Pull your opposites closer)
2. ให้สิทธิพิเศษกับบางคนในทีม (Elevate the “tokens” on your
team)
3. ใส่ใจกับผู้ที่ชอบเก็บตัว (Pay close attention to your sensitive
introverts)
1. ดงฝั่งตรงข้ามให้ใกล้ชิดกันมากข้น
 จุดที่เจ็บปวดที่สุดคือ เมื่อความสัมพันธ์แบบตัวต่อตัว ที่มี
รูปแบบตรงกันข้ามชนกันหรือปะทะคารมกัน
 เช่นผู้พิทักษ์มักสงวนสิทธิมากกว่าผู้ผลักดัน แต่ทั้งสองประเภทนี้
หากมีจุดเน้นร่วมกัน ก็สามารถช่วยให้พวกเขาทางานร่วมกันได้
 ผู้พิทักษ์และผู้บุกเบิกเป็นฝ่ายที่อยู่ตรงข้ามกันที่แท้จริง
เช่นเดียวกับผู้รอมชอมและผู้ผลักดัน
1. ดงฝั่งตรงข้ามให้ใกล้ชิดกันมากข้น (ต่อ)
 ตัวอย่างเช่นผู้ผลักดันคนหน่งอธิบายว่า ทาไมเธอจงไม่สนุกกับ
การทางานร่วมกับผู้รอมชอม: "ฉันรู้สกเหนื่อยที่จะต้องอธิบาย
อย่างละเอียด เพื่อทาให้ทุกคนรู้สกดีในการทางานร่วมกัน ฉัน
ต้องการทาสิ่งต่างๆให้เสร็จสิ้น ให้ความคิดเห็นที่ซื่อสัตย์
ตรงไปตรงมา และก้าวไปข้างหน้า ไม่ต้องกังวลกับความรู้สกที่
อ่อนไหว ซ่งทาให้ฉันต้องช้าลง "
 ผู้รอมชอมซ่งคิดว่าถูกผู้ผลักดันท้าทายในการทางานด้วยกล่าวว่า
"ฉันจาเป็นต้องประมวลผลสิ่งต่างๆ เพื่อให้ได้บริบทครบถ้วน
สาหรับภาพใหญ่ ผู้ผลักดันมักพูดจาภาษาเทพ หรือพูดเป็นส่วน
ๆ ที่ทาให้เราต้องแปลอีก "
1. ดงฝั่งตรงข้ามให้ใกล้ชิดกันมากข้น (ต่อ)
 เราได้รับการบอกเล่าจากผู้พิทักษ์ว่า "ฉันมักจะคิดถงวิธีที่ฉัน
จะต้องใช้ในการดาเนินการ... ในขณะที่ผู้บุกเบิกมีความคิดที่ดี
แต่พวกเขามักไม่ใส่ใจกับวิธีการดาเนินการ และถ้าผลออกมาไม่
ตรงกับวิสัยทัศน์ของพวกเขา พวกเขาจะรู้สกผิดหวังมาก "
 และผู้บุกเบิกยอมรับว่า "ฉันมีช่วงเวลาที่ยากลาบากในการ
ปรับตัวให้เข้ากับรูปแบบของผู้พิทักษ์ ฉันชอบเป็นผู้ตัดสินใจและ
ชอบที่จะแสดงความคิดโดยไม่ถูกตัดสิน ผู้พิทักษ์ชอบตัดสิน
ความคิดของฉัน ทาให้ความคิดสร้างสรรค์ไม่ลื่นไหล "
1. ดงฝั่งตรงข้ามให้ใกล้ชิดกันมากข้น (ต่อ)
 แม้จะมีความแตกต่างดังกล่าว แต่ความแตกต่างสามารถเสริม
กันและกันได้ ซ่งต้องใช้เวลาและความพยายาม เมื่อ
ความสัมพันธ์ของพวกเขาก้าวหน้าข้น พวกเขาจะเริ่มเชื่อใจ และ
ปรับตัวเข้าหากันและกัน
 ผู้บุกเบิกรู้ว่าคู่หูของเธอมีความพิถีพิถัน สามารถพาพวกเขาออก
จากจุดที่ยุ่งเหยิงที่ต้องลงรายละเอียดได้ และการเตรียมตัวที่ดี
ล่วงหน้า ก็จะช่วยให้เธอดูดีข้น
 ผู้พิทักษ์ได้เรียนรู้ว่า ปฏิภาณที่เกิดข้ นเองอย่างฉับพลันของคู่หู
ของเธอ ทาให้พวกเขามีความยืดหยุ่น และตอบสนองต่อความ
ต้องการของผู้ชมได้ดียิ่งข้น
1. ดงฝั่งตรงข้ามให้ใกล้ชิดกันมากข้น (ต่อ)
 การดงความแตกต่างให้ใกล้ชิดมากยิ่งข้น โดยให้พวกเขาทางาน
ร่วมกันในโครงการขนาดเล็กก่อน หากทาได้ดีจงนาไปสู่โครงการ
ที่ใหญ่กว่า ซ่งเป็นการสร้างพันธมิตรในทีม
 และเป็นสิ่งสาคัญที่จะดงผู้ขัดแย้งของคุณเอง ให้ใกล้ชิดกับคุณ
มากยิ่งข้น เพื่อให้สมดุลกับแนวโน้มของคุณในฐานะผู้นา
 นี่เป็นเรื่องเกี่ยวกับการสร้าง แรงเสียดทานที่มีประสิทธิผล
(productive friction) ให้คิดถง Lennon และ McCartney (The
Beatles), Serena และ Venus (Williams), Steves (Jobs และ
Wozniak) ความแตกต่างคือสิ่งที่ทาให้ความร่วมมือดังกล่าวมีพลัง
2. ยกสิทธิพิเศษให้กับบางคนในทีมของคุณ
 หากคุณมีทีมงาน 10 คน 7 คนเป็นผู้พิทักษ์ คุณควรให้
ความสาคัญกับภาวะผู้นาอย่างไร การนาเสนอสิ่งที่ดีที่สุดสาหรับ
ผู้พิทักษ์ คือแสวงหาผลประโยชน์สูงสุดสาหรับผู้คนจานวนมาก
ที่สุด ซ่งอาจดูเหมือนจะเป็นสิ่งที่เป็นประโยชน์
 แต่จากประสบการณ์ของเรา ประสิทธิภาพมักจะมีมากกว่า โดย
การมุ่งเน้นไปที่การแสดงออกโดยคนกลุ่มน้อยไม่กี่คนในทีม
เนื่องจากมุมมองเหล่านั้น เป็นสิ่งที่คุณควรใช้เพื่อเก็บเกี่ยว
ประโยชน์ของความหลากหลาย (benefits of diversity)
2. ยกสิทธิพิเศษให้กับบางคนในทีมของคุณ (ต่อ)
 การมีมติของทีมโดยเสียงส่วนมาก มักจะมีอคติแทรกเข้ามาด้วย
ซ่งนาไปสู่สภาวะที่เชี่ยวกรากเสมือน "น้าตก (cascades)"
 ลองนกภาพความพยายามที่จะเปลี่ยนทิศทางของน้าตกขนาด
ใหญ่ หากปราศจากความสาเร็จด้านวิศวกรรม แทบจะเป็นไป
ไม่ได้เลย
 แม้ว่าจะมีมุมมองที่หลากหลายในทีม แต่ก็อาจจะไม่ทาให้กระแส
การเปลี่ยนแปลงเกิดข้นได้ เนื่องจากคนมักลังเลที่จะไม่เห็นด้วย
กับแนวคิดที่ได้รับการสนับสนุนในช่วงต้น
2. ยกสิทธิพิเศษให้กับบางคนในทีมของคุณ (ต่อ)
 นอกจากนี้ เรายังพบว่าผู้นาสูงสุดมักเป็นผู้บุกเบิกและผู้ผลักดัน
ในหลาย ๆ กรณี สมาชิกในกลุ่มผู้บริหารส่วนใหญ่จะมีส่วนร่วม
ในสไตล์ของผู้นา ซ่งอาจทาให้ทีมงานเกิดสภาวะน้าตกได้
 ผู้บุกเบิก มักจะเป็นไปตามธรรมชาติและชอบแสดงออก พวกเขา
คิดอย่างรวดเร็ว และพูดอย่างกระปรี้กระเปร่า บางครั้งอาจพูด
ก่อนที่จะคิดด้วยซ้า
 ในทานองเดียวกันผู้ผลักดัน ชอบที่จะเป็นผู้รับผิดชอบของกลุ่ม มี
ลักษณะชอบการแข่งขัน และตรงไปตรงมา พวกเขามีแนวโน้มที่
จะก้าวเข้ามาและระบุจุดยืนของตน แทนที่จะฟังสิ่งที่คนอื่นพูด
คุณลักษณะผู้นา
 ผู้นาระดับสูงส่วนใหญ่เป็ นผู้
บุกเบิกหรือผู้ผลักดัน จากการ
สารวจของผู้บริหาร 661 ราย
 หนทางที่ดีที่สุด ทีมผู้บริหารควร
มองหา น้าตก (cascades) และ
หลักฐานเกี่ยวกับ ความคิดของ
กลุ่ม (groupthink)
2. ยกสิทธิพิเศษให้กับบางคนในทีมของคุณ (ต่อ)
 การจะยกระดับมุมมองของชนกลุ่มน้อยในทีม เพื่อหลีกเลี่ยง
น้าตกและคนชายขอบ กลยุทธ์ต่อไปนี้ อาจช่วยได้ คือ กระตุ้นให้
ทุกคนในชนกลุ่มน้อย พูดตอนเริ่มต้น (speak up early) เพื่อให้
โอกาสในการมีอิทธิพลต่อทิศทางของการสนทนา ก่อนที่น้าตกจะ
กาหนดเส้นทาง
 การทดลองแบบคลาสสิกของนักจิตวิทยาชาวโปแลนด์ Solomon
Asch ยืนยันว่า แม้แต่คนเดียวที่เห็นแย้งกับคนส่วนใหญ่ โอกาสที่
คนอื่นจะเสนอมุมมองที่แตกต่างกันจะเพิ่มข้นอย่างมาก ให้ใช้
ประโยชน์จากปรากฏการณ์นี้ เพื่อส่งเสริมความขัดแย้งที่ดีต่อทีม
2. ยกสิทธิพิเศษให้กับบางคนในทีมของคุณ (ต่อ)
 ขอร้องให้ผู้คนลองระดมความคิดด้วยตนเองก่อนเวลา และ
แบ่งปันความคิดของพวกเขาในรูปแบบ วนไปโดยรอบ (round-
robin) เมื่อกลุ่มประชุมกัน
 การศกษาพบว่า วิธีนี้ มีประสิทธิภาพมากกว่าการระดมความคิด
แบบกลุ่ม เฉกเดียวกับการให้ชนกลุ่มน้อยกล่าวข้นก่อน การ
ระดมความคิดแต่ละครั้ง จะได้รับความคิดที่มีความหลากหลาย
มากข้น ก่อนที่แรงผลักดันไปทิศทางหน่งจะเพิ่มข้น
3. ใส่ใจกับผู้ที่ชอบเก็บตัวไม่กล้าแสดงออก
 ทีมอาจสูญเสียการมีส่วนร่วมจากชนกลุ่มน้อย แต่ยังมีสมาชิกที่
ชอบเก็บตัวไม่กล้าแสดงออกหรือมีความรู้สกไวสูง ซ่งอาจเสี่ยง
ต่อการถูกทอดทิ้งมากที่สุด
 มีหลักฐานมากที่สุดเกี่ยวกับผู้เก็บตัวและความไวในผู้พิทักษ์ แต่
ยังพบลักษณะเหล่านี้ ในชุดย่อยของผู้รอมชอม ซ่งเราจะเรียกว่า
ผู้รอมชอบแบบเงียบ (Quiet Integrators)
 เช่นเดียวกับคนที่ไม่ได้มีส่วนร่วมในสไตล์การนาของทีม พวกเขา
จะถูกละเลย เว้นแต่ผู้นาจะระบุเจาะจงถงพวกเขา
ความเครียด
 ในการศกษาผู้เชี่ยวชาญกว่า
23,000 ราย ผู้พิทักษ์และผู้
รอมชอม มีความเครียดมากกว่า
คนอื่น
 เพื่อให้ได้ประโยชน์จากจุดแข็ง
ของพวกเขาในทีม ให้มองหาวิธีที่
จะลดความกดดัน และช่วยให้
พวกเขารู้สกปลอดภัยทางด้าน
จิตใจ
3. ใส่ใจกับผู้ที่ชอบเก็บตัวไม่กล้าแสดงออก (ต่อ)
 ผู้บุกเบิกและผู้ผลักดันเปรียบเสมือน น้าตกไนแองการา (Niagara
Falls) ในสายตาของผู้พิทักษ์ ซ่งมักจะพิจารณาการตัดสินใจอย่าง
รอบคอบ และหลีกเลี่ยงการเผชิญหน้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งหาก
พวกเขาอยู่ในชนกลุ่มน้อย พวกเขาจะไม่พูดเลย
 ในทานองเดียวกันผู้รอมชอมที่เงียบสงบ มีแนวโน้มที่จะไม่
มุ่งเน้นเรื่องขัดแย้ง แต่มุ่งเน้นไปที่ความเป็นเอกฉันท์ ดังนั้นหาก
ทีมดูเหมือนจะเอนเอียงไปในทิศทางใด เขาก็จะไม่เสนอมุมมอง
ที่แตกต่างกันออกไป
3. ใส่ใจกับผู้ที่ชอบเก็บตัวไม่กล้าแสดงออก (ต่อ)
 ทาไมต้องให้ความสาคัญด้วย? คนควรสามารถปรับตัวและจัดการ
ความเครียดได้มิใช่หรือ? ต้องกล้าพูดเองได้แม้จะเป็นเรื่องยาก?
 คนที่เก็บตัวหรือมีความรู้สกอ่อนไหว มีจุดแข็งที่อาจเป็นประโยชน์ต่อ
ทีมและองค์กร เช่นพวกเขามีแนวโน้มที่จะระมัดระวังและรอบคอบ
ในการจาแนกข้อผิดพลาดและความเสี่ยงที่อาจเกิดข้น
 พวกเขาสามารถมุ่งเน้นเป็นระยะเวลานาน พวกเขาเป็นผู้ฟังที่ดี มี
แนวโน้มที่จะเน้นความคิดที่ยอดเยี่ยมของผู้อื่น มากกว่าการแสวงหา
ความโดดเด่นให้ตัวเอง
 พวกเขามักจะจัดการและเก่งในงานที่มุ่งเน้นรายละเอียด ซ่งผู้อื่นไม่
สามารถหรือไม่ต้องการทา
3. ใส่ใจกับผู้ที่ชอบเก็บตัวไม่กล้าแสดงออก (ต่อ)
 ผู้เก็บตัวและมีความรู้สกไว ไม่ชอบการรับผิดชอบหรือแข่งขัน
หรือแม้กระทั่งพูดมาก แต่อย่าตีความว่าเขาขาดความสนใจ
 พวกเขาจะสังเกตและวิเคราะห์ ถ้าคุณต้องการมุมมองของพวก
เขา ถามพวกเขาโดยตรง แต่ให้ใช้ ความรู้สกสัมผัสที่นุ่มนวล
(use a light touch)
 ถ้าคุณให้โอกาสพวกเขาเตรียมตัวล่วงหน้า และเตรียมเวลาให้
พวกเขาพูดในที่ประชุม พวกเขาอาจยินดีที่จะเสนอความคิดของ
พวกเขา
สรุป
 ผู้บุกเบิก (หรือผู้ผลักดัน) ให้ความสาคัญกับการคิดอย่างกว้าง ๆ
และความก้าวหน้าอันรวดเร็ว ในขณะที่ผู้พิทักษ์ (และผู้รอมชอบ
ที่เงียบ) ประมวลผลสิ่งต่าง ๆ อย่างลกซ้ ง ยืนยันความเข้มงวด
และไม่รีบเร่ง
 ในฐานะผู้นาของทีม (โดยเฉพาะผู้บุกเบิกหรือผู้ผลักดัน) ควร
สร้างเขตปลอดภัย ที่ช่วยให้ผู้พิทักษ์หรือผู้รอมชอมที่เงียบ ทาใน
สิ่งที่เขาทาได้ดีที่สุด
 ความเป็นหุ้นส่วนก็จะดีข้นกว่าเดิม และส่งผลดีต่อทีมงานด้วย
Suzanne M. Johnson Vickberg and Kim Christfort

More Related Content

What's hot

ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ใบความรู้้เรื่องสื่อสิ่งพิมพ์
ใบความรู้้เรื่องสื่อสิ่งพิมพ์ใบความรู้้เรื่องสื่อสิ่งพิมพ์
ใบความรู้้เรื่องสื่อสิ่งพิมพ์devilp Nnop
 
Animation [การผลิตแอนิเมชั่นเบื้องต้น]
Animation [การผลิตแอนิเมชั่นเบื้องต้น]Animation [การผลิตแอนิเมชั่นเบื้องต้น]
Animation [การผลิตแอนิเมชั่นเบื้องต้น]Pisit Noiwangklang
 
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ ThunkableKhunakon Thanatee
 
data storytelling คือ อะไร ? การเล่าเรื่อง ( สตอรี่เทลลิ่ง ) จากข้อมูล
data storytelling คือ อะไร ? การเล่าเรื่อง ( สตอรี่เทลลิ่ง ) จากข้อมูลdata storytelling คือ อะไร ? การเล่าเรื่อง ( สตอรี่เทลลิ่ง ) จากข้อมูล
data storytelling คือ อะไร ? การเล่าเรื่อง ( สตอรี่เทลลิ่ง ) จากข้อมูลธิติพล เทียมจันทร์
 
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัวหน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัวJanchai Pokmoonphon
 
หน่วยที่ 5-กลไก
หน่วยที่ 5-กลไกหน่วยที่ 5-กลไก
หน่วยที่ 5-กลไกJanchai Pokmoonphon
 
แสงและองค์ประกอบของภาพ
แสงและองค์ประกอบของภาพแสงและองค์ประกอบของภาพ
แสงและองค์ประกอบของภาพDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)
หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)
หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
บท Mv อยากเป็นคนสำคัญของเธอ
บท Mv อยากเป็นคนสำคัญของเธอบท Mv อยากเป็นคนสำคัญของเธอ
บท Mv อยากเป็นคนสำคัญของเธอMatic Aoto
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
From quality management to performance excellence
From quality management to performance excellenceFrom quality management to performance excellence
From quality management to performance excellenceAreté Partners
 
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

What's hot (20)

ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
 
ใบความรู้้เรื่องสื่อสิ่งพิมพ์
ใบความรู้้เรื่องสื่อสิ่งพิมพ์ใบความรู้้เรื่องสื่อสิ่งพิมพ์
ใบความรู้้เรื่องสื่อสิ่งพิมพ์
 
Animation [การผลิตแอนิเมชั่นเบื้องต้น]
Animation [การผลิตแอนิเมชั่นเบื้องต้น]Animation [การผลิตแอนิเมชั่นเบื้องต้น]
Animation [การผลิตแอนิเมชั่นเบื้องต้น]
 
OJT Techniques
OJT TechniquesOJT Techniques
OJT Techniques
 
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
 
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkable
 
data storytelling คือ อะไร ? การเล่าเรื่อง ( สตอรี่เทลลิ่ง ) จากข้อมูล
data storytelling คือ อะไร ? การเล่าเรื่อง ( สตอรี่เทลลิ่ง ) จากข้อมูลdata storytelling คือ อะไร ? การเล่าเรื่อง ( สตอรี่เทลลิ่ง ) จากข้อมูล
data storytelling คือ อะไร ? การเล่าเรื่อง ( สตอรี่เทลลิ่ง ) จากข้อมูล
 
แผนธุรกิจ
แผนธุรกิจแผนธุรกิจ
แผนธุรกิจ
 
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัวหน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
 
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
แนวข้อสอบ  100  ข้อแนวข้อสอบ  100  ข้อ
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
 
หน่วยที่ 5-กลไก
หน่วยที่ 5-กลไกหน่วยที่ 5-กลไก
หน่วยที่ 5-กลไก
 
แสงและองค์ประกอบของภาพ
แสงและองค์ประกอบของภาพแสงและองค์ประกอบของภาพ
แสงและองค์ประกอบของภาพ
 
หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)
หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)
หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)
 
Slideshare ภาษาไทย
Slideshare ภาษาไทยSlideshare ภาษาไทย
Slideshare ภาษาไทย
 
สอนออนไลน์ด้วย OBS Studio
สอนออนไลน์ด้วย OBS Studioสอนออนไลน์ด้วย OBS Studio
สอนออนไลน์ด้วย OBS Studio
 
บท Mv อยากเป็นคนสำคัญของเธอ
บท Mv อยากเป็นคนสำคัญของเธอบท Mv อยากเป็นคนสำคัญของเธอ
บท Mv อยากเป็นคนสำคัญของเธอ
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
 
From quality management to performance excellence
From quality management to performance excellenceFrom quality management to performance excellence
From quality management to performance excellence
 
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
 

Viewers also liked

ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม The truth about blockchain
ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม The truth about blockchain
ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม The truth about blockchain maruay songtanin
 
ความได้เปรียบจากการสะสม Cumulative advantage
ความได้เปรียบจากการสะสม Cumulative advantage ความได้เปรียบจากการสะสม Cumulative advantage
ความได้เปรียบจากการสะสม Cumulative advantage maruay songtanin
 
เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย Do you hate your boss
เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย Do you hate your boss
เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย Do you hate your boss maruay songtanin
 
การเปลี่ยนแปลงเกณฑ์ Changes to the 2017–2018 Baldrige excellence framework
การเปลี่ยนแปลงเกณฑ์ Changes to the 2017–2018 Baldrige excellence framework  การเปลี่ยนแปลงเกณฑ์ Changes to the 2017–2018 Baldrige excellence framework
การเปลี่ยนแปลงเกณฑ์ Changes to the 2017–2018 Baldrige excellence framework maruay songtanin
 
Presentacion sobre la expectativa de inflacion de la poliltica monetaria en G...
Presentacion sobre la expectativa de inflacion de la poliltica monetaria en G...Presentacion sobre la expectativa de inflacion de la poliltica monetaria en G...
Presentacion sobre la expectativa de inflacion de la poliltica monetaria en G...Rudy MC
 
เศรษฐกิจชายแดน Frontier economies
เศรษฐกิจชายแดน Frontier economies เศรษฐกิจชายแดน Frontier economies
เศรษฐกิจชายแดน Frontier economies maruay songtanin
 
อธิบายเกณฑ์ด้วยแผนภาพ Criteria by diagrams
อธิบายเกณฑ์ด้วยแผนภาพ Criteria by diagrams อธิบายเกณฑ์ด้วยแผนภาพ Criteria by diagrams
อธิบายเกณฑ์ด้วยแผนภาพ Criteria by diagrams maruay songtanin
 
ประเทศไทย 4.0 - Thailand 4.0
ประเทศไทย 4.0 - Thailand 4.0 ประเทศไทย 4.0 - Thailand 4.0
ประเทศไทย 4.0 - Thailand 4.0 maruay songtanin
 
ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน Health care needs real competition
ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน Health care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน Health care needs real competition
ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน Health care needs real competition maruay songtanin
 
รางวัล 2016 Baldrige award recipients
รางวัล 2016 Baldrige award recipients รางวัล 2016 Baldrige award recipients
รางวัล 2016 Baldrige award recipients maruay songtanin
 
การสร้างทีม Team building
การสร้างทีม Team building การสร้างทีม Team building
การสร้างทีม Team building maruay songtanin
 
การทำให้สำเร็จที่เป็นเลิศ Executional excellence
การทำให้สำเร็จที่เป็นเลิศ Executional excellence การทำให้สำเร็จที่เป็นเลิศ Executional excellence
การทำให้สำเร็จที่เป็นเลิศ Executional excellence maruay songtanin
 
ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum
ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum  ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum
ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum maruay songtanin
 
กลยุทธ์ หรือ การทำให้สำเร็จ อะไรสำคัญกว่ากัน Strategy or execution
กลยุทธ์ หรือ การทำให้สำเร็จ อะไรสำคัญกว่ากัน Strategy or execution กลยุทธ์ หรือ การทำให้สำเร็จ อะไรสำคัญกว่ากัน Strategy or execution
กลยุทธ์ หรือ การทำให้สำเร็จ อะไรสำคัญกว่ากัน Strategy or execution maruay songtanin
 
มนุษย์กับสมองกล Man and machine
มนุษย์กับสมองกล Man and machine มนุษย์กับสมองกล Man and machine
มนุษย์กับสมองกล Man and machine maruay songtanin
 
สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร? What does your customer really want
สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร? What does your customer really want สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร? What does your customer really want
สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร? What does your customer really want maruay songtanin
 
ความหลากหลาย Diversity
ความหลากหลาย Diversity ความหลากหลาย Diversity
ความหลากหลาย Diversity maruay songtanin
 
รางวัล 2015 Baldrige award winners
รางวัล 2015 Baldrige award winners รางวัล 2015 Baldrige award winners
รางวัล 2015 Baldrige award winners maruay songtanin
 
ตัวตน ครอบครัว การงาน และชุมชน Work + home + community + self
ตัวตน ครอบครัว การงาน และชุมชน Work + home + community + self ตัวตน ครอบครัว การงาน และชุมชน Work + home + community + self
ตัวตน ครอบครัว การงาน และชุมชน Work + home + community + self maruay songtanin
 
การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า Value chain analysis
การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า Value chain analysis การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า Value chain analysis
การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า Value chain analysis maruay songtanin
 

Viewers also liked (20)

ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม The truth about blockchain
ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม The truth about blockchain
ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม The truth about blockchain
 
ความได้เปรียบจากการสะสม Cumulative advantage
ความได้เปรียบจากการสะสม Cumulative advantage ความได้เปรียบจากการสะสม Cumulative advantage
ความได้เปรียบจากการสะสม Cumulative advantage
 
เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย Do you hate your boss
เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย Do you hate your boss
เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย Do you hate your boss
 
การเปลี่ยนแปลงเกณฑ์ Changes to the 2017–2018 Baldrige excellence framework
การเปลี่ยนแปลงเกณฑ์ Changes to the 2017–2018 Baldrige excellence framework  การเปลี่ยนแปลงเกณฑ์ Changes to the 2017–2018 Baldrige excellence framework
การเปลี่ยนแปลงเกณฑ์ Changes to the 2017–2018 Baldrige excellence framework
 
Presentacion sobre la expectativa de inflacion de la poliltica monetaria en G...
Presentacion sobre la expectativa de inflacion de la poliltica monetaria en G...Presentacion sobre la expectativa de inflacion de la poliltica monetaria en G...
Presentacion sobre la expectativa de inflacion de la poliltica monetaria en G...
 
เศรษฐกิจชายแดน Frontier economies
เศรษฐกิจชายแดน Frontier economies เศรษฐกิจชายแดน Frontier economies
เศรษฐกิจชายแดน Frontier economies
 
อธิบายเกณฑ์ด้วยแผนภาพ Criteria by diagrams
อธิบายเกณฑ์ด้วยแผนภาพ Criteria by diagrams อธิบายเกณฑ์ด้วยแผนภาพ Criteria by diagrams
อธิบายเกณฑ์ด้วยแผนภาพ Criteria by diagrams
 
ประเทศไทย 4.0 - Thailand 4.0
ประเทศไทย 4.0 - Thailand 4.0 ประเทศไทย 4.0 - Thailand 4.0
ประเทศไทย 4.0 - Thailand 4.0
 
ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน Health care needs real competition
ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน Health care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน Health care needs real competition
ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน Health care needs real competition
 
รางวัล 2016 Baldrige award recipients
รางวัล 2016 Baldrige award recipients รางวัล 2016 Baldrige award recipients
รางวัล 2016 Baldrige award recipients
 
การสร้างทีม Team building
การสร้างทีม Team building การสร้างทีม Team building
การสร้างทีม Team building
 
การทำให้สำเร็จที่เป็นเลิศ Executional excellence
การทำให้สำเร็จที่เป็นเลิศ Executional excellence การทำให้สำเร็จที่เป็นเลิศ Executional excellence
การทำให้สำเร็จที่เป็นเลิศ Executional excellence
 
ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum
ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum  ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum
ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum
 
กลยุทธ์ หรือ การทำให้สำเร็จ อะไรสำคัญกว่ากัน Strategy or execution
กลยุทธ์ หรือ การทำให้สำเร็จ อะไรสำคัญกว่ากัน Strategy or execution กลยุทธ์ หรือ การทำให้สำเร็จ อะไรสำคัญกว่ากัน Strategy or execution
กลยุทธ์ หรือ การทำให้สำเร็จ อะไรสำคัญกว่ากัน Strategy or execution
 
มนุษย์กับสมองกล Man and machine
มนุษย์กับสมองกล Man and machine มนุษย์กับสมองกล Man and machine
มนุษย์กับสมองกล Man and machine
 
สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร? What does your customer really want
สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร? What does your customer really want สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร? What does your customer really want
สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร? What does your customer really want
 
ความหลากหลาย Diversity
ความหลากหลาย Diversity ความหลากหลาย Diversity
ความหลากหลาย Diversity
 
รางวัล 2015 Baldrige award winners
รางวัล 2015 Baldrige award winners รางวัล 2015 Baldrige award winners
รางวัล 2015 Baldrige award winners
 
ตัวตน ครอบครัว การงาน และชุมชน Work + home + community + self
ตัวตน ครอบครัว การงาน และชุมชน Work + home + community + self ตัวตน ครอบครัว การงาน และชุมชน Work + home + community + self
ตัวตน ครอบครัว การงาน และชุมชน Work + home + community + self
 
การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า Value chain analysis
การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า Value chain analysis การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า Value chain analysis
การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า Value chain analysis
 

Similar to เคมีของทีม Team chemistry

คุณสมบัติผู้นำ Leadership competencies
คุณสมบัติผู้นำ Leadership competenciesคุณสมบัติผู้นำ Leadership competencies
คุณสมบัติผู้นำ Leadership competenciesmaruay songtanin
 
ทำอย่างไรดีเมื่อเกิดข้อผิดพลาด When things go wrong
ทำอย่างไรดีเมื่อเกิดข้อผิดพลาด When things go wrong ทำอย่างไรดีเมื่อเกิดข้อผิดพลาด When things go wrong
ทำอย่างไรดีเมื่อเกิดข้อผิดพลาด When things go wrong maruay songtanin
 
ค้นหาตัวตนที่ซ่อนเร้น เฟ้นหาจุดเด่นที่ซ่อนอยู่
ค้นหาตัวตนที่ซ่อนเร้น เฟ้นหาจุดเด่นที่ซ่อนอยู่ค้นหาตัวตนที่ซ่อนเร้น เฟ้นหาจุดเด่นที่ซ่อนอยู่
ค้นหาตัวตนที่ซ่อนเร้น เฟ้นหาจุดเด่นที่ซ่อนอยู่Boonlert Kanathanasarn
 
24 ไม้เด็ดของผู้บริหาร How to be a great coach
24 ไม้เด็ดของผู้บริหาร How to be a great coach 24 ไม้เด็ดของผู้บริหาร How to be a great coach
24 ไม้เด็ดของผู้บริหาร How to be a great coach maruay songtanin
 
การจัดการตนเอง Drucker - Managing Oneself.pptx
 การจัดการตนเอง Drucker - Managing Oneself.pptx การจัดการตนเอง Drucker - Managing Oneself.pptx
การจัดการตนเอง Drucker - Managing Oneself.pptxmaruay songtanin
 
การตัดสินใจ การทำงานเป็นทีม และการบริหารความขัดแย้ง
การตัดสินใจ การทำงานเป็นทีม และการบริหารความขัดแย้งการตัดสินใจ การทำงานเป็นทีม และการบริหารความขัดแย้ง
การตัดสินใจ การทำงานเป็นทีม และการบริหารความขัดแย้งtanongsak
 
ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม Make better decisions
ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม Make better decisions ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม Make better decisions
ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม Make better decisions maruay songtanin
 
การสื่อสารภายในองค์กร
การสื่อสารภายในองค์กรการสื่อสารภายในองค์กร
การสื่อสารภายในองค์กรSmith Boonchutima
 
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdfหลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdfmaruay songtanin
 
โครงการสัมมนาใช้จริง
โครงการสัมมนาใช้จริงโครงการสัมมนาใช้จริง
โครงการสัมมนาใช้จริงthawiwat dasdsadas
 

Similar to เคมีของทีม Team chemistry (13)

Vunst dr delek
Vunst dr delekVunst dr delek
Vunst dr delek
 
คุณสมบัติผู้นำ Leadership competencies
คุณสมบัติผู้นำ Leadership competenciesคุณสมบัติผู้นำ Leadership competencies
คุณสมบัติผู้นำ Leadership competencies
 
ทำอย่างไรดีเมื่อเกิดข้อผิดพลาด When things go wrong
ทำอย่างไรดีเมื่อเกิดข้อผิดพลาด When things go wrong ทำอย่างไรดีเมื่อเกิดข้อผิดพลาด When things go wrong
ทำอย่างไรดีเมื่อเกิดข้อผิดพลาด When things go wrong
 
51105
5110551105
51105
 
ค้นหาตัวตนที่ซ่อนเร้น เฟ้นหาจุดเด่นที่ซ่อนอยู่
ค้นหาตัวตนที่ซ่อนเร้น เฟ้นหาจุดเด่นที่ซ่อนอยู่ค้นหาตัวตนที่ซ่อนเร้น เฟ้นหาจุดเด่นที่ซ่อนอยู่
ค้นหาตัวตนที่ซ่อนเร้น เฟ้นหาจุดเด่นที่ซ่อนอยู่
 
24 ไม้เด็ดของผู้บริหาร How to be a great coach
24 ไม้เด็ดของผู้บริหาร How to be a great coach 24 ไม้เด็ดของผู้บริหาร How to be a great coach
24 ไม้เด็ดของผู้บริหาร How to be a great coach
 
การจัดการตนเอง Drucker - Managing Oneself.pptx
 การจัดการตนเอง Drucker - Managing Oneself.pptx การจัดการตนเอง Drucker - Managing Oneself.pptx
การจัดการตนเอง Drucker - Managing Oneself.pptx
 
การตัดสินใจ การทำงานเป็นทีม และการบริหารความขัดแย้ง
การตัดสินใจ การทำงานเป็นทีม และการบริหารความขัดแย้งการตัดสินใจ การทำงานเป็นทีม และการบริหารความขัดแย้ง
การตัดสินใจ การทำงานเป็นทีม และการบริหารความขัดแย้ง
 
C
CC
C
 
ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม Make better decisions
ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม Make better decisions ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม Make better decisions
ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม Make better decisions
 
การสื่อสารภายในองค์กร
การสื่อสารภายในองค์กรการสื่อสารภายในองค์กร
การสื่อสารภายในองค์กร
 
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdfหลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
 
โครงการสัมมนาใช้จริง
โครงการสัมมนาใช้จริงโครงการสัมมนาใช้จริง
โครงการสัมมนาใช้จริง
 

More from maruay songtanin

200 สาธุสีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
200 สาธุสีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....200 สาธุสีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
200 สาธุสีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
198 ราธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
198 ราธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx198 ราธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
198 ราธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
197 มิตตามิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
197 มิตตามิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...197 มิตตามิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
197 มิตตามิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
195 ปัพพตูปัตถรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
195 ปัพพตูปัตถรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...195 ปัพพตูปัตถรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
195 ปัพพตูปัตถรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
194 มณิโจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
194 มณิโจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx194 มณิโจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
194 มณิโจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
193 จูฬปทุมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
193 จูฬปทุมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....193 จูฬปทุมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
193 จูฬปทุมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
192 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
192 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...192 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
192 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
190 สีลานิสังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
190 สีลานิสังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...190 สีลานิสังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
190 สีลานิสังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
189 สีหจัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
189 สีหจัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....189 สีหจัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
189 สีหจัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
188 สีหโกตถุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
188 สีหโกตถุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...188 สีหโกตถุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
188 สีหโกตถุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
187 จตุมัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
187 จตุมัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....187 จตุมัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
187 จตุมัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
186 ทธิวาหนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
186 ทธิวาหนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....186 ทธิวาหนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
186 ทธิวาหนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
185 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
185 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....185 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
185 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
184 คิริทัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
184 คิริทัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...184 คิริทัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
184 คิริทัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
183 วาโลทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
183 วาโลทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx183 วาโลทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
183 วาโลทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
180 ทุทททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
180 ทุทททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx180 ทุทททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
180 ทุทททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
179 สตธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
179 สตธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx179 สตธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
179 สตธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

200 สาธุสีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
200 สาธุสีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....200 สาธุสีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
200 สาธุสีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
198 ราธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
198 ราธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx198 ราธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
198 ราธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
197 มิตตามิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
197 มิตตามิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...197 มิตตามิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
197 มิตตามิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
195 ปัพพตูปัตถรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
195 ปัพพตูปัตถรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...195 ปัพพตูปัตถรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
195 ปัพพตูปัตถรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
 
194 มณิโจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
194 มณิโจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx194 มณิโจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
194 มณิโจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
193 จูฬปทุมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
193 จูฬปทุมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....193 จูฬปทุมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
193 จูฬปทุมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
192 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
192 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...192 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
192 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
 
191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
190 สีลานิสังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
190 สีลานิสังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...190 สีลานิสังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
190 สีลานิสังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
189 สีหจัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
189 สีหจัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....189 สีหจัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
189 สีหจัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
188 สีหโกตถุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
188 สีหโกตถุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...188 สีหโกตถุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
188 สีหโกตถุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
187 จตุมัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
187 จตุมัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....187 จตุมัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
187 จตุมัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
186 ทธิวาหนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
186 ทธิวาหนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....186 ทธิวาหนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
186 ทธิวาหนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
185 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
185 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....185 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
185 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
184 คิริทัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
184 คิริทัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...184 คิริทัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
184 คิริทัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
183 วาโลทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
183 วาโลทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx183 วาโลทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
183 วาโลทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
180 ทุทททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
180 ทุทททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx180 ทุทททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
180 ทุทททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
179 สตธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
179 สตธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx179 สตธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
179 สตธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 

เคมีของทีม Team chemistry

  • 2. Suzanne M. Johnson Vickberg and Kim Christfort Harvard Business Review, March-April 2017 Understanding how to meld different work styles will help you manage your team—and yourself—better.
  • 3. บทสรุปสาหรับผู้บริหาร  เมื่อทีมขาดศักยภาพ อาจเป็นเพราะผู้นาไม่ทราบวิธีสังเกตและจัดการ ความแตกต่างของผู้คน ด้วยเหตุนี้ ความคิดที่ดีที่สุดบางเรื่องจงไม่เกิดข้น  Suzanne M. Johnson Vickberg และ Kim Christfort มีกรอบในการระบุผู้คน เป็น 4 ประเภทคือ 1.) ผู้บุกเบิก (Pioneers) ให้ความสาคัญกับความ เป็นไปได้ กระตุ้นให้เกิดพลังงานและจินตนาการในทีม 2.) ผู้พิทักษ์ (Guardians) ให้ความสาคัญกับความมั่นคงและกฎระเบียบ 3.) ผู้ผลักดัน (Drivers) ให้ความสาคัญกับความท้าทายและสร้างแรงผลักดัน 4.) ผู้ รอมชอม (Integrators) ให้ความสาคัญการเชื่อมโยงและดงทีมเข้าด้วยกัน  เพื่อให้ได้รูปแบบที่ดีที่สุดจากทีมงาน ผู้นาควร (1) ดงคนประเภทที่ ตรงกันข้ามเข้าหากัน เพื่อสร้างแรงเสียดทานที่มีประสิทธิผล (2) ให้ ความสาคัญกับเสียงส่วนน้อย และ (3) ให้ความใส่ใจเป็นพิเศษกับผู้เก็บ เนื้ อเก็บตัว ที่สามารถสร้างคุณค่าได้ ซ่งเสี่ยงต่อการถูกละเลย
  • 4. THE PROBLEM When teams fall short of their potential, it’s often because leaders don’t know how to manage the differences in how people approach their work. THE RISK The four work styles described here—Pioneers, Guardians, Drivers, and Integrators—all have something important to offer. But they can cause conflict among team members. THE SOLUTION To foster productive friction, leaders should pull opposite types closer, seek input from people with nondominant styles, and pay attention to sensitive introverts, who risk being drowned out but have essential contributions to make.
  • 5. เกริ่นนา  การที่ทีมไม่มีผลงาน บ่อยครั้งความผิดไม่ได้อยู่กับสมาชิกในทีม แต่ข้นอยู่กับผู้นา ที่ไม่สามารถใช้รูปแบบและมุมมองที่หลากหลาย ในการทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ  ผู้จัดการบางคนไม่เข้าใจความแตกต่างระหว่างคน ไม่ทราบวิธี จัดการกับช่องว่างและความตงเครียด ดังนั้นจงไม่ได้ความคิดที่ดี ที่สุดจากทีม ทาให้ผลงานแย่ลง  เพื่อช่วยผู้นาในเรื่องนี้ บริษัท Deloitte ได้สร้างระบบที่เรียกว่า เคมีของธุรกิจ (Business Chemistry) ซ่งระบุรูปแบบวิธีการทางาน หลัก ๆ สี่รูปแบบของผู้คน และกลยุทธ์ที่เกี่ยวข้องในการบรรลุ เป้ าหมายร่วมกัน
  • 6. ทาความเข้าใจลักษณะเฉพาะของบุคคล  ผู้บุกเบิก (Pioneers) ให้ความสาคัญกับความเป็นไปได้ กระตุ้นให้เกิด พลังงานและจินตนาการในทีม พวกเขาเชื่อว่าความเสี่ยงเป็นสิ่งที่คุ้มค่า และ ใช้จิตสานกในการตัดสินใจ จุดเน้นของพวกเขาคือภาพใหญ่ พวกเขาดงดูด ความคิดใหม่ ๆ และมีแนวทางที่สร้างสรรค์  ผู้พิทักษ์ (Guardians) ให้ความสาคัญกับความมั่นคงและเคารพกฎระเบียบ พวกเขาเป็นผู้ปฏิบัติจริง และลังเลที่จะยอมรับความเสี่ยง ชอบใช้ข้อมูลและ ข้อเท็จจริงเป็นข้อกาหนดพื้นฐาน และลงในรายละเอียด พวกเขาคิดว่าควรที่ จะเรียนรู้จากอดีต  ผู้ผลักดัน (Drivers) ชอบความท้าทายและสร้างแรงผลักดัน เน้นที่ผลลัพธ์ และชอบเป็นผู้ชนะ มักจะมองปัญหาเป็นขาวหรือดา แก้ปัญหาด้วยข้อมูล และเหตุผล  ผู้รอมชอม (Integrators) เชื่อมต่อและดงทีมเข้าด้วยกัน เน้นความสัมพันธ์ และความรับผิดชอบของกลุ่ม มักจะเชื่อว่าสิ่งต่างๆ ส่วนใหญ่มีความสัมพันธ์ ซ่งกันและกัน พวกเขามีความสัมพันธ์แบบการทูต และมุ่งเน้นไปที่ฉันทามติ
  • 7.
  • 8. ความตงเครียดและความเข้าใจผิด  ความแตกต่างเกี่ยวกับการโต้ตอบของผู้คน เช่น ผู้รอมชอม (Integrators) เกลียดความขัดแย้ง แต่ ผู้ผลักดัน (Drivers) ชอบที่ จะโต้แย้ง  ความแตกต่างในการคิดและการมีส่วนร่วมของแต่ละบุคคล สามารถสร้างปัญหาได้ เช่นการที่ ผู้พิทักษ์ (Guardian) ลงใน รายละเอียดแต่ละบรรทัด อาจสร้างความอดอัดให้กับ ผู้บุกเบิก (Pioneer) ซ่งต้องการให้ข้ามไปข้างหน้าอย่างรวดเร็ว  ความตรงกันข้ามกันของ ผู้บุกเบิกที่พูดโดยไม่มีวาระหรือ โครงสร้าง อาจทาให้ผู้พิทักษ์รู้สกว่าเป็นการยุ่งเหยิงไม่มีระเบียบ
  • 9. ความขัดแย้งระหว่างบุคคล  ทีมนาแห่งหน่งประสบปัญหาความขัดแย้งระหว่างบุคคล ในการ พยายามทาให้ทุกคน ทาตนให้สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์  จากการสังเกตได้ค้นพบบรรทัดฐานบางอย่างที่ไม่เหมาะ เช่น ผู้ พิทักษ์รู้สกว่าพวกเขาได้รับการรีบเร่งให้ผ่านกระบวนการที่ต้อง อาศัยรายละเอียด ผู้บุกเบิกรู้สกว่านวัตกรรมถูกต้านด้วยการ ตีความแนวทางการปฏิบัติตามกฎระเบียบที่เข้มงวด ผู้ผลักดัน รู้สกผิดหวังกับความไม่เต็มใจของทีมในการตัดสินใจ และผู้ รอมชอมทาอะไรไม่ได้นอกจากมองไปมองมา
  • 10. การจัดการกับลักษณะของบุคคล สามารถทาได้สามวิธี 1. ดงฝั่งตรงข้ามกันให้ใกล้ชิดมากข้น (Pull your opposites closer) 2. ให้สิทธิพิเศษกับบางคนในทีม (Elevate the “tokens” on your team) 3. ใส่ใจกับผู้ที่ชอบเก็บตัว (Pay close attention to your sensitive introverts)
  • 11. 1. ดงฝั่งตรงข้ามให้ใกล้ชิดกันมากข้น  จุดที่เจ็บปวดที่สุดคือ เมื่อความสัมพันธ์แบบตัวต่อตัว ที่มี รูปแบบตรงกันข้ามชนกันหรือปะทะคารมกัน  เช่นผู้พิทักษ์มักสงวนสิทธิมากกว่าผู้ผลักดัน แต่ทั้งสองประเภทนี้ หากมีจุดเน้นร่วมกัน ก็สามารถช่วยให้พวกเขาทางานร่วมกันได้  ผู้พิทักษ์และผู้บุกเบิกเป็นฝ่ายที่อยู่ตรงข้ามกันที่แท้จริง เช่นเดียวกับผู้รอมชอมและผู้ผลักดัน
  • 12. 1. ดงฝั่งตรงข้ามให้ใกล้ชิดกันมากข้น (ต่อ)  ตัวอย่างเช่นผู้ผลักดันคนหน่งอธิบายว่า ทาไมเธอจงไม่สนุกกับ การทางานร่วมกับผู้รอมชอม: "ฉันรู้สกเหนื่อยที่จะต้องอธิบาย อย่างละเอียด เพื่อทาให้ทุกคนรู้สกดีในการทางานร่วมกัน ฉัน ต้องการทาสิ่งต่างๆให้เสร็จสิ้น ให้ความคิดเห็นที่ซื่อสัตย์ ตรงไปตรงมา และก้าวไปข้างหน้า ไม่ต้องกังวลกับความรู้สกที่ อ่อนไหว ซ่งทาให้ฉันต้องช้าลง "  ผู้รอมชอมซ่งคิดว่าถูกผู้ผลักดันท้าทายในการทางานด้วยกล่าวว่า "ฉันจาเป็นต้องประมวลผลสิ่งต่างๆ เพื่อให้ได้บริบทครบถ้วน สาหรับภาพใหญ่ ผู้ผลักดันมักพูดจาภาษาเทพ หรือพูดเป็นส่วน ๆ ที่ทาให้เราต้องแปลอีก "
  • 13. 1. ดงฝั่งตรงข้ามให้ใกล้ชิดกันมากข้น (ต่อ)  เราได้รับการบอกเล่าจากผู้พิทักษ์ว่า "ฉันมักจะคิดถงวิธีที่ฉัน จะต้องใช้ในการดาเนินการ... ในขณะที่ผู้บุกเบิกมีความคิดที่ดี แต่พวกเขามักไม่ใส่ใจกับวิธีการดาเนินการ และถ้าผลออกมาไม่ ตรงกับวิสัยทัศน์ของพวกเขา พวกเขาจะรู้สกผิดหวังมาก "  และผู้บุกเบิกยอมรับว่า "ฉันมีช่วงเวลาที่ยากลาบากในการ ปรับตัวให้เข้ากับรูปแบบของผู้พิทักษ์ ฉันชอบเป็นผู้ตัดสินใจและ ชอบที่จะแสดงความคิดโดยไม่ถูกตัดสิน ผู้พิทักษ์ชอบตัดสิน ความคิดของฉัน ทาให้ความคิดสร้างสรรค์ไม่ลื่นไหล "
  • 14. 1. ดงฝั่งตรงข้ามให้ใกล้ชิดกันมากข้น (ต่อ)  แม้จะมีความแตกต่างดังกล่าว แต่ความแตกต่างสามารถเสริม กันและกันได้ ซ่งต้องใช้เวลาและความพยายาม เมื่อ ความสัมพันธ์ของพวกเขาก้าวหน้าข้น พวกเขาจะเริ่มเชื่อใจ และ ปรับตัวเข้าหากันและกัน  ผู้บุกเบิกรู้ว่าคู่หูของเธอมีความพิถีพิถัน สามารถพาพวกเขาออก จากจุดที่ยุ่งเหยิงที่ต้องลงรายละเอียดได้ และการเตรียมตัวที่ดี ล่วงหน้า ก็จะช่วยให้เธอดูดีข้น  ผู้พิทักษ์ได้เรียนรู้ว่า ปฏิภาณที่เกิดข้ นเองอย่างฉับพลันของคู่หู ของเธอ ทาให้พวกเขามีความยืดหยุ่น และตอบสนองต่อความ ต้องการของผู้ชมได้ดียิ่งข้น
  • 15. 1. ดงฝั่งตรงข้ามให้ใกล้ชิดกันมากข้น (ต่อ)  การดงความแตกต่างให้ใกล้ชิดมากยิ่งข้น โดยให้พวกเขาทางาน ร่วมกันในโครงการขนาดเล็กก่อน หากทาได้ดีจงนาไปสู่โครงการ ที่ใหญ่กว่า ซ่งเป็นการสร้างพันธมิตรในทีม  และเป็นสิ่งสาคัญที่จะดงผู้ขัดแย้งของคุณเอง ให้ใกล้ชิดกับคุณ มากยิ่งข้น เพื่อให้สมดุลกับแนวโน้มของคุณในฐานะผู้นา  นี่เป็นเรื่องเกี่ยวกับการสร้าง แรงเสียดทานที่มีประสิทธิผล (productive friction) ให้คิดถง Lennon และ McCartney (The Beatles), Serena และ Venus (Williams), Steves (Jobs และ Wozniak) ความแตกต่างคือสิ่งที่ทาให้ความร่วมมือดังกล่าวมีพลัง
  • 16. 2. ยกสิทธิพิเศษให้กับบางคนในทีมของคุณ  หากคุณมีทีมงาน 10 คน 7 คนเป็นผู้พิทักษ์ คุณควรให้ ความสาคัญกับภาวะผู้นาอย่างไร การนาเสนอสิ่งที่ดีที่สุดสาหรับ ผู้พิทักษ์ คือแสวงหาผลประโยชน์สูงสุดสาหรับผู้คนจานวนมาก ที่สุด ซ่งอาจดูเหมือนจะเป็นสิ่งที่เป็นประโยชน์  แต่จากประสบการณ์ของเรา ประสิทธิภาพมักจะมีมากกว่า โดย การมุ่งเน้นไปที่การแสดงออกโดยคนกลุ่มน้อยไม่กี่คนในทีม เนื่องจากมุมมองเหล่านั้น เป็นสิ่งที่คุณควรใช้เพื่อเก็บเกี่ยว ประโยชน์ของความหลากหลาย (benefits of diversity)
  • 17. 2. ยกสิทธิพิเศษให้กับบางคนในทีมของคุณ (ต่อ)  การมีมติของทีมโดยเสียงส่วนมาก มักจะมีอคติแทรกเข้ามาด้วย ซ่งนาไปสู่สภาวะที่เชี่ยวกรากเสมือน "น้าตก (cascades)"  ลองนกภาพความพยายามที่จะเปลี่ยนทิศทางของน้าตกขนาด ใหญ่ หากปราศจากความสาเร็จด้านวิศวกรรม แทบจะเป็นไป ไม่ได้เลย  แม้ว่าจะมีมุมมองที่หลากหลายในทีม แต่ก็อาจจะไม่ทาให้กระแส การเปลี่ยนแปลงเกิดข้นได้ เนื่องจากคนมักลังเลที่จะไม่เห็นด้วย กับแนวคิดที่ได้รับการสนับสนุนในช่วงต้น
  • 18. 2. ยกสิทธิพิเศษให้กับบางคนในทีมของคุณ (ต่อ)  นอกจากนี้ เรายังพบว่าผู้นาสูงสุดมักเป็นผู้บุกเบิกและผู้ผลักดัน ในหลาย ๆ กรณี สมาชิกในกลุ่มผู้บริหารส่วนใหญ่จะมีส่วนร่วม ในสไตล์ของผู้นา ซ่งอาจทาให้ทีมงานเกิดสภาวะน้าตกได้  ผู้บุกเบิก มักจะเป็นไปตามธรรมชาติและชอบแสดงออก พวกเขา คิดอย่างรวดเร็ว และพูดอย่างกระปรี้กระเปร่า บางครั้งอาจพูด ก่อนที่จะคิดด้วยซ้า  ในทานองเดียวกันผู้ผลักดัน ชอบที่จะเป็นผู้รับผิดชอบของกลุ่ม มี ลักษณะชอบการแข่งขัน และตรงไปตรงมา พวกเขามีแนวโน้มที่ จะก้าวเข้ามาและระบุจุดยืนของตน แทนที่จะฟังสิ่งที่คนอื่นพูด
  • 19. คุณลักษณะผู้นา  ผู้นาระดับสูงส่วนใหญ่เป็ นผู้ บุกเบิกหรือผู้ผลักดัน จากการ สารวจของผู้บริหาร 661 ราย  หนทางที่ดีที่สุด ทีมผู้บริหารควร มองหา น้าตก (cascades) และ หลักฐานเกี่ยวกับ ความคิดของ กลุ่ม (groupthink)
  • 20. 2. ยกสิทธิพิเศษให้กับบางคนในทีมของคุณ (ต่อ)  การจะยกระดับมุมมองของชนกลุ่มน้อยในทีม เพื่อหลีกเลี่ยง น้าตกและคนชายขอบ กลยุทธ์ต่อไปนี้ อาจช่วยได้ คือ กระตุ้นให้ ทุกคนในชนกลุ่มน้อย พูดตอนเริ่มต้น (speak up early) เพื่อให้ โอกาสในการมีอิทธิพลต่อทิศทางของการสนทนา ก่อนที่น้าตกจะ กาหนดเส้นทาง  การทดลองแบบคลาสสิกของนักจิตวิทยาชาวโปแลนด์ Solomon Asch ยืนยันว่า แม้แต่คนเดียวที่เห็นแย้งกับคนส่วนใหญ่ โอกาสที่ คนอื่นจะเสนอมุมมองที่แตกต่างกันจะเพิ่มข้นอย่างมาก ให้ใช้ ประโยชน์จากปรากฏการณ์นี้ เพื่อส่งเสริมความขัดแย้งที่ดีต่อทีม
  • 21. 2. ยกสิทธิพิเศษให้กับบางคนในทีมของคุณ (ต่อ)  ขอร้องให้ผู้คนลองระดมความคิดด้วยตนเองก่อนเวลา และ แบ่งปันความคิดของพวกเขาในรูปแบบ วนไปโดยรอบ (round- robin) เมื่อกลุ่มประชุมกัน  การศกษาพบว่า วิธีนี้ มีประสิทธิภาพมากกว่าการระดมความคิด แบบกลุ่ม เฉกเดียวกับการให้ชนกลุ่มน้อยกล่าวข้นก่อน การ ระดมความคิดแต่ละครั้ง จะได้รับความคิดที่มีความหลากหลาย มากข้น ก่อนที่แรงผลักดันไปทิศทางหน่งจะเพิ่มข้น
  • 22. 3. ใส่ใจกับผู้ที่ชอบเก็บตัวไม่กล้าแสดงออก  ทีมอาจสูญเสียการมีส่วนร่วมจากชนกลุ่มน้อย แต่ยังมีสมาชิกที่ ชอบเก็บตัวไม่กล้าแสดงออกหรือมีความรู้สกไวสูง ซ่งอาจเสี่ยง ต่อการถูกทอดทิ้งมากที่สุด  มีหลักฐานมากที่สุดเกี่ยวกับผู้เก็บตัวและความไวในผู้พิทักษ์ แต่ ยังพบลักษณะเหล่านี้ ในชุดย่อยของผู้รอมชอม ซ่งเราจะเรียกว่า ผู้รอมชอบแบบเงียบ (Quiet Integrators)  เช่นเดียวกับคนที่ไม่ได้มีส่วนร่วมในสไตล์การนาของทีม พวกเขา จะถูกละเลย เว้นแต่ผู้นาจะระบุเจาะจงถงพวกเขา
  • 23. ความเครียด  ในการศกษาผู้เชี่ยวชาญกว่า 23,000 ราย ผู้พิทักษ์และผู้ รอมชอม มีความเครียดมากกว่า คนอื่น  เพื่อให้ได้ประโยชน์จากจุดแข็ง ของพวกเขาในทีม ให้มองหาวิธีที่ จะลดความกดดัน และช่วยให้ พวกเขารู้สกปลอดภัยทางด้าน จิตใจ
  • 24. 3. ใส่ใจกับผู้ที่ชอบเก็บตัวไม่กล้าแสดงออก (ต่อ)  ผู้บุกเบิกและผู้ผลักดันเปรียบเสมือน น้าตกไนแองการา (Niagara Falls) ในสายตาของผู้พิทักษ์ ซ่งมักจะพิจารณาการตัดสินใจอย่าง รอบคอบ และหลีกเลี่ยงการเผชิญหน้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งหาก พวกเขาอยู่ในชนกลุ่มน้อย พวกเขาจะไม่พูดเลย  ในทานองเดียวกันผู้รอมชอมที่เงียบสงบ มีแนวโน้มที่จะไม่ มุ่งเน้นเรื่องขัดแย้ง แต่มุ่งเน้นไปที่ความเป็นเอกฉันท์ ดังนั้นหาก ทีมดูเหมือนจะเอนเอียงไปในทิศทางใด เขาก็จะไม่เสนอมุมมอง ที่แตกต่างกันออกไป
  • 25. 3. ใส่ใจกับผู้ที่ชอบเก็บตัวไม่กล้าแสดงออก (ต่อ)  ทาไมต้องให้ความสาคัญด้วย? คนควรสามารถปรับตัวและจัดการ ความเครียดได้มิใช่หรือ? ต้องกล้าพูดเองได้แม้จะเป็นเรื่องยาก?  คนที่เก็บตัวหรือมีความรู้สกอ่อนไหว มีจุดแข็งที่อาจเป็นประโยชน์ต่อ ทีมและองค์กร เช่นพวกเขามีแนวโน้มที่จะระมัดระวังและรอบคอบ ในการจาแนกข้อผิดพลาดและความเสี่ยงที่อาจเกิดข้น  พวกเขาสามารถมุ่งเน้นเป็นระยะเวลานาน พวกเขาเป็นผู้ฟังที่ดี มี แนวโน้มที่จะเน้นความคิดที่ยอดเยี่ยมของผู้อื่น มากกว่าการแสวงหา ความโดดเด่นให้ตัวเอง  พวกเขามักจะจัดการและเก่งในงานที่มุ่งเน้นรายละเอียด ซ่งผู้อื่นไม่ สามารถหรือไม่ต้องการทา
  • 26. 3. ใส่ใจกับผู้ที่ชอบเก็บตัวไม่กล้าแสดงออก (ต่อ)  ผู้เก็บตัวและมีความรู้สกไว ไม่ชอบการรับผิดชอบหรือแข่งขัน หรือแม้กระทั่งพูดมาก แต่อย่าตีความว่าเขาขาดความสนใจ  พวกเขาจะสังเกตและวิเคราะห์ ถ้าคุณต้องการมุมมองของพวก เขา ถามพวกเขาโดยตรง แต่ให้ใช้ ความรู้สกสัมผัสที่นุ่มนวล (use a light touch)  ถ้าคุณให้โอกาสพวกเขาเตรียมตัวล่วงหน้า และเตรียมเวลาให้ พวกเขาพูดในที่ประชุม พวกเขาอาจยินดีที่จะเสนอความคิดของ พวกเขา
  • 27. สรุป  ผู้บุกเบิก (หรือผู้ผลักดัน) ให้ความสาคัญกับการคิดอย่างกว้าง ๆ และความก้าวหน้าอันรวดเร็ว ในขณะที่ผู้พิทักษ์ (และผู้รอมชอบ ที่เงียบ) ประมวลผลสิ่งต่าง ๆ อย่างลกซ้ ง ยืนยันความเข้มงวด และไม่รีบเร่ง  ในฐานะผู้นาของทีม (โดยเฉพาะผู้บุกเบิกหรือผู้ผลักดัน) ควร สร้างเขตปลอดภัย ที่ช่วยให้ผู้พิทักษ์หรือผู้รอมชอมที่เงียบ ทาใน สิ่งที่เขาทาได้ดีที่สุด  ความเป็นหุ้นส่วนก็จะดีข้นกว่าเดิม และส่งผลดีต่อทีมงานด้วย
  • 28. Suzanne M. Johnson Vickberg and Kim Christfort