SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
Download to read offline
พลตรี มารวย ส่งทานินทร์
maruays@hotmail.com
25 มิถุนายน 2563
Michael Bungay Stanier
Publisher: Page Two Books, Incorporated, 2020
The Advice Trap helps you accelerate your communication skills and makes you more likable by
explaining why defaulting to giving your opinion on how to solve other people’s problems is so terrible
and how to listen better to their actual needs so you can make a positive difference.
เกี่ยวกับผู้ประพันธ์
 Michael Bungay Stanier เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการฝึกสอน ผู้บรรยายหลักที่
มีชื่อเสียง และผู้แต่งหนังสือ The Coaching Habit ซึ่งมียอดขายมากกว่า
500,000 เล่มตั้งแต่เปิดตัวในปี ค.ศ. 2016 และ Do More Great Work
(ยอดขาย 100,000 เล่ม)
 เขาเป็นผู้ก่อตั้ง Box of Crayons ซึ่งเป็นบริษัทที่เสริมสร้างภาวะผู้นาและ
วัฒนธรรมภายในองค์กร ด้วยการมอบเครื่องมือในการฝึกสอนที่ได้ผล
ให้กับผู้จัดการและผู้นา
 เขาทางานกับลูกค้าจากทุกภาคส่วน รวมถึง Microsoft, Volvo, United
Nations, Sotheby's และ PwC
โดยย่อ
 ทุกคนเกลียดที่จะรับคาแนะนา แต่ทุกคนชอบที่จะให้มัน
 คุณและคนอื่น ๆ มี สัตว์ประหลาดคาแนะนาอยู่ภายใน (internal advice monster) ที่ชอบ
ให้คาแนะนาในทุกโอกาส
 น่าเสียดายที่คาแนะนาส่วนใหญ่ไม่มีประโยชน์ หรืออาจเป็นอันตรายได้
 หากต้องการหยุดให้แนวคิดของคุณกับคนอื่น Michael Bungay Stanier ผู้แต่ง The
Coaching Habit ขอแนะนาให้คุณกักขัง สัตว์ประหลาดคาแนะนา (Advice Monster)
เกริ่นนา
 การให้คาแนะนาเป็นสภาพพื้นฐานของมนุษย์ เช่นเดียวกับการเพลิดเพลินกับผู้คน
มากกว่าความสันโดษ หรือความสุขมากกว่าความโศกเศร้า
 สัตว์ประหลาดเชื่อว่า สิ่งที่ดีที่สุดในโลกคือคุณรู้ว่าคุณมี "คาตอบที่ดีที่สุด" สาหรับปัญหา
ของใครบางคนและพร้อมแบ่งปันให้
 สัตว์ประหลาดยืนยันว่า คุณกาลังส่งมอบคุณค่า ซึ่งเป็นวิธีที่คุณรักษาการควบคุมและ
ป้องกัน การลดระดับความมั่นใจของคุณที่เกี่ยวกับความล้มเหลว
การให้คาแนะนา
 คุณอาจให้คาแนะนาที่ดี แต่เช่นเดียวกับคนส่วนใหญ่ มักไม่เป็นไปตามนั้นด้วยเหตุผล
สองประการ:
 1. คุณแก้ไขปัญหาที่ผิดประเด็น ในการสนทนาใด ๆ เป็นเรื่องปกติที่จะแก้ไขปัญหาแรก
ที่เกิดขึ้น นั่นคือ การที่คนส่วนใหญ่มุ่งเน้นคาแนะนาของพวกเขา แต่ปัญหาแรกที่ปรากฏ
ขึ้นมักจะไม่ใช่ปัญหาจริง ฟังและสอบสวนต่อไป หากต้องการเปลี่ยนเส้นทางสัตว์
ประหลาดของคุณ ถามคาถามแทนที่จะให้คาแนะนา
 2. วิธีแก้ปัญหาของคุณเป็นเรื่องธรรมดา ๆ วิธีแก้ปัญหาของคุณอาจไม่ได้ช่วยก็ได้
เพราะเช่นเดียวกับคนส่วนใหญ่ คุณกาลังจัดการด้วยข้อมูลไม่เพียงพอ ใน "มหาสมุทร
แห่งสมมติฐาน (ocean of assumption)"
การให้คาแนะนาเป็นเรื่องที่ไม่ดี สาหรับผู้ให้คาแนะนา ผู้รับคาแนะนา ทีม และองค์กร
 คาแนะนาที่ไม่พึงประสงค์มักส่งผลให้เกิดผลกระทบด้านลบสี่ประการ
 1. ลดระดับคุณค่าผู้รับคาแนะนา เมื่อมีคนอื่นบอกคุณว่าต้องทาอย่างไร ปฏิกิริยา
ธรรมชาติของคุณคือ เป็นการที่ผู้ให้คาแนะนาไม่เห็นคุณค่าของคุณ ในฐานะคนที่
สามารถคิดได้ด้วยตนเอง ผู้ให้คาแนะนามักจะโจมตีความเป็นตัวตนของคุณ
 2. ทาให้คนที่ให้คาแนะนามาชี้บงการ ชีวิตที่ยุ่งวุ่นวายของคุณยิ่งกลายเป็นเรื่องวุ่นวาย
มากขึ้นไปอีก คุณต้องมีการวางแผนงานของคุณเช่นเดียวกับคนอื่นอยู่แล้ว
การให้คาแนะนาเป็นเรื่องที่ไม่ดี (ต่อ)
 3. ลดทอนประสิทธิภาพของทีม สัตว์ประหลาดของทุกคน ทาให้ทีมกลายเป็น ผู้รับ
คาแนะนาที่ด้อยคุณค่าและผู้ให้คาแนะนาที่คอยบงการ (demotivated receivers and
overwhelmed givers) สมาชิกในทีมจะมีปัญหาในการมุ่งเน้นไปที่ธุรกิจที่กาลังเผชิญอยู่
 4. จากัดการเปลี่ยนแปลงองค์กร ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของวันนี้
องค์กรไม่สามารถพึ่งพาสูตรเก่า ๆ และกระบวนการแบบคงที่อีกต่อไป เพราะ "สถานะ
ดั้งเดิมตามลาดับชั้น (status quo of hierarchy)" ไม่เพียงพอต่อความท้าทายที่เกิดขึ้น
ในทันทีของวันนี้
สัตว์ประหลาดคาแนะนา ทาให้คุณกลายเป็นบุคคลที่แตกต่างกันสามแบบ
 1. บุคลิกภาพแบบบอกไปเลย (Tell-It) มันคอยกระซิบคุณว่า คุณมีคาตอบสาหรับ
ปัญหาใด ๆ และควรแบ่งปันอย่างกว้างขวาง ด้วยหลักที่ว่า "ฉันรู้ดีที่สุด (I know best)"
 2. บุคลิกภาพแบบต้องให้การช่วยเหลือ (Save-It) มีความคึกคักน้อยกว่า แต่มีความ
ทะนงตัวมากกว่า มันบอกว่า ทุกอย่างจะพังถ้าคุณไม่เข้าไปช่วย
 3. บุคลิกภาพแบบเราต้องควบคุมไว้ (Control It) เป็นตัวคุมการจัดการ มันบอกว่า ขืน
ให้คนอื่นควบคุมไว้ มันจะเป็นหายนะ และคุณจาเป็นต้องรับผิดชอบ
เรียนรู้ที่จะคุมสัตว์ประหลาดของคุณ และกลายเป็นโค้ช
 การยับยั้งสัตว์ประหลาดของคุณ แล้วกลายเป็นโค้ชมากขึ้น เป็นวิธีการพื้นฐาน เป็นกล
ยุทธ์ที่ถูกต้อง แต่มันยากที่จะปฏิบัติ
 หากต้องการใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ให้เปลี่ยนจาก คุณในปัจจุบัน (Present You) เป็น
คุณในอนาคต (Future You)
 คุณในปัจจุบัน ก็เหมือนเด็ก ๆ ที่ไม่ปฏิเสธ เพื่อสนองความพึงพอใจในตนเองของคุณใน
ปัจจุบันทันที
 ตัวตนในอนาคตของคุณ คือผู้ใหญ่ ที่ปลดปล่อยรางวัลความรู้สึกที่ดีในทันที เพื่อรางวัล
มากมายที่ยั่งยืนในอนาคต
การควบคุมสัตว์ประหลาดคาแนะนา ต้องสะท้อนตนเองด้วยปัจจัยสี่ประการ
 1. ใครปล่อยสุนัขออกไป (Who let the dogs out?) ระวังการกระตุ้นสัตว์ประหลาด ให้
คิดก่อนล่วงหน้าเพื่อหลีกเลี่ยงจุดกระตุ้นต่าง ๆ เช่นสถานการณ์ เหตุการณ์ และผู้คน ที่
ดันคุณเข้าสู่การให้คาแนะนา
 2. การยอมสารภาพผิด (Confessions) ถือกระจกเงาส่องตัวเองว่า เมื่อมีความคิด
บางอย่างเกิดขึ้นสิ่งที่คุณจะทามีอะไรบ้าง สิ่งที่สัตว์ประหลาดแนะนาให้คุณทาที่
เฉพาะเจาะจงคืออะไร
การควบคุมสัตว์ประหลาดคาแนะนา (ต่อ)
 3. รางวัลและการลงโทษ (Prizes and punishments) ทุกสิ่งที่คุณทามีประโยชน์และ
ค่าใช้จ่าย กาหนดว่าคุณได้ผลประโยชน์ใดและให้หลีกเลี่ยงค่าใช้จ่าย คุณในอนาคต
(Future you) จะต้องเผชิญกับบทลงโทษสาหรับความผิดพลาดของคาแนะนา
 4. เพื่อชัยชนะของคุณในอนาคต (Future you for the win) รางวัลในเชิงบวกที่เกิดขึ้ นเมื่อ
คุณไม่ทาตามคาแนะนาจากสัตว์ประหลาด รวมถึงการพัฒนาส่วนบุคคลของคุณ คุณใน
อนาคตจะมีคุณสมบัติที่น่าชื่นชมสามประการคือ ความมีน้าใจ (empathy) ความเอาใจใส่
(mindfulness) และ ความอ่อนน้อมถ่อมตน (humility) ซึ่งเป็นคุณลักษณะที่กาหนดของ
โค้ชที่ยอดเยี่ยม
การฝึกสอนที่มีคุณภาพ ต้องพัฒนา อุปนิสัยการฝึกสอน (coaching habit)
 หากต้องการเปลี่ยนวิธีการให้คาแนะนาของคุณ ให้พัฒนาอุปนิสัยการฝึกสอน
 สิ่งที่ทาให้เป็นโค้ชที่ยอดเยี่ยมไม่ใช่คาแนะนาของพวกเขา แต่เป็นธรรมชาติที่รอบคอบ
ความอยากรู้ตามธรรมชาติ และความสามารถในการฟัง (thoughtful nature, natural
curiosity and ability to listen)
การฝึกสอนที่มีคุณภาพ มีหลักการสามข้อคือ ขี้เกียจ อยากรู้อยากเห็น ทาบ่อย ๆ
 1. จงขี้เกียจ (Be lazy) อย่าพยายามแก้ปัญหาของคนอื่นทันที ถอยหลัง รอ และผ่อน
คลาย เมื่อคุณขี้เกียจ คุณจะฟังแทนที่จะกระโดดให้คาแนะนาทันที
 2. เป็นคนที่อยากรู้อยากเห็น (Be curious) สิ่งที่โค้ชชาญฉลาดทาคือ ขี้สงสัย ฟัง
ไตร่ตรอง และสะท้อนกลับ ในการสนทนาใด ๆ คาแนะนาของสัตว์ประหลาดจะทาให้
คนไม่สบายใจ และทาให้พวกเขารู้สึกประหม่าและรู้สึกด้อยกว่า
 3. ฝึกทักษะบ่อยครั้ง (Be often) อย่าจากัดพฤติกรรมในการฝึกสอนเพียงในการสนทนา
ใช้หลักการของการโค้ชที่ดีในการโต้ตอบและการสื่อสารทั้งหมดของคุณ รวมถึงใน
ระหว่างการประชุม เมื่อเขียนอีเมล์ และข้อความ
ถามคาถามเจ็ดประเภท เริ่มต้น, มีอะไรอีก, จุดเน้น, วางรากฐาน, กลยุทธ์, ขี้เกียจ และ
การเรียนรู้
 การฝึกสอนที่ยอดเยี่ยมขึ้นอยู่กับการถามคาถามเพื่อหาข้อเท็จจริง ที่คุณไม่จาเป็นต้องใช้
ตามลาดับ ตามบริบท หรือจะใช้แบบผสมก็ได้ แล้วแต่ว่าวิธีใดจะใช้ได้ดีที่สุด ซึ่งขึ้นอยู่
กับสถานการณ์
 คุณสามารถเป็นที่รู้จักในฐานะคนที่ช่วยแก้ปัญหาที่สาคัญ หรือเป็นคนที่ให้คาตอบอย่าง
เร่งด่วนในการแก้ปัญหาที่ผิด คุณต้องการแบบไหน
คาถามเจ็ดข้อ ได้แก่
 1. คาถามเริ่มต้น คุณคิดอะไรอยู่ (The kick-start question: What’s on your mind?) สิ่งนี้
ทาให้เกิดความอยากรู้เบื้องต้น ในการเริ่มการสนทนา
 2. คาถาม แล้วมีอะไรอีก (The AWE question: And what else?) นี่ควรเป็นคาถามที่ถนัด
ที่สุดในการฝึกสอนของคุณ ซึ่งช่วยให้คุณค้นพบสิ่งลึก ๆ ที่มีผลกระทบต่อผู้คน
 3. คาถามมุ่งเน้น อะไรคือความท้าทายที่แท้จริงสาหรับคุณ (The focus question: What’s
the real challenge here for you?) ความท้าทายแรกที่บางคนกล่าวถึง อาจไม่ใช่ความท้า
ทายที่แท้จริงของเขาหรือเธอ
 4. คาถามพื้นฐาน คุณต้องการอะไร (The foundation question: What do you want?) สิ่งนี้
ช่วยให้คุณค้นพบว่า มีการกระทาใดบ้างที่จาเป็น
คาถามเจ็ดข้อ (ต่อ)
 5. คาถามเชิงกลยุทธ์ ถ้าคุณตอบว่าคือสิ่งนี้ แล้วอะไรคือสิ่งที่ไม่ใช่ (The strategy
question: If you’re saying yes to this, what must you say no to?) กลยุทธ์เป็นตัวเลือก
ของคุณ และชั่งน้าหนักค่าเสียโอกาส
 6. คาถามขี้เกียจ ฉันจะช่วยได้อย่างไร (The lazy question: How can I help?) อีก
ทางเลือกของคาถามนี้ คือ คุณต้องการอะไรจากฉัน เมื่อคุณถาม จาไว้ว่า ไม่ใช่หน้าที่
กงการของคุณที่จะช่วยเหลือใคร
 7. คาถามการเรียนรู้ จากกรณีนี้ อะไรที่มีประโยชน์หรือมีคุณค่ามากที่สุดสาหรับคุณ
(The learning question: What was most useful or valuable here for you?) การเรียนรู้จะ
ไม่เกิดขึ้นเมื่อคุณบอกบางสิ่งที่คุณรู้ มันเกิดขึ้นเมื่อบุคคลอื่นเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง
ให้ระวังหกหลุมพราง
 แทนที่จะให้คาแนะนา ช่วยให้ผู้คนระบุความท้าทายของพวกเขาเอง เพราะคุณไม่
สามารถกาหนดความท้าทายที่แท้จริงของใครได้ หลุมพรางมีหกประการที่ต้องระวังคือ
 1. พูดวกวน (Twirling) สิ่งแรกที่พูดออกมา มักไม่ใช่ความท้าทายอย่างแท้จริง
 2. พูดสิ่งที่ไร้สาระ (Coaching the ghost) บุคคลที่คุณกาลังฝึกสอนอยู่นั้น จะพูดนอก
เรื่อง โดยเน้นไปที่บุคคลอื่นหรือสถานการณ์อื่น เพราะความว้าวุ่นใจ
 3. พูดกล่าวหา (Settling) อย่าสมรู้ร่วมคิดกับความขี้ขลาด ให้ย้อนกลับ เพื่อไปสู่ปัญหาที่
แท้จริง
ให้ระวังหกหลุมพราง (ต่อ)
 4. พูดเรื่อยเปื่อย (Popcorning) เมื่อคุณถามว่า คุณคิดอะไรอยู่? มีคาตอบที่ตอบสนอง
เยอะมาก แต่ไม่ใช่คาตอบที่ต้องการ ให้ข้ามคาตอบเหล่านี้ เพื่อค้นหาปัญหาที่แท้จริง
 5. พูดแต่ภาพใหญ่ (Big-picturing) พูดเรื่องทั่วไปและบทสรุปที่ไม่ได้มีส่วนช่วยในการ
สนทนา การฝึกสอนที่เป็นประโยชน์ ให้เน้นเฉพาะเจาะจงลงไป
 6. พูดยืดยาว (Yarning) เล่าเรื่องราวที่ไร้สาระและน่าทึ่งแต่ไม่มีประโยชน์ ช่วยกระตุ้น
เขาให้เปิดเผยปัญหาที่เป็นประเด็นหลัก
คาดหวังหนึ่งในสองสิ่ง ที่แสดงว่าคุณประสบความสาเร็จ
 1. เพื่อนหรือเพื่อนร่วมงานเห็นแสงสว่างที่ทางออกและพร้อมที่จะดาเนินการต่อไป เขา
หรือเธอคิดว่า ฉันพร้อมจะออกจากการสนทนานี้ แล้ว ฉันจะได้ไปเสียที
 2. บุคคลอื่นมีความสุขที่ได้ระบุกับปัญหาที่แท้จริง แต่ไม่รู้ว่าจะทาอย่างไร คุณสามารถ
ถามว่า เราดูเหมือนจะพบกับความท้าทายที่แท้จริง…ตอนนี้ ฉันจะช่วยได้อย่างไร เมื่อ
บุคคลเสนอแนวคิด ให้ถามคาถาม AWE แล้วมีอะไรอีก (And what else?)
สี่เคล็ดลับเพื่อฝึกฝนนิสัยการโค้ช (โค้ชที่ดี มีน้าใจ ใจกว้าง และมีความกระตือรือร้น)
 1. จงใจกว้าง (Be generous) โค้ชที่ยิ่งใหญ่ฝึกฝน ความใจกว้างด้วยการเงียบ
(generous silence) อย่างชาญฉลาดในระหว่างการสนทนาใด ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน
ระหว่างการสนทนาในการฝึกสอน โค้ชที่ยอดเยี่ยมจะเงียบเป็นระยะ เพื่อให้บุคคลอื่น
สามารถพูดได้อย่างอิสระและผ่อนคลาย ความเงียบใช้เวลาเพียงสามถึงห้าวินาทีเท่านั้น
โค้ชคุณภาพแสดงให้เห็นถึง ความใจกว้างอย่างโปร่งใส (generous transparency) โดย
การเปิดเผยเกี่ยวกับกระบวนการฝึกสอน และ ความใจกว้างอย่างซาบซึ้ ง (generous
appreciation) โดยแสดงว่า พวกเขาให้ความสาคัญกับบุคคลอื่น
สี่เคล็ดลับเพื่อฝึกฝนนิสัยการโค้ช (ต่อ)
 2. เป็นผู้อ่อนไหว (Be vulnerable) โค้ชที่ยอดเยี่ยมนั้นอ่อนน้อมถ่อมตนและเปิดรับการ
ถูกฝึกสอน พวกเขารับรู้ว่า พวกเขามีอะไรมากมายที่จะเรียนรู้ และเต็มใจที่จะเลิกการ
ควบคุม เมื่อโค้ชที่มีคุณภาพยอมรับการถูกฝึกสอน พวกเขาจะซื่อสัตย์ต่อความล้มเหลว
 3. เป็นนักเรียน (Be a student) ยิ่งคุณมีความรู้ทั้งภาคปฏิบัติและภาคทฤษฎี คุณควรจะ
ได้รับการเรียนรู้จากผู้เชี่ยวชาญชั้นนา มุ่งเน้นเรียนรู้จากครูที่ดีที่สุด จากนักเขียนและ
นักวิชาการผู้บริหารระดับสูง ผู้นาเสนอในรายการ TED อ่านผลงานการฝึกสอนของ
Marshall Goldsmith เกี่ยวกับ coaching และ Disrupt Yourself ของ Whitney Johnson
 4. เป็นผู้ให้คาแนะนา (Be an advice-giver) ตอนนี้ คุณเข้าใจแล้วว่า ทาไมคุณต้องหยุด
ก่อนที่จะเสนอคาแนะนา จาไว้ว่าประเด็นคือ การให้คาแนะนาที่เหมาะสม
สี่กลยุทธ์การให้คาแนะนาที่ถูกต้อง ได้แก่
 1. กาหนดลาดับ (Define it) ให้คาแนะนาเมื่อบุคคลอื่นพร้อมที่จะฟัง ไม่ใช่ให้ก่อน
 2. ลดความคาดหวัง (Diminish it) ทาให้คาแนะนาที่ประกาศล่วงหน้ามีข้อจากัดความ
รับผิดชอบเช่น "นี่คือการคาดเดาที่ดีที่สุดของฉัน ... " หรือ "ฉันอาจจะผิด ... " อย่า
คาดหวังว่าคาแนะนาของคุณจะดีเพราะมันมาจากคุณ
 3. ส่งมอบ (Deliver it) เมื่อคุณเสนอคาแนะนา ให้เมื่อพร้อม รวดเร็ว และกล้าหาญ
 4. สรุป (Debrief it) หลังจากที่คุณแนะนาความคิด ให้ถามว่า สิ่งนี้ ใช่สิ่งที่คุณต้องการ
หรือไม่
ใช้ TERA Quotient ในการสนทนา TERA ย่อมาจาก
 1. ชนเผ่า (Tribe) แสดงให้เห็นว่า คุณและบุคคลอื่นอยู่ด้วยกันในประเด็นที่เป็นปัญหา
ใช้คาว่า "เรา" และ "พวกเรา"
 2. ความคาดหวัง (Expectation) พยากรณ์เหตุการณ์สาคัญเล็ก ๆ ในอนาคต เพื่อช่วยให้
บุคคลอื่นสามารถตอบสนองความต้องการของมนุษย์ ในเรื่องการคาดการณ์ได้
 3. อันดับ (Rank) ในการสนทนาใด ๆ ต่างฝ่ ายต้องการทราบว่าใครสาคัญกว่า คุณควร
พยายามอย่างดีที่สุด เพื่อยกระดับบุคคลอื่น ๆ หรือทีม
 4. อิสระ (Autonomy) ผู้คนต้องการพูดโดยตรงในสิ่งที่เกิดขึ้นกับพวกเขา ให้สัญญาณว่า
พวกเขามีตัวเลือก นั่นเป็นสาเหตุที่คาถามรากฐาน คุณต้องการอะไร (What do you
want?) จึงมีพลังมาก
สรุป
 หนังสือเล่มนี้ นอกเหนือจากการสร้างคุณให้เป็นคนใหม่ คุณอาจเปลี่ยนไป หรือเป็นผู้นา
ทีมของคุณ หรือแม้กระทั่งกลายเป็นองค์ประกอบสาคัญขององค์กรใหม่
 ให้ใช้สามขั้นตอนคือ 1) พัฒนาอุปนิสัยโค้ชของคุณ 2) ระวังกับดักการแนะนา และ 3)
คุมสัตว์ประหลาดของคุณให้ดี
 นี่เป็นการนาเสนอวิธีคิดใหม่เกี่ยวกับความเป็นผู้นา ที่วางอยู่บนความอยากรู้อยากเห็น
และการเอาใจใส่ มีสติ และความอ่อนน้อมถ่อมตน
3 บทเรียนจากหนังสือเล่มนี้
 1. สัตว์ประหลาดคาแนะนาของคุณมีสามแบบที่คุณต้องระวัง ถ้าคุณต้องการเอาชนะมัน
(Your Advice Monster takes on three personas that you need to be aware of if you want
to beat it.)
 2. ฝึกทักษะการฟังโดยใช้คาหลัก เตรียมตนเองให้พร้อม ทาซ้าทักษะเดียว และทาให้
สนุก (Practice listening skills by using keywords to prime yourself, repetition of a single
skill, and making it enjoyable.)
 3. มีน้าใจเมื่อสื่อสารกับผู้อื่น ในสามเรื่องคือ เงียบ โปร่งใส ชื่นชม (Be generous when
communicating with others in three specific categories.)
บทเรียนที่ 1 ควบคุมสัตว์ประหลาดคาแนะนาที่มีสามรูปแบบ
 ในช่วงวัยเด็กของ Stanier อาศัยในออสเตรเลีย เขามักจะเล่นแปลงตัวกับพี่น้องของเขา
พวกเขาสามารถเปลี่ยนจากการเป็นซูเปอร์แมนเป็นผู้ควบคุมรถไฟได้ทันที จาก
เหตุการณ์นั้น เขาได้เรียนรู้ว่า สัตว์ประหลาดก็ชอบเล่นแปลงตัวและมีสามบทบาทคือ
 1. บอกไปเลย (Tell-It)
 2. ต้องช่วยเหลือ (Save-It)
 3. ต้องควบคุม (Control-It)
บทเรียนที่ 1 (ต่อ)
 1. บอกไปเลย (Tell-It) สัตว์ประหลาดตัวนี้ เป็นผู้กระทาผิดบ่อยที่สุดและเป็นผู้ที่ดังที่สุด
มันพยายามทาให้คุณคิดว่า เป็นงานของคุณเพราะคุณมีคาตอบ และทาให้คุณคิดว่า คุณ
รู้ดีที่สุด
 2. ต้องช่วยเหลือ (Save-It) สัตว์ประหลาดตัวนี้ แสดงออกน้อยกว่าเล็กน้อย แต่ไม่เป็น
อันตราย ซึ่งเป็นเรื่องปกติในช่วงเวลาที่มีความขัดแย้ง โดยปลอมตัวเป็น "การ
ช่วยเหลือ" และทาให้คุณคิดว่าคุณมีอานาจมากที่สุด
 3. ต้องควบคุม (Control-It) ตัวสุดท้ายของสัตว์ประหลาดคือการควบคุม ซึ่งหลอกให้
คุณคิดว่า คุณต้องควบคุมอยู่เสมอไม่ว่าอะไรก็ตาม ตัวนี้ มักจะปล่อยให้ผ่านไปได้อย่าง
ยากลาบาก และทาให้คุณคิดว่า คุณเป็นเพียงสิ่งเดียว ที่ควบคุมความสับสนวุ่นวายได้
บทเรียนที่ 2 การฝึกฝนทักษะเหล่านี้ จะง่ายขึ้น เมื่อคุณใช้พลังของการเตรียมพร้อม ทาซ้า
และมีความเพลิดเพลิน
 เรานามันออกมาวางบนโต๊ะ (เตรียมพร้อม ทาซ้า และเพลิดเพลิน) และถึงเวลาที่จะ
เรียนรู้วิธีเอาชนะสัตว์ประหลาดเหล่านี้
 1. เตรียมความพร้อม (Priming) ในกีฬาโอลิมปิก คุณมักจะเห็นนักกีฬาที่สวมใส่หูฟัง
ก่อนการแข่งขัน พวกเขาไม่เพียงแค่เพลิดเพลินกับเสียงเพลงหรือปิดเสียงฝูงชน พวก
เขากาลังเข้าสู่โลกส่วนตัว หรือกาลังเตรียมพร้อม
บทเรียนที่ 2 (ต่อ)
 2. ทาซ้า (Repetition) ในการให้คาแนะนา ผู้ประพันธ์แนะนาว่า คุณควรแบ่งการฟังให้
เป็นสิ่งที่เล็กที่สุด จากนั้นเลือกมาหนึ่งรายการ เพื่อทาการเน้นและทาซ้า
 3. ความเพลิดเพลิน (Enjoyment) บทเรียนที่ยิ่งใหญ่ที่ Stanier นาเสนอคือ การใช้
ประโยชน์จากวงจรกิจวัตรประจาวันอย่างสนุกสนาน คุณสามารถทาได้โดยขอให้คนที่รับ
คาแนะนา ระบุสิ่งที่มีประโยชน์สาหรับพวกเขาเมื่อจบการสนทนา การถามสิ่งนี้ จะช่วย
ให้คุณเห็นว่า อะไรทาได้ดี ซึ่งจะทาให้กระบวนการสนุกมากขึ้น
บทเรียนที่ 3 ใช้สามทักษะในเรื่องการใจกว้างเมื่อพูดคุยกับผู้อื่น
 หากต้องการเป็นคนใจกว้างในการสนทนา Stanier แนะนาให้แบ่งทักษะออกเป็นสาม
ส่วน ได้แก่
 1. ความเงียบ (Silence)
 2. ความโปร่งใส (Transparency)
 3. การชื่นชม (Appreciation)
บทเรียนที่ 3 (ต่อ)
 1. ความเงียบ (Silence) เป็นสิ่งสาคัญที่จะหยุดหลังจากถามคาถาม และคุณควรเงียบ
อย่างน้อยแปดวินาทีก่อนพูดอะไร ในตอนแรกมันยาก แต่ก็สามารถใช้งานได้อย่าง
มหัศจรรย์ เพราะได้ให้เวลาผู้คนในการจัดระเบียบความคิดและแบ่งปัน
 คุณอาจรู้สึกกังวลในตอนแรก แต่เมื่อคุณเริ่มเต็มใจ คุณจะใจกว้างในการเสนอความ
เงียบได้ในไม่ช้า
บทเรียนที่ 3 (ต่อ)
 2. ความโปร่งใส (Transparency) คุณยินดีที่จะแบ่งปันว่า การสนทนาของคุณเป็นอย่างไร
ตรวจสอบกับตัวเองเพื่อดูว่าคุณเบื่อหน่ายหรือไม่ และได้หาวิธีที่เหมาะสมในการสื่อสาร
กับคนอื่นหรือไม่
 3. การแสดงความชื่นชม (Appreciation) เป็นสิ่งสุดท้ายและเป็นสิ่งที่เราทุกคนต้องมี
ความเอื้อเฟื้ อ ซึ่งหมายความว่า คุณต้องเปิดปากและแบ่งปันคาชมกับผู้อื่น แทนที่จะ
เก็บไว้ในใจ ความวิตกกังวลเป็นเรื่องธรรมดาเมื่อต้องลองทาสิ่งนี้ ในตอนแรก แต่ให้
เริ่มต้นด้วยสิ่งเล็ก ๆ แล้วคุณจะประสบความสาเร็จ
- Oprah Winfrey

More Related Content

Similar to กับดักการแนะนำ The advice trap

เก็บเล็กผสมน้อย Slight Edge.pdf
 เก็บเล็กผสมน้อย Slight Edge.pdf เก็บเล็กผสมน้อย Slight Edge.pdf
เก็บเล็กผสมน้อย Slight Edge.pdf
maruay songtanin
 
ผู้นำทุกทิศ The 360º Leader by Maxwell
ผู้นำทุกทิศ The 360º Leader by Maxwellผู้นำทุกทิศ The 360º Leader by Maxwell
ผู้นำทุกทิศ The 360º Leader by Maxwell
maruay songtanin
 
การสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาการสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษา
an1030
 
คุณสมบัติผู้นำ Leadership competencies
คุณสมบัติผู้นำ Leadership competenciesคุณสมบัติผู้นำ Leadership competencies
คุณสมบัติผู้นำ Leadership competencies
maruay songtanin
 
teaching 2
teaching 2teaching 2
teaching 2
sangkom
 
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
bussaba_pupa
 
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learning
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learningเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learning
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learning
Utai Sukviwatsirikul
 
How to get start
How to get startHow to get start
How to get start
pyopyo
 
Volunteer Management : รูปแบบการบริหารจัดการอาสาสมัครเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งขององ...
Volunteer Management : รูปแบบการบริหารจัดการอาสาสมัครเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งขององ...Volunteer Management : รูปแบบการบริหารจัดการอาสาสมัครเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งขององ...
Volunteer Management : รูปแบบการบริหารจัดการอาสาสมัครเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งขององ...
Tanade Sirinumas
 

Similar to กับดักการแนะนำ The advice trap (20)

เก็บเล็กผสมน้อย Slight Edge.pdf
 เก็บเล็กผสมน้อย Slight Edge.pdf เก็บเล็กผสมน้อย Slight Edge.pdf
เก็บเล็กผสมน้อย Slight Edge.pdf
 
ผู้นำทุกทิศ The 360º Leader by Maxwell
ผู้นำทุกทิศ The 360º Leader by Maxwellผู้นำทุกทิศ The 360º Leader by Maxwell
ผู้นำทุกทิศ The 360º Leader by Maxwell
 
การสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาการสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษา
 
การแนะแนวและให้คำปรึกษา
การแนะแนวและให้คำปรึกษาการแนะแนวและให้คำปรึกษา
การแนะแนวและให้คำปรึกษา
 
คุณสมบัติผู้นำ Leadership competencies
คุณสมบัติผู้นำ Leadership competenciesคุณสมบัติผู้นำ Leadership competencies
คุณสมบัติผู้นำ Leadership competencies
 
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษาจิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
 
teaching 2
teaching 2teaching 2
teaching 2
 
Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?
Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?
Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?
 
Chapter 7
Chapter 7 Chapter 7
Chapter 7
 
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
 
Ha forum20
Ha forum20Ha forum20
Ha forum20
 
หนังสือเรื่อง เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง สถาบันพัฒนาครู
หนังสือเรื่อง เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง   สถาบันพัฒนาครูหนังสือเรื่อง เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง   สถาบันพัฒนาครู
หนังสือเรื่อง เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง สถาบันพัฒนาครู
 
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learning
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learningเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learning
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learning
 
How to get start
How to get startHow to get start
How to get start
 
Volunteer Management : รูปแบบการบริหารจัดการอาสาสมัครเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งขององ...
Volunteer Management : รูปแบบการบริหารจัดการอาสาสมัครเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งขององ...Volunteer Management : รูปแบบการบริหารจัดการอาสาสมัครเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งขององ...
Volunteer Management : รูปแบบการบริหารจัดการอาสาสมัครเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งขององ...
 
ทำอย่างไรดีเมื่อเกิดข้อผิดพลาด When things go wrong
ทำอย่างไรดีเมื่อเกิดข้อผิดพลาด When things go wrong ทำอย่างไรดีเมื่อเกิดข้อผิดพลาด When things go wrong
ทำอย่างไรดีเมื่อเกิดข้อผิดพลาด When things go wrong
 
The 15 invaluable laws of growth
The 15 invaluable laws of growthThe 15 invaluable laws of growth
The 15 invaluable laws of growth
 
การแนะแนว
การแนะแนวการแนะแนว
การแนะแนว
 
Chapter 6 ideate
Chapter 6 ideateChapter 6 ideate
Chapter 6 ideate
 
Performance excellence's strategic planning
Performance excellence's strategic planningPerformance excellence's strategic planning
Performance excellence's strategic planning
 

More from maruay songtanin

หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdfหงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
maruay songtanin
 
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdfหลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
maruay songtanin
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
maruay songtanin
 
ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน Operational Resilience .pdf
ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน Operational Resilience .pdfความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน Operational Resilience .pdf
ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน Operational Resilience .pdf
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdfหงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
 
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdfหลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน Operational Resilience .pdf
ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน Operational Resilience .pdfความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน Operational Resilience .pdf
ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน Operational Resilience .pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 

กับดักการแนะนำ The advice trap

  • 2. Michael Bungay Stanier Publisher: Page Two Books, Incorporated, 2020 The Advice Trap helps you accelerate your communication skills and makes you more likable by explaining why defaulting to giving your opinion on how to solve other people’s problems is so terrible and how to listen better to their actual needs so you can make a positive difference.
  • 3. เกี่ยวกับผู้ประพันธ์  Michael Bungay Stanier เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการฝึกสอน ผู้บรรยายหลักที่ มีชื่อเสียง และผู้แต่งหนังสือ The Coaching Habit ซึ่งมียอดขายมากกว่า 500,000 เล่มตั้งแต่เปิดตัวในปี ค.ศ. 2016 และ Do More Great Work (ยอดขาย 100,000 เล่ม)  เขาเป็นผู้ก่อตั้ง Box of Crayons ซึ่งเป็นบริษัทที่เสริมสร้างภาวะผู้นาและ วัฒนธรรมภายในองค์กร ด้วยการมอบเครื่องมือในการฝึกสอนที่ได้ผล ให้กับผู้จัดการและผู้นา  เขาทางานกับลูกค้าจากทุกภาคส่วน รวมถึง Microsoft, Volvo, United Nations, Sotheby's และ PwC
  • 4. โดยย่อ  ทุกคนเกลียดที่จะรับคาแนะนา แต่ทุกคนชอบที่จะให้มัน  คุณและคนอื่น ๆ มี สัตว์ประหลาดคาแนะนาอยู่ภายใน (internal advice monster) ที่ชอบ ให้คาแนะนาในทุกโอกาส  น่าเสียดายที่คาแนะนาส่วนใหญ่ไม่มีประโยชน์ หรืออาจเป็นอันตรายได้  หากต้องการหยุดให้แนวคิดของคุณกับคนอื่น Michael Bungay Stanier ผู้แต่ง The Coaching Habit ขอแนะนาให้คุณกักขัง สัตว์ประหลาดคาแนะนา (Advice Monster)
  • 5. เกริ่นนา  การให้คาแนะนาเป็นสภาพพื้นฐานของมนุษย์ เช่นเดียวกับการเพลิดเพลินกับผู้คน มากกว่าความสันโดษ หรือความสุขมากกว่าความโศกเศร้า  สัตว์ประหลาดเชื่อว่า สิ่งที่ดีที่สุดในโลกคือคุณรู้ว่าคุณมี "คาตอบที่ดีที่สุด" สาหรับปัญหา ของใครบางคนและพร้อมแบ่งปันให้  สัตว์ประหลาดยืนยันว่า คุณกาลังส่งมอบคุณค่า ซึ่งเป็นวิธีที่คุณรักษาการควบคุมและ ป้องกัน การลดระดับความมั่นใจของคุณที่เกี่ยวกับความล้มเหลว
  • 6. การให้คาแนะนา  คุณอาจให้คาแนะนาที่ดี แต่เช่นเดียวกับคนส่วนใหญ่ มักไม่เป็นไปตามนั้นด้วยเหตุผล สองประการ:  1. คุณแก้ไขปัญหาที่ผิดประเด็น ในการสนทนาใด ๆ เป็นเรื่องปกติที่จะแก้ไขปัญหาแรก ที่เกิดขึ้น นั่นคือ การที่คนส่วนใหญ่มุ่งเน้นคาแนะนาของพวกเขา แต่ปัญหาแรกที่ปรากฏ ขึ้นมักจะไม่ใช่ปัญหาจริง ฟังและสอบสวนต่อไป หากต้องการเปลี่ยนเส้นทางสัตว์ ประหลาดของคุณ ถามคาถามแทนที่จะให้คาแนะนา  2. วิธีแก้ปัญหาของคุณเป็นเรื่องธรรมดา ๆ วิธีแก้ปัญหาของคุณอาจไม่ได้ช่วยก็ได้ เพราะเช่นเดียวกับคนส่วนใหญ่ คุณกาลังจัดการด้วยข้อมูลไม่เพียงพอ ใน "มหาสมุทร แห่งสมมติฐาน (ocean of assumption)"
  • 7. การให้คาแนะนาเป็นเรื่องที่ไม่ดี สาหรับผู้ให้คาแนะนา ผู้รับคาแนะนา ทีม และองค์กร  คาแนะนาที่ไม่พึงประสงค์มักส่งผลให้เกิดผลกระทบด้านลบสี่ประการ  1. ลดระดับคุณค่าผู้รับคาแนะนา เมื่อมีคนอื่นบอกคุณว่าต้องทาอย่างไร ปฏิกิริยา ธรรมชาติของคุณคือ เป็นการที่ผู้ให้คาแนะนาไม่เห็นคุณค่าของคุณ ในฐานะคนที่ สามารถคิดได้ด้วยตนเอง ผู้ให้คาแนะนามักจะโจมตีความเป็นตัวตนของคุณ  2. ทาให้คนที่ให้คาแนะนามาชี้บงการ ชีวิตที่ยุ่งวุ่นวายของคุณยิ่งกลายเป็นเรื่องวุ่นวาย มากขึ้นไปอีก คุณต้องมีการวางแผนงานของคุณเช่นเดียวกับคนอื่นอยู่แล้ว
  • 8. การให้คาแนะนาเป็นเรื่องที่ไม่ดี (ต่อ)  3. ลดทอนประสิทธิภาพของทีม สัตว์ประหลาดของทุกคน ทาให้ทีมกลายเป็น ผู้รับ คาแนะนาที่ด้อยคุณค่าและผู้ให้คาแนะนาที่คอยบงการ (demotivated receivers and overwhelmed givers) สมาชิกในทีมจะมีปัญหาในการมุ่งเน้นไปที่ธุรกิจที่กาลังเผชิญอยู่  4. จากัดการเปลี่ยนแปลงองค์กร ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของวันนี้ องค์กรไม่สามารถพึ่งพาสูตรเก่า ๆ และกระบวนการแบบคงที่อีกต่อไป เพราะ "สถานะ ดั้งเดิมตามลาดับชั้น (status quo of hierarchy)" ไม่เพียงพอต่อความท้าทายที่เกิดขึ้น ในทันทีของวันนี้
  • 9. สัตว์ประหลาดคาแนะนา ทาให้คุณกลายเป็นบุคคลที่แตกต่างกันสามแบบ  1. บุคลิกภาพแบบบอกไปเลย (Tell-It) มันคอยกระซิบคุณว่า คุณมีคาตอบสาหรับ ปัญหาใด ๆ และควรแบ่งปันอย่างกว้างขวาง ด้วยหลักที่ว่า "ฉันรู้ดีที่สุด (I know best)"  2. บุคลิกภาพแบบต้องให้การช่วยเหลือ (Save-It) มีความคึกคักน้อยกว่า แต่มีความ ทะนงตัวมากกว่า มันบอกว่า ทุกอย่างจะพังถ้าคุณไม่เข้าไปช่วย  3. บุคลิกภาพแบบเราต้องควบคุมไว้ (Control It) เป็นตัวคุมการจัดการ มันบอกว่า ขืน ให้คนอื่นควบคุมไว้ มันจะเป็นหายนะ และคุณจาเป็นต้องรับผิดชอบ
  • 10. เรียนรู้ที่จะคุมสัตว์ประหลาดของคุณ และกลายเป็นโค้ช  การยับยั้งสัตว์ประหลาดของคุณ แล้วกลายเป็นโค้ชมากขึ้น เป็นวิธีการพื้นฐาน เป็นกล ยุทธ์ที่ถูกต้อง แต่มันยากที่จะปฏิบัติ  หากต้องการใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ให้เปลี่ยนจาก คุณในปัจจุบัน (Present You) เป็น คุณในอนาคต (Future You)  คุณในปัจจุบัน ก็เหมือนเด็ก ๆ ที่ไม่ปฏิเสธ เพื่อสนองความพึงพอใจในตนเองของคุณใน ปัจจุบันทันที  ตัวตนในอนาคตของคุณ คือผู้ใหญ่ ที่ปลดปล่อยรางวัลความรู้สึกที่ดีในทันที เพื่อรางวัล มากมายที่ยั่งยืนในอนาคต
  • 11. การควบคุมสัตว์ประหลาดคาแนะนา ต้องสะท้อนตนเองด้วยปัจจัยสี่ประการ  1. ใครปล่อยสุนัขออกไป (Who let the dogs out?) ระวังการกระตุ้นสัตว์ประหลาด ให้ คิดก่อนล่วงหน้าเพื่อหลีกเลี่ยงจุดกระตุ้นต่าง ๆ เช่นสถานการณ์ เหตุการณ์ และผู้คน ที่ ดันคุณเข้าสู่การให้คาแนะนา  2. การยอมสารภาพผิด (Confessions) ถือกระจกเงาส่องตัวเองว่า เมื่อมีความคิด บางอย่างเกิดขึ้นสิ่งที่คุณจะทามีอะไรบ้าง สิ่งที่สัตว์ประหลาดแนะนาให้คุณทาที่ เฉพาะเจาะจงคืออะไร
  • 12. การควบคุมสัตว์ประหลาดคาแนะนา (ต่อ)  3. รางวัลและการลงโทษ (Prizes and punishments) ทุกสิ่งที่คุณทามีประโยชน์และ ค่าใช้จ่าย กาหนดว่าคุณได้ผลประโยชน์ใดและให้หลีกเลี่ยงค่าใช้จ่าย คุณในอนาคต (Future you) จะต้องเผชิญกับบทลงโทษสาหรับความผิดพลาดของคาแนะนา  4. เพื่อชัยชนะของคุณในอนาคต (Future you for the win) รางวัลในเชิงบวกที่เกิดขึ้ นเมื่อ คุณไม่ทาตามคาแนะนาจากสัตว์ประหลาด รวมถึงการพัฒนาส่วนบุคคลของคุณ คุณใน อนาคตจะมีคุณสมบัติที่น่าชื่นชมสามประการคือ ความมีน้าใจ (empathy) ความเอาใจใส่ (mindfulness) และ ความอ่อนน้อมถ่อมตน (humility) ซึ่งเป็นคุณลักษณะที่กาหนดของ โค้ชที่ยอดเยี่ยม
  • 13. การฝึกสอนที่มีคุณภาพ ต้องพัฒนา อุปนิสัยการฝึกสอน (coaching habit)  หากต้องการเปลี่ยนวิธีการให้คาแนะนาของคุณ ให้พัฒนาอุปนิสัยการฝึกสอน  สิ่งที่ทาให้เป็นโค้ชที่ยอดเยี่ยมไม่ใช่คาแนะนาของพวกเขา แต่เป็นธรรมชาติที่รอบคอบ ความอยากรู้ตามธรรมชาติ และความสามารถในการฟัง (thoughtful nature, natural curiosity and ability to listen)
  • 14. การฝึกสอนที่มีคุณภาพ มีหลักการสามข้อคือ ขี้เกียจ อยากรู้อยากเห็น ทาบ่อย ๆ  1. จงขี้เกียจ (Be lazy) อย่าพยายามแก้ปัญหาของคนอื่นทันที ถอยหลัง รอ และผ่อน คลาย เมื่อคุณขี้เกียจ คุณจะฟังแทนที่จะกระโดดให้คาแนะนาทันที  2. เป็นคนที่อยากรู้อยากเห็น (Be curious) สิ่งที่โค้ชชาญฉลาดทาคือ ขี้สงสัย ฟัง ไตร่ตรอง และสะท้อนกลับ ในการสนทนาใด ๆ คาแนะนาของสัตว์ประหลาดจะทาให้ คนไม่สบายใจ และทาให้พวกเขารู้สึกประหม่าและรู้สึกด้อยกว่า  3. ฝึกทักษะบ่อยครั้ง (Be often) อย่าจากัดพฤติกรรมในการฝึกสอนเพียงในการสนทนา ใช้หลักการของการโค้ชที่ดีในการโต้ตอบและการสื่อสารทั้งหมดของคุณ รวมถึงใน ระหว่างการประชุม เมื่อเขียนอีเมล์ และข้อความ
  • 15. ถามคาถามเจ็ดประเภท เริ่มต้น, มีอะไรอีก, จุดเน้น, วางรากฐาน, กลยุทธ์, ขี้เกียจ และ การเรียนรู้  การฝึกสอนที่ยอดเยี่ยมขึ้นอยู่กับการถามคาถามเพื่อหาข้อเท็จจริง ที่คุณไม่จาเป็นต้องใช้ ตามลาดับ ตามบริบท หรือจะใช้แบบผสมก็ได้ แล้วแต่ว่าวิธีใดจะใช้ได้ดีที่สุด ซึ่งขึ้นอยู่ กับสถานการณ์  คุณสามารถเป็นที่รู้จักในฐานะคนที่ช่วยแก้ปัญหาที่สาคัญ หรือเป็นคนที่ให้คาตอบอย่าง เร่งด่วนในการแก้ปัญหาที่ผิด คุณต้องการแบบไหน
  • 16. คาถามเจ็ดข้อ ได้แก่  1. คาถามเริ่มต้น คุณคิดอะไรอยู่ (The kick-start question: What’s on your mind?) สิ่งนี้ ทาให้เกิดความอยากรู้เบื้องต้น ในการเริ่มการสนทนา  2. คาถาม แล้วมีอะไรอีก (The AWE question: And what else?) นี่ควรเป็นคาถามที่ถนัด ที่สุดในการฝึกสอนของคุณ ซึ่งช่วยให้คุณค้นพบสิ่งลึก ๆ ที่มีผลกระทบต่อผู้คน  3. คาถามมุ่งเน้น อะไรคือความท้าทายที่แท้จริงสาหรับคุณ (The focus question: What’s the real challenge here for you?) ความท้าทายแรกที่บางคนกล่าวถึง อาจไม่ใช่ความท้า ทายที่แท้จริงของเขาหรือเธอ  4. คาถามพื้นฐาน คุณต้องการอะไร (The foundation question: What do you want?) สิ่งนี้ ช่วยให้คุณค้นพบว่า มีการกระทาใดบ้างที่จาเป็น
  • 17. คาถามเจ็ดข้อ (ต่อ)  5. คาถามเชิงกลยุทธ์ ถ้าคุณตอบว่าคือสิ่งนี้ แล้วอะไรคือสิ่งที่ไม่ใช่ (The strategy question: If you’re saying yes to this, what must you say no to?) กลยุทธ์เป็นตัวเลือก ของคุณ และชั่งน้าหนักค่าเสียโอกาส  6. คาถามขี้เกียจ ฉันจะช่วยได้อย่างไร (The lazy question: How can I help?) อีก ทางเลือกของคาถามนี้ คือ คุณต้องการอะไรจากฉัน เมื่อคุณถาม จาไว้ว่า ไม่ใช่หน้าที่ กงการของคุณที่จะช่วยเหลือใคร  7. คาถามการเรียนรู้ จากกรณีนี้ อะไรที่มีประโยชน์หรือมีคุณค่ามากที่สุดสาหรับคุณ (The learning question: What was most useful or valuable here for you?) การเรียนรู้จะ ไม่เกิดขึ้นเมื่อคุณบอกบางสิ่งที่คุณรู้ มันเกิดขึ้นเมื่อบุคคลอื่นเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง
  • 18. ให้ระวังหกหลุมพราง  แทนที่จะให้คาแนะนา ช่วยให้ผู้คนระบุความท้าทายของพวกเขาเอง เพราะคุณไม่ สามารถกาหนดความท้าทายที่แท้จริงของใครได้ หลุมพรางมีหกประการที่ต้องระวังคือ  1. พูดวกวน (Twirling) สิ่งแรกที่พูดออกมา มักไม่ใช่ความท้าทายอย่างแท้จริง  2. พูดสิ่งที่ไร้สาระ (Coaching the ghost) บุคคลที่คุณกาลังฝึกสอนอยู่นั้น จะพูดนอก เรื่อง โดยเน้นไปที่บุคคลอื่นหรือสถานการณ์อื่น เพราะความว้าวุ่นใจ  3. พูดกล่าวหา (Settling) อย่าสมรู้ร่วมคิดกับความขี้ขลาด ให้ย้อนกลับ เพื่อไปสู่ปัญหาที่ แท้จริง
  • 19. ให้ระวังหกหลุมพราง (ต่อ)  4. พูดเรื่อยเปื่อย (Popcorning) เมื่อคุณถามว่า คุณคิดอะไรอยู่? มีคาตอบที่ตอบสนอง เยอะมาก แต่ไม่ใช่คาตอบที่ต้องการ ให้ข้ามคาตอบเหล่านี้ เพื่อค้นหาปัญหาที่แท้จริง  5. พูดแต่ภาพใหญ่ (Big-picturing) พูดเรื่องทั่วไปและบทสรุปที่ไม่ได้มีส่วนช่วยในการ สนทนา การฝึกสอนที่เป็นประโยชน์ ให้เน้นเฉพาะเจาะจงลงไป  6. พูดยืดยาว (Yarning) เล่าเรื่องราวที่ไร้สาระและน่าทึ่งแต่ไม่มีประโยชน์ ช่วยกระตุ้น เขาให้เปิดเผยปัญหาที่เป็นประเด็นหลัก
  • 20. คาดหวังหนึ่งในสองสิ่ง ที่แสดงว่าคุณประสบความสาเร็จ  1. เพื่อนหรือเพื่อนร่วมงานเห็นแสงสว่างที่ทางออกและพร้อมที่จะดาเนินการต่อไป เขา หรือเธอคิดว่า ฉันพร้อมจะออกจากการสนทนานี้ แล้ว ฉันจะได้ไปเสียที  2. บุคคลอื่นมีความสุขที่ได้ระบุกับปัญหาที่แท้จริง แต่ไม่รู้ว่าจะทาอย่างไร คุณสามารถ ถามว่า เราดูเหมือนจะพบกับความท้าทายที่แท้จริง…ตอนนี้ ฉันจะช่วยได้อย่างไร เมื่อ บุคคลเสนอแนวคิด ให้ถามคาถาม AWE แล้วมีอะไรอีก (And what else?)
  • 21. สี่เคล็ดลับเพื่อฝึกฝนนิสัยการโค้ช (โค้ชที่ดี มีน้าใจ ใจกว้าง และมีความกระตือรือร้น)  1. จงใจกว้าง (Be generous) โค้ชที่ยิ่งใหญ่ฝึกฝน ความใจกว้างด้วยการเงียบ (generous silence) อย่างชาญฉลาดในระหว่างการสนทนาใด ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน ระหว่างการสนทนาในการฝึกสอน โค้ชที่ยอดเยี่ยมจะเงียบเป็นระยะ เพื่อให้บุคคลอื่น สามารถพูดได้อย่างอิสระและผ่อนคลาย ความเงียบใช้เวลาเพียงสามถึงห้าวินาทีเท่านั้น โค้ชคุณภาพแสดงให้เห็นถึง ความใจกว้างอย่างโปร่งใส (generous transparency) โดย การเปิดเผยเกี่ยวกับกระบวนการฝึกสอน และ ความใจกว้างอย่างซาบซึ้ ง (generous appreciation) โดยแสดงว่า พวกเขาให้ความสาคัญกับบุคคลอื่น
  • 22. สี่เคล็ดลับเพื่อฝึกฝนนิสัยการโค้ช (ต่อ)  2. เป็นผู้อ่อนไหว (Be vulnerable) โค้ชที่ยอดเยี่ยมนั้นอ่อนน้อมถ่อมตนและเปิดรับการ ถูกฝึกสอน พวกเขารับรู้ว่า พวกเขามีอะไรมากมายที่จะเรียนรู้ และเต็มใจที่จะเลิกการ ควบคุม เมื่อโค้ชที่มีคุณภาพยอมรับการถูกฝึกสอน พวกเขาจะซื่อสัตย์ต่อความล้มเหลว  3. เป็นนักเรียน (Be a student) ยิ่งคุณมีความรู้ทั้งภาคปฏิบัติและภาคทฤษฎี คุณควรจะ ได้รับการเรียนรู้จากผู้เชี่ยวชาญชั้นนา มุ่งเน้นเรียนรู้จากครูที่ดีที่สุด จากนักเขียนและ นักวิชาการผู้บริหารระดับสูง ผู้นาเสนอในรายการ TED อ่านผลงานการฝึกสอนของ Marshall Goldsmith เกี่ยวกับ coaching และ Disrupt Yourself ของ Whitney Johnson  4. เป็นผู้ให้คาแนะนา (Be an advice-giver) ตอนนี้ คุณเข้าใจแล้วว่า ทาไมคุณต้องหยุด ก่อนที่จะเสนอคาแนะนา จาไว้ว่าประเด็นคือ การให้คาแนะนาที่เหมาะสม
  • 23. สี่กลยุทธ์การให้คาแนะนาที่ถูกต้อง ได้แก่  1. กาหนดลาดับ (Define it) ให้คาแนะนาเมื่อบุคคลอื่นพร้อมที่จะฟัง ไม่ใช่ให้ก่อน  2. ลดความคาดหวัง (Diminish it) ทาให้คาแนะนาที่ประกาศล่วงหน้ามีข้อจากัดความ รับผิดชอบเช่น "นี่คือการคาดเดาที่ดีที่สุดของฉัน ... " หรือ "ฉันอาจจะผิด ... " อย่า คาดหวังว่าคาแนะนาของคุณจะดีเพราะมันมาจากคุณ  3. ส่งมอบ (Deliver it) เมื่อคุณเสนอคาแนะนา ให้เมื่อพร้อม รวดเร็ว และกล้าหาญ  4. สรุป (Debrief it) หลังจากที่คุณแนะนาความคิด ให้ถามว่า สิ่งนี้ ใช่สิ่งที่คุณต้องการ หรือไม่
  • 24. ใช้ TERA Quotient ในการสนทนา TERA ย่อมาจาก  1. ชนเผ่า (Tribe) แสดงให้เห็นว่า คุณและบุคคลอื่นอยู่ด้วยกันในประเด็นที่เป็นปัญหา ใช้คาว่า "เรา" และ "พวกเรา"  2. ความคาดหวัง (Expectation) พยากรณ์เหตุการณ์สาคัญเล็ก ๆ ในอนาคต เพื่อช่วยให้ บุคคลอื่นสามารถตอบสนองความต้องการของมนุษย์ ในเรื่องการคาดการณ์ได้  3. อันดับ (Rank) ในการสนทนาใด ๆ ต่างฝ่ ายต้องการทราบว่าใครสาคัญกว่า คุณควร พยายามอย่างดีที่สุด เพื่อยกระดับบุคคลอื่น ๆ หรือทีม  4. อิสระ (Autonomy) ผู้คนต้องการพูดโดยตรงในสิ่งที่เกิดขึ้นกับพวกเขา ให้สัญญาณว่า พวกเขามีตัวเลือก นั่นเป็นสาเหตุที่คาถามรากฐาน คุณต้องการอะไร (What do you want?) จึงมีพลังมาก
  • 25. สรุป  หนังสือเล่มนี้ นอกเหนือจากการสร้างคุณให้เป็นคนใหม่ คุณอาจเปลี่ยนไป หรือเป็นผู้นา ทีมของคุณ หรือแม้กระทั่งกลายเป็นองค์ประกอบสาคัญขององค์กรใหม่  ให้ใช้สามขั้นตอนคือ 1) พัฒนาอุปนิสัยโค้ชของคุณ 2) ระวังกับดักการแนะนา และ 3) คุมสัตว์ประหลาดของคุณให้ดี  นี่เป็นการนาเสนอวิธีคิดใหม่เกี่ยวกับความเป็นผู้นา ที่วางอยู่บนความอยากรู้อยากเห็น และการเอาใจใส่ มีสติ และความอ่อนน้อมถ่อมตน
  • 26. 3 บทเรียนจากหนังสือเล่มนี้  1. สัตว์ประหลาดคาแนะนาของคุณมีสามแบบที่คุณต้องระวัง ถ้าคุณต้องการเอาชนะมัน (Your Advice Monster takes on three personas that you need to be aware of if you want to beat it.)  2. ฝึกทักษะการฟังโดยใช้คาหลัก เตรียมตนเองให้พร้อม ทาซ้าทักษะเดียว และทาให้ สนุก (Practice listening skills by using keywords to prime yourself, repetition of a single skill, and making it enjoyable.)  3. มีน้าใจเมื่อสื่อสารกับผู้อื่น ในสามเรื่องคือ เงียบ โปร่งใส ชื่นชม (Be generous when communicating with others in three specific categories.)
  • 27. บทเรียนที่ 1 ควบคุมสัตว์ประหลาดคาแนะนาที่มีสามรูปแบบ  ในช่วงวัยเด็กของ Stanier อาศัยในออสเตรเลีย เขามักจะเล่นแปลงตัวกับพี่น้องของเขา พวกเขาสามารถเปลี่ยนจากการเป็นซูเปอร์แมนเป็นผู้ควบคุมรถไฟได้ทันที จาก เหตุการณ์นั้น เขาได้เรียนรู้ว่า สัตว์ประหลาดก็ชอบเล่นแปลงตัวและมีสามบทบาทคือ  1. บอกไปเลย (Tell-It)  2. ต้องช่วยเหลือ (Save-It)  3. ต้องควบคุม (Control-It)
  • 28. บทเรียนที่ 1 (ต่อ)  1. บอกไปเลย (Tell-It) สัตว์ประหลาดตัวนี้ เป็นผู้กระทาผิดบ่อยที่สุดและเป็นผู้ที่ดังที่สุด มันพยายามทาให้คุณคิดว่า เป็นงานของคุณเพราะคุณมีคาตอบ และทาให้คุณคิดว่า คุณ รู้ดีที่สุด  2. ต้องช่วยเหลือ (Save-It) สัตว์ประหลาดตัวนี้ แสดงออกน้อยกว่าเล็กน้อย แต่ไม่เป็น อันตราย ซึ่งเป็นเรื่องปกติในช่วงเวลาที่มีความขัดแย้ง โดยปลอมตัวเป็น "การ ช่วยเหลือ" และทาให้คุณคิดว่าคุณมีอานาจมากที่สุด  3. ต้องควบคุม (Control-It) ตัวสุดท้ายของสัตว์ประหลาดคือการควบคุม ซึ่งหลอกให้ คุณคิดว่า คุณต้องควบคุมอยู่เสมอไม่ว่าอะไรก็ตาม ตัวนี้ มักจะปล่อยให้ผ่านไปได้อย่าง ยากลาบาก และทาให้คุณคิดว่า คุณเป็นเพียงสิ่งเดียว ที่ควบคุมความสับสนวุ่นวายได้
  • 29. บทเรียนที่ 2 การฝึกฝนทักษะเหล่านี้ จะง่ายขึ้น เมื่อคุณใช้พลังของการเตรียมพร้อม ทาซ้า และมีความเพลิดเพลิน  เรานามันออกมาวางบนโต๊ะ (เตรียมพร้อม ทาซ้า และเพลิดเพลิน) และถึงเวลาที่จะ เรียนรู้วิธีเอาชนะสัตว์ประหลาดเหล่านี้  1. เตรียมความพร้อม (Priming) ในกีฬาโอลิมปิก คุณมักจะเห็นนักกีฬาที่สวมใส่หูฟัง ก่อนการแข่งขัน พวกเขาไม่เพียงแค่เพลิดเพลินกับเสียงเพลงหรือปิดเสียงฝูงชน พวก เขากาลังเข้าสู่โลกส่วนตัว หรือกาลังเตรียมพร้อม
  • 30. บทเรียนที่ 2 (ต่อ)  2. ทาซ้า (Repetition) ในการให้คาแนะนา ผู้ประพันธ์แนะนาว่า คุณควรแบ่งการฟังให้ เป็นสิ่งที่เล็กที่สุด จากนั้นเลือกมาหนึ่งรายการ เพื่อทาการเน้นและทาซ้า  3. ความเพลิดเพลิน (Enjoyment) บทเรียนที่ยิ่งใหญ่ที่ Stanier นาเสนอคือ การใช้ ประโยชน์จากวงจรกิจวัตรประจาวันอย่างสนุกสนาน คุณสามารถทาได้โดยขอให้คนที่รับ คาแนะนา ระบุสิ่งที่มีประโยชน์สาหรับพวกเขาเมื่อจบการสนทนา การถามสิ่งนี้ จะช่วย ให้คุณเห็นว่า อะไรทาได้ดี ซึ่งจะทาให้กระบวนการสนุกมากขึ้น
  • 31. บทเรียนที่ 3 ใช้สามทักษะในเรื่องการใจกว้างเมื่อพูดคุยกับผู้อื่น  หากต้องการเป็นคนใจกว้างในการสนทนา Stanier แนะนาให้แบ่งทักษะออกเป็นสาม ส่วน ได้แก่  1. ความเงียบ (Silence)  2. ความโปร่งใส (Transparency)  3. การชื่นชม (Appreciation)
  • 32. บทเรียนที่ 3 (ต่อ)  1. ความเงียบ (Silence) เป็นสิ่งสาคัญที่จะหยุดหลังจากถามคาถาม และคุณควรเงียบ อย่างน้อยแปดวินาทีก่อนพูดอะไร ในตอนแรกมันยาก แต่ก็สามารถใช้งานได้อย่าง มหัศจรรย์ เพราะได้ให้เวลาผู้คนในการจัดระเบียบความคิดและแบ่งปัน  คุณอาจรู้สึกกังวลในตอนแรก แต่เมื่อคุณเริ่มเต็มใจ คุณจะใจกว้างในการเสนอความ เงียบได้ในไม่ช้า
  • 33. บทเรียนที่ 3 (ต่อ)  2. ความโปร่งใส (Transparency) คุณยินดีที่จะแบ่งปันว่า การสนทนาของคุณเป็นอย่างไร ตรวจสอบกับตัวเองเพื่อดูว่าคุณเบื่อหน่ายหรือไม่ และได้หาวิธีที่เหมาะสมในการสื่อสาร กับคนอื่นหรือไม่  3. การแสดงความชื่นชม (Appreciation) เป็นสิ่งสุดท้ายและเป็นสิ่งที่เราทุกคนต้องมี ความเอื้อเฟื้ อ ซึ่งหมายความว่า คุณต้องเปิดปากและแบ่งปันคาชมกับผู้อื่น แทนที่จะ เก็บไว้ในใจ ความวิตกกังวลเป็นเรื่องธรรมดาเมื่อต้องลองทาสิ่งนี้ ในตอนแรก แต่ให้ เริ่มต้นด้วยสิ่งเล็ก ๆ แล้วคุณจะประสบความสาเร็จ