SlideShare a Scribd company logo
1 of 56
Download to read offline
พันเอก มารวย ส่งทานินทร์ maruays@hotmail.com
8 ธันวาคม 2558
by Alison Wood Brooks
From: Harvard Business Review,
December, 2015
Most negotiation guides understate the importance of emotion. This article
shows how essential it is to manage—and use—anger, excitement, and anxiety.
บทสรุปสาหรับผู้บริหาร
 การเจรจาต่อรองเต็มไปด้วยอารมณ์
 เมื่อเร็ว ๆ นี้ นักวิจัยได้ตรวจสอบเรื่องอารมณ์ทั้งสี่ ที่มีอิทธิพลต่อสิ่ง
ที่เกิดขึ้นในระหว่างการทาข้อตกลง คือ
 ความวิตกกังวล (Anxiety) ซึ่งจะนาไปสู่ผลลัพธ์ที่ไม่น่าพอใจ
 ความโกรธ (Anger) เป็นดาบสองคม ต้องใช้ให้เป็น
 ความผิดหวัง (Disappointment) สามารถใช้เป็นช่องทางในการเข้าถึง
ผลลัพธ์ที่น่าพอใจมากขึ้น
 ความตื่นเต้น (Excitement) ไม่ได้เป็นสิ่งที่ดีเสมอไป
 หากความรู้สึกเหล่านี้ ได้รับการจัดการที่ดี จะเป็นข้อได้เปรียบในการ
เจรจา
ความวิตกกังวล
 ความวิตกกังวล จะนาไปสู่ผลลัพธ์ที่ไม่พึงพอใจ (Anxiety leads to
poor outcomes)
 คุณจะมีความกังวลน้อยลงเกี่ยวกับการเจรจาต่อรอง ถ้าคุณได้ทา
การฝึกและได้ซ้อมบ่อย ๆ
 นอกจากนี้ คุณยังสามารถหลีกเลี่ยงความวิตกกังวล โดยขอให้
ผู้เชี่ยวชาญภายนอก เป็นตัวแทนของคุณที่โต๊ะเจรจาต่อรอง
ความโกรธ
 ความโกรธ เป็นดาบสองคม (Anger is a double-edged sword)
 ในบางกรณีอาจใช้ข่มขู่ฝ่ ายตรงข้าม และช่วยให้คุณได้เปรียบ
แต่ในสถานการณ์อื่น ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ที่เกี่ยวข้องกับ
ความสัมพันธ์ระยะยาว จะทาให้เกิดความไม่ไว้วางใจและ
ความรู้สึกที่ไม่ดี ทาให้โอกาสเจรจาสาเร็จยากขึ้น
 เพื่อหลีกเลี่ยงหรือกลบเกลื่อนความโกรธ ควรหยุดพัก หรือแสดง
ความโศกเศร้า และมีความปรารถนาที่จะประนีประนอม
ความผิดหวัง
 ความผิดหวัง อาจช่วยสร้างช่องทาง ในการเข้าถึงผลลัพธ์ที่น่า
พอใจมากขึ้น (Disappointment can be channeled to reach a more
satisfactory outcome)
 ก่อนที่ความผิดหวังจะกลายเป็นความเสียใจ ให้ถามคาถามคู่
เจรจาให้มาก ๆ เพื่อที่จะมั่นใจตัวเองว่า คุณได้สารวจตัวเลือก
ทั้งหมดแล้ว
 และการไม่ปิดการเจรจาที่เร็วเกินไป ทาให้คุณอาจพบทางออกที่
ดีก็ได้
ความตื่นเต้น
 ความตื่นเต้น ไม่ได้เป็นสิ่งที่ดีเสมอไป (Excitement isn’t always
a good thing)
 การตื่นเต้นเร็วเกินไป จะนาให้คุณทาหน้าที่อย่างผลีผลามและ
มองด้วยความละโมบ เกี่ยวกับข้อตกลงขั้นสุดท้าย และสร้าง
ความบาดหมางใจให้กับคู่เจรจาได้
 แต่ถ้าความรู้สึกตื่นเต้นที่มีการจัดการที่ดี จะทาให้ทุกคนที่
เกี่ยวข้องรู้สึกเหมือนเป็นผู้ชนะ
เกริ่นนา
 20 ปีที่ผ่านมา มีนักวิจัยไม่กี่คนที่ให้ความสนใจบทบาทของ
อารมณ์ในการเจรจาต่อรอง ที่มีผลต่อวิธีที่ผู้คนเอาชนะความ
ขัดแย้ง บรรลุข้อตกลง และสร้างคุณค่าในการจัดการกับคู่เจรจา
 ในการเจรจาต่อรอง นักวิชาการส่วนใหญ่เน้น ยุทธศาสตร์และ
ยุทธวิธี (strategy and tactics) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง วิธีการที่ทั้ง
สองฝ่ ายสามารถระบุและพิจารณาทางเลือก การใช้ประโยชน์
การออกแบบข้อเสนอ และการตัดรอนข้อเสนอของฝ่ ายตรงข้าม
การแสดงออกของอารมณ์ (Expression of Emotion)
 การวิจัยแสดงให้เห็นว่า ความรู้สึกกังวล (feeling or looking
anxious) มักส่งผลให้การเจรจาต่อรองด้อยลง
 ดังนั้น ผู้ที่มีแนวโน้มมีความวิตกกังวล เมื่อเจอสภาวการณ์ในการ
เจรจาต่อรองกับฝ่ ายตรงข้าม สามารถใช้ขั้นตอนบางอย่างในการ
จากัดความกังวลใจและซ่อนมันไว้ รวมถึงอารมณ์อื่น ๆ ด้วย
อารมณ์ในการเจรจาต่อรอง (Emotions over the Course of
Negotiation)
 มีหลากหลายอารมณ์ของผู้คนที่รู้สึก ในช่วงเวลาของการเจรจา
ต่อรอง
 ความวิตกกังวล (Anxiety) เป็นแนวโน้มส่วนใหญ่ที่เกิดขึ้นก่อน
กระบวนการจะเริ่มต้น หรือในช่วงระยะแรก
 เรามีแนวโน้มที่จะเกิด ความโกรธ (anger) หรือ ความตื่นเต้น
(excitement) จากความเร่าร้อนของการอภิปราย
 และเรามักจะรู้สึก ผิดหวัง โศกเศร้า หรือเสียใจ (disappointment,
sadness, or regret ) ต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
ข้อเสนอแนะในการจัดการกับอารมณ์
 1. หลีกเลี่ยงความวิตกกังวล (Avoiding Anxiety)
 2. การจัดการความโกรธ (Managing Anger)
 3. การจัดการความผิดหวังและเสียใจ (Handling Disappointment
and Regret)
 4. การควบคุมความสุขและความตื่นเต้น (Tempering Happiness
and Excitement)
1. หลีกเลี่ยงความวิตกกังวล (Avoiding Anxiety)
 ความวิตกกังวล (Anxiety) เป็นภาวะของความกลุ้มใจ ในการ
ตอบสนองต่อสิ่งเร้าของสถานการณ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
สถานการณ์ที่มีศักยภาพของผลลัพธ์ที่ไม่น่าพอใจ
 ในทางตรงกันข้าม ความโกรธ (anger) จะกระตุ้นความขัดแย้ง
(นาไปสู่ "การสู้" ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการตอบสนอง) ส่วนความ
วิตกกังวล เป็น "การหนี" คือต้องการที่จะออกจากที่เกิดเหตุ
 ความอดทนและความเพียร เป็นสิ่งจาเป็นเมื่อมีการเจรจาต่อรอง
ดังนั้นการหนีจะส่งผลให้เกิดผลลัพธ์ที่ไม่พึงประสงค์
1. หลีกเลี่ยงความวิตกกังวล (ต่อ)
 คนที่มีความวิตกกังวล มักเสนอข้อตกลงในครั้งแรกที่อ่อนแอ
ตอบสนองรวดเร็วเกินไปต่อคู่เจรจา และมีแนวโน้มที่จะหนีออก
จากการเจรจาต่อรองในช่วงต้น ๆ
 ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่า คนที่แสดงความวิตกกังวล มีแนวโน้มที่จะ
ถูกเอาเปรียบจากการเจรจาต่อรอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าบุคคลที่
เป็นคู่เจรจา รู้สึกถึงความทุกข์ของพวกเขา
 นักเจรจาที่เก่ง มักตั้งใจที่จะทาให้คู่เจรจาของพวกเขารู้สึกกังวล
1. หลีกเลี่ยงความวิตกกังวล (ต่อ)
 ให้หลีกเลี่ยงความรู้สึกกังวล ในขณะที่มีการเจรจาต่อรอง
 คุณสามารถจัดการได้อย่างไร? ให้ฝึกฝน ซักซ้อม และเพิ่มความ
คมชัดของทักษะในการเจรจา
 อีกกลยุทธ์ที่มีประโยชน์สาหรับการลดความวิตกกังวลคือ นา
ผู้เชี่ยวชาญภายนอก มาจัดการกับการเจรจาต่อรอง
 การเจรจาโดยบุคคลที่สามจะสร้างกังวลน้อยลง เพราะพวกเขามี
ทักษะที่ดีกว่า ทาอยู่เป็นประจา และได้รับผลกระทบน้อยกว่า
 แม้ว่าจะมีค่าใช้จ่ายบ้างในแนวทางนี้ แต่ชดเชยได้จากการที่เขา
ทาประโยชน์ให้กับเรามากขึ้น
2. การจัดการความโกรธ (Managing Anger)
 เช่นเดียวกับความวิตกกังวล ความโกรธ (anger) เป็นอารมณ์
ความรู้สึกเชิงลบ แต่แทนที่จะเป็นกับตนเอง จะมุ่งเน้นต่อคนอื่น
 โดยมากแล้ว เราพยายามที่จะสงบอารมณ์ของเรา
 เมื่อมีการเจรจาต่อรอง หลายคนเชื่อว่า ความโกรธอาจจะเป็น
อารมณ์หนึ่งที่ช่วยให้พวกเขาชนะ
 มุมมองนี้ เกิดขึ้นจากแนวโน้มการเจรจาต่อรองในแง่ของการ
แข่งขัน มากกว่าการปรองดอง
2. การจัดการความโกรธ (ต่อ)
 จากการวิจัยแสดงให้เห็นว่า ความโกรธมักจะเป็นอันตรายต่อ
กระบวนการ โดยสร้างความขัดแย้งเพิ่มขึ้น มีการรับรู้ที่เบี่ยงเบน
และทาให้มีโอกาสสาเร็จน้อยลง
 นอกจากนี้ ยังลดผลประโยชน์ร่วมกัน ลดความร่วมมือ ทวีความ
รุนแรงของพฤติกรรมในการแข่งขัน และเพิ่มอัตราการปฏิเสธ
 ผู้เจรจาที่โกรธ จะมีความถูกต้องน้อยกว่าผู้เจรจาที่เป็นกลาง ทั้ง
ในการนึกถึงผลประโยชน์ของตัวเอง และในการตัดสินใจเรื่อง
ผลประโยชน์ของคู่เจรจา
2. การจัดการความโกรธ (ต่อ)
 การเจรจาที่เล่นกับความโกรธนี้ จะต้องตระหนักถึงผลกระทบที่
ตามมาด้วย
 การแสดงความโกรธ สร้างความเสียหายในการเจรจาต่อรอง ที่
ต้องการความสัมพันธ์ระยะยาวระหว่างทั้งสองฝ่ าย เพราะจะลด
ความชื่นชอบและความไว้วางใจ
 ในหลายบริบทแล้ว การรู้สึกหรือแสดงความโกรธ เป็นกลยุทธ์
การเจรจาต่อรองที่ส่งผลลบได้ ดังนั้น การระงับความโกรธใด ๆ
และการจากัดความโกรธ จะเป็นกลยุทธ์ที่ชาญฉลาด
2. การจัดการความโกรธ (ต่อ)
 วิธีที่มีประสิทธิผล ในการจัดการกับความโกรธในการเจรจาคือ รู้ว่า
การเจรจาไม่เสร็จสิ้นในครั้งเดียว แต่เกิดขึ้นในหลายการประชุม
 ดังนั้น หากจะต้องมีการจัดการกับความตึงเครียด ให้ขอหยุดพัก
และตั้งหลักใหม่
 สุดท้าย คุณอาจพิจารณาปรับเปลี่ยนความโกรธ เป็นความโศกเศร้า
 แม้ดูว่าเป็นการปรับเปลี่ยนอารมณ์เชิงลบอีกรูปแบบหนึ่งที่ไร้
เหตุผล ความรู้สึกร่วมของความโศกเศร้า สามารถนาไปสู่การ
ร่วมมือ ในขณะที่ความโกรธมักจะนาไปสู่ทางตัน
3. การจัดการความผิดหวังและเสียใจ (Handling Disappointment
and Regret)
 ความผิดหวัง (Disappointment) เป็นการส่งผลที่รุนแรง แสดงให้
อีกฝ่ ายได้รับรู้ เมื่อใกล้ถึงจุดสิ้นสุดของการเจรจาต่อรอง
 ความผิดหวัง มีประโยชน์ที่จะนามาใช้อย่างสร้างสรรค์มากกว่า
วิธีอื่น ๆ (ให้คิดว่ากลับไปว่า คุณมีปฏิกิริยาตอบสนองเมื่อตอน
เป็นเด็กอย่างไร ถ้าพ่อแม่ของคุณกล่าวว่า "รู้สึกผิดหวังในตัวคุณ
มาก" กับคากล่าวที่ว่า "รู้สึกโกรธในตัวคุณมาก")
3. การจัดการความผิดหวังและเสียใจ (ต่อ)
 แม้ว่าความโกรธอาจสร้างการปกป้องหรือเพิ่มอัตราต่อรองของ
ความขัดแย้ง การแสดงความผิดหวัง สามารถตอบสนอง
วัตถุประสงค์ทางยุทธวิธีได้ดีกว่า โดยทาให้คู่เจรจามองการ
กระทาของตนเอง และพิจารณาใหม่ว่า จะต้องเปลี่ยนท่าทีเพื่อ
ลดความรู้สึกเชิงลบของคุณหรือไม่
 วิธีลดความผิดหวัง คือดาเนินการอย่างช้าๆ และสุขุมรอบคอบ
3. การจัดการความผิดหวังและเสียใจ (ต่อ)
 ความเสียใจ (Regret) แตกต่างเล็กน้อยจากความผิดหวัง
 ขณะที่ความผิดหวัง มีแนวโน้มที่จะเกี่ยวข้องกับความโศกเศร้า
เกี่ยวกับผลลัพธ์ (ปลายน้า)
 ความรู้สึกเสียใจ ทาให้มองหาสาเหตุที่ต้นน้า และคิดเกี่ยวกับ
ความผิดพลาด ที่ทาให้เกิดความผิดหวัง
 คนส่วนใหญ่ มีแนวโน้มที่จะเสียใจการกระทาของพวกเขา ที่
พลาดโอกาสและละเลย (ไม่ได้ทาในสิ่งที่ควรทา) มากกว่าการได้
กระทาข้อผิดพลาด (ทาในสิ่งที่ไม่ควรทา)
3. การจัดการความผิดหวังและเสียใจ (ต่อ)
 สาหรับการเจรจาที่มีประสิทธิภาพ ควรถามคาถาม ฟัง เสนอวิธี
แก้ปัญหา และระดมความคิดหาทางเลือกใหม่
 คนมักจะไม่ถามคาถามในขณะที่การเจรจาต่อรอง พวกเขาอาจจะ
ลืมประเด็นที่สาคัญ หรือรู้สึกลังเลที่จะแสดงความคิดเห็นเชิงลึก
เกินไป เพราะคิดว่าเป็นการรุกรานหรือหยาบคาย
 วิธีหนึ่งที่จะช่วยลดการเสียใจคือ ถามคาถามโดยไม่ลังเล และรู้
ว่า ได้สารวจทุกมุมมองแล้ว
4. การควบคุมความสุขและความตื่นเต้น (Tempering Happiness
and Excitement)
 "ผู้ชนะ" ในการจัดการ ไม่ควรย่ามใจเมื่อการเจรจาเสร็จสิ้น
 ซึ่งอาจส่งผลกระทบที่เลวร้ายมากขึ้น เช่นทาให้อีกฝ่ ายขอเพิก
ถอนการเจรจา ขอเปิดการเจรจาใหม่ หรือมีบทลงโทษถ้าทั้งสอง
ฝ่ ายต้องเจรจาตกลงในครั้งต่อไป
4. การควบคุมความสุขและความตื่นเต้น (ต่อ)
 เป็นสถานการณ์ที่เลวร้าย ที่จะทาให้คู่เจรจาของคุณรู้สึกไม่พอใจ
และรู้สึกผิดหวังหลังจากการเจรจาต่อรอง
 การที่คุณแสดงให้เห็นถึงความสุข หรือความตื่นเต้น ก่อให้เกิด
ความผิดหวังกับคู่เจรจา
 ทางที่ดีที่สุดในการบรรลุข้อตกลง ควรให้ฝ่ ายตรงข้ามเชื่อว่า
พวกเขาก็ทาได้ดีมาก แม้ว่าความจริงจะไม่เป็นเช่นนั้น
4. การควบคุมความสุขและความตื่นเต้น (ต่อ)
 อันตรายของความตื่นเต้นคือ มันอาจเพิ่มความมุ่งมั่นต่อกลยุทธ์
ของคุณ ในขณะที่ความเป็นจริงแล้ว ควรจะละเสียหรือไม่ควรจะ
ใช้อีกต่อไป
 มีสองบทเรียนสาหรับการเจรจา ข้อแรก การมีน้าใจ (be
considerate): อย่าปล่อยให้ความตื่นเต้นของคุณ ทาให้คู่ของคุณ
รู้สึกว่าพวกเขาสูญเสีย ประการที่สอง การสงสัย (be skeptical)
อย่าปล่อยให้ความตื่นเต้นของคุณ เพิ่มความเชื่อมั่นหรือความ
มุ่งมั่นเกินไป ทั้ง ๆ ที่ยังมีข้อมูลไม่เพียงพอ
ทักษะในการเจรจา (Negotiation Skills)
 การเจรจาต่อรองต้องมีทักษะเช่นเดียวกับที่เล่นไพ่โป๊ กเกอร์คือ
มุ่งเน้นกลยุทธ์ จินตนาการทางเลือก มีความสามารถพิเศษใน
การต่อรอง การอ่านคน เข้าใจสถานะของผู้อื่น และข่มขู่เมื่อมี
ความจาเป็น
 อย่างไรก็ตาม ในการเจรจาจะต้องมุ่งมั่นเพื่อเกิดข้อตกลงทั้งสอง
ฝ่ าย ในขณะที่ผู้เล่นโป๊ กเกอร์เป็นการตัดสินใจเพียงฝ่ ายเดียว
 การเล่นโป๊ กเกอร์ยังขาดการเน้นชนะร่วมกัน เป็นเกมที่ผู้เล่นคน
หนึ่งได้กาไรมาจากผู้เล่นคนอื่น
ทักษะในการเจรจา (ต่อ)
 อย่างไรก็ตาม การเจรจาสามารถเรียนรู้บทเรียนที่สาคัญจากการ
เล่นไพ่คือ การควบคุมอารมณ์ที่เรารู้สึก และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง
การเปิดเผยอารมณ์
 นักต่อรองที่ดี ต้องพัฒนาใบหน้าให้เหมือนคนเล่นโป๊ กเกอร์ ซ่อน
ความรู้สึกที่แท้จริง แสดงอารมณ์ความรู้สึกที่ถูกต้องในเวลาที่
เหมาะสม
ทักษะในการเจรจา (ต่อ)
 ในการที่จะเป็นนักเจรจาต่อรองที่ดี ควรประเมินอารมณ์ของคุณ
อย่างละเอียด
 โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แนวโน้มที่จะรู้สึกก่อน ระหว่าง และหลังจาก
การเจรจาต่อรอง การใช้เทคนิคในการลด (หรือเพิ่ม)
ประสบการณ์ และป้องปราม (หรือเน้น) การแสดงออกของ
อารมณ์ เมื่อจาเป็น
สรุป
 พยายามหลีกเลี่ยง ความรู้สึกกังวล ระวังเกี่ยวกับการแสดง
ความโกรธ ถามคาถามเพื่อหลีกเลี่ยง ความผิดหวังและเสียใจ
และอย่าลืมว่า ความสุขและความตื่นเต้น สามารถส่งผลกระทบที่
ไม่พึงประสงค์
 เช่นเดียวกับที่คุณเตรียมยุทธศาสตร์และยุทธวิธีก่อนการเจรจา
ต่อรอง คุณควรจัดเตรียมวิธีการแสดงออกทางอารมณ์ของคุณ
ด้วย เพราะเป็นการใช้เวลาอย่างคุ้มค่า
Chinese.
ปกิณกะ 1 - การจัดการอารมณ์คู่เจรจาของคุณ (Managing Your
Counterpart’s Emotions)
 1. เป็นคนช่างสังเกต (Be observant) การรับรู้ความรู้สึกคู่เจรจา
เป็นส่วนประกอบที่สาคัญของความฉลาดทางอารมณ์ และสาคัญ
อย่างยิ่งในการเจรจา
 เมื่อสังเกตได้ว่า ภาษาพูดและกิริยาท่าทาง (verbal and
nonverbal) ไม่ตรงกัน ให้ถามคาถาม
 การถามคาถามเรื่องการรับรู้ของคุณ ต่อการแสดงออกทาง
อารมณ์ของคู่เจรจา จะทาให้มันง่ายขึ้นสาหรับคุณที่จะเข้าใจ
มุมมองของฝ่ ายตรงข้าม
ปกิณกะ 1 - การจัดการอารมณ์คู่เจรจาของคุณ (ต่อ)
 ยกตัวอย่างเช่น "คุณบอกผมว่าคุณชอบผลลัพธ์นี้ แต่คุณดู
เหมือนไม่สบายใจ อะไรเป็นสิ่งที่ทาให้คุณอึดอัด? "
 หรือ "คุณบอกว่าคุณกาลังโกรธ แต่คุณดูเหมือนค่อนข้างยินดี
คุณไม่พอใจเกี่ยวกับเรื่องนี้ จริงหรือ? หรือคุณกาลังพยายามที่จะ
ข่มขู่ผม?"
 นอกจากนี้ ยังจะทาให้มันยากสาหรับคู่เจรจาที่จะโกหกคุณ เพราะ
มีหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่า คนชอบที่จะพูดโกหกเกี่ยวกับ
ข้อเท็จจริง มากกว่าการโกหกเกี่ยวกับความรู้สึก
ปกิณกะ 1 - การจัดการอารมณ์คู่เจรจาของคุณ (ต่อ)
2. อย่ากลัวที่จะใช้อิทธิพลโดยตรงต่อความรู้สึกของคู่เจรจา (Don’t
be afraid to exert direct influence on your counterpart’s emotions)
 ฟังดูอาจจะเป็นการบิดเบือนหรือแม้กระทั่งไร้ยางอาย แต่คุณ
สามารถใช้อิทธิพลนี้ ได้
 ตัวอย่างเช่น ถ้าคู่เจรจาของคุณดูเหมือนจะกังวลหรือโกรธ ให้ใส่
อารมณ์ขันหรือความเห็นอกเห็น ก็จะเปลี่ยนระดับของการมี
ปฏิสัมพันธ์ได้
 ในทานองเดียวกัน ถ้าคู่เจรจาของคุณดูเหมือนว่าได้ใจหรือรุกราน
ให้แสดงความโกรธ จะสร้างความกลัวได้
ให้ถามตนเอง:
 ฉันรู้สึกอย่างไร?
 ฉันควรจะแสดงอารมณ์ของฉัน
หรือไม่?
 คู่เจรจาจะรู้สึกอย่างไร?
 พวกเขามีแนวโน้มที่จะซ่อน หรือแสดง
อารมณ์ของพวกเขาหรือไม่?
 ฉันควรจะให้บุคคลที่สาม มาเจรจาใน
นามของฉันหรือไม่?
ระลึกไว้ว่า:
 มันเป็นเรื่องปกติที่จะรู้สึกกังวลและ
ตื่นเต้น
 พยายามหลีกเลี่ยงการแสดงความวิตก
กังวล
 แสดงความตื่นเต้นจากการคาดการณ์
ล่วงหน้า อาจช่วยสร้างความสามัคคี
 ในสถานการณ์ที่ต้องเก็บอารมณ์ (เช่น
การหย่าร้าง) พิจารณาบุคคลที่สาม
(เช่นทนายความ) เจรจาในนามของคุณ
ปกิณกะ 2 – การเตรียมตัวเรื่องอารมณ์: ก่อนเจรจา
ให้ถามตนเอง:
 อะไรคือสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้น ที่จะทาให้
ฉันรู้สึกโกรธ?
 อะไรคือสิ่งที่ฉันอาจจะทา เพื่อทาให้คู่
เจรจาของฉันรู้สึกโกรธ?
 อะไรคือสิ่งที่พวกเขาอาจจะทาหรือถาม
ที่จะทาให้ฉันรู้สึกกังวล?
ระลึกไว้ว่า:
 ระมัดระวังเกี่ยวกับการแสดงความ
โกรธ; มันอาจจะช่วยได้ แต่จะเป็น
อันตรายต่อความสัมพันธ์ระยะยาว
 หลีกเลี่ยงการทาให้คู่เจรจาของคุณขุ่น
เคือง พวกเขาอาจมีแนวโน้มที่จะเดิน
ออกไป
 เตรียมคาตอบสาหรับคาถามที่
ยากลาบาก เพราะเป็นสิ่งสาคัญสาหรับ
การทาให้สงบนิ่งได้
ปกิณกะ 2 – การเตรียมตัวเรื่องอารมณ์: -ขณะเจรจา
ให้ถามตนเอง:
 อะไรคือผลลัพธ์ของการเจรจาต่อรอง
ที่ฉันหวังว่าจะประสบความสาเร็จ?
อะไรคือสิ่งที่ฉันคาดหวังที่จะบรรลุ?
 ผลลัพธ์เหล่านั้นทาให้ฉันรู้สึกอย่างไร?
 ฉันควรจะแสดงความรู้สึกเหล่านั้น
หรือไม่ กับใคร?
 คู่เจรจาของฉันมีแนวโน้มที่จะรู้สึก
เกี่ยวกับผลลัพธ์ที่เป็นไปได้อย่างไร?
ระลึกไว้ว่า:
 เพื่อลดความผิดหวัง ร่างแรงบันดาลใจ
และความคาดหวังที่ชัดเจน และ
ปรับปรุงไปตลอดการเจรจาต่อรอง
 เมื่อคุณรู้สึกยินดีที่เกี่ยวกับผลลัพธ์
อาจจะฉลาดที่จะเก็บไว้ในใจตัวเอง
 นักเจรจาที่ดีที่สุด สร้างคุณค่าสาหรับ
ทุกคน ประโยชน์ก้อนใหญ่เราได้มา
แต่ก็ทาให้คู่เจรจารู้สึกว่าพวกเขาก็ชนะ
ปกิณกะ 2 – การเตรียมตัวเรื่องอารมณ์: หลังเจรจา
- John Fitzgerald Kennedy (1917–1963)
35th US president 1961-63, youngest pres., assassinated November 22, 1963
by Deepak Malhotra
Focus on four preliminary factors that can shape the outcome.
From: Harvard Business Review,
December, 2015
บทสรุปสาหรับผู้บริหาร
 บทความนี้ แสดงสี่ปัจจัยที่อาจส่งผลกระทบอย่างมากต่อการเจรจา
ต่อรอง และเป็นสิ่งที่ควรจะทาก่อนในการเจรจา คือก่อนทาข้อเสนอ
ข้อหักล้าง และกลยุทธ์ในการเจรจาต่อรอง
 Deepak Malhotra ได้ให้คาแนะนาคือ ตกลงกระบวนการก่อนเนื้ อหา
สาระ (resolve process before substance) ตั้งความคาดหวังล่วงหน้า
(set expectations) ทาแผนที่การเจรจาต่อรอง (map out the
negotiation space) และ ควบคุมให้อยู่ในกรอบ (control the frame)
 โดยการทาตามขั้นตอนเหล่านี้ เป็นการวางตาแหน่งตัวเอง สาหรับ
ความสาเร็จในการเจรจาต่อรอง
เกริ่นนา
 มีหนังสือและบทความนับไม่ถ้วน แนะนาผู้ทาข้อตกลงให้
หลีกเลี่ยงความผิดพลาดบนโต๊ะเจรจาต่อรอง
 แต่บางส่วนของความผิดพลาด เกิดขึ้นก่อนมีการเจรจาหารือ
เกี่ยวกับเนื้ อหาของข้อตกลง เพราะตกเป็นเหยื่อที่ดูเหมือนจะดี
แต่เป็นความผิดพลาด คือ-สมมติฐานเกี่ยวกับการทาข้อตกลง
 นั่นคือ หลักในการเจรจาที่มักจะนามาใช้คือ ทาให้เกิดคุณค่าและ
ผลประโยชน์ที่เพียงพอ พวกเขาจะสามารถตกลงกันได้
 ในขณะที่สิ่งเหล่านั้นมีความสาคัญ แต่ยังมีปัจจัยอื่น ๆ ที่มีผลทา
ให้การเจรจาล้มเหลว
ข้อเสนอแนะก่อนทาการเจรจาต่อรอง
 1. เจรจาต่อรองที่กระบวนการก่อนสาระ (Negotiate Process
Before Substance)
 2. กระบวนการตามปกติ (Normalize the Process)
 3. แสดงแผนที่การเจรจาต่อรอง (Map Out the Negotiation
Space)
 4. การควบคุมให้อยู่ในกรอบ (Control the Frame)
1. เจรจาต่อรองที่กระบวนการก่อนสาระ (Negotiate Process Before
Substance)
 ความผิดพลาดที่พบบ่อยคือ มุ่งเน้นมากเกินไปในสาระของ
ข้อตกลง และไม่ให้ความสาคัญอย่างเพียงพอในกระบวนการ
 สาระ (Substance) เป็นข้อตกลงที่ทาขึ้นในข้อตกลงขั้นสุดท้าย
 กระบวนการ (Process) เป็นวิธีที่คุณจะทาอะไร ที่ไหน เมื่อไร
และอย่างไร นับจากวันนี้ จนถึงวันที่มีการตกลงกัน
 คาแนะนา: ทาข้อตกลงเรื่องกระบวนการเจรจาต่อรองก่อนสาระ
1. เจรจาต่อรองที่กระบวนการก่อนสาระ (ต่อ)
 ถ้ามีความชัดเจนมากขึ้นเกี่ยวกับกระบวนการ โอกาสที่เกิดความ
ผิดพลาดในเนื้ อหาสาระก็จะน้อยลง
 กระบวนการเจรจาต่อรอง เป็นการพูดคุยรายละเอียด ที่มีอิทธิพลต่อ
ผลลัพธ์ของการจัดการ
 ขอให้ถาม: มีเวลาเท่าใดในการเจรจา? ใครจะต้องอยู่ในที่ประชุม
บ้าง? มีปัจจัยอะไรบ้างที่อาจจะชะลอหรือเร่งกระบวนการให้เร็วขึ้น?
มีการระบุเป้าหมายหรือวัน ที่เราควรจะทราบก่อนหรือไม่?
 และโปรดอย่าลืมสิ่งที่ง่าย ๆ เช่น ใครบ้างที่จะอยู่ในการประชุมคราว
หน้า? วาระการประชุมคืออะไร? เนื่องจากเรายังไม่ได้นาประเด็นที่มี
ความสาคัญมาหารือในการประชุมครั้งต่อไป เราควรจะทาอย่างไร?
2. กระบวนการตามปกติ (Normalize the Process)
 กระบวนการตามปกติในการหารือใด ๆ อาจมีปัจจัยด้านอื่น ๆ ที่
ก่อให้เกิดคาถาม ในเรื่องความตั้งใจหรือความสามารถ ที่ส่งผล
ต่อการประสบความสาเร็จ
 ให้อธิบายอุปสรรคทั่ว ๆ ไป ที่จะต้องเอาชนะในระหว่างขั้นตอน
เพราะเป็นเรื่องปกติสาหรับบุคคลที่จะรู้สึกกังวล หรือมอง
เหตุการณ์ในแง่ร้ายที่อาจชะลอความคืบหน้า และยังมีความ
แตกต่างระหว่างการหยุดชะงักที่เป็นธรรมดาและง่ายต่อการ
แก้ไข กับการหยุดชะงักที่มีความรุนแรง
2. กระบวนการตามปกติ (ต่อ)
 ให้อธิบายว่า คุณมีประสบการณ์พอที่จะจัดการเรื่องความสัมพันธ์
ของทุกคนและแนวโน้มที่จะพบความยากลาบาก รวมถึงการ
หยุดชะงัก อีกทั้งคุณต้องการที่จะเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับปัจจัย
เสี่ยง ที่เฉพาะเจาะจงในกรณีนี้
 และถ้าคุณสามารถส่งสัญญาณ (หรือกระทาการ) ว่ามีความตั้งใจ
ในการกาจัดปัจจัยเหล่านั้นร่วมกับพวกเขา คุณมีโอกาสที่ดีในการ
เข้าถึงความเข้าใจที่เหมาะกับทั้งสองฝ่ าย
3. แสดงแผนที่การเจรจาต่อรอง (Map Out the Negotiation Space)
 คุณจะต้องประเมินมุมมองของทุกฝ่ ายที่มีอิทธิพลหรือได้รับ
อิทธิพลจากการจัดการ: ใครบ้างมีอิทธิพลต่อคู่เจรจา? กลยุทธ์
หรือการกระทาของฝ่ ายอื่น ๆ ที่อาจเปลี่ยนทางเลือกของคุณ ให้
ดีขึ้นหรือแย่ลง? ข้อตกลงมีผลต่อผลประโยชน์ของผู้อื่นที่ไม่ได้
อยู่ที่โต๊ะเจรจาหรือไม่? วิธีการเจรจาต่อรองนี้ จะมีผลต่อการ
เจรจาต่อรองกับคู่ค้าในอนาคตหรือไม่? หากหลายฝ่ ายมีส่วนร่วม
ในการจัดการ จะเจรจาต่อรองกับพวกเขาพร้อมกันหรือแยกกัน?
3. แสดงแผนที่การเจรจาต่อรอง (ต่อ)
 ในโลกแห่งความจริง ไม่เคยจะมีความสมบูรณ์ในการแสดงเป็น
รูปภาพตามที่คุณต้องการ แต่คุณจะเสียเปรียบ ถ้าคุณมุ่งเน้น
แคบเกินไปเกี่ยวกับคู่เจรจา
 การวิเคราะห์ของคุณ อาจนาสู่การเปลี่ยนแปลงกลยุทธ์ - ว่าคุณ
ควรจะเจรจาต่อรองกับบุคคลอื่นก่อน ชะลอการจัดการหรือ
จัดการให้เร็วขึ้น นาคนอื่น ๆ เข้ามาในการเจรจาด้วย หรือลด
ขอบเขตของการจัดการ ฯลฯ
4. การควบคุมให้อยู่ในกรอบ (Control the Frame)
 กรอบหรือเลนส์ทางจิตวิทยาของคู่เจรจาต่อรอง มีผลกระทบ
อย่างมีนัยสาคัญต่อการจัดการให้สาเร็จ
 คู่เจรจามองว่าเป็นการแก้ปัญหา หรือเป็นการต่อสู้เพื่อชัยชนะ?
พวกเขากาลังมองไปที่ความเสมอภาค หรือความแตกต่างใน
สถานะ? พวกเขามุ่งเน้นไปที่ระยะยาว หรือระยะสั้น? การ
ยินยอมถูกมองว่าเป็นสัญญาณของความอ่อนแอหรือไม่?
4. การควบคุมให้อยู่ในกรอบ (ต่อ)
 การเจรจาต่อรองที่มีประสิทธิภาพ ควรพยายามที่จะควบคุมหรือ
ปรับกรอบในช่วงต้น ก่อนที่มีการกล่าวถึงสาระของข้อตกลง
 มีสามองค์ประกอบของกรอบการเจรจาที่จะต้องพิจารณา
 A. คุณค่า เทียบกับราคา
 B. ทางเลือกของคุณ เทียบกับพวกเขา
 C. ความเท่าเทียมกัน เทียบกับการอยู่เหนือกว่า
A. คุณค่าเทียบกับราคา (Value versus Price)
 การที่มีราคาสูงเป็นเพราะมีคุณค่า
 หนึ่งในความผิดพลาดที่พบบ่อยที่สุดคือ การขอโทษ (apologize)
สาหรับการที่มีราคาสูง
 ในการเจรจาทุกชนิด ถ้าคุณสามารถเปลี่ยนการอภิปรายโดยเร็ว
จากค่าใช้จ่าย และมุ่งเน้นไปที่คุณค่าที่คุณนาเสนอ มีแนวโน้ม
มากขึ้นที่คุณจะสามารถสร้างรายได้จากคุณค่านั้น
B. ทางเลือกของคุณเทียบกับของพวกเขา (Your Alternatives versus
Theirs)
 คนที่เดินเข้าไปในการเจรจาต่อรองโดยคาถามที่ว่า " อะไรจะเกิด
ขึ้นกับฉัน ถ้าเจรจาไม่สาเร็จ?" จะได้รับผลลัพธ์ที่เลวร้ายกว่าผู้ที่
มุ่งเน้นในสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับคู่เจรจา ถ้าการจัดการไม่สาเร็จ
 การที่คุณคิดว่า สิ่งที่เกิดขึ้นกับพวกเขาหากการเจรจาไม่สาเร็จ
ทาให้คุณได้เปลี่ยนกรอบมุมมองคุณค่าที่คุณนาเสนอ และทาให้
เป็นเรื่องง่ายที่จะยอมรับว่า ทาไมคุณได้จัดการอย่างสมควรแล้ว
C. ความเท่าเทียมกันเทียบกับการอยู่เหนือกว่า (Equality versus
Dominance)
 ตรวจสอบให้แน่ใจว่าแม้มีขนาดที่แตกต่างกัน กรอบการเจรจา
ต่อรองได้รับการปฏิบัติที่เท่าเทียมกัน
 และตลอดการเจรจาต่อรอง ทาให้แน่ใจว่าพวกเขาเข้าใจว่า
แม้ว่าบริษัทของเรามีขนาดเล็กกว่า เราก็เท่าเทียมกันในการ
เจรจา เพราะมูลค่ามหาศาลที่เรานาเสนอ จะช่วยกาหนดกรอบ
การเจรจาที่ถูกต้อง
สรุป
 ใน ตาราพิชัยสงคราม (THE ART OF WAR) ซุนวู (Sun Tzu) กล่าว
ว่า สงครามจะชนะหรือแพ้ รู้ได้ก่อนที่จะเริ่มต้น ซึ่งเป็นความจริง
ในเชิงกลยุทธ์
 บทความนี้ ไม่ได้เสนอให้ลดความสาคัญของเนื้ อหาของข้อตกลง
แต่ผู้เจรจาควรพยายามหลีกเลี่ยงความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น
ก่อนที่จะนาข้อเสนอมาเจรจากัน
 โดยให้ความสนใจกับปัจจัยทั้งสี่ที่กล่าวถึงนี้ จะเป็นการเพิ่ม
โอกาสในการสร้างปฏิสัมพันธ์ และบรรลุผลประโยชน์ได้มากขึ้น
Buddhist.

More Related Content

Viewers also liked

Why organizations don’t learn
Why organizations don’t learnWhy organizations don’t learn
Why organizations don’t learnmaruay songtanin
 
Evolution of design thinking
Evolution of design thinkingEvolution of design thinking
Evolution of design thinkingmaruay songtanin
 
Item integration & expected results
Item integration & expected resultsItem integration & expected results
Item integration & expected resultsmaruay songtanin
 
Overall requirements in 2015 2016
Overall requirements in 2015 2016Overall requirements in 2015 2016
Overall requirements in 2015 2016maruay songtanin
 
Building a workforce for the future
Building a workforce for the futureBuilding a workforce for the future
Building a workforce for the futuremaruay songtanin
 
The leadership skills handbook
The leadership skills handbookThe leadership skills handbook
The leadership skills handbookmaruay songtanin
 
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรองกระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรองThida Noodaeng
 
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อบทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อTeetut Tresirichod
 
Baldrige award winners 2014
Baldrige award winners 2014Baldrige award winners 2014
Baldrige award winners 2014maruay songtanin
 
Baldrige excellence builder thai
Baldrige excellence builder thaiBaldrige excellence builder thai
Baldrige excellence builder thaimaruay songtanin
 

Viewers also liked (20)

Ha & army hospitals
Ha & army hospitalsHa & army hospitals
Ha & army hospitals
 
Why organizations don’t learn
Why organizations don’t learnWhy organizations don’t learn
Why organizations don’t learn
 
Evolution of design thinking
Evolution of design thinkingEvolution of design thinking
Evolution of design thinking
 
Value chain analysis
Value chain analysisValue chain analysis
Value chain analysis
 
Criteria by diagrams
Criteria by diagramsCriteria by diagrams
Criteria by diagrams
 
Internet of things part i
Internet of things part iInternet of things part i
Internet of things part i
 
Item integration & expected results
Item integration & expected resultsItem integration & expected results
Item integration & expected results
 
Thailand 4.0
Thailand 4.0Thailand 4.0
Thailand 4.0
 
Overall requirements in 2015 2016
Overall requirements in 2015 2016Overall requirements in 2015 2016
Overall requirements in 2015 2016
 
Building a workforce for the future
Building a workforce for the futureBuilding a workforce for the future
Building a workforce for the future
 
The leadership skills handbook
The leadership skills handbookThe leadership skills handbook
The leadership skills handbook
 
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรองกระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
 
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อบทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
 
Baldrige award winners 2014
Baldrige award winners 2014Baldrige award winners 2014
Baldrige award winners 2014
 
Award scoring
Award scoringAward scoring
Award scoring
 
Vision statement
Vision statementVision statement
Vision statement
 
Coaching the toxic leader
Coaching the toxic leaderCoaching the toxic leader
Coaching the toxic leader
 
How to retire happy
How to retire happyHow to retire happy
How to retire happy
 
Baldrige excellence builder thai
Baldrige excellence builder thaiBaldrige excellence builder thai
Baldrige excellence builder thai
 
Make better decisions
Make better decisionsMake better decisions
Make better decisions
 

More from maruay songtanin

๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docxmaruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfmaruay songtanin
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 

The softer side of negotiation

  • 1. พันเอก มารวย ส่งทานินทร์ maruays@hotmail.com 8 ธันวาคม 2558
  • 2. by Alison Wood Brooks From: Harvard Business Review, December, 2015 Most negotiation guides understate the importance of emotion. This article shows how essential it is to manage—and use—anger, excitement, and anxiety.
  • 3. บทสรุปสาหรับผู้บริหาร  การเจรจาต่อรองเต็มไปด้วยอารมณ์  เมื่อเร็ว ๆ นี้ นักวิจัยได้ตรวจสอบเรื่องอารมณ์ทั้งสี่ ที่มีอิทธิพลต่อสิ่ง ที่เกิดขึ้นในระหว่างการทาข้อตกลง คือ  ความวิตกกังวล (Anxiety) ซึ่งจะนาไปสู่ผลลัพธ์ที่ไม่น่าพอใจ  ความโกรธ (Anger) เป็นดาบสองคม ต้องใช้ให้เป็น  ความผิดหวัง (Disappointment) สามารถใช้เป็นช่องทางในการเข้าถึง ผลลัพธ์ที่น่าพอใจมากขึ้น  ความตื่นเต้น (Excitement) ไม่ได้เป็นสิ่งที่ดีเสมอไป  หากความรู้สึกเหล่านี้ ได้รับการจัดการที่ดี จะเป็นข้อได้เปรียบในการ เจรจา
  • 4. ความวิตกกังวล  ความวิตกกังวล จะนาไปสู่ผลลัพธ์ที่ไม่พึงพอใจ (Anxiety leads to poor outcomes)  คุณจะมีความกังวลน้อยลงเกี่ยวกับการเจรจาต่อรอง ถ้าคุณได้ทา การฝึกและได้ซ้อมบ่อย ๆ  นอกจากนี้ คุณยังสามารถหลีกเลี่ยงความวิตกกังวล โดยขอให้ ผู้เชี่ยวชาญภายนอก เป็นตัวแทนของคุณที่โต๊ะเจรจาต่อรอง
  • 5. ความโกรธ  ความโกรธ เป็นดาบสองคม (Anger is a double-edged sword)  ในบางกรณีอาจใช้ข่มขู่ฝ่ ายตรงข้าม และช่วยให้คุณได้เปรียบ แต่ในสถานการณ์อื่น ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ที่เกี่ยวข้องกับ ความสัมพันธ์ระยะยาว จะทาให้เกิดความไม่ไว้วางใจและ ความรู้สึกที่ไม่ดี ทาให้โอกาสเจรจาสาเร็จยากขึ้น  เพื่อหลีกเลี่ยงหรือกลบเกลื่อนความโกรธ ควรหยุดพัก หรือแสดง ความโศกเศร้า และมีความปรารถนาที่จะประนีประนอม
  • 6. ความผิดหวัง  ความผิดหวัง อาจช่วยสร้างช่องทาง ในการเข้าถึงผลลัพธ์ที่น่า พอใจมากขึ้น (Disappointment can be channeled to reach a more satisfactory outcome)  ก่อนที่ความผิดหวังจะกลายเป็นความเสียใจ ให้ถามคาถามคู่ เจรจาให้มาก ๆ เพื่อที่จะมั่นใจตัวเองว่า คุณได้สารวจตัวเลือก ทั้งหมดแล้ว  และการไม่ปิดการเจรจาที่เร็วเกินไป ทาให้คุณอาจพบทางออกที่ ดีก็ได้
  • 7. ความตื่นเต้น  ความตื่นเต้น ไม่ได้เป็นสิ่งที่ดีเสมอไป (Excitement isn’t always a good thing)  การตื่นเต้นเร็วเกินไป จะนาให้คุณทาหน้าที่อย่างผลีผลามและ มองด้วยความละโมบ เกี่ยวกับข้อตกลงขั้นสุดท้าย และสร้าง ความบาดหมางใจให้กับคู่เจรจาได้  แต่ถ้าความรู้สึกตื่นเต้นที่มีการจัดการที่ดี จะทาให้ทุกคนที่ เกี่ยวข้องรู้สึกเหมือนเป็นผู้ชนะ
  • 8.
  • 9. เกริ่นนา  20 ปีที่ผ่านมา มีนักวิจัยไม่กี่คนที่ให้ความสนใจบทบาทของ อารมณ์ในการเจรจาต่อรอง ที่มีผลต่อวิธีที่ผู้คนเอาชนะความ ขัดแย้ง บรรลุข้อตกลง และสร้างคุณค่าในการจัดการกับคู่เจรจา  ในการเจรจาต่อรอง นักวิชาการส่วนใหญ่เน้น ยุทธศาสตร์และ ยุทธวิธี (strategy and tactics) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง วิธีการที่ทั้ง สองฝ่ ายสามารถระบุและพิจารณาทางเลือก การใช้ประโยชน์ การออกแบบข้อเสนอ และการตัดรอนข้อเสนอของฝ่ ายตรงข้าม
  • 10. การแสดงออกของอารมณ์ (Expression of Emotion)  การวิจัยแสดงให้เห็นว่า ความรู้สึกกังวล (feeling or looking anxious) มักส่งผลให้การเจรจาต่อรองด้อยลง  ดังนั้น ผู้ที่มีแนวโน้มมีความวิตกกังวล เมื่อเจอสภาวการณ์ในการ เจรจาต่อรองกับฝ่ ายตรงข้าม สามารถใช้ขั้นตอนบางอย่างในการ จากัดความกังวลใจและซ่อนมันไว้ รวมถึงอารมณ์อื่น ๆ ด้วย
  • 11. อารมณ์ในการเจรจาต่อรอง (Emotions over the Course of Negotiation)  มีหลากหลายอารมณ์ของผู้คนที่รู้สึก ในช่วงเวลาของการเจรจา ต่อรอง  ความวิตกกังวล (Anxiety) เป็นแนวโน้มส่วนใหญ่ที่เกิดขึ้นก่อน กระบวนการจะเริ่มต้น หรือในช่วงระยะแรก  เรามีแนวโน้มที่จะเกิด ความโกรธ (anger) หรือ ความตื่นเต้น (excitement) จากความเร่าร้อนของการอภิปราย  และเรามักจะรู้สึก ผิดหวัง โศกเศร้า หรือเสียใจ (disappointment, sadness, or regret ) ต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
  • 12. ข้อเสนอแนะในการจัดการกับอารมณ์  1. หลีกเลี่ยงความวิตกกังวล (Avoiding Anxiety)  2. การจัดการความโกรธ (Managing Anger)  3. การจัดการความผิดหวังและเสียใจ (Handling Disappointment and Regret)  4. การควบคุมความสุขและความตื่นเต้น (Tempering Happiness and Excitement)
  • 13. 1. หลีกเลี่ยงความวิตกกังวล (Avoiding Anxiety)  ความวิตกกังวล (Anxiety) เป็นภาวะของความกลุ้มใจ ในการ ตอบสนองต่อสิ่งเร้าของสถานการณ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สถานการณ์ที่มีศักยภาพของผลลัพธ์ที่ไม่น่าพอใจ  ในทางตรงกันข้าม ความโกรธ (anger) จะกระตุ้นความขัดแย้ง (นาไปสู่ "การสู้" ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการตอบสนอง) ส่วนความ วิตกกังวล เป็น "การหนี" คือต้องการที่จะออกจากที่เกิดเหตุ  ความอดทนและความเพียร เป็นสิ่งจาเป็นเมื่อมีการเจรจาต่อรอง ดังนั้นการหนีจะส่งผลให้เกิดผลลัพธ์ที่ไม่พึงประสงค์
  • 14. 1. หลีกเลี่ยงความวิตกกังวล (ต่อ)  คนที่มีความวิตกกังวล มักเสนอข้อตกลงในครั้งแรกที่อ่อนแอ ตอบสนองรวดเร็วเกินไปต่อคู่เจรจา และมีแนวโน้มที่จะหนีออก จากการเจรจาต่อรองในช่วงต้น ๆ  ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่า คนที่แสดงความวิตกกังวล มีแนวโน้มที่จะ ถูกเอาเปรียบจากการเจรจาต่อรอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าบุคคลที่ เป็นคู่เจรจา รู้สึกถึงความทุกข์ของพวกเขา  นักเจรจาที่เก่ง มักตั้งใจที่จะทาให้คู่เจรจาของพวกเขารู้สึกกังวล
  • 15. 1. หลีกเลี่ยงความวิตกกังวล (ต่อ)  ให้หลีกเลี่ยงความรู้สึกกังวล ในขณะที่มีการเจรจาต่อรอง  คุณสามารถจัดการได้อย่างไร? ให้ฝึกฝน ซักซ้อม และเพิ่มความ คมชัดของทักษะในการเจรจา  อีกกลยุทธ์ที่มีประโยชน์สาหรับการลดความวิตกกังวลคือ นา ผู้เชี่ยวชาญภายนอก มาจัดการกับการเจรจาต่อรอง  การเจรจาโดยบุคคลที่สามจะสร้างกังวลน้อยลง เพราะพวกเขามี ทักษะที่ดีกว่า ทาอยู่เป็นประจา และได้รับผลกระทบน้อยกว่า  แม้ว่าจะมีค่าใช้จ่ายบ้างในแนวทางนี้ แต่ชดเชยได้จากการที่เขา ทาประโยชน์ให้กับเรามากขึ้น
  • 16. 2. การจัดการความโกรธ (Managing Anger)  เช่นเดียวกับความวิตกกังวล ความโกรธ (anger) เป็นอารมณ์ ความรู้สึกเชิงลบ แต่แทนที่จะเป็นกับตนเอง จะมุ่งเน้นต่อคนอื่น  โดยมากแล้ว เราพยายามที่จะสงบอารมณ์ของเรา  เมื่อมีการเจรจาต่อรอง หลายคนเชื่อว่า ความโกรธอาจจะเป็น อารมณ์หนึ่งที่ช่วยให้พวกเขาชนะ  มุมมองนี้ เกิดขึ้นจากแนวโน้มการเจรจาต่อรองในแง่ของการ แข่งขัน มากกว่าการปรองดอง
  • 17. 2. การจัดการความโกรธ (ต่อ)  จากการวิจัยแสดงให้เห็นว่า ความโกรธมักจะเป็นอันตรายต่อ กระบวนการ โดยสร้างความขัดแย้งเพิ่มขึ้น มีการรับรู้ที่เบี่ยงเบน และทาให้มีโอกาสสาเร็จน้อยลง  นอกจากนี้ ยังลดผลประโยชน์ร่วมกัน ลดความร่วมมือ ทวีความ รุนแรงของพฤติกรรมในการแข่งขัน และเพิ่มอัตราการปฏิเสธ  ผู้เจรจาที่โกรธ จะมีความถูกต้องน้อยกว่าผู้เจรจาที่เป็นกลาง ทั้ง ในการนึกถึงผลประโยชน์ของตัวเอง และในการตัดสินใจเรื่อง ผลประโยชน์ของคู่เจรจา
  • 18. 2. การจัดการความโกรธ (ต่อ)  การเจรจาที่เล่นกับความโกรธนี้ จะต้องตระหนักถึงผลกระทบที่ ตามมาด้วย  การแสดงความโกรธ สร้างความเสียหายในการเจรจาต่อรอง ที่ ต้องการความสัมพันธ์ระยะยาวระหว่างทั้งสองฝ่ าย เพราะจะลด ความชื่นชอบและความไว้วางใจ  ในหลายบริบทแล้ว การรู้สึกหรือแสดงความโกรธ เป็นกลยุทธ์ การเจรจาต่อรองที่ส่งผลลบได้ ดังนั้น การระงับความโกรธใด ๆ และการจากัดความโกรธ จะเป็นกลยุทธ์ที่ชาญฉลาด
  • 19. 2. การจัดการความโกรธ (ต่อ)  วิธีที่มีประสิทธิผล ในการจัดการกับความโกรธในการเจรจาคือ รู้ว่า การเจรจาไม่เสร็จสิ้นในครั้งเดียว แต่เกิดขึ้นในหลายการประชุม  ดังนั้น หากจะต้องมีการจัดการกับความตึงเครียด ให้ขอหยุดพัก และตั้งหลักใหม่  สุดท้าย คุณอาจพิจารณาปรับเปลี่ยนความโกรธ เป็นความโศกเศร้า  แม้ดูว่าเป็นการปรับเปลี่ยนอารมณ์เชิงลบอีกรูปแบบหนึ่งที่ไร้ เหตุผล ความรู้สึกร่วมของความโศกเศร้า สามารถนาไปสู่การ ร่วมมือ ในขณะที่ความโกรธมักจะนาไปสู่ทางตัน
  • 20. 3. การจัดการความผิดหวังและเสียใจ (Handling Disappointment and Regret)  ความผิดหวัง (Disappointment) เป็นการส่งผลที่รุนแรง แสดงให้ อีกฝ่ ายได้รับรู้ เมื่อใกล้ถึงจุดสิ้นสุดของการเจรจาต่อรอง  ความผิดหวัง มีประโยชน์ที่จะนามาใช้อย่างสร้างสรรค์มากกว่า วิธีอื่น ๆ (ให้คิดว่ากลับไปว่า คุณมีปฏิกิริยาตอบสนองเมื่อตอน เป็นเด็กอย่างไร ถ้าพ่อแม่ของคุณกล่าวว่า "รู้สึกผิดหวังในตัวคุณ มาก" กับคากล่าวที่ว่า "รู้สึกโกรธในตัวคุณมาก")
  • 21. 3. การจัดการความผิดหวังและเสียใจ (ต่อ)  แม้ว่าความโกรธอาจสร้างการปกป้องหรือเพิ่มอัตราต่อรองของ ความขัดแย้ง การแสดงความผิดหวัง สามารถตอบสนอง วัตถุประสงค์ทางยุทธวิธีได้ดีกว่า โดยทาให้คู่เจรจามองการ กระทาของตนเอง และพิจารณาใหม่ว่า จะต้องเปลี่ยนท่าทีเพื่อ ลดความรู้สึกเชิงลบของคุณหรือไม่  วิธีลดความผิดหวัง คือดาเนินการอย่างช้าๆ และสุขุมรอบคอบ
  • 22. 3. การจัดการความผิดหวังและเสียใจ (ต่อ)  ความเสียใจ (Regret) แตกต่างเล็กน้อยจากความผิดหวัง  ขณะที่ความผิดหวัง มีแนวโน้มที่จะเกี่ยวข้องกับความโศกเศร้า เกี่ยวกับผลลัพธ์ (ปลายน้า)  ความรู้สึกเสียใจ ทาให้มองหาสาเหตุที่ต้นน้า และคิดเกี่ยวกับ ความผิดพลาด ที่ทาให้เกิดความผิดหวัง  คนส่วนใหญ่ มีแนวโน้มที่จะเสียใจการกระทาของพวกเขา ที่ พลาดโอกาสและละเลย (ไม่ได้ทาในสิ่งที่ควรทา) มากกว่าการได้ กระทาข้อผิดพลาด (ทาในสิ่งที่ไม่ควรทา)
  • 23. 3. การจัดการความผิดหวังและเสียใจ (ต่อ)  สาหรับการเจรจาที่มีประสิทธิภาพ ควรถามคาถาม ฟัง เสนอวิธี แก้ปัญหา และระดมความคิดหาทางเลือกใหม่  คนมักจะไม่ถามคาถามในขณะที่การเจรจาต่อรอง พวกเขาอาจจะ ลืมประเด็นที่สาคัญ หรือรู้สึกลังเลที่จะแสดงความคิดเห็นเชิงลึก เกินไป เพราะคิดว่าเป็นการรุกรานหรือหยาบคาย  วิธีหนึ่งที่จะช่วยลดการเสียใจคือ ถามคาถามโดยไม่ลังเล และรู้ ว่า ได้สารวจทุกมุมมองแล้ว
  • 24. 4. การควบคุมความสุขและความตื่นเต้น (Tempering Happiness and Excitement)  "ผู้ชนะ" ในการจัดการ ไม่ควรย่ามใจเมื่อการเจรจาเสร็จสิ้น  ซึ่งอาจส่งผลกระทบที่เลวร้ายมากขึ้น เช่นทาให้อีกฝ่ ายขอเพิก ถอนการเจรจา ขอเปิดการเจรจาใหม่ หรือมีบทลงโทษถ้าทั้งสอง ฝ่ ายต้องเจรจาตกลงในครั้งต่อไป
  • 25. 4. การควบคุมความสุขและความตื่นเต้น (ต่อ)  เป็นสถานการณ์ที่เลวร้าย ที่จะทาให้คู่เจรจาของคุณรู้สึกไม่พอใจ และรู้สึกผิดหวังหลังจากการเจรจาต่อรอง  การที่คุณแสดงให้เห็นถึงความสุข หรือความตื่นเต้น ก่อให้เกิด ความผิดหวังกับคู่เจรจา  ทางที่ดีที่สุดในการบรรลุข้อตกลง ควรให้ฝ่ ายตรงข้ามเชื่อว่า พวกเขาก็ทาได้ดีมาก แม้ว่าความจริงจะไม่เป็นเช่นนั้น
  • 26. 4. การควบคุมความสุขและความตื่นเต้น (ต่อ)  อันตรายของความตื่นเต้นคือ มันอาจเพิ่มความมุ่งมั่นต่อกลยุทธ์ ของคุณ ในขณะที่ความเป็นจริงแล้ว ควรจะละเสียหรือไม่ควรจะ ใช้อีกต่อไป  มีสองบทเรียนสาหรับการเจรจา ข้อแรก การมีน้าใจ (be considerate): อย่าปล่อยให้ความตื่นเต้นของคุณ ทาให้คู่ของคุณ รู้สึกว่าพวกเขาสูญเสีย ประการที่สอง การสงสัย (be skeptical) อย่าปล่อยให้ความตื่นเต้นของคุณ เพิ่มความเชื่อมั่นหรือความ มุ่งมั่นเกินไป ทั้ง ๆ ที่ยังมีข้อมูลไม่เพียงพอ
  • 27. ทักษะในการเจรจา (Negotiation Skills)  การเจรจาต่อรองต้องมีทักษะเช่นเดียวกับที่เล่นไพ่โป๊ กเกอร์คือ มุ่งเน้นกลยุทธ์ จินตนาการทางเลือก มีความสามารถพิเศษใน การต่อรอง การอ่านคน เข้าใจสถานะของผู้อื่น และข่มขู่เมื่อมี ความจาเป็น  อย่างไรก็ตาม ในการเจรจาจะต้องมุ่งมั่นเพื่อเกิดข้อตกลงทั้งสอง ฝ่ าย ในขณะที่ผู้เล่นโป๊ กเกอร์เป็นการตัดสินใจเพียงฝ่ ายเดียว  การเล่นโป๊ กเกอร์ยังขาดการเน้นชนะร่วมกัน เป็นเกมที่ผู้เล่นคน หนึ่งได้กาไรมาจากผู้เล่นคนอื่น
  • 28. ทักษะในการเจรจา (ต่อ)  อย่างไรก็ตาม การเจรจาสามารถเรียนรู้บทเรียนที่สาคัญจากการ เล่นไพ่คือ การควบคุมอารมณ์ที่เรารู้สึก และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง การเปิดเผยอารมณ์  นักต่อรองที่ดี ต้องพัฒนาใบหน้าให้เหมือนคนเล่นโป๊ กเกอร์ ซ่อน ความรู้สึกที่แท้จริง แสดงอารมณ์ความรู้สึกที่ถูกต้องในเวลาที่ เหมาะสม
  • 29. ทักษะในการเจรจา (ต่อ)  ในการที่จะเป็นนักเจรจาต่อรองที่ดี ควรประเมินอารมณ์ของคุณ อย่างละเอียด  โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แนวโน้มที่จะรู้สึกก่อน ระหว่าง และหลังจาก การเจรจาต่อรอง การใช้เทคนิคในการลด (หรือเพิ่ม) ประสบการณ์ และป้องปราม (หรือเน้น) การแสดงออกของ อารมณ์ เมื่อจาเป็น
  • 30. สรุป  พยายามหลีกเลี่ยง ความรู้สึกกังวล ระวังเกี่ยวกับการแสดง ความโกรธ ถามคาถามเพื่อหลีกเลี่ยง ความผิดหวังและเสียใจ และอย่าลืมว่า ความสุขและความตื่นเต้น สามารถส่งผลกระทบที่ ไม่พึงประสงค์  เช่นเดียวกับที่คุณเตรียมยุทธศาสตร์และยุทธวิธีก่อนการเจรจา ต่อรอง คุณควรจัดเตรียมวิธีการแสดงออกทางอารมณ์ของคุณ ด้วย เพราะเป็นการใช้เวลาอย่างคุ้มค่า
  • 32. ปกิณกะ 1 - การจัดการอารมณ์คู่เจรจาของคุณ (Managing Your Counterpart’s Emotions)  1. เป็นคนช่างสังเกต (Be observant) การรับรู้ความรู้สึกคู่เจรจา เป็นส่วนประกอบที่สาคัญของความฉลาดทางอารมณ์ และสาคัญ อย่างยิ่งในการเจรจา  เมื่อสังเกตได้ว่า ภาษาพูดและกิริยาท่าทาง (verbal and nonverbal) ไม่ตรงกัน ให้ถามคาถาม  การถามคาถามเรื่องการรับรู้ของคุณ ต่อการแสดงออกทาง อารมณ์ของคู่เจรจา จะทาให้มันง่ายขึ้นสาหรับคุณที่จะเข้าใจ มุมมองของฝ่ ายตรงข้าม
  • 33. ปกิณกะ 1 - การจัดการอารมณ์คู่เจรจาของคุณ (ต่อ)  ยกตัวอย่างเช่น "คุณบอกผมว่าคุณชอบผลลัพธ์นี้ แต่คุณดู เหมือนไม่สบายใจ อะไรเป็นสิ่งที่ทาให้คุณอึดอัด? "  หรือ "คุณบอกว่าคุณกาลังโกรธ แต่คุณดูเหมือนค่อนข้างยินดี คุณไม่พอใจเกี่ยวกับเรื่องนี้ จริงหรือ? หรือคุณกาลังพยายามที่จะ ข่มขู่ผม?"  นอกจากนี้ ยังจะทาให้มันยากสาหรับคู่เจรจาที่จะโกหกคุณ เพราะ มีหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่า คนชอบที่จะพูดโกหกเกี่ยวกับ ข้อเท็จจริง มากกว่าการโกหกเกี่ยวกับความรู้สึก
  • 34. ปกิณกะ 1 - การจัดการอารมณ์คู่เจรจาของคุณ (ต่อ) 2. อย่ากลัวที่จะใช้อิทธิพลโดยตรงต่อความรู้สึกของคู่เจรจา (Don’t be afraid to exert direct influence on your counterpart’s emotions)  ฟังดูอาจจะเป็นการบิดเบือนหรือแม้กระทั่งไร้ยางอาย แต่คุณ สามารถใช้อิทธิพลนี้ ได้  ตัวอย่างเช่น ถ้าคู่เจรจาของคุณดูเหมือนจะกังวลหรือโกรธ ให้ใส่ อารมณ์ขันหรือความเห็นอกเห็น ก็จะเปลี่ยนระดับของการมี ปฏิสัมพันธ์ได้  ในทานองเดียวกัน ถ้าคู่เจรจาของคุณดูเหมือนว่าได้ใจหรือรุกราน ให้แสดงความโกรธ จะสร้างความกลัวได้
  • 35. ให้ถามตนเอง:  ฉันรู้สึกอย่างไร?  ฉันควรจะแสดงอารมณ์ของฉัน หรือไม่?  คู่เจรจาจะรู้สึกอย่างไร?  พวกเขามีแนวโน้มที่จะซ่อน หรือแสดง อารมณ์ของพวกเขาหรือไม่?  ฉันควรจะให้บุคคลที่สาม มาเจรจาใน นามของฉันหรือไม่? ระลึกไว้ว่า:  มันเป็นเรื่องปกติที่จะรู้สึกกังวลและ ตื่นเต้น  พยายามหลีกเลี่ยงการแสดงความวิตก กังวล  แสดงความตื่นเต้นจากการคาดการณ์ ล่วงหน้า อาจช่วยสร้างความสามัคคี  ในสถานการณ์ที่ต้องเก็บอารมณ์ (เช่น การหย่าร้าง) พิจารณาบุคคลที่สาม (เช่นทนายความ) เจรจาในนามของคุณ ปกิณกะ 2 – การเตรียมตัวเรื่องอารมณ์: ก่อนเจรจา
  • 36. ให้ถามตนเอง:  อะไรคือสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้น ที่จะทาให้ ฉันรู้สึกโกรธ?  อะไรคือสิ่งที่ฉันอาจจะทา เพื่อทาให้คู่ เจรจาของฉันรู้สึกโกรธ?  อะไรคือสิ่งที่พวกเขาอาจจะทาหรือถาม ที่จะทาให้ฉันรู้สึกกังวล? ระลึกไว้ว่า:  ระมัดระวังเกี่ยวกับการแสดงความ โกรธ; มันอาจจะช่วยได้ แต่จะเป็น อันตรายต่อความสัมพันธ์ระยะยาว  หลีกเลี่ยงการทาให้คู่เจรจาของคุณขุ่น เคือง พวกเขาอาจมีแนวโน้มที่จะเดิน ออกไป  เตรียมคาตอบสาหรับคาถามที่ ยากลาบาก เพราะเป็นสิ่งสาคัญสาหรับ การทาให้สงบนิ่งได้ ปกิณกะ 2 – การเตรียมตัวเรื่องอารมณ์: -ขณะเจรจา
  • 37. ให้ถามตนเอง:  อะไรคือผลลัพธ์ของการเจรจาต่อรอง ที่ฉันหวังว่าจะประสบความสาเร็จ? อะไรคือสิ่งที่ฉันคาดหวังที่จะบรรลุ?  ผลลัพธ์เหล่านั้นทาให้ฉันรู้สึกอย่างไร?  ฉันควรจะแสดงความรู้สึกเหล่านั้น หรือไม่ กับใคร?  คู่เจรจาของฉันมีแนวโน้มที่จะรู้สึก เกี่ยวกับผลลัพธ์ที่เป็นไปได้อย่างไร? ระลึกไว้ว่า:  เพื่อลดความผิดหวัง ร่างแรงบันดาลใจ และความคาดหวังที่ชัดเจน และ ปรับปรุงไปตลอดการเจรจาต่อรอง  เมื่อคุณรู้สึกยินดีที่เกี่ยวกับผลลัพธ์ อาจจะฉลาดที่จะเก็บไว้ในใจตัวเอง  นักเจรจาที่ดีที่สุด สร้างคุณค่าสาหรับ ทุกคน ประโยชน์ก้อนใหญ่เราได้มา แต่ก็ทาให้คู่เจรจารู้สึกว่าพวกเขาก็ชนะ ปกิณกะ 2 – การเตรียมตัวเรื่องอารมณ์: หลังเจรจา
  • 38. - John Fitzgerald Kennedy (1917–1963) 35th US president 1961-63, youngest pres., assassinated November 22, 1963
  • 39. by Deepak Malhotra Focus on four preliminary factors that can shape the outcome. From: Harvard Business Review, December, 2015
  • 40. บทสรุปสาหรับผู้บริหาร  บทความนี้ แสดงสี่ปัจจัยที่อาจส่งผลกระทบอย่างมากต่อการเจรจา ต่อรอง และเป็นสิ่งที่ควรจะทาก่อนในการเจรจา คือก่อนทาข้อเสนอ ข้อหักล้าง และกลยุทธ์ในการเจรจาต่อรอง  Deepak Malhotra ได้ให้คาแนะนาคือ ตกลงกระบวนการก่อนเนื้ อหา สาระ (resolve process before substance) ตั้งความคาดหวังล่วงหน้า (set expectations) ทาแผนที่การเจรจาต่อรอง (map out the negotiation space) และ ควบคุมให้อยู่ในกรอบ (control the frame)  โดยการทาตามขั้นตอนเหล่านี้ เป็นการวางตาแหน่งตัวเอง สาหรับ ความสาเร็จในการเจรจาต่อรอง
  • 41.
  • 42. เกริ่นนา  มีหนังสือและบทความนับไม่ถ้วน แนะนาผู้ทาข้อตกลงให้ หลีกเลี่ยงความผิดพลาดบนโต๊ะเจรจาต่อรอง  แต่บางส่วนของความผิดพลาด เกิดขึ้นก่อนมีการเจรจาหารือ เกี่ยวกับเนื้ อหาของข้อตกลง เพราะตกเป็นเหยื่อที่ดูเหมือนจะดี แต่เป็นความผิดพลาด คือ-สมมติฐานเกี่ยวกับการทาข้อตกลง  นั่นคือ หลักในการเจรจาที่มักจะนามาใช้คือ ทาให้เกิดคุณค่าและ ผลประโยชน์ที่เพียงพอ พวกเขาจะสามารถตกลงกันได้  ในขณะที่สิ่งเหล่านั้นมีความสาคัญ แต่ยังมีปัจจัยอื่น ๆ ที่มีผลทา ให้การเจรจาล้มเหลว
  • 43. ข้อเสนอแนะก่อนทาการเจรจาต่อรอง  1. เจรจาต่อรองที่กระบวนการก่อนสาระ (Negotiate Process Before Substance)  2. กระบวนการตามปกติ (Normalize the Process)  3. แสดงแผนที่การเจรจาต่อรอง (Map Out the Negotiation Space)  4. การควบคุมให้อยู่ในกรอบ (Control the Frame)
  • 44. 1. เจรจาต่อรองที่กระบวนการก่อนสาระ (Negotiate Process Before Substance)  ความผิดพลาดที่พบบ่อยคือ มุ่งเน้นมากเกินไปในสาระของ ข้อตกลง และไม่ให้ความสาคัญอย่างเพียงพอในกระบวนการ  สาระ (Substance) เป็นข้อตกลงที่ทาขึ้นในข้อตกลงขั้นสุดท้าย  กระบวนการ (Process) เป็นวิธีที่คุณจะทาอะไร ที่ไหน เมื่อไร และอย่างไร นับจากวันนี้ จนถึงวันที่มีการตกลงกัน  คาแนะนา: ทาข้อตกลงเรื่องกระบวนการเจรจาต่อรองก่อนสาระ
  • 45. 1. เจรจาต่อรองที่กระบวนการก่อนสาระ (ต่อ)  ถ้ามีความชัดเจนมากขึ้นเกี่ยวกับกระบวนการ โอกาสที่เกิดความ ผิดพลาดในเนื้ อหาสาระก็จะน้อยลง  กระบวนการเจรจาต่อรอง เป็นการพูดคุยรายละเอียด ที่มีอิทธิพลต่อ ผลลัพธ์ของการจัดการ  ขอให้ถาม: มีเวลาเท่าใดในการเจรจา? ใครจะต้องอยู่ในที่ประชุม บ้าง? มีปัจจัยอะไรบ้างที่อาจจะชะลอหรือเร่งกระบวนการให้เร็วขึ้น? มีการระบุเป้าหมายหรือวัน ที่เราควรจะทราบก่อนหรือไม่?  และโปรดอย่าลืมสิ่งที่ง่าย ๆ เช่น ใครบ้างที่จะอยู่ในการประชุมคราว หน้า? วาระการประชุมคืออะไร? เนื่องจากเรายังไม่ได้นาประเด็นที่มี ความสาคัญมาหารือในการประชุมครั้งต่อไป เราควรจะทาอย่างไร?
  • 46. 2. กระบวนการตามปกติ (Normalize the Process)  กระบวนการตามปกติในการหารือใด ๆ อาจมีปัจจัยด้านอื่น ๆ ที่ ก่อให้เกิดคาถาม ในเรื่องความตั้งใจหรือความสามารถ ที่ส่งผล ต่อการประสบความสาเร็จ  ให้อธิบายอุปสรรคทั่ว ๆ ไป ที่จะต้องเอาชนะในระหว่างขั้นตอน เพราะเป็นเรื่องปกติสาหรับบุคคลที่จะรู้สึกกังวล หรือมอง เหตุการณ์ในแง่ร้ายที่อาจชะลอความคืบหน้า และยังมีความ แตกต่างระหว่างการหยุดชะงักที่เป็นธรรมดาและง่ายต่อการ แก้ไข กับการหยุดชะงักที่มีความรุนแรง
  • 47. 2. กระบวนการตามปกติ (ต่อ)  ให้อธิบายว่า คุณมีประสบการณ์พอที่จะจัดการเรื่องความสัมพันธ์ ของทุกคนและแนวโน้มที่จะพบความยากลาบาก รวมถึงการ หยุดชะงัก อีกทั้งคุณต้องการที่จะเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับปัจจัย เสี่ยง ที่เฉพาะเจาะจงในกรณีนี้  และถ้าคุณสามารถส่งสัญญาณ (หรือกระทาการ) ว่ามีความตั้งใจ ในการกาจัดปัจจัยเหล่านั้นร่วมกับพวกเขา คุณมีโอกาสที่ดีในการ เข้าถึงความเข้าใจที่เหมาะกับทั้งสองฝ่ าย
  • 48. 3. แสดงแผนที่การเจรจาต่อรอง (Map Out the Negotiation Space)  คุณจะต้องประเมินมุมมองของทุกฝ่ ายที่มีอิทธิพลหรือได้รับ อิทธิพลจากการจัดการ: ใครบ้างมีอิทธิพลต่อคู่เจรจา? กลยุทธ์ หรือการกระทาของฝ่ ายอื่น ๆ ที่อาจเปลี่ยนทางเลือกของคุณ ให้ ดีขึ้นหรือแย่ลง? ข้อตกลงมีผลต่อผลประโยชน์ของผู้อื่นที่ไม่ได้ อยู่ที่โต๊ะเจรจาหรือไม่? วิธีการเจรจาต่อรองนี้ จะมีผลต่อการ เจรจาต่อรองกับคู่ค้าในอนาคตหรือไม่? หากหลายฝ่ ายมีส่วนร่วม ในการจัดการ จะเจรจาต่อรองกับพวกเขาพร้อมกันหรือแยกกัน?
  • 49. 3. แสดงแผนที่การเจรจาต่อรอง (ต่อ)  ในโลกแห่งความจริง ไม่เคยจะมีความสมบูรณ์ในการแสดงเป็น รูปภาพตามที่คุณต้องการ แต่คุณจะเสียเปรียบ ถ้าคุณมุ่งเน้น แคบเกินไปเกี่ยวกับคู่เจรจา  การวิเคราะห์ของคุณ อาจนาสู่การเปลี่ยนแปลงกลยุทธ์ - ว่าคุณ ควรจะเจรจาต่อรองกับบุคคลอื่นก่อน ชะลอการจัดการหรือ จัดการให้เร็วขึ้น นาคนอื่น ๆ เข้ามาในการเจรจาด้วย หรือลด ขอบเขตของการจัดการ ฯลฯ
  • 50. 4. การควบคุมให้อยู่ในกรอบ (Control the Frame)  กรอบหรือเลนส์ทางจิตวิทยาของคู่เจรจาต่อรอง มีผลกระทบ อย่างมีนัยสาคัญต่อการจัดการให้สาเร็จ  คู่เจรจามองว่าเป็นการแก้ปัญหา หรือเป็นการต่อสู้เพื่อชัยชนะ? พวกเขากาลังมองไปที่ความเสมอภาค หรือความแตกต่างใน สถานะ? พวกเขามุ่งเน้นไปที่ระยะยาว หรือระยะสั้น? การ ยินยอมถูกมองว่าเป็นสัญญาณของความอ่อนแอหรือไม่?
  • 51. 4. การควบคุมให้อยู่ในกรอบ (ต่อ)  การเจรจาต่อรองที่มีประสิทธิภาพ ควรพยายามที่จะควบคุมหรือ ปรับกรอบในช่วงต้น ก่อนที่มีการกล่าวถึงสาระของข้อตกลง  มีสามองค์ประกอบของกรอบการเจรจาที่จะต้องพิจารณา  A. คุณค่า เทียบกับราคา  B. ทางเลือกของคุณ เทียบกับพวกเขา  C. ความเท่าเทียมกัน เทียบกับการอยู่เหนือกว่า
  • 52. A. คุณค่าเทียบกับราคา (Value versus Price)  การที่มีราคาสูงเป็นเพราะมีคุณค่า  หนึ่งในความผิดพลาดที่พบบ่อยที่สุดคือ การขอโทษ (apologize) สาหรับการที่มีราคาสูง  ในการเจรจาทุกชนิด ถ้าคุณสามารถเปลี่ยนการอภิปรายโดยเร็ว จากค่าใช้จ่าย และมุ่งเน้นไปที่คุณค่าที่คุณนาเสนอ มีแนวโน้ม มากขึ้นที่คุณจะสามารถสร้างรายได้จากคุณค่านั้น
  • 53. B. ทางเลือกของคุณเทียบกับของพวกเขา (Your Alternatives versus Theirs)  คนที่เดินเข้าไปในการเจรจาต่อรองโดยคาถามที่ว่า " อะไรจะเกิด ขึ้นกับฉัน ถ้าเจรจาไม่สาเร็จ?" จะได้รับผลลัพธ์ที่เลวร้ายกว่าผู้ที่ มุ่งเน้นในสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับคู่เจรจา ถ้าการจัดการไม่สาเร็จ  การที่คุณคิดว่า สิ่งที่เกิดขึ้นกับพวกเขาหากการเจรจาไม่สาเร็จ ทาให้คุณได้เปลี่ยนกรอบมุมมองคุณค่าที่คุณนาเสนอ และทาให้ เป็นเรื่องง่ายที่จะยอมรับว่า ทาไมคุณได้จัดการอย่างสมควรแล้ว
  • 54. C. ความเท่าเทียมกันเทียบกับการอยู่เหนือกว่า (Equality versus Dominance)  ตรวจสอบให้แน่ใจว่าแม้มีขนาดที่แตกต่างกัน กรอบการเจรจา ต่อรองได้รับการปฏิบัติที่เท่าเทียมกัน  และตลอดการเจรจาต่อรอง ทาให้แน่ใจว่าพวกเขาเข้าใจว่า แม้ว่าบริษัทของเรามีขนาดเล็กกว่า เราก็เท่าเทียมกันในการ เจรจา เพราะมูลค่ามหาศาลที่เรานาเสนอ จะช่วยกาหนดกรอบ การเจรจาที่ถูกต้อง
  • 55. สรุป  ใน ตาราพิชัยสงคราม (THE ART OF WAR) ซุนวู (Sun Tzu) กล่าว ว่า สงครามจะชนะหรือแพ้ รู้ได้ก่อนที่จะเริ่มต้น ซึ่งเป็นความจริง ในเชิงกลยุทธ์  บทความนี้ ไม่ได้เสนอให้ลดความสาคัญของเนื้ อหาของข้อตกลง แต่ผู้เจรจาควรพยายามหลีกเลี่ยงความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น ก่อนที่จะนาข้อเสนอมาเจรจากัน  โดยให้ความสนใจกับปัจจัยทั้งสี่ที่กล่าวถึงนี้ จะเป็นการเพิ่ม โอกาสในการสร้างปฏิสัมพันธ์ และบรรลุผลประโยชน์ได้มากขึ้น