SlideShare a Scribd company logo
1 of 48
Download to read offline
พันเอก มารวย ส่งทานินทร์ maruays@hotmail.com
10 มกราคม 2560
Marco Iansiti and Karim R.
Lakhani
- IF THERE’S TO BE A REVOLUTION, MANY BARRIERS WILL HAVE TO FALL.
- IT WILL TAKE YEARS TO TRANSFORM BUSINESS, BUT THE JOURNEY
BEGINS NOW.
Harvard Business Review,
January-February 2017
บทสรุปสาหรับผู้บริหาร
 การทาสัญญา การทาธุรกรรม และการเก็บประวัติ เป็นโครงสร้างที่
สาคัญในระบบเศรษฐกิจ แต่ยังไม่ทันกับโลกดิจิตอล ทาให้รู้สึก
เสมือนติดในถนนช่วงชั่วโมงเร่งด่วนด้วยรถแข่งสูตร 1
 แต่ Blockchain สัญญาว่าจะแก้ปัญหานี้ ได้
 Blockchain เป็นบัญชีแยกประเภทแบบเปิด ที่บันทึกการทาธุรกรรม
ได้อย่างปลอดภัย ถาวร และมีประสิทธิภาพมาก ตัวอย่างเช่น การ
โอนหุ้นในขณะนี้ ใช้เวลาถึงสัปดาห์ แต่ด้วย Blockchain จะเกิดขึ้นใน
ไม่กี่วินาที
 Blockchain สามารถลดค่าใช้จ่ายของการทาธุรกรรมและกาจัดคน
กลาง เช่นทนายความและนายธนาคาร และอาจปรับเปลี่ยนระบบ
เศรษฐกิจ แต่เช่นเดียวกับเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต การยอมรับจะต้อง
มีการประสานงานในวงกว้าง และใช้เวลาหลายปี
 คาร่าลือ: ได้ยินมาว่า Blockchain จะปฏิวัติธุรกิจ แต่คงจะต้องใช้
เวลามากเกินกว่าที่หลายคนเรียกร้อง
 สาเหตุ: เช่นเดียวกับ TCP/IP (ที่ใช้กับ Internet) Blockchain เป็น
เทคโนโลยีพื้นฐานที่จะต้องมีการประสานงานในวงกว้าง
เนื่องจากความซับซ้อนทางเทคโนโลยี กฎระเบียบ และสังคม
 ความจริง: การยอมรับของ TCP/IP แสดงให้เห็นว่า Blockchain ก็
จะเป็นไปตามเส้นทางที่คาดเดาได้ว่า จะใช้เวลาหลายปี แต่ก็ไม่
เร็วเกินไปสาหรับธุรกิจ ที่จะเริ่มต้นการวางแผนล่วงหน้า
เกริ่นนา
 การทาสัญญา การทาธุรกรรม และการทาประวัติ เป็นส่วนหนึ่ง
ในการกาหนดโครงสร้างในระบบเศรษฐกิจ กฎหมาย และทาง
การเมืองเป็นการปกป้ องทรัพย์สินและกาหนดขอบเขตของ
องค์กร สร้างและตรวจสอบเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น และควบคุม
ปฏิสัมพันธ์ในหมู่ประชาชาติ องค์กร ชุมชน บุคคล
 แต่เครื่องมือที่สาคัญเหล่านี้ ยังไม่ทันกับการเปลี่ยนแปลงของ
เศรษฐกิจดิจิตอล ประหนึ่งติดอยู่ในถนนชั่วโมงเร่งด่วนด้วย
รถแข่งสูตร 1
 Blockchain สัญญาว่าจะแก้ปัญหานี้ ได้
 เทคโนโลยีที่เป็นหัวใจของ Bitcoin และสกุลเงินเสมือนอื่น ๆ
โดยพื้นฐานคือ Blockchain ซึ่งเป็นบัญชีแยกประเภทแบบเปิ ด ที่
บันทึกการทาธุรกรรมระหว่างสองฝ่าย อย่างมีประสิทธิภาพ
ตรวจสอบได้ และมีความถาวร
 เป็นบัญชีแยกประเภท ที่สามารถตั้งโปรแกรมทาธุรกรรมได้โดย
อัตโนมัติ
Blockchain ทางานได้อย่างไร?
1. ฐานข้อมูลแบบกระจาย (DISTRIBUTED DATABASE)
 แต่ละบุคคลใน Blockchain มีการเข้าถึงฐานข้อมูลและประวัติ
ทั้งหมดได้
 ไม่มีใครคนใดคนหนึ่งควบคุมข้อมูลหรือสารสนเทศ
 บุคคลทุกคนสามารถตรวจสอบ บันทึกการทาธุรกรรมของคู่ค้า
ของตนได้โดยตรง โดยไม่ต้องมีตัวกลาง
Blockchain ทางานได้อย่างไร? (ต่อ)
2. สื่อสารแบบเพื่อนถึงเพื่อน (PEER-TO-PEER TRANSMISSION)
 การสื่อสารเกิดขึ้นโดยตรงระหว่างเพื่อนถึงเพื่อน แทนการผ่าน
Central node
 โดยแต่ละ Node เก็บและส่งต่อสารสนเทศไปยัง Node อื่น ๆ
Blockchain ทางานได้อย่างไร? (ต่อ)
3. ความโปร่งใสโดยใช้นามแฝง (TRANSPARENCY WITH
PSEUDONYMITY)
 การทาธุรกรรมทุกครั้งและคุณค่าที่เกี่ยวข้อง จะปรากฏแก่ทุกคนที่
สามารถเข้าถึงระบบ
 แต่ละ Node หรือผู้ใช้ใน Blockchain มีที่อยู่ระบุเป็นตัวอักษรและ
ตัวเลข 30 ตัว ที่ไม่ซ้ากัน
 ผู้ใช้สามารถเลือกที่จะไม่ระบุชื่อ หรือแสดงหลักฐานประจาตัวของ
พวกเขากับคนอื่น ๆ
 การทาธุรกรรมเกิดขึ้นระหว่างแต่ละที่อยู่ ของ Blockchain
Blockchain ทางานได้อย่างไร? (ต่อ)
4. การแก้ไขกลับไม่ได้ของทะเบียน (IRREVERSIBILITY OF
RECORDS)
 เมื่อมีรายการดังกล่าวเข้ามาในฐานข้อมูลและในบัญชีที่มีการ
ปรับปรุง ทะเบียนจะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ เพราะมีการ
เชื่อมโยงกับการบันทึกของรายการก่อนหน้า (เพราะฉะนั้นจึงใช้
คาว่า "ลูกโซ่ (chain)")
 มีขั้นตอนวิธีการคานวณต่าง ๆ และวิธีการ ที่นาไปใช้เพื่อให้
แน่ใจว่า การบันทึกในฐานข้อมูลเป็นการถาวร ตามลาดับ และ
สามารถใช้ได้กับคนอื่น ๆ ทั้งหมดบนเครือข่าย
Blockchain ทางานได้อย่างไร? (ต่อ)
5. การคานวณแบบมีตรรกะ (COMPUTATIONAL LOGIC)
 เป็นธรรมชาติของบัญชีแยกประเภทดิจิตอล การทาธุรกรรมบน
Blockchain มีการเชื่อมโยงกับการคานวณแบบตรรกะและกับ
โปรแกรมสาคัญ
 เพื่อให้ผู้ใช้สามารถตั้งค่าขั้นตอนวิธีการและกฎระเบียบ ที่จะ
กระตุ้นให้เกิดการทาธุรกรรมระหว่าง Node โดยอัตโนมัติ
ศักยภาพของ Blockchain
 ด้วย Blockchain เราสามารถจินตนาการถึงโลกซึ่งการทาสัญญา
จะฝังตัวด้วยรหัสดิจิตอล เก็บไว้ในที่โปร่งใส ฐานข้อมูลที่ใช้
ร่วมกัน ได้รับการคุ้มครองจากการลบและการแก้ไขดัดแปลง
 ในโลกนี้ ทุกข้อตกลง ทุกกระบวนการ ทุกงาน ทุกคน และทุกการ
ชาระเงิน จะมีการบันทึกและมีลายเซ็นดิจิตอล ที่สามารถระบุ
ตรวจสอบ จัดเก็บ และใช้ร่วมกันได้
 ตัวกลางเช่น ทนายความ โบรกเกอร์ และนายธนาคาร อาจจะไม่
เป็นสิ่งที่จาเป็นอีกต่อไป บุคคล องค์กร เครื่องจักร วิธีการและ
ขั้นตอน ทาได้อย่างอิสระ และมีปฏิสัมพันธ์กับคนอื่นที่ดีขึ้น
โครงสร้างใหม่
 การเปลี่ยนแปลงที่แท้จริงของ Blockchain ในด้านธุรกิจและภาครัฐ
ยังคงต้องรอเป็นเวลาหลายปี นั่นเป็นเพราะ Blockchain ไม่ได้เป็น
เทคโนโลยี "ก่อกวน (disruptive)" ซึ่งสามารถโจมตีรูปแบบธุรกิจแบบ
ดั้งเดิม โดยมีวิธีการแก้ปัญหาต้นทุนต่า และแซงหน้าได้อย่างรวดเร็ว
 Blockchain เป็น เทคโนโลยีพื้นฐาน (foundational) มีศักยภาพในการ
สร้างรากฐานใหม่สาหรับระบบเศรษฐกิจและสังคม แต่ผลกระทบ
มหาศาลนี้ จะต้องใช้เวลาหลายทศวรรษสาหรับ Blockchain ที่จะซึม
เข้าไปในโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจและสังคม
 กระบวนการของการยอมรับจะค่อยเป็นค่อยไปและมั่นคง ไม่ใช่อย่าง
ฉับพลัน
สถาปัตยกรรมใหม่
 Blockchain เป็นเครือข่ายแบบ เพื่อนถึงเพื่อน (peer-to-peer)
ตั้งอยู่บนพื้นฐานอินเทอร์เน็ต ซึ่งเปิดตัวในเดือนตุลาคม ค.ศ.
2008 โดยเป็นส่วนหนึ่งของข้อเสนอสาหรับ Bitcoin ที่เป็นระบบ
สกุลเงินเสมือนจริง มีอานาจจากส่วนกลาง สาหรับการออกสกุล
เงิน โอนกรรมสิทธิ์ และยืนยันการทาธุรกรรม
 Bitcoin เป็นโปรแกรมแรกของเทคโนโลยี Blockchain
Blockchain และ TCP/IP
 แนวขนานระหว่าง Blockchain และ TCP/IP มีความชัดเจน
 เช่นเดียวกับอีเมล์ที่เปิดใช้งานเพื่อการส่งข้อความแบบทวิภาคี
Bitcoin ช่วยการทาธุรกรรมทางการเงินในระดับทวิภาคีเช่นกัน
 การพัฒนาและการบารุงรักษา Blockchain เป็นแบบเปิด กระจาย
และใช้ร่วมกัน เช่นเดียวกับ TCP/IP
 โดยมีทีมงานอาสาสมัครทั่วโลกช่วยกันดูแลรักษาซอฟต์แวร์
 และเช่นเดียวกับอีเมล์ ในตอนแรก Bitcoin ได้มีการใช้กับชุมชน
ที่มีความกระตือรือร้น แต่มีขนาดค่อนข้างเล็ก
ระบบการบันทึกทุกธุรกรรม
 TCP/IP ปลดล็อคคุณค่าทางเศรษฐกิจใหม่ได้อย่างมาก โดยการ
ลดต้นทุนของการเชื่อมต่อ ในทานองเดียวกัน Blockchain
สามารถลดค่าใช้จ่ายของการทาธุรกรรมได้อย่างมากมาย และมี
ศักยภาพ ที่จะเป็นระบบของการบันทึกสาหรับการทาธุรกรรม
ทั้งหมด
 ถ้าเกิดขึ้นจริง เศรษฐกิจจะได้รับการเปลี่ยนแปลงที่รุนแรงอีก
ครั้ง เมื่อ Blockchain มีอิทธิพลและใช้ในการควบคุมมากขึ้ น
การเก็บบันทึกของการทาธุรกรรมอย่างต่อเนื่อง
 ในขณะนี้ การเก็บบันทึกอย่างต่อเนื่องของการทาธุรกรรม เป็น
หน้าที่หลักของทุกธุรกิจ
 ทะเบียนเหล่านั้น ใช้ติดตามการกระทาและผลการปฏิบัติงานที่
ผ่านมา และให้คาแนะนาในการวางแผนสาหรับอนาคต
 ซึ่งไม่เพียงให้มุมมองวิธีการที่องค์กรทางานภายใน แต่ยังระบุ
ความสัมพันธ์ภายนอกขององค์กรอีกด้วย
 ทุกองค์กรมีการเก็บบันทึกของตัวเอง และเก็บไว้เป็นการส่วนตัว
ไม่จาเป็นต้องมีตัวกลาง
 ในระบบ Blockchain ฐานข้อมูลที่เหมือนกันจะถูกจาลองแบบ
จานวนมาก แต่ละรายการมีเจ้าภาพและมีการดูแล โดยภาคส่วน
ที่สนใจ
 เมื่อมีการเปลี่ยนแปลง สาเนาทุกชุดในที่อื่น ๆ มีการปรับปรุงไป
พร้อม ๆ กัน
 ดังนั้นในขณะที่การทาธุรกรรมที่เกิดขึ้น การบันทึกของมูลค่า
สินทรัพย์และการแลกเปลี่ยน จะถูกป้ อนในบัญชีแยกประเภท
ทั้งหมดอย่างถาวร
 จึงไม่จาเป็นต้องมีตัวกลาง ในการตรวจสอบหรือโอนกรรมสิทธิ์
การนา Blockchain มาใช้
 หาก Bitcoin เป็นดั่งเช่น e-mail การใช้งานของ Blockchain อย่าง
เต็มศักยภาพต้องใช้เวลานับสิบปีหรือไม่?
 ในมุมมองของเรา คาตอบคือ ใช่
 เราไม่สามารถคาดการณ์ได้ว่า จะใช้เวลาอีกกี่ปีในการ
เปลี่ยนแปลง แต่เราสามารถคาดเดาว่า การใช้งานแรกและการ
ยอมรับในวงกว้างของ Blockchain จะมาถึงอย่างแน่นอน
สองมิติที่เกี่ยวข้อง
 จากการวิเคราะห์ประวัติศาสตร์แสดงให้เห็นว่า มีสองมิติที่มีผล
ต่อวิธีวิวัฒนาการเทคโนโลยีพื้นฐาน และการใช้งานทางธุรกิจ
 ประการแรกคือ ความแปลกใหม่ (Novelty) ที่ต้องใช้ความ
พยายาม เพื่อให้ผู้ใช้เข้าใจในสิ่งที่มันแก้ปัญหาได้
 มิติที่สองคือ ความซับซ้อน (Complexity) ที่แสดงโดยระดับการ
ประสานงานของระบบนิเวศที่เกี่ยวข้อง คือจานวนและความ
หลากหลายของฝ่ายที่ต้องทางานร่วมกัน เพื่อสร้างความคุ้มค่า
ด้วยเทคโนโลยี
การยอมรับของเทคโนโลยีพื้นฐาน
 มักจะเกิดขึ้น สี่ขั้นตอน แต่ละขั้นตอนจะถูกกาหนดโดยความแปลก
ใหม่ของการใช้งานและความซับซ้อนของความพยายามในการ
ประสานงานที่จาเป็น
 ความแปลกใหม่และความซับซ้อนในระดับต่า จะได้รับการยอมรับ
เป็นอย่างแรก
 ความแปลกใหม่และความซับซ้อนในระดับสูง ใช้เวลาหลายทศวรรษ
ในการพัฒนา และสามารถเปลี่ยนเศรษฐกิจได้
 เทคโนโลยี TCP/IP ที่ใช้กับ ARPAnet ในปี ค.ศ. 1972 อยู่ในขั้นตอน
การเปลี่ยนแปลงแล้ว แต่การใช้งาน Blockchain (สีแดง) เพิ่งจะ
เริ่มต้น (รูปภาพในหน้าถัดไป)
1. ใช้งานเชิงเดี่ยว (Single use)
 ในมุมล่างซ้าย มีความแปลกใหม่ต่าและการประสานงานต่า
(low-novelty and low-coordination) เป็นการสร้างแรกเริ่ม
ค่าใช้จ่ายน้อย เน้นในการแก้ปัญหา
 E-mail เป็นทางเลือกของราคาที่ถูกกว่าโทรศัพท์หรือแฟกซ์ เป็น
โปรแกรมเชิงเดี่ยว ที่ใช้งานบน TCP/IP (แม้ว่าคุณค่าจะเพิ่ม
ขึ้นอยู่กับจานวนของผู้ใช้)
 Bitcoin อยู่ใน Quadrant นี้ แม้จะอยู่ในช่วงแรก Bitcoin ก็ให้
คุณค่าในทันที กับผู้ที่ใช้เป็นทางเลือกในการชาระเงิน
1. ใช้งานเชิงเดี่ยว (ต่อ)
 ในช่วงท้ายของปี ค.ศ. 2016 มูลค่าธุรกรรมของ Bitcoin คาดว่า
จะอยู่ที่ $9,200 ล้านเหรียญ
 เป็นการประมาณการอย่างคร่าว ๆ เมื่อเทียบกับ $
411,000,000 ล้านเหรียญ ของการชาระเงินทั้งหมดทั่วโลก
 แต่ Bitcoin มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วและมีความสาคัญมาก
ขึ้น เช่นในบริบทการชาระเงินทันที สกุลเงินต่างประเทศ และ
การค้าขายสินทรัพย์ ที่ระบบการเงินในปัจจุบันมีข้อจากัด
2. การใช้งานของกลุ่มย่อย (Localization)
 มุมล่างขวา มีความแปลกใหม่ค่อนข้างสูงแต่มีผู้ใช้จานวนจากัด
(high in novelty but need only a limited number of users) ที่สร้าง
คุณค่าได้ทันที ดังนั้นจึงยังคงเป็นเรื่องง่ายที่จะส่งเสริมการ
ยอมรับ
 หาก Blockchain ดาเนินไปตามเส้นทางเทคโนโลยีเครือข่าย
(network technologies) ก็คาดหวังได้ว่า นวัตกรรม Blockchain
จะมีการใช้งานแบบเชิงเดี่ยวในการสร้างเครือข่ายของเอกชน ที่
หลายองค์กรมีการเชื่อมต่อผ่านแบบกระจายตัว
2. การใช้งานของกลุ่มย่อย (ต่อ)
 Nasdaq ทางานร่วมกับ Chain.com ซึ่งเป็นหนึ่งในผู้ให้บริการ
โครงสร้างพื้นฐาน Blockchain ในการนาเสนอเทคโนโลยีสาหรับ
การประมวลผล และการตรวจสอบการทาธุรกรรมทางการเงิน
 Bank of America, JPMorgan, the New York Stock Exchange,
Fidelity Investments และ Standard Chartered กาลังทดสอบ
เทคโนโลยี Blockchain แทนการประมวลผลธุรกรรมบนกระดาษ
(paper based) ในหลายพื้นที่เช่นการค้าเงิน การแลกเปลี่ยน
เงินตราต่างประเทศ การเจรจาข้ามแดน และการโอนหลักทรัพย์
3. การทดแทน (Substitution)
 มุมบนซ้าย มีความแปลกใหม่ที่ค่อนข้างต่า (low in novelty) เป็น
การใช้งานเดี่ยวและเป็นกลุ่มย่อย แต่มีการประสานงานสูง (high
in coordination) เพราะเกี่ยวข้องกับการใช้งานที่กว้างขึ้น และใช้
กับประชาชนมากขึ้น
 นวัตกรรมเหล่านี้ มีจุดมุ่งหมายที่จะเปลี่ยนวิธีการทั้งหมดของ
การทาธุรกิจ
 จึงต้องเผชิญกับปัญหาและอุปสรรคที่สูงในการนาไปใช้ เพราะ
จาเป็นต้องมีการประสานงานมากขึ้น และกระบวนการที่จะเข้า
แทนที่อาจจะฝังลึกอยู่ในองค์กร
3. การทดแทน (ต่อ)
 ตัวอย่างของการทดแทน ได้แก่ Cryptocurrencies เป็นของใหม่ที่
เกิดขึ้นอย่างเต็มที่แล้ว เป็นระบบสกุลเงินที่มีการเจริญเติบโต
ออกมาจากเทคโนโลยีการชาระเงินของ Bitcoin
 ความแตกต่างที่สาคัญคือ การที่ Cryptocurrency ต้องให้ทุกภาค
ส่วนที่จะทาธุรกรรมการเงินนาระบบนี้ ไปใช้ ซึ่งเป็นการท้าทาย
ภาครัฐและสถาบัน ที่เคยจัดการและควบคุมดูแลการทาธุรกรรม
มาอย่างยาวนาน
 ผู้บริโภคก็ต้องเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และเข้าใจความสามารถ
ในการทางานของ Cryptocurrency
4. การเปลี่ยนแปลง (Transformation)
 มุมบนขวา เป็นการใช้งานแบบแปลกใหม่ที่สมบูรณ์ (completely
novel applications) หากว่าประสบความสาเร็จ อาจเป็นการ
เปลี่ยนแปลงลักษณะของเศรษฐกิจ สังคม และระบบการเมือง
 เป็นการเกี่ยวข้องและประสานงานกับผู้คนจานวนมาก และต้อง
ได้รับการตกลงกับสถาบันต่าง ๆ ของกระบวนการที่ได้มาตรฐาน
 การยอมรับจะต้องมีการเปลี่ยนแปลงทางสังคม กฎหมาย และ
ทางการเมือง
4. การเปลี่ยนแปลง (ต่อ)
 "การทาสัญญาอย่างฉลาด (Smart contracts)" อาจจะเป็นการ
เปลี่ยนแปลงการใช้งานของ Blockchain ที่ต้องการมากที่สุดใน
ขณะนี้ โดยในสัญญามีเงื่อนไขในการเจรจาต่อรองที่ต้องการการ
ชาระเงินอัตโนมัติ การถ่ายโอนสกุลเงิน หรือทรัพย์สินอื่น ๆ
 ยกตัวอย่างเช่น การทาสัญญาอย่างฉลาด อาจมีการชาระเงินให้
ผู้ขายได้ทันทีที่ได้รับสินค้าจากการจัดส่ง บริษัทอาจส่งสัญญาณ
ผ่าน Blockchain ว่าได้รับสินค้าแล้ว หรือสินค้าอาจจะมีฟังก์ชั่น
GPS ซึ่งจะบันทึกการปรับปรุงสถานที่อยู่ตลอดเวลา และสามารถ
เปิดการเรียกชาระเงินได้โดยอัตโนมัติ
ผู้บริหารควรคิดเกี่ยวกับ Blockchain สาหรับองค์กรของตัวเอง
อย่างไร?
 เป็นการง่ายที่สุดในการเริ่มต้นด้วย การใช้งานแบบเชิงเดี่ยว
(single-use applications) ซึ่งลดความเสี่ยงได้ เพราะจะไม่ใหม่
มากนัก และเกี่ยวข้องกับบุคคลที่สามน้อยมาก
 กลยุทธ์หนึ่งคือการใช้ Bitcoin เป็นกลไกในการชาระเงิน เพราะ
โครงสร้างพื้นฐานและการตลาด Bitcoin ได้รับการพัฒนาแล้ว
เป็นอย่างดี และการใช้สกุลเงินเสมือน จะบังคับผู้ที่เกี่ยวข้อง
รวมทั้ง IT การเงิน การบัญชี การขาย และการตลาด ให้ใช้
ความสามารถของ Blockchain
ผู้บริหารควรคิดเกี่ยวกับ Blockchain สาหรับองค์กรของตัวเอง
อย่างไร? (ต่อ)
 วิธีการที่มีความเสี่ยงต่าก็คือการใช้ Blockchain เป็นฐานข้อมูล
สาหรับการใช้งานภายใน เช่นการจัดการสินทรัพย์ทางกายภาพ
และดิจิตอล บันทึกการทาธุรกรรมภายใน และการระบุตัวตน
 อาจจะเป็นทางออกที่มีประโยชน์อย่างยิ่งสาหรับบริษัท ที่จะทาให้
ฐานข้อมูลหลากหลายภายในไปกันได้ด้วยดี
 การทดสอบออกการใช้งานแบบเชิงเดี่ยว จะช่วยให้องค์กร
พัฒนาทักษะที่พวกเขาต้องการ สาหรับการใช้งานขั้นสูงต่อไป
ผู้บริหารควรคิดเกี่ยวกับ Blockchain สาหรับองค์กรของตัวเอง
อย่างไร? (ต่อ)
 การใช้งานแบบกลุ่มย่อย (Localized applications) เป็นขั้นตอน
ต่อไป
 มีการลงทุนในเครือข่าย Blockchain จานวนมากในขณะนี้ และ
โครงการที่เกี่ยวข้อง ดูเหมือนมีผลกระทบระยะสั้นจริง
 บริษัทที่ให้บริการทางการเงินจะพบว่าเครือข่าย Blockchain
ส่วนตัวที่พวกเขาได้ตั้งขึ้น ที่มีจานวนของคู่สัญญาที่เชื่อถือได้ที่
จากัด สามารถลดค่าใช้จ่ายในการทาธุรกรรมอย่างมีนัยสาคัญ
ผู้บริหารควรคิดเกี่ยวกับ Blockchain สาหรับองค์กรของตัวเอง
อย่างไร? (ต่อ)
 การพัฒนาโปรแกรมทดแทน (substitute applications) ต้องมี
การวางแผนอย่างรอบคอบ เพราะการแก้ปัญหาอาจจะยากมาก
 วิธีการหนึ่ง คืออาจจะมุ่งเน้นไปที่การเปลี่ยนแปลงที่ไม่ต้องให้
ผู้ใช้เปลี่ยนพฤติกรรมของพวกเขามากนัก แต่เพื่อใช้ในการ
แก้ปัญหาที่มีค่าใช้จ่ายหรือปัญหาที่ไม่มีใครอยากทา
 การทดแทน จะต้องส่งมอบการทางานที่ดีเท่ากับวิธีการแก้ปัญหา
แบบดั้งเดิม และต้องเป็นเรื่องง่ายสาหรับระบบนิเวศในการรับ
และนาไปใช้
ผู้บริหารควรคิดเกี่ยวกับ Blockchain สาหรับองค์กรของตัวเอง
อย่างไร? (ต่อ)
 การเปลี่ยนแปลง (Transformative applications) ยังคงห่างไกล
 แต่เป็นการดีที่จะประเมินความเป็นไปได้ในขณะนี้ และลงทุนใน
การพัฒนาเทคโนโลยีที่สามารถทาให้เกิดขึ้นจริง
 การนี้ จะมีประสิทธิภาพมากที่สุด ถ้ามีการนามาใช้งานกับรูปแบบ
ธุรกิจใหม่ ซึ่งเป็นตรรกะของการสร้างคุณค่าและดักจับ
นอกเหนือจากแนวทางที่มีอยู่
 รูปแบบธุรกิจดังกล่าวเป็นเรื่องยากที่จะนามาใช้ แต่ก็สามารถ
ปลดล็อคการเติบโตในอนาคตให้กับบริษัท
ผลกระทบที่สาคัญ
 การเปลี่ยนแปลง (Transformative scenarios) จะเป็นช่วงเวลา
เวลาท้ายสุด แต่จะส่งมอบคุณค่ามหาศาล
 สองประการที่มีผลกระทบอย่างมากคือ ระบบการระบุตัวตนของ
ประชาชน (large-scale public identity systems) เช่นการควบคุม
หนังสือเดินทาง และ ขั้นตอนการตัดสินใจ (algorithm-driven
decision making) ในการป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
และในการทาธุรกรรมทางการเงินที่ซับซ้อนเกี่ยวข้องกับหลาย
ฝ่าย
 คาดกันว่าโปรแกรมเหล่านี้ จะยังไม่เป็นที่ยอมรับในวงกว้างและ
มีมวลที่มากพอ อย่างน้อยอีกกว่าทศวรรษหรืออาจจะนานกว่านั้น
การลงทุนโครงสร้าง Blockchain
 จากกรอบที่กล่าวมา ผู้บริหารคงคิดได้ว่า ในวันนี้ ควรจะเริ่มต้น
การสร้างขีดความสามารถขององค์กรสาหรับ Blockchain ได้
อย่างไร
 พวกเขาต้องมั่นใจว่า พนักงานของพวกเขาได้เรียนรู้เกี่ยวกับ
Blockchain พัฒนาโปรแกรมเฉพาะของบริษัท ตามแนวทางที่ได้
ระบุไว้ และการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานของ Blockchain
 ตามกรอบเวลาที่วางไว้ อุปสรรคต่อการยอมรับ และความ
ซับซ้อนที่แท้จริงของการเดินทางในการยอมรับของ TCP/IP
ผู้บริหารควรคิดอย่างรอบคอบ เกี่ยวกับความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องใน
การทดลองกับ Blockchain
สรุป
 เห็นได้ชัดว่า การเริ่มต้นจากสิ่งเล็ก ๆ เป็นวิธีที่ดี ในการพัฒนาสู่
ความรู้ที่ใหญ่กว่า แต่ระดับของการลงทุน ควรจะขึ้ นอยู่กับบริบท
ของบริษัทและอุตสาหกรรม
 บริการทางการเงินมีการยอมรับ Blockchain แต่สายการผลิตยัง
ไม่ได้เริ่มต้น แต่ไม่ว่าในบริบทใด มีความเป็นไปได้ที่ Blockchain
จะมีผลกระทบต่อธุรกิจของคุณ
 คาถามใหญ่มากคือ เมื่อใด
Eleanor Roosevelt
From Bitcoin Wiki
การบันทึกทางธุรกรรม (blocks)
 ข้อมูลการทาธุรกรรมจะถูกบันทึกไว้อย่างถาวรในเอกสารที่เรียกว่า
บล็อก (blocks)
 เปรียบได้กับแต่ละหน้าของทะเบียน (เช่น บันทึกการเปลี่ยนชื่อ
เจ้าของอสังหาริมทรัพย์) หรือการบันทึกทางธุรกรรมของบัญชีแยก
ประเภท
 บล็อก ถูกจัดต่อกันเป็นลาดับเชิงเส้นตามช่วงเวลา (ที่รู้จักกันคือ ห่วง
โซ่บล็อก - block chain)
 เมื่อมีการทาธุรกรรมใหม่ จะมีการเพิ่มบล็อกเข้ากับจุดสิ้นสุดของ
บล็อกเดิม เป็นห่วงโซ่ที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงหรือลบออก ในทันที
ที่ได้รับการยอมรับโดยเครือข่าย
ห่วงโซ่บล็อก (block chain)
 เป็นฐานข้อมูลการทาธุรกรรมร่วมกันโดย nodes ทั้งหมด ที่เข้า
ร่วมในระบบพื้นฐานของ Bitcoin protocol
 ห่วงโซ่บล็อก บันทึกการทาธุรกรรม (transaction) ที่เคย
ดาเนินการทุกครั้ง ด้วยข้อมูลที่ถูกบันทึกนี้ ทาให้สามารถหา
คุณค่าของแต่ละ ที่อยู่ (address) ณ จุดใด ๆ ก็ได้
 ทุกบล็อกมี hash ของบล็อกก่อนหน้านี้ ซึ่งมีผลในการสร้างห่วงโซ่
ของบล็อกที่เริ่มจาก บล็อกปฐมกาล (genesis block) ตามลาดับ
ไปถึงบล็อกในปัจจุบัน แต่ละบล็อกจะไม่สามารถปรับเปลี่ยนได้
เพราะจะมีการสร้างบล็อกใหม่ตามมา
 บล็อกในห่วงโซ่หลัก (สีดา)
เป็นแถวที่ยาวที่สุดของบล็อก
ที่ไปจาก บล็อกปฐมกาล
(genesis block สีเขียว) จนถึง
บล็อกอันล่าสุด
 ส่วนบล็อกสีม่วงเป็นบล็อกที่
ไม่ได้อยู่ในห่วงโซ่ที่ยาวที่สุด
จึงไม่ได้ใช้
บล็อกปฐมกาล (genesis block )
 เป็นบล็อกแรกของห่วงโซ่บล็อก (block chain)
 Bitcoin รุ่นที่ทันสมัยกาหนดให้เป็นบล็อกหมายเลข 0 แม้ว่ารุ่น
เก่าให้เป็น 1
 บล็อกปฐมกาลจะถูก hardcoded อยู่ตลอดเวลาในซอฟต์แวร์
 เป็นบล็อกกรณีพิเศษ ที่จะไม่อ้างอิงบล็อกก่อนหน้านี้ และเป็น
บล็อกที่ใช้ชาระเงินไม่ได้
Hash
 hash เป็นการเปลี่ยนข้อมูลขนาดใหญ่ให้มีความยาวคงที่
 hash เดียวกันเป็นผลมาจากข้อมูลที่เหมือนกัน แต่การ
ปรับเปลี่ยนข้อมูลโดยแม้สักนิดก็จะเปลี่ยน hash นั้น ๆ
 เช่นเดียวกับข้อมูลคอมพิวเตอร์ทั้งหมด hashes มีเป็นจานวนมาก
และจะเขียนเป็นเลขฐานสิบหก (hexadecimal)
การทาธุรกรรม (Transaction)
 คือการโอนคุณค่า Bitcoin ที่ส่งกระจายไปยังเครือข่าย (network)
และเก็บเข้าบล็อก
 ธุรกรรมอันใหม่จะอ้างอิงผลการทาธุรกรรมก่อนหน้านี้ และถ่าย
โอนคุณค่าของ Bitcoin เป็นผลของตัวใหม่
 การทาธุรกรรมไม่ได้เข้ารหัส ดังนั้นจึงเป็นไปได้ที่จะเรียกดูการ
ทาธุรกรรมที่เคยเก็บรวบรวมในบล็อก
 ผลการทาธุรกรรมจะเป็นไปตามที่อยู่ (addresses) และการไถ่
ถอนในอนาคตต้องมีลายเซ็นที่เกี่ยวข้อง (relevant signature)
ที่อยู่ (Bitcoin address หรือ address)
 ที่อยู่ เป็นตัวบ่งชี้ของ 26-35 ตัวอักษรและตัวเลข เริ่มต้นด้วย
หมายเลข 1 หรือ 3 ที่แสดงถึงความเป็นไปได้สาหรับการชาระเงิน
ด้วย Bitcoin
 ที่อยู่ สามารถสร้างขึ้นไม่มีค่าใช้จ่าย สามารถคลิก "ที่อยู่ใหม่" และ
ได้รับการกาหนดที่อยู่
 ขณะนี้ มีสองรูปแบบที่อยู่ ในการใช้งานทั่วไป:
 P2PKH ที่เริ่มต้นด้วยหมายเลข 1 เช่น:
1BvBMSEYstWetqTFn5Au4m4GFg7xJaNVN2
 P2SH (ใหม่กว่า) เริ่มต้นด้วยเลข 3 เช่น:
3J98t1WpEZ73CNmQviecrnyiWrnqRhWNLy
การใช้เงินซ้า (Double-spending)
 คือการจ่ายเงินจานวนเดิมมากกว่าหนึ่งครั้งได้สาเร็จ
 Bitcoin ป้ องการการใช้เงินซ้าด้วยการยืนยันการทาธุรกรรมที่
บันทึกไว้ในห่วงโซ่บล็อก (block chain) ว่าเงินจานวนดังกล่าว
เคยถูกใช้ไปก่อนหรือไม่ โดยใช้วิธีการแบบกระจาย ที่ทุก nodes
จะต้องมีฉันทามติ แทนการควบคุมจากหน่วยกลาง
 ความเสี่ยงนี้ จะลดลง เมื่อมีการยืนยัน (confirmations) ว่า
ธุรกรรมนี้ ได้เคยเกิดขึ้นมาแล้ว

More Related Content

Viewers also liked

Health care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน
Health care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขันHealth care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน
Health care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน
maruay songtanin
 
Strategy or execution กลยุทธ์ หรือ การทำให้สำเร็จ อะไรสำคัญกว่ากัน
Strategy or execution กลยุทธ์ หรือ การทำให้สำเร็จ อะไรสำคัญกว่ากันStrategy or execution กลยุทธ์ หรือ การทำให้สำเร็จ อะไรสำคัญกว่ากัน
Strategy or execution กลยุทธ์ หรือ การทำให้สำเร็จ อะไรสำคัญกว่ากัน
maruay songtanin
 
Work + home + community + self ตัวตน ครอบครัว การงาน และชุมชน
Work + home + community + self ตัวตน ครอบครัว การงาน และชุมชนWork + home + community + self ตัวตน ครอบครัว การงาน และชุมชน
Work + home + community + self ตัวตน ครอบครัว การงาน และชุมชน
maruay songtanin
 
Effective interviewing steps ขั้นตอนการสัมภาษณ์
Effective interviewing steps ขั้นตอนการสัมภาษณ์Effective interviewing steps ขั้นตอนการสัมภาษณ์
Effective interviewing steps ขั้นตอนการสัมภาษณ์
maruay songtanin
 
Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์
Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์
Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์
maruay songtanin
 
EdPEx for internal assessment การประเมินภายในตามแนวทาง EdPEx
EdPEx for internal assessment การประเมินภายในตามแนวทาง EdPExEdPEx for internal assessment การประเมินภายในตามแนวทาง EdPEx
EdPEx for internal assessment การประเมินภายในตามแนวทาง EdPEx
maruay songtanin
 
Make better decisions ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม
Make better decisions ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิมMake better decisions ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม
Make better decisions ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม
maruay songtanin
 
Lessons from great family businesses การทำธุรกิจครอบครัวให้ยั่งยืน
Lessons from great family businesses การทำธุรกิจครอบครัวให้ยั่งยืนLessons from great family businesses การทำธุรกิจครอบครัวให้ยั่งยืน
Lessons from great family businesses การทำธุรกิจครอบครัวให้ยั่งยืน
maruay songtanin
 
Strategy definition กลยุทธ์ กับคำนิยามของผู้บริหาร
Strategy definition กลยุทธ์ กับคำนิยามของผู้บริหารStrategy definition กลยุทธ์ กับคำนิยามของผู้บริหาร
Strategy definition กลยุทธ์ กับคำนิยามของผู้บริหาร
maruay songtanin
 
Board of directors คณะกรรมการบริหาร
Board of directors คณะกรรมการบริหารBoard of directors คณะกรรมการบริหาร
Board of directors คณะกรรมการบริหาร
maruay songtanin
 
Team building การสร้างทีม
Team building การสร้างทีมTeam building การสร้างทีม
Team building การสร้างทีม
maruay songtanin
 
Strategic five - 5 หลักกลยุทธ์
Strategic five - 5 หลักกลยุทธ์Strategic five - 5 หลักกลยุทธ์
Strategic five - 5 หลักกลยุทธ์
maruay songtanin
 

Viewers also liked (20)

Health care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน
Health care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขันHealth care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน
Health care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน
 
From learning to writing การเรียนรู้สู่การเขียน
From learning to writing การเรียนรู้สู่การเขียนFrom learning to writing การเรียนรู้สู่การเขียน
From learning to writing การเรียนรู้สู่การเขียน
 
Maruay 17th ha forum ข้อสังเกต การจัดการความรู้
Maruay 17th ha forum ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum ข้อสังเกต การจัดการความรู้
Maruay 17th ha forum ข้อสังเกต การจัดการความรู้
 
Strategy or execution กลยุทธ์ หรือ การทำให้สำเร็จ อะไรสำคัญกว่ากัน
Strategy or execution กลยุทธ์ หรือ การทำให้สำเร็จ อะไรสำคัญกว่ากันStrategy or execution กลยุทธ์ หรือ การทำให้สำเร็จ อะไรสำคัญกว่ากัน
Strategy or execution กลยุทธ์ หรือ การทำให้สำเร็จ อะไรสำคัญกว่ากัน
 
Comment guidelines 2015 แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น
Comment guidelines 2015 แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น Comment guidelines 2015 แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น
Comment guidelines 2015 แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น
 
Diversity ความหลากหลาย
Diversity ความหลากหลายDiversity ความหลากหลาย
Diversity ความหลากหลาย
 
Work + home + community + self ตัวตน ครอบครัว การงาน และชุมชน
Work + home + community + self ตัวตน ครอบครัว การงาน และชุมชนWork + home + community + self ตัวตน ครอบครัว การงาน และชุมชน
Work + home + community + self ตัวตน ครอบครัว การงาน และชุมชน
 
Criteria by diagrams อธิบายเกณฑ์ด้วยแผนภาพ
Criteria by diagrams อธิบายเกณฑ์ด้วยแผนภาพCriteria by diagrams อธิบายเกณฑ์ด้วยแผนภาพ
Criteria by diagrams อธิบายเกณฑ์ด้วยแผนภาพ
 
Effective interviewing steps ขั้นตอนการสัมภาษณ์
Effective interviewing steps ขั้นตอนการสัมภาษณ์Effective interviewing steps ขั้นตอนการสัมภาษณ์
Effective interviewing steps ขั้นตอนการสัมภาษณ์
 
Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์
Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์
Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์
 
People before strategy
People before strategyPeople before strategy
People before strategy
 
How to prepare application report การจัดเตรียมรายงาน
How to prepare application report การจัดเตรียมรายงานHow to prepare application report การจัดเตรียมรายงาน
How to prepare application report การจัดเตรียมรายงาน
 
EdPEx for internal assessment การประเมินภายในตามแนวทาง EdPEx
EdPEx for internal assessment การประเมินภายในตามแนวทาง EdPExEdPEx for internal assessment การประเมินภายในตามแนวทาง EdPEx
EdPEx for internal assessment การประเมินภายในตามแนวทาง EdPEx
 
Make better decisions ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม
Make better decisions ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิมMake better decisions ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม
Make better decisions ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม
 
Lessons from great family businesses การทำธุรกิจครอบครัวให้ยั่งยืน
Lessons from great family businesses การทำธุรกิจครอบครัวให้ยั่งยืนLessons from great family businesses การทำธุรกิจครอบครัวให้ยั่งยืน
Lessons from great family businesses การทำธุรกิจครอบครัวให้ยั่งยืน
 
Strategy definition กลยุทธ์ กับคำนิยามของผู้บริหาร
Strategy definition กลยุทธ์ กับคำนิยามของผู้บริหารStrategy definition กลยุทธ์ กับคำนิยามของผู้บริหาร
Strategy definition กลยุทธ์ กับคำนิยามของผู้บริหาร
 
Introduction to performance excellence ก้าวสู่ความเป็นเลิศ
Introduction to performance excellence ก้าวสู่ความเป็นเลิศIntroduction to performance excellence ก้าวสู่ความเป็นเลิศ
Introduction to performance excellence ก้าวสู่ความเป็นเลิศ
 
Board of directors คณะกรรมการบริหาร
Board of directors คณะกรรมการบริหารBoard of directors คณะกรรมการบริหาร
Board of directors คณะกรรมการบริหาร
 
Team building การสร้างทีม
Team building การสร้างทีมTeam building การสร้างทีม
Team building การสร้างทีม
 
Strategic five - 5 หลักกลยุทธ์
Strategic five - 5 หลักกลยุทธ์Strategic five - 5 หลักกลยุทธ์
Strategic five - 5 หลักกลยุทธ์
 

More from maruay songtanin

หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdfหงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
maruay songtanin
 
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdfหลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
maruay songtanin
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
maruay songtanin
 
ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน Operational Resilience .pdf
ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน Operational Resilience .pdfความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน Operational Resilience .pdf
ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน Operational Resilience .pdf
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdfหงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
 
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdfหลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน Operational Resilience .pdf
ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน Operational Resilience .pdfความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน Operational Resilience .pdf
ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน Operational Resilience .pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 

The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม

  • 1. พันเอก มารวย ส่งทานินทร์ maruays@hotmail.com 10 มกราคม 2560
  • 2. Marco Iansiti and Karim R. Lakhani - IF THERE’S TO BE A REVOLUTION, MANY BARRIERS WILL HAVE TO FALL. - IT WILL TAKE YEARS TO TRANSFORM BUSINESS, BUT THE JOURNEY BEGINS NOW. Harvard Business Review, January-February 2017
  • 3. บทสรุปสาหรับผู้บริหาร  การทาสัญญา การทาธุรกรรม และการเก็บประวัติ เป็นโครงสร้างที่ สาคัญในระบบเศรษฐกิจ แต่ยังไม่ทันกับโลกดิจิตอล ทาให้รู้สึก เสมือนติดในถนนช่วงชั่วโมงเร่งด่วนด้วยรถแข่งสูตร 1  แต่ Blockchain สัญญาว่าจะแก้ปัญหานี้ ได้  Blockchain เป็นบัญชีแยกประเภทแบบเปิด ที่บันทึกการทาธุรกรรม ได้อย่างปลอดภัย ถาวร และมีประสิทธิภาพมาก ตัวอย่างเช่น การ โอนหุ้นในขณะนี้ ใช้เวลาถึงสัปดาห์ แต่ด้วย Blockchain จะเกิดขึ้นใน ไม่กี่วินาที  Blockchain สามารถลดค่าใช้จ่ายของการทาธุรกรรมและกาจัดคน กลาง เช่นทนายความและนายธนาคาร และอาจปรับเปลี่ยนระบบ เศรษฐกิจ แต่เช่นเดียวกับเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต การยอมรับจะต้อง มีการประสานงานในวงกว้าง และใช้เวลาหลายปี
  • 4.  คาร่าลือ: ได้ยินมาว่า Blockchain จะปฏิวัติธุรกิจ แต่คงจะต้องใช้ เวลามากเกินกว่าที่หลายคนเรียกร้อง  สาเหตุ: เช่นเดียวกับ TCP/IP (ที่ใช้กับ Internet) Blockchain เป็น เทคโนโลยีพื้นฐานที่จะต้องมีการประสานงานในวงกว้าง เนื่องจากความซับซ้อนทางเทคโนโลยี กฎระเบียบ และสังคม  ความจริง: การยอมรับของ TCP/IP แสดงให้เห็นว่า Blockchain ก็ จะเป็นไปตามเส้นทางที่คาดเดาได้ว่า จะใช้เวลาหลายปี แต่ก็ไม่ เร็วเกินไปสาหรับธุรกิจ ที่จะเริ่มต้นการวางแผนล่วงหน้า
  • 5. เกริ่นนา  การทาสัญญา การทาธุรกรรม และการทาประวัติ เป็นส่วนหนึ่ง ในการกาหนดโครงสร้างในระบบเศรษฐกิจ กฎหมาย และทาง การเมืองเป็นการปกป้ องทรัพย์สินและกาหนดขอบเขตของ องค์กร สร้างและตรวจสอบเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น และควบคุม ปฏิสัมพันธ์ในหมู่ประชาชาติ องค์กร ชุมชน บุคคล  แต่เครื่องมือที่สาคัญเหล่านี้ ยังไม่ทันกับการเปลี่ยนแปลงของ เศรษฐกิจดิจิตอล ประหนึ่งติดอยู่ในถนนชั่วโมงเร่งด่วนด้วย รถแข่งสูตร 1
  • 6.  Blockchain สัญญาว่าจะแก้ปัญหานี้ ได้  เทคโนโลยีที่เป็นหัวใจของ Bitcoin และสกุลเงินเสมือนอื่น ๆ โดยพื้นฐานคือ Blockchain ซึ่งเป็นบัญชีแยกประเภทแบบเปิ ด ที่ บันทึกการทาธุรกรรมระหว่างสองฝ่าย อย่างมีประสิทธิภาพ ตรวจสอบได้ และมีความถาวร  เป็นบัญชีแยกประเภท ที่สามารถตั้งโปรแกรมทาธุรกรรมได้โดย อัตโนมัติ
  • 7. Blockchain ทางานได้อย่างไร? 1. ฐานข้อมูลแบบกระจาย (DISTRIBUTED DATABASE)  แต่ละบุคคลใน Blockchain มีการเข้าถึงฐานข้อมูลและประวัติ ทั้งหมดได้  ไม่มีใครคนใดคนหนึ่งควบคุมข้อมูลหรือสารสนเทศ  บุคคลทุกคนสามารถตรวจสอบ บันทึกการทาธุรกรรมของคู่ค้า ของตนได้โดยตรง โดยไม่ต้องมีตัวกลาง
  • 8. Blockchain ทางานได้อย่างไร? (ต่อ) 2. สื่อสารแบบเพื่อนถึงเพื่อน (PEER-TO-PEER TRANSMISSION)  การสื่อสารเกิดขึ้นโดยตรงระหว่างเพื่อนถึงเพื่อน แทนการผ่าน Central node  โดยแต่ละ Node เก็บและส่งต่อสารสนเทศไปยัง Node อื่น ๆ
  • 9. Blockchain ทางานได้อย่างไร? (ต่อ) 3. ความโปร่งใสโดยใช้นามแฝง (TRANSPARENCY WITH PSEUDONYMITY)  การทาธุรกรรมทุกครั้งและคุณค่าที่เกี่ยวข้อง จะปรากฏแก่ทุกคนที่ สามารถเข้าถึงระบบ  แต่ละ Node หรือผู้ใช้ใน Blockchain มีที่อยู่ระบุเป็นตัวอักษรและ ตัวเลข 30 ตัว ที่ไม่ซ้ากัน  ผู้ใช้สามารถเลือกที่จะไม่ระบุชื่อ หรือแสดงหลักฐานประจาตัวของ พวกเขากับคนอื่น ๆ  การทาธุรกรรมเกิดขึ้นระหว่างแต่ละที่อยู่ ของ Blockchain
  • 10. Blockchain ทางานได้อย่างไร? (ต่อ) 4. การแก้ไขกลับไม่ได้ของทะเบียน (IRREVERSIBILITY OF RECORDS)  เมื่อมีรายการดังกล่าวเข้ามาในฐานข้อมูลและในบัญชีที่มีการ ปรับปรุง ทะเบียนจะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ เพราะมีการ เชื่อมโยงกับการบันทึกของรายการก่อนหน้า (เพราะฉะนั้นจึงใช้ คาว่า "ลูกโซ่ (chain)")  มีขั้นตอนวิธีการคานวณต่าง ๆ และวิธีการ ที่นาไปใช้เพื่อให้ แน่ใจว่า การบันทึกในฐานข้อมูลเป็นการถาวร ตามลาดับ และ สามารถใช้ได้กับคนอื่น ๆ ทั้งหมดบนเครือข่าย
  • 11. Blockchain ทางานได้อย่างไร? (ต่อ) 5. การคานวณแบบมีตรรกะ (COMPUTATIONAL LOGIC)  เป็นธรรมชาติของบัญชีแยกประเภทดิจิตอล การทาธุรกรรมบน Blockchain มีการเชื่อมโยงกับการคานวณแบบตรรกะและกับ โปรแกรมสาคัญ  เพื่อให้ผู้ใช้สามารถตั้งค่าขั้นตอนวิธีการและกฎระเบียบ ที่จะ กระตุ้นให้เกิดการทาธุรกรรมระหว่าง Node โดยอัตโนมัติ
  • 12. ศักยภาพของ Blockchain  ด้วย Blockchain เราสามารถจินตนาการถึงโลกซึ่งการทาสัญญา จะฝังตัวด้วยรหัสดิจิตอล เก็บไว้ในที่โปร่งใส ฐานข้อมูลที่ใช้ ร่วมกัน ได้รับการคุ้มครองจากการลบและการแก้ไขดัดแปลง  ในโลกนี้ ทุกข้อตกลง ทุกกระบวนการ ทุกงาน ทุกคน และทุกการ ชาระเงิน จะมีการบันทึกและมีลายเซ็นดิจิตอล ที่สามารถระบุ ตรวจสอบ จัดเก็บ และใช้ร่วมกันได้  ตัวกลางเช่น ทนายความ โบรกเกอร์ และนายธนาคาร อาจจะไม่ เป็นสิ่งที่จาเป็นอีกต่อไป บุคคล องค์กร เครื่องจักร วิธีการและ ขั้นตอน ทาได้อย่างอิสระ และมีปฏิสัมพันธ์กับคนอื่นที่ดีขึ้น
  • 13. โครงสร้างใหม่  การเปลี่ยนแปลงที่แท้จริงของ Blockchain ในด้านธุรกิจและภาครัฐ ยังคงต้องรอเป็นเวลาหลายปี นั่นเป็นเพราะ Blockchain ไม่ได้เป็น เทคโนโลยี "ก่อกวน (disruptive)" ซึ่งสามารถโจมตีรูปแบบธุรกิจแบบ ดั้งเดิม โดยมีวิธีการแก้ปัญหาต้นทุนต่า และแซงหน้าได้อย่างรวดเร็ว  Blockchain เป็น เทคโนโลยีพื้นฐาน (foundational) มีศักยภาพในการ สร้างรากฐานใหม่สาหรับระบบเศรษฐกิจและสังคม แต่ผลกระทบ มหาศาลนี้ จะต้องใช้เวลาหลายทศวรรษสาหรับ Blockchain ที่จะซึม เข้าไปในโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจและสังคม  กระบวนการของการยอมรับจะค่อยเป็นค่อยไปและมั่นคง ไม่ใช่อย่าง ฉับพลัน
  • 14. สถาปัตยกรรมใหม่  Blockchain เป็นเครือข่ายแบบ เพื่อนถึงเพื่อน (peer-to-peer) ตั้งอยู่บนพื้นฐานอินเทอร์เน็ต ซึ่งเปิดตัวในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2008 โดยเป็นส่วนหนึ่งของข้อเสนอสาหรับ Bitcoin ที่เป็นระบบ สกุลเงินเสมือนจริง มีอานาจจากส่วนกลาง สาหรับการออกสกุล เงิน โอนกรรมสิทธิ์ และยืนยันการทาธุรกรรม  Bitcoin เป็นโปรแกรมแรกของเทคโนโลยี Blockchain
  • 15. Blockchain และ TCP/IP  แนวขนานระหว่าง Blockchain และ TCP/IP มีความชัดเจน  เช่นเดียวกับอีเมล์ที่เปิดใช้งานเพื่อการส่งข้อความแบบทวิภาคี Bitcoin ช่วยการทาธุรกรรมทางการเงินในระดับทวิภาคีเช่นกัน  การพัฒนาและการบารุงรักษา Blockchain เป็นแบบเปิด กระจาย และใช้ร่วมกัน เช่นเดียวกับ TCP/IP  โดยมีทีมงานอาสาสมัครทั่วโลกช่วยกันดูแลรักษาซอฟต์แวร์  และเช่นเดียวกับอีเมล์ ในตอนแรก Bitcoin ได้มีการใช้กับชุมชน ที่มีความกระตือรือร้น แต่มีขนาดค่อนข้างเล็ก
  • 16. ระบบการบันทึกทุกธุรกรรม  TCP/IP ปลดล็อคคุณค่าทางเศรษฐกิจใหม่ได้อย่างมาก โดยการ ลดต้นทุนของการเชื่อมต่อ ในทานองเดียวกัน Blockchain สามารถลดค่าใช้จ่ายของการทาธุรกรรมได้อย่างมากมาย และมี ศักยภาพ ที่จะเป็นระบบของการบันทึกสาหรับการทาธุรกรรม ทั้งหมด  ถ้าเกิดขึ้นจริง เศรษฐกิจจะได้รับการเปลี่ยนแปลงที่รุนแรงอีก ครั้ง เมื่อ Blockchain มีอิทธิพลและใช้ในการควบคุมมากขึ้ น
  • 17. การเก็บบันทึกของการทาธุรกรรมอย่างต่อเนื่อง  ในขณะนี้ การเก็บบันทึกอย่างต่อเนื่องของการทาธุรกรรม เป็น หน้าที่หลักของทุกธุรกิจ  ทะเบียนเหล่านั้น ใช้ติดตามการกระทาและผลการปฏิบัติงานที่ ผ่านมา และให้คาแนะนาในการวางแผนสาหรับอนาคต  ซึ่งไม่เพียงให้มุมมองวิธีการที่องค์กรทางานภายใน แต่ยังระบุ ความสัมพันธ์ภายนอกขององค์กรอีกด้วย  ทุกองค์กรมีการเก็บบันทึกของตัวเอง และเก็บไว้เป็นการส่วนตัว
  • 18. ไม่จาเป็นต้องมีตัวกลาง  ในระบบ Blockchain ฐานข้อมูลที่เหมือนกันจะถูกจาลองแบบ จานวนมาก แต่ละรายการมีเจ้าภาพและมีการดูแล โดยภาคส่วน ที่สนใจ  เมื่อมีการเปลี่ยนแปลง สาเนาทุกชุดในที่อื่น ๆ มีการปรับปรุงไป พร้อม ๆ กัน  ดังนั้นในขณะที่การทาธุรกรรมที่เกิดขึ้น การบันทึกของมูลค่า สินทรัพย์และการแลกเปลี่ยน จะถูกป้ อนในบัญชีแยกประเภท ทั้งหมดอย่างถาวร  จึงไม่จาเป็นต้องมีตัวกลาง ในการตรวจสอบหรือโอนกรรมสิทธิ์
  • 19. การนา Blockchain มาใช้  หาก Bitcoin เป็นดั่งเช่น e-mail การใช้งานของ Blockchain อย่าง เต็มศักยภาพต้องใช้เวลานับสิบปีหรือไม่?  ในมุมมองของเรา คาตอบคือ ใช่  เราไม่สามารถคาดการณ์ได้ว่า จะใช้เวลาอีกกี่ปีในการ เปลี่ยนแปลง แต่เราสามารถคาดเดาว่า การใช้งานแรกและการ ยอมรับในวงกว้างของ Blockchain จะมาถึงอย่างแน่นอน
  • 20. สองมิติที่เกี่ยวข้อง  จากการวิเคราะห์ประวัติศาสตร์แสดงให้เห็นว่า มีสองมิติที่มีผล ต่อวิธีวิวัฒนาการเทคโนโลยีพื้นฐาน และการใช้งานทางธุรกิจ  ประการแรกคือ ความแปลกใหม่ (Novelty) ที่ต้องใช้ความ พยายาม เพื่อให้ผู้ใช้เข้าใจในสิ่งที่มันแก้ปัญหาได้  มิติที่สองคือ ความซับซ้อน (Complexity) ที่แสดงโดยระดับการ ประสานงานของระบบนิเวศที่เกี่ยวข้อง คือจานวนและความ หลากหลายของฝ่ายที่ต้องทางานร่วมกัน เพื่อสร้างความคุ้มค่า ด้วยเทคโนโลยี
  • 21. การยอมรับของเทคโนโลยีพื้นฐาน  มักจะเกิดขึ้น สี่ขั้นตอน แต่ละขั้นตอนจะถูกกาหนดโดยความแปลก ใหม่ของการใช้งานและความซับซ้อนของความพยายามในการ ประสานงานที่จาเป็น  ความแปลกใหม่และความซับซ้อนในระดับต่า จะได้รับการยอมรับ เป็นอย่างแรก  ความแปลกใหม่และความซับซ้อนในระดับสูง ใช้เวลาหลายทศวรรษ ในการพัฒนา และสามารถเปลี่ยนเศรษฐกิจได้  เทคโนโลยี TCP/IP ที่ใช้กับ ARPAnet ในปี ค.ศ. 1972 อยู่ในขั้นตอน การเปลี่ยนแปลงแล้ว แต่การใช้งาน Blockchain (สีแดง) เพิ่งจะ เริ่มต้น (รูปภาพในหน้าถัดไป)
  • 22.
  • 23. 1. ใช้งานเชิงเดี่ยว (Single use)  ในมุมล่างซ้าย มีความแปลกใหม่ต่าและการประสานงานต่า (low-novelty and low-coordination) เป็นการสร้างแรกเริ่ม ค่าใช้จ่ายน้อย เน้นในการแก้ปัญหา  E-mail เป็นทางเลือกของราคาที่ถูกกว่าโทรศัพท์หรือแฟกซ์ เป็น โปรแกรมเชิงเดี่ยว ที่ใช้งานบน TCP/IP (แม้ว่าคุณค่าจะเพิ่ม ขึ้นอยู่กับจานวนของผู้ใช้)  Bitcoin อยู่ใน Quadrant นี้ แม้จะอยู่ในช่วงแรก Bitcoin ก็ให้ คุณค่าในทันที กับผู้ที่ใช้เป็นทางเลือกในการชาระเงิน
  • 24. 1. ใช้งานเชิงเดี่ยว (ต่อ)  ในช่วงท้ายของปี ค.ศ. 2016 มูลค่าธุรกรรมของ Bitcoin คาดว่า จะอยู่ที่ $9,200 ล้านเหรียญ  เป็นการประมาณการอย่างคร่าว ๆ เมื่อเทียบกับ $ 411,000,000 ล้านเหรียญ ของการชาระเงินทั้งหมดทั่วโลก  แต่ Bitcoin มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วและมีความสาคัญมาก ขึ้น เช่นในบริบทการชาระเงินทันที สกุลเงินต่างประเทศ และ การค้าขายสินทรัพย์ ที่ระบบการเงินในปัจจุบันมีข้อจากัด
  • 25. 2. การใช้งานของกลุ่มย่อย (Localization)  มุมล่างขวา มีความแปลกใหม่ค่อนข้างสูงแต่มีผู้ใช้จานวนจากัด (high in novelty but need only a limited number of users) ที่สร้าง คุณค่าได้ทันที ดังนั้นจึงยังคงเป็นเรื่องง่ายที่จะส่งเสริมการ ยอมรับ  หาก Blockchain ดาเนินไปตามเส้นทางเทคโนโลยีเครือข่าย (network technologies) ก็คาดหวังได้ว่า นวัตกรรม Blockchain จะมีการใช้งานแบบเชิงเดี่ยวในการสร้างเครือข่ายของเอกชน ที่ หลายองค์กรมีการเชื่อมต่อผ่านแบบกระจายตัว
  • 26. 2. การใช้งานของกลุ่มย่อย (ต่อ)  Nasdaq ทางานร่วมกับ Chain.com ซึ่งเป็นหนึ่งในผู้ให้บริการ โครงสร้างพื้นฐาน Blockchain ในการนาเสนอเทคโนโลยีสาหรับ การประมวลผล และการตรวจสอบการทาธุรกรรมทางการเงิน  Bank of America, JPMorgan, the New York Stock Exchange, Fidelity Investments และ Standard Chartered กาลังทดสอบ เทคโนโลยี Blockchain แทนการประมวลผลธุรกรรมบนกระดาษ (paper based) ในหลายพื้นที่เช่นการค้าเงิน การแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศ การเจรจาข้ามแดน และการโอนหลักทรัพย์
  • 27. 3. การทดแทน (Substitution)  มุมบนซ้าย มีความแปลกใหม่ที่ค่อนข้างต่า (low in novelty) เป็น การใช้งานเดี่ยวและเป็นกลุ่มย่อย แต่มีการประสานงานสูง (high in coordination) เพราะเกี่ยวข้องกับการใช้งานที่กว้างขึ้น และใช้ กับประชาชนมากขึ้น  นวัตกรรมเหล่านี้ มีจุดมุ่งหมายที่จะเปลี่ยนวิธีการทั้งหมดของ การทาธุรกิจ  จึงต้องเผชิญกับปัญหาและอุปสรรคที่สูงในการนาไปใช้ เพราะ จาเป็นต้องมีการประสานงานมากขึ้น และกระบวนการที่จะเข้า แทนที่อาจจะฝังลึกอยู่ในองค์กร
  • 28. 3. การทดแทน (ต่อ)  ตัวอย่างของการทดแทน ได้แก่ Cryptocurrencies เป็นของใหม่ที่ เกิดขึ้นอย่างเต็มที่แล้ว เป็นระบบสกุลเงินที่มีการเจริญเติบโต ออกมาจากเทคโนโลยีการชาระเงินของ Bitcoin  ความแตกต่างที่สาคัญคือ การที่ Cryptocurrency ต้องให้ทุกภาค ส่วนที่จะทาธุรกรรมการเงินนาระบบนี้ ไปใช้ ซึ่งเป็นการท้าทาย ภาครัฐและสถาบัน ที่เคยจัดการและควบคุมดูแลการทาธุรกรรม มาอย่างยาวนาน  ผู้บริโภคก็ต้องเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และเข้าใจความสามารถ ในการทางานของ Cryptocurrency
  • 29. 4. การเปลี่ยนแปลง (Transformation)  มุมบนขวา เป็นการใช้งานแบบแปลกใหม่ที่สมบูรณ์ (completely novel applications) หากว่าประสบความสาเร็จ อาจเป็นการ เปลี่ยนแปลงลักษณะของเศรษฐกิจ สังคม และระบบการเมือง  เป็นการเกี่ยวข้องและประสานงานกับผู้คนจานวนมาก และต้อง ได้รับการตกลงกับสถาบันต่าง ๆ ของกระบวนการที่ได้มาตรฐาน  การยอมรับจะต้องมีการเปลี่ยนแปลงทางสังคม กฎหมาย และ ทางการเมือง
  • 30. 4. การเปลี่ยนแปลง (ต่อ)  "การทาสัญญาอย่างฉลาด (Smart contracts)" อาจจะเป็นการ เปลี่ยนแปลงการใช้งานของ Blockchain ที่ต้องการมากที่สุดใน ขณะนี้ โดยในสัญญามีเงื่อนไขในการเจรจาต่อรองที่ต้องการการ ชาระเงินอัตโนมัติ การถ่ายโอนสกุลเงิน หรือทรัพย์สินอื่น ๆ  ยกตัวอย่างเช่น การทาสัญญาอย่างฉลาด อาจมีการชาระเงินให้ ผู้ขายได้ทันทีที่ได้รับสินค้าจากการจัดส่ง บริษัทอาจส่งสัญญาณ ผ่าน Blockchain ว่าได้รับสินค้าแล้ว หรือสินค้าอาจจะมีฟังก์ชั่น GPS ซึ่งจะบันทึกการปรับปรุงสถานที่อยู่ตลอดเวลา และสามารถ เปิดการเรียกชาระเงินได้โดยอัตโนมัติ
  • 31. ผู้บริหารควรคิดเกี่ยวกับ Blockchain สาหรับองค์กรของตัวเอง อย่างไร?  เป็นการง่ายที่สุดในการเริ่มต้นด้วย การใช้งานแบบเชิงเดี่ยว (single-use applications) ซึ่งลดความเสี่ยงได้ เพราะจะไม่ใหม่ มากนัก และเกี่ยวข้องกับบุคคลที่สามน้อยมาก  กลยุทธ์หนึ่งคือการใช้ Bitcoin เป็นกลไกในการชาระเงิน เพราะ โครงสร้างพื้นฐานและการตลาด Bitcoin ได้รับการพัฒนาแล้ว เป็นอย่างดี และการใช้สกุลเงินเสมือน จะบังคับผู้ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง IT การเงิน การบัญชี การขาย และการตลาด ให้ใช้ ความสามารถของ Blockchain
  • 32. ผู้บริหารควรคิดเกี่ยวกับ Blockchain สาหรับองค์กรของตัวเอง อย่างไร? (ต่อ)  วิธีการที่มีความเสี่ยงต่าก็คือการใช้ Blockchain เป็นฐานข้อมูล สาหรับการใช้งานภายใน เช่นการจัดการสินทรัพย์ทางกายภาพ และดิจิตอล บันทึกการทาธุรกรรมภายใน และการระบุตัวตน  อาจจะเป็นทางออกที่มีประโยชน์อย่างยิ่งสาหรับบริษัท ที่จะทาให้ ฐานข้อมูลหลากหลายภายในไปกันได้ด้วยดี  การทดสอบออกการใช้งานแบบเชิงเดี่ยว จะช่วยให้องค์กร พัฒนาทักษะที่พวกเขาต้องการ สาหรับการใช้งานขั้นสูงต่อไป
  • 33. ผู้บริหารควรคิดเกี่ยวกับ Blockchain สาหรับองค์กรของตัวเอง อย่างไร? (ต่อ)  การใช้งานแบบกลุ่มย่อย (Localized applications) เป็นขั้นตอน ต่อไป  มีการลงทุนในเครือข่าย Blockchain จานวนมากในขณะนี้ และ โครงการที่เกี่ยวข้อง ดูเหมือนมีผลกระทบระยะสั้นจริง  บริษัทที่ให้บริการทางการเงินจะพบว่าเครือข่าย Blockchain ส่วนตัวที่พวกเขาได้ตั้งขึ้น ที่มีจานวนของคู่สัญญาที่เชื่อถือได้ที่ จากัด สามารถลดค่าใช้จ่ายในการทาธุรกรรมอย่างมีนัยสาคัญ
  • 34. ผู้บริหารควรคิดเกี่ยวกับ Blockchain สาหรับองค์กรของตัวเอง อย่างไร? (ต่อ)  การพัฒนาโปรแกรมทดแทน (substitute applications) ต้องมี การวางแผนอย่างรอบคอบ เพราะการแก้ปัญหาอาจจะยากมาก  วิธีการหนึ่ง คืออาจจะมุ่งเน้นไปที่การเปลี่ยนแปลงที่ไม่ต้องให้ ผู้ใช้เปลี่ยนพฤติกรรมของพวกเขามากนัก แต่เพื่อใช้ในการ แก้ปัญหาที่มีค่าใช้จ่ายหรือปัญหาที่ไม่มีใครอยากทา  การทดแทน จะต้องส่งมอบการทางานที่ดีเท่ากับวิธีการแก้ปัญหา แบบดั้งเดิม และต้องเป็นเรื่องง่ายสาหรับระบบนิเวศในการรับ และนาไปใช้
  • 35. ผู้บริหารควรคิดเกี่ยวกับ Blockchain สาหรับองค์กรของตัวเอง อย่างไร? (ต่อ)  การเปลี่ยนแปลง (Transformative applications) ยังคงห่างไกล  แต่เป็นการดีที่จะประเมินความเป็นไปได้ในขณะนี้ และลงทุนใน การพัฒนาเทคโนโลยีที่สามารถทาให้เกิดขึ้นจริง  การนี้ จะมีประสิทธิภาพมากที่สุด ถ้ามีการนามาใช้งานกับรูปแบบ ธุรกิจใหม่ ซึ่งเป็นตรรกะของการสร้างคุณค่าและดักจับ นอกเหนือจากแนวทางที่มีอยู่  รูปแบบธุรกิจดังกล่าวเป็นเรื่องยากที่จะนามาใช้ แต่ก็สามารถ ปลดล็อคการเติบโตในอนาคตให้กับบริษัท
  • 36. ผลกระทบที่สาคัญ  การเปลี่ยนแปลง (Transformative scenarios) จะเป็นช่วงเวลา เวลาท้ายสุด แต่จะส่งมอบคุณค่ามหาศาล  สองประการที่มีผลกระทบอย่างมากคือ ระบบการระบุตัวตนของ ประชาชน (large-scale public identity systems) เช่นการควบคุม หนังสือเดินทาง และ ขั้นตอนการตัดสินใจ (algorithm-driven decision making) ในการป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงิน และในการทาธุรกรรมทางการเงินที่ซับซ้อนเกี่ยวข้องกับหลาย ฝ่าย  คาดกันว่าโปรแกรมเหล่านี้ จะยังไม่เป็นที่ยอมรับในวงกว้างและ มีมวลที่มากพอ อย่างน้อยอีกกว่าทศวรรษหรืออาจจะนานกว่านั้น
  • 37. การลงทุนโครงสร้าง Blockchain  จากกรอบที่กล่าวมา ผู้บริหารคงคิดได้ว่า ในวันนี้ ควรจะเริ่มต้น การสร้างขีดความสามารถขององค์กรสาหรับ Blockchain ได้ อย่างไร  พวกเขาต้องมั่นใจว่า พนักงานของพวกเขาได้เรียนรู้เกี่ยวกับ Blockchain พัฒนาโปรแกรมเฉพาะของบริษัท ตามแนวทางที่ได้ ระบุไว้ และการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานของ Blockchain  ตามกรอบเวลาที่วางไว้ อุปสรรคต่อการยอมรับ และความ ซับซ้อนที่แท้จริงของการเดินทางในการยอมรับของ TCP/IP ผู้บริหารควรคิดอย่างรอบคอบ เกี่ยวกับความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องใน การทดลองกับ Blockchain
  • 38. สรุป  เห็นได้ชัดว่า การเริ่มต้นจากสิ่งเล็ก ๆ เป็นวิธีที่ดี ในการพัฒนาสู่ ความรู้ที่ใหญ่กว่า แต่ระดับของการลงทุน ควรจะขึ้ นอยู่กับบริบท ของบริษัทและอุตสาหกรรม  บริการทางการเงินมีการยอมรับ Blockchain แต่สายการผลิตยัง ไม่ได้เริ่มต้น แต่ไม่ว่าในบริบทใด มีความเป็นไปได้ที่ Blockchain จะมีผลกระทบต่อธุรกิจของคุณ  คาถามใหญ่มากคือ เมื่อใด
  • 41. การบันทึกทางธุรกรรม (blocks)  ข้อมูลการทาธุรกรรมจะถูกบันทึกไว้อย่างถาวรในเอกสารที่เรียกว่า บล็อก (blocks)  เปรียบได้กับแต่ละหน้าของทะเบียน (เช่น บันทึกการเปลี่ยนชื่อ เจ้าของอสังหาริมทรัพย์) หรือการบันทึกทางธุรกรรมของบัญชีแยก ประเภท  บล็อก ถูกจัดต่อกันเป็นลาดับเชิงเส้นตามช่วงเวลา (ที่รู้จักกันคือ ห่วง โซ่บล็อก - block chain)  เมื่อมีการทาธุรกรรมใหม่ จะมีการเพิ่มบล็อกเข้ากับจุดสิ้นสุดของ บล็อกเดิม เป็นห่วงโซ่ที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงหรือลบออก ในทันที ที่ได้รับการยอมรับโดยเครือข่าย
  • 42. ห่วงโซ่บล็อก (block chain)  เป็นฐานข้อมูลการทาธุรกรรมร่วมกันโดย nodes ทั้งหมด ที่เข้า ร่วมในระบบพื้นฐานของ Bitcoin protocol  ห่วงโซ่บล็อก บันทึกการทาธุรกรรม (transaction) ที่เคย ดาเนินการทุกครั้ง ด้วยข้อมูลที่ถูกบันทึกนี้ ทาให้สามารถหา คุณค่าของแต่ละ ที่อยู่ (address) ณ จุดใด ๆ ก็ได้  ทุกบล็อกมี hash ของบล็อกก่อนหน้านี้ ซึ่งมีผลในการสร้างห่วงโซ่ ของบล็อกที่เริ่มจาก บล็อกปฐมกาล (genesis block) ตามลาดับ ไปถึงบล็อกในปัจจุบัน แต่ละบล็อกจะไม่สามารถปรับเปลี่ยนได้ เพราะจะมีการสร้างบล็อกใหม่ตามมา
  • 43.  บล็อกในห่วงโซ่หลัก (สีดา) เป็นแถวที่ยาวที่สุดของบล็อก ที่ไปจาก บล็อกปฐมกาล (genesis block สีเขียว) จนถึง บล็อกอันล่าสุด  ส่วนบล็อกสีม่วงเป็นบล็อกที่ ไม่ได้อยู่ในห่วงโซ่ที่ยาวที่สุด จึงไม่ได้ใช้
  • 44. บล็อกปฐมกาล (genesis block )  เป็นบล็อกแรกของห่วงโซ่บล็อก (block chain)  Bitcoin รุ่นที่ทันสมัยกาหนดให้เป็นบล็อกหมายเลข 0 แม้ว่ารุ่น เก่าให้เป็น 1  บล็อกปฐมกาลจะถูก hardcoded อยู่ตลอดเวลาในซอฟต์แวร์  เป็นบล็อกกรณีพิเศษ ที่จะไม่อ้างอิงบล็อกก่อนหน้านี้ และเป็น บล็อกที่ใช้ชาระเงินไม่ได้
  • 45. Hash  hash เป็นการเปลี่ยนข้อมูลขนาดใหญ่ให้มีความยาวคงที่  hash เดียวกันเป็นผลมาจากข้อมูลที่เหมือนกัน แต่การ ปรับเปลี่ยนข้อมูลโดยแม้สักนิดก็จะเปลี่ยน hash นั้น ๆ  เช่นเดียวกับข้อมูลคอมพิวเตอร์ทั้งหมด hashes มีเป็นจานวนมาก และจะเขียนเป็นเลขฐานสิบหก (hexadecimal)
  • 46. การทาธุรกรรม (Transaction)  คือการโอนคุณค่า Bitcoin ที่ส่งกระจายไปยังเครือข่าย (network) และเก็บเข้าบล็อก  ธุรกรรมอันใหม่จะอ้างอิงผลการทาธุรกรรมก่อนหน้านี้ และถ่าย โอนคุณค่าของ Bitcoin เป็นผลของตัวใหม่  การทาธุรกรรมไม่ได้เข้ารหัส ดังนั้นจึงเป็นไปได้ที่จะเรียกดูการ ทาธุรกรรมที่เคยเก็บรวบรวมในบล็อก  ผลการทาธุรกรรมจะเป็นไปตามที่อยู่ (addresses) และการไถ่ ถอนในอนาคตต้องมีลายเซ็นที่เกี่ยวข้อง (relevant signature)
  • 47. ที่อยู่ (Bitcoin address หรือ address)  ที่อยู่ เป็นตัวบ่งชี้ของ 26-35 ตัวอักษรและตัวเลข เริ่มต้นด้วย หมายเลข 1 หรือ 3 ที่แสดงถึงความเป็นไปได้สาหรับการชาระเงิน ด้วย Bitcoin  ที่อยู่ สามารถสร้างขึ้นไม่มีค่าใช้จ่าย สามารถคลิก "ที่อยู่ใหม่" และ ได้รับการกาหนดที่อยู่  ขณะนี้ มีสองรูปแบบที่อยู่ ในการใช้งานทั่วไป:  P2PKH ที่เริ่มต้นด้วยหมายเลข 1 เช่น: 1BvBMSEYstWetqTFn5Au4m4GFg7xJaNVN2  P2SH (ใหม่กว่า) เริ่มต้นด้วยเลข 3 เช่น: 3J98t1WpEZ73CNmQviecrnyiWrnqRhWNLy
  • 48. การใช้เงินซ้า (Double-spending)  คือการจ่ายเงินจานวนเดิมมากกว่าหนึ่งครั้งได้สาเร็จ  Bitcoin ป้ องการการใช้เงินซ้าด้วยการยืนยันการทาธุรกรรมที่ บันทึกไว้ในห่วงโซ่บล็อก (block chain) ว่าเงินจานวนดังกล่าว เคยถูกใช้ไปก่อนหรือไม่ โดยใช้วิธีการแบบกระจาย ที่ทุก nodes จะต้องมีฉันทามติ แทนการควบคุมจากหน่วยกลาง  ความเสี่ยงนี้ จะลดลง เมื่อมีการยืนยัน (confirmations) ว่า ธุรกรรมนี้ ได้เคยเกิดขึ้นมาแล้ว