SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
พันเอก มารวย ส่งทานินทร์
8 มีนาคม 2557
by Boris Groysberg and Robin Abrahams

Harvard Business Review
March 2014




Boris Groysberg is a
professor of business
administration at Harvard
Business School
Robin Abrahams is a
research associate at
Harvard Business School.
ความสมดุลของชีวิตและการงาน
 บทความนี้ เป็ นผลงานวิจย ที่เกิดจากนักศึกษาของฮาร์วาร์ด 600 คน
ั
สัมภาษณ์ผบริหารจานวน 3,850 คนทั ่วโลก เป็ นเวลา 5 ปี และจาก
ู้
ผลสารวจผูบริหาร 82 คนที่เข้ามาอบรมหลักสูตรผูนา ที่มหาวิทยาลัย
้
้
ฮาร์วาร์ด ในปี ค.ศ. 2012
 จากวิจยพอสรุปได้ว่า การบริหารชีวิตและการทางาน มี 5 ประเด็น
ั
พิจารณาคือ 1.) การนิยามความสาเร็จของตนเอง 2.) การจัดการกับ
เทคโนโลยี 3.) การสร้างเครือข่ายสนับสนุนทั้งที่ทางานและที่บาน
้
4.) การรูจกเลือกการเดินทางหรือการย้ายที่ทางาน และ 5.) ความ
้ั
ร่วมมือกับคู่ชีวิต (defining success for yourself, managing
technology, building support networks at work and at home, traveling
or relocating selectively, and collaborating with your partner)
1. นิยามความสาเร็จของตนเอง
 ให้นิยามความสาเร็จของชีวิตด้วยตนเอง ซึ่งอาจแปรไปตาม
กาลเวลาได้
 ผูนาเพศหญิง จะให้ความสาคัญของค่านิยมการบรรลุ
้
ความสาเร็จของตนเอง มากกว่าขององค์กร และให้ความสาคัญ
เรืองของการเงิน การเรียนรูและการพัฒนา น้อยกว่าเพศชาย
่
้
 เรืองความสัมพันธ์ในครอบครัว ทุกคนจะให้ความสาคัญสูง
่
โดยเฉพาะเพศชายถือว่าการมีครอบครัวเป็ นตัวชี้วัดความสาเร็จ
เพศหญิงจะบรรยายเรืองการมีครอบครัวที่ดีควรเป็ นอย่างไร
่
และยังให้ความสาคัญถึงเพื่อนและชุมชนด้วย
1. นิยามความสาเร็จของตนเอง (ต่อ)
 ในขณะที่เพศชายคิดว่าตนเองเป็ นคนหาเลี้ยงดูครอบครัว เพศ
หญิงจะให้ความสาคัญกับการเป็ นแบบอย่างที่ดีให้กบลูก
ั
(โดยเฉพาะลูกสาว) ว่าตนเองมีความสามารถในการเป็ น
ผูบริหารมืออาชีพได้
้
 ผูนาหญิงหลายคนกล่าวว่า วัฒนธรรมเรืองความเป็ นแม่ ทาให้
้
่
ลาบากใจในการบริหารงานและครอบครัว
 ดังนั้นผูบริหารทั้งสองกลุมจึงชดเชยเรืองของครอบครัว ด้วยการ
้
่
่
พยายามอยูกบลูกในเหตุการณ์ที่สาคัญ เช่น วันเล่นกีฬาของลูก
่ ั
หรือพยายามติดต่อกับลูกอย่างน้อยวันละครั้ง
2. การจัดการกับเทคโนโลยี
 ผูถูกสัมภาษณ์แทบทุกคน ให้ความใส่ใจกับเทคโนโลยี ไม่ว่าจะ
้
เป็ น e-mails, text messages, voice mails, และการสื่อสารอื่น ๆ
ซึ่งทาให้การจัดการกับเวลาในเรืองเหล่านี้ เป็ นปั ญหาสาคัญ
่
โดยเฉพาะผูบริหารที่มีครอบครัวแล้ว
้
 การอยูกบเทคโนโลยีเหล่านี้ตลอดเวลา ทาให้ผลงานแย่ลง
่ ั
ผูบริหารหลายคนจึงจึงใช้เวลาน้อยลงกับเทคโนโลยีในขณะ
้
ทางาน โดยกล่าวว่า เป็ นเรืองที่ดีกว่าที่จะทาการติดต่อสื่อสาร
่
แบบเห็นหน้าเห็นตาโดยตรงกับบุคคล
2. การจัดการกับเทคโนโลยี (ต่อ)
 เมื่อกล่าวถึงการใช้เทคโนโลยีที่บาน ประมาณหนึ่งในสามคิดว่า
้
มากเกินจาเป็ น หนึ่งในสี่คิดว่าก็ดี ที่เหลือเป็ นกลาง
 ทั้งสองกลุมคิดว่าผูบริหารควรเรียนรูเรืองเทคโนโลยีอย่างฉลาด
่
้
้ ่
เพราะเทคโนโลยีเป็ นบ่าวที่ดีเป็ นนายที่แย่ (a good servant but a
bad master)
 คาแนะนาคือ ทาตัวให้ว่างแต่อย่าว่างจนเลยเถิด รูจกใช้
้ั
ประโยชน์เทคโนโลยี แต่เมื่อถึงคราวต้องสร้างสัมพันธภาพ การ
พูดคุยโดยตรงจะดีกว่า
3. สร้างเครือข่ายสนับสนุน
 ผูบริหารทุกคนกล่าวว่า การจัดการครอบครัวและการทางานต้อง
้
มีตวช่วย (behind-the-scenes supporters) แม้ผบริหารที่ไม่มี
ั
ู้
ครอบครัว ยังกล่าวถึงความจาเป็ น เช่นการดูแลผูปกครองที่แก่
้
เฒ่าแล้ว หรือแม้แต่ตอนที่ตนเองป่ วยไข้ไม่สบาย
 การสนับสนุ นทางด้านอารมณ์ก็มีความสาคัญ ผูบริหารบางครั้งก็
้
ต้องการปลดเปลื้องความเครียดจากการงาน เพื่อนฝูงหรือ
ครอบครัวจะเป็ นผูฟังที่ปลอดภัยกว่าเพื่อนร่วมงาน
้
3. สร้างเครือข่ายสนับสนุน (ต่อ)
 การสนับสนุ นด้านการงานก็สาคัญเช่นกัน เพื่อนร่วมงานที่
ไว้วางใจได้เป็ นที่ปรึกษาที่ดี การที่ตนเองไม่สบายหรือผูปกครอง
้
เจ็บหนักต้องการการดูแล พรรคพวกที่ทางานยังเป็ นที่พึ่งพาได้
 ผูบริหารหลายคนเคยเกิดอาการหัวใจล้มเหลวฉับพลัน เป็ น
้
มะเร็ง หรือต้องดูแลผูปกครอง ก็ได้อาศัยผูอื่นจนกว่าจะสามารถ
้
้
กลับมาทางานได้ตามปกติ
 ผูหญิงหลายรายไม่กล่าวถึงเครือข่าย เพราะกลัวเสียภาพลักษณ์
้
บางคนไม่กล่าวถึงครอบครัวในที่ทางาน เพราะกลัวว่าจะไม่เป็ น
มืออาชีพ
4. การเลือกการเดินทางหรือเปลี่ยนสถานที่ทางาน
 เมื่อผูนากล่าวถึงเรืองการเดินทางหรือโยกย้ายสถานที่ทางาน (ไม่
้
่
ว่าในประเทศหรือต่างประเทศ) ว่ามีผลกระทบกับครอบครัว
ดังนั้น พวกเขาจะคิดถึงการย้ายสถานที่ทางานขณะที่ยงหนุ่มสาว
ั
และยังไม่มีภาระทางครอบครัวมากนัก
 บางคนกล่าวว่า การย้ายทีทางานอาจเกี่ยวเนื่องกับความก้าวหน้า
่
ในอาชีพ แต่การเดินทางที่มีลกเล็กเด็กแดงเป็ นเรืองไม่สนุก
ู
่
 ผูหญิงหลายรายไม่เปลี่ยนที่ทางานเมื่อมีบุตรแล้ว และมีผบริหาร
้
ู้
มากรายกล่าวปฏิเสธการโยกย้าย เมื่อบุตรเริ่มเข้าสูวยรุน
่ั ่
4. การเลือกการเดินทางหรือเปลี่ยนสถานที่ทางาน (ต่อ)
 ผูหญิงมีแนวโน้มการปฏิเสธ เมื่อได้รบข้อเสนอให้ไปทางานยัง
้
ั
ต่างประเทศ เพราะหน้าที่ความรับผิดชอบต่อครอบครัว และ
ข้อจากัดทางเพศและทางวัฒนธรรมในบางประเทศ
 ไม่เพียงเพศหญิงเท่านั้นที่มีความลาบากในการปฏิบตงานใน
ั ิ
ต่างประเทศ ผูบริหารหลายคนปฏิเสธการเดินทางไปทางาน
้
ต่างประเทศ แต่พอใจที่จะทางานในประเทศนั้น ๆ หรือเฉพาะ
เมืองนั้น ๆ
5. ความร่วมมือกับคู่ครอง
 ผูนาที่มีความสุขกับครอบครัว กล่าวย้าถึงการแลกเปลี่ยนเรียนรู ้
้
วิสยทัศน์กบคนในครอบครัว เพื่อจะได้อยูรวมกันอย่างเป็ นสุข
ั
ั
่่
 ผูนาเน้นความสาคัญของการมีความสัมพันธ์ที่เอื้อต่อกัน ไม่ว่าจะ
้
เป็ นด้านสุขภาวะทางอารมณ์ การมุ่งเน้นผลงาน การมองใน
ภาพรวม หรือมองในรายละเอียด
 มีผนาจานวนมาก กล่าวถึงความสาคัญที่สุด ของการเกื้อหนุน
ู้
ทางด้านอารมณ์ (emotional support) ว่ามีผลต่ออาชีพการงาน
5. ความร่วมมือกับคู่ครอง (ต่อ)
 ทั้งชายและหญิงกล่าวว่า คู่ครองมีสวนสนับสนุนในการเสี่ยงด้าน
่
ธุรกิจ หรือการคว้าโอกาสความก้าวหน้าในอาชีพ โดยหวังผลใน
ระยะยาวมากกว่าระยะสั้น
 การสนับสนุ นจากคู่ครองมีหลายรูปแบบ แต่โดยสรุปคือ ขอให้
บริหารจัดการความสามารถของตนอย่างมีประสิทธิภาพ เพราะ
แรงกดดันของผูบริหารมีสูง หลายทิศทาง และมีมาเรื่อย ๆ
้
 คู่ครองมีส่วนช่วยในเรืองต่าง ๆ หลายเรืองเช่น จัดการกับเวลา
่
่
ความเป็ นอยู่ การเลือกงาน การเดินทาง การงานในบ้าน และการ
เกี่ยวข้องกับชุมชน
5. ความร่วมมือกับคู่ครอง (ต่อ)
 ผูชายดูเสมือนมีความรับผิดชอบต่อครอบครัวสูงมากกว่า เพราะ
้
ภรรยาที่บานไม่ได้ทางานมีรายได้ โดยภรรยามีภาระในการเลี้ยงดูบุตร
้
ทางานบ้าน หรือการเตรียมโยกย้ายที่อาศัยตามสามี
 ผูหญิง ในทางตรงกันข้าม ปรารถนาให้สามีเธอ ไม่คาดหวังให้เธอต้อง
้
มารับภาระด้านงานแม่บานตามประเพณีนิยม
้
 นั ่นคือ ผูบริหารชายยกย่องคู่ครอง ว่ามีส่วนช่วยสนับสนุนในอาชีพการ
้
งาน ผูบริหารหญิงยกย่องคู่ครอง ที่ไม่เข้ามาวุ่นวายกับชีวิตของเธอ
้
 จากข้อมูลการสารวจ 88% ของผูบริหารชายมีสถานะแต่งงาน
้
ผูบริหารหญิงมี 70% และ 60% ของผูชาย ภรรยาไม่ได้ประกอบ
้
้
อาชีพอะไร เทียบกับ 10% ของผูหญิง
้




ผูบริหารชายยอมรับว่า ให้ความสาคัญกับครอบครัวน้อยไป และ
้
ผูหญิงอาจต้องลืมเรืองการมีลกหรือการแต่งงาน เพื่อเลี่ยงแรง
้
่
ู
กดดันระหว่างงานและครอบครัว
ผูบริหารทั้งสองเพศคิดว่า ความตึงเครียดระหว่างงานและ
้
ครอบครัว โดยมากเป็ นปั ญหาเรื่องของผูบริหารหญิง ซึ่ง
้
นักศึกษาไม่เห็นด้วย เพราะในโลกธุรกิจปั จจุบน ผูชายได้เป็ น
ั ้
ผูบริหารมากกว่าผูหญิง และคงใช้เวลาอีกนาน กว่าที่องค์กรจะ
้
้
ยอมรับว่า ผูหญิงก็มีประสิทธิภาพในการบริหาร ทั้งการงานและ
้
ครอบครัว ได้เช่นเดียวกับผูชาย
้
เราไม่สามารถพยากรณ์ได้
 ในศตวรรษที่ 21 การทางานและการดาเนินชีวิต จะมีการ
ดาเนินไปทางใด ไม่มีใครสามารถคาดการณ์ได้ มีเพียงสิ่งที่
เป็ นความจริง 3 ประการคือ:
 อะไรก็เกิดขึ้นได้กบชีวิต (Life happens)
ั
 หนทางสูความสาเร็จมีได้หลายเส้นทาง (There are multiple
่
routes to success)
 ไม่มีใครทาได้สาเร็จเพียงผูดียว (No one can do it alone)
้
อะไรก็เกิดขึ้นได้กบชีวิต
ั
 บางครั้งบางครา ผูบริหารอาจเผชิญกับวิกฤตส่วนตัว เช่น หัวใจ
้
ล้มเหลวกระทันหัน หรือความตายของบุคคลในครอบครัว
 ผูบริหารท่านหนึ่งกล่าวว่า ผูคนโดยมากมักจะลืมความสมดุลของ
้
้
ชีวิตและการงาน จนกระทั ่งมีบางสิ่งผิดปกติ (something is
wrong) ซึ่งไม่เป็ นการฉลาดเลย
 ผูบริหารที่ฉลาดจะไตร่ตรองเสมอว่า อะไรเป็ นสิ่งที่ดีงาม ถ้า
้
แนวทางนั้นไม่ดีในห้องประชุมหรือในโรงงาน ก็ไม่มีเหตุผลใดที่
จะต้องฝื นกระทา เพราะอะไรก็เกิดขึ้นได้กบชีวิต (Life happens)
ั
หนทางสูความสาเร็จมีหลายเส้นทาง
่
 บางคนวางแผนเส้นทางอาชีพโดยละเอียด บางคนไขว่คว้าหา
โอกาสอยูเสมอ บางคนทางานในที่แห่งเดียว บางคนเปลี่ยนงาน
่
บ่อย บางคนนิยมติดต่อกับผูคนจานวนมาก
้
 เช่นเดียวกับเรืองของครอบครัว ซึ่งขึ้นกับบุคคลแต่ละราย
่
ผูบริหารบางคนมีค่ครองเป็ นแม่บานอย่างเดียว บางคนต่าง
้
ู
้
ทางานทั้งคู่
 ส่วนปั ญหาเรื่องการดูแลบุตร การย้ายที่ทางานไปต่างประเทศ
การใช้สมาร์ทโฟนในโต๊ะรับประทานอาหาร ซึ่งไม่มีคาตอบใดที่
ถูกที่สุด แต่ยงคงเป็ นปั ญหาที่ตองการคาตอบอยูดี
ั
้
่
ไม่มีใครทาได้สาเร็จเพียงผูดียว
้
 ถนนทุกสายที่มุ่งสูความสาเร็จ ไม่มีใครเดินเพียงผูเดียวได้ การมี
่
้
เครือข่ายสนับสนุน เป็ นเรืองสาคัญทั้งการงานและนอกการงาน
่
 การมุ่งสูอาชีพที่สวยงามและมีครอบครัวที่สุขสันต์ ทั้งชายและ
่
หญิงต้องเผชิญกับการตัดสินใจที่ยากลาบาก ในการเลือกที่จะ
มุ่งเน้นทางด้านใดด้านหนึ่ง นั ่นคือต้องมองให้ทะลุปรุโปร่งอย่าง
มีสติและสัมปชัญญะ จึงจะพบความสาเร็จ
Chinese.

More Related Content

Viewers also liked

Viewers also liked (20)

2014 baldrige comment writing
2014 baldrige comment writing2014 baldrige comment writing
2014 baldrige comment writing
 
Managing across borders
Managing across bordersManaging across borders
Managing across borders
 
Management 21 c
Management 21 cManagement 21 c
Management 21 c
 
Fast track project management
Fast track project managementFast track project management
Fast track project management
 
Inside out
Inside outInside out
Inside out
 
How to write application report (part 1 of 4)
How to write application report (part 1 of 4)How to write application report (part 1 of 4)
How to write application report (part 1 of 4)
 
Practical sustainability
Practical sustainabilityPractical sustainability
Practical sustainability
 
Baldrige criteria 2015 2016 thai
Baldrige criteria 2015 2016 thaiBaldrige criteria 2015 2016 thai
Baldrige criteria 2015 2016 thai
 
6 powerful communication tips
6 powerful communication tips6 powerful communication tips
6 powerful communication tips
 
Pmk internal assessor 9
Pmk internal assessor 9Pmk internal assessor 9
Pmk internal assessor 9
 
Escape the improvement trap
Escape the improvement trapEscape the improvement trap
Escape the improvement trap
 
Tips on journey to excellence
Tips on journey to excellenceTips on journey to excellence
Tips on journey to excellence
 
Decoding leadership
Decoding leadershipDecoding leadership
Decoding leadership
 
Project writing
Project writingProject writing
Project writing
 
Human centered productivity
Human centered productivityHuman centered productivity
Human centered productivity
 
Five keys to building hpo
Five keys to building hpoFive keys to building hpo
Five keys to building hpo
 
Human capital analytics
Human capital analyticsHuman capital analytics
Human capital analytics
 
Service management
Service managementService management
Service management
 
Quiet leadership
Quiet leadershipQuiet leadership
Quiet leadership
 
Frog fish cheese
Frog fish cheeseFrog fish cheese
Frog fish cheese
 

More from maruay songtanin

๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docxmaruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfmaruay songtanin
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 

Work vs life

  • 2. by Boris Groysberg and Robin Abrahams Harvard Business Review March 2014
  • 3.   Boris Groysberg is a professor of business administration at Harvard Business School Robin Abrahams is a research associate at Harvard Business School.
  • 4.
  • 5.
  • 6. ความสมดุลของชีวิตและการงาน  บทความนี้ เป็ นผลงานวิจย ที่เกิดจากนักศึกษาของฮาร์วาร์ด 600 คน ั สัมภาษณ์ผบริหารจานวน 3,850 คนทั ่วโลก เป็ นเวลา 5 ปี และจาก ู้ ผลสารวจผูบริหาร 82 คนที่เข้ามาอบรมหลักสูตรผูนา ที่มหาวิทยาลัย ้ ้ ฮาร์วาร์ด ในปี ค.ศ. 2012  จากวิจยพอสรุปได้ว่า การบริหารชีวิตและการทางาน มี 5 ประเด็น ั พิจารณาคือ 1.) การนิยามความสาเร็จของตนเอง 2.) การจัดการกับ เทคโนโลยี 3.) การสร้างเครือข่ายสนับสนุนทั้งที่ทางานและที่บาน ้ 4.) การรูจกเลือกการเดินทางหรือการย้ายที่ทางาน และ 5.) ความ ้ั ร่วมมือกับคู่ชีวิต (defining success for yourself, managing technology, building support networks at work and at home, traveling or relocating selectively, and collaborating with your partner)
  • 7. 1. นิยามความสาเร็จของตนเอง  ให้นิยามความสาเร็จของชีวิตด้วยตนเอง ซึ่งอาจแปรไปตาม กาลเวลาได้  ผูนาเพศหญิง จะให้ความสาคัญของค่านิยมการบรรลุ ้ ความสาเร็จของตนเอง มากกว่าขององค์กร และให้ความสาคัญ เรืองของการเงิน การเรียนรูและการพัฒนา น้อยกว่าเพศชาย ่ ้  เรืองความสัมพันธ์ในครอบครัว ทุกคนจะให้ความสาคัญสูง ่ โดยเฉพาะเพศชายถือว่าการมีครอบครัวเป็ นตัวชี้วัดความสาเร็จ เพศหญิงจะบรรยายเรืองการมีครอบครัวที่ดีควรเป็ นอย่างไร ่ และยังให้ความสาคัญถึงเพื่อนและชุมชนด้วย
  • 8.
  • 9.
  • 10. 1. นิยามความสาเร็จของตนเอง (ต่อ)  ในขณะที่เพศชายคิดว่าตนเองเป็ นคนหาเลี้ยงดูครอบครัว เพศ หญิงจะให้ความสาคัญกับการเป็ นแบบอย่างที่ดีให้กบลูก ั (โดยเฉพาะลูกสาว) ว่าตนเองมีความสามารถในการเป็ น ผูบริหารมืออาชีพได้ ้  ผูนาหญิงหลายคนกล่าวว่า วัฒนธรรมเรืองความเป็ นแม่ ทาให้ ้ ่ ลาบากใจในการบริหารงานและครอบครัว  ดังนั้นผูบริหารทั้งสองกลุมจึงชดเชยเรืองของครอบครัว ด้วยการ ้ ่ ่ พยายามอยูกบลูกในเหตุการณ์ที่สาคัญ เช่น วันเล่นกีฬาของลูก ่ ั หรือพยายามติดต่อกับลูกอย่างน้อยวันละครั้ง
  • 11. 2. การจัดการกับเทคโนโลยี  ผูถูกสัมภาษณ์แทบทุกคน ให้ความใส่ใจกับเทคโนโลยี ไม่ว่าจะ ้ เป็ น e-mails, text messages, voice mails, และการสื่อสารอื่น ๆ ซึ่งทาให้การจัดการกับเวลาในเรืองเหล่านี้ เป็ นปั ญหาสาคัญ ่ โดยเฉพาะผูบริหารที่มีครอบครัวแล้ว ้  การอยูกบเทคโนโลยีเหล่านี้ตลอดเวลา ทาให้ผลงานแย่ลง ่ ั ผูบริหารหลายคนจึงจึงใช้เวลาน้อยลงกับเทคโนโลยีในขณะ ้ ทางาน โดยกล่าวว่า เป็ นเรืองที่ดีกว่าที่จะทาการติดต่อสื่อสาร ่ แบบเห็นหน้าเห็นตาโดยตรงกับบุคคล
  • 12. 2. การจัดการกับเทคโนโลยี (ต่อ)  เมื่อกล่าวถึงการใช้เทคโนโลยีที่บาน ประมาณหนึ่งในสามคิดว่า ้ มากเกินจาเป็ น หนึ่งในสี่คิดว่าก็ดี ที่เหลือเป็ นกลาง  ทั้งสองกลุมคิดว่าผูบริหารควรเรียนรูเรืองเทคโนโลยีอย่างฉลาด ่ ้ ้ ่ เพราะเทคโนโลยีเป็ นบ่าวที่ดีเป็ นนายที่แย่ (a good servant but a bad master)  คาแนะนาคือ ทาตัวให้ว่างแต่อย่าว่างจนเลยเถิด รูจกใช้ ้ั ประโยชน์เทคโนโลยี แต่เมื่อถึงคราวต้องสร้างสัมพันธภาพ การ พูดคุยโดยตรงจะดีกว่า
  • 13. 3. สร้างเครือข่ายสนับสนุน  ผูบริหารทุกคนกล่าวว่า การจัดการครอบครัวและการทางานต้อง ้ มีตวช่วย (behind-the-scenes supporters) แม้ผบริหารที่ไม่มี ั ู้ ครอบครัว ยังกล่าวถึงความจาเป็ น เช่นการดูแลผูปกครองที่แก่ ้ เฒ่าแล้ว หรือแม้แต่ตอนที่ตนเองป่ วยไข้ไม่สบาย  การสนับสนุ นทางด้านอารมณ์ก็มีความสาคัญ ผูบริหารบางครั้งก็ ้ ต้องการปลดเปลื้องความเครียดจากการงาน เพื่อนฝูงหรือ ครอบครัวจะเป็ นผูฟังที่ปลอดภัยกว่าเพื่อนร่วมงาน ้
  • 14. 3. สร้างเครือข่ายสนับสนุน (ต่อ)  การสนับสนุ นด้านการงานก็สาคัญเช่นกัน เพื่อนร่วมงานที่ ไว้วางใจได้เป็ นที่ปรึกษาที่ดี การที่ตนเองไม่สบายหรือผูปกครอง ้ เจ็บหนักต้องการการดูแล พรรคพวกที่ทางานยังเป็ นที่พึ่งพาได้  ผูบริหารหลายคนเคยเกิดอาการหัวใจล้มเหลวฉับพลัน เป็ น ้ มะเร็ง หรือต้องดูแลผูปกครอง ก็ได้อาศัยผูอื่นจนกว่าจะสามารถ ้ ้ กลับมาทางานได้ตามปกติ  ผูหญิงหลายรายไม่กล่าวถึงเครือข่าย เพราะกลัวเสียภาพลักษณ์ ้ บางคนไม่กล่าวถึงครอบครัวในที่ทางาน เพราะกลัวว่าจะไม่เป็ น มืออาชีพ
  • 15. 4. การเลือกการเดินทางหรือเปลี่ยนสถานที่ทางาน  เมื่อผูนากล่าวถึงเรืองการเดินทางหรือโยกย้ายสถานที่ทางาน (ไม่ ้ ่ ว่าในประเทศหรือต่างประเทศ) ว่ามีผลกระทบกับครอบครัว ดังนั้น พวกเขาจะคิดถึงการย้ายสถานที่ทางานขณะที่ยงหนุ่มสาว ั และยังไม่มีภาระทางครอบครัวมากนัก  บางคนกล่าวว่า การย้ายทีทางานอาจเกี่ยวเนื่องกับความก้าวหน้า ่ ในอาชีพ แต่การเดินทางที่มีลกเล็กเด็กแดงเป็ นเรืองไม่สนุก ู ่  ผูหญิงหลายรายไม่เปลี่ยนที่ทางานเมื่อมีบุตรแล้ว และมีผบริหาร ้ ู้ มากรายกล่าวปฏิเสธการโยกย้าย เมื่อบุตรเริ่มเข้าสูวยรุน ่ั ่
  • 16. 4. การเลือกการเดินทางหรือเปลี่ยนสถานที่ทางาน (ต่อ)  ผูหญิงมีแนวโน้มการปฏิเสธ เมื่อได้รบข้อเสนอให้ไปทางานยัง ้ ั ต่างประเทศ เพราะหน้าที่ความรับผิดชอบต่อครอบครัว และ ข้อจากัดทางเพศและทางวัฒนธรรมในบางประเทศ  ไม่เพียงเพศหญิงเท่านั้นที่มีความลาบากในการปฏิบตงานใน ั ิ ต่างประเทศ ผูบริหารหลายคนปฏิเสธการเดินทางไปทางาน ้ ต่างประเทศ แต่พอใจที่จะทางานในประเทศนั้น ๆ หรือเฉพาะ เมืองนั้น ๆ
  • 17. 5. ความร่วมมือกับคู่ครอง  ผูนาที่มีความสุขกับครอบครัว กล่าวย้าถึงการแลกเปลี่ยนเรียนรู ้ ้ วิสยทัศน์กบคนในครอบครัว เพื่อจะได้อยูรวมกันอย่างเป็ นสุข ั ั ่่  ผูนาเน้นความสาคัญของการมีความสัมพันธ์ที่เอื้อต่อกัน ไม่ว่าจะ ้ เป็ นด้านสุขภาวะทางอารมณ์ การมุ่งเน้นผลงาน การมองใน ภาพรวม หรือมองในรายละเอียด  มีผนาจานวนมาก กล่าวถึงความสาคัญที่สุด ของการเกื้อหนุน ู้ ทางด้านอารมณ์ (emotional support) ว่ามีผลต่ออาชีพการงาน
  • 18.
  • 19. 5. ความร่วมมือกับคู่ครอง (ต่อ)  ทั้งชายและหญิงกล่าวว่า คู่ครองมีสวนสนับสนุนในการเสี่ยงด้าน ่ ธุรกิจ หรือการคว้าโอกาสความก้าวหน้าในอาชีพ โดยหวังผลใน ระยะยาวมากกว่าระยะสั้น  การสนับสนุ นจากคู่ครองมีหลายรูปแบบ แต่โดยสรุปคือ ขอให้ บริหารจัดการความสามารถของตนอย่างมีประสิทธิภาพ เพราะ แรงกดดันของผูบริหารมีสูง หลายทิศทาง และมีมาเรื่อย ๆ ้  คู่ครองมีส่วนช่วยในเรืองต่าง ๆ หลายเรืองเช่น จัดการกับเวลา ่ ่ ความเป็ นอยู่ การเลือกงาน การเดินทาง การงานในบ้าน และการ เกี่ยวข้องกับชุมชน
  • 20. 5. ความร่วมมือกับคู่ครอง (ต่อ)  ผูชายดูเสมือนมีความรับผิดชอบต่อครอบครัวสูงมากกว่า เพราะ ้ ภรรยาที่บานไม่ได้ทางานมีรายได้ โดยภรรยามีภาระในการเลี้ยงดูบุตร ้ ทางานบ้าน หรือการเตรียมโยกย้ายที่อาศัยตามสามี  ผูหญิง ในทางตรงกันข้าม ปรารถนาให้สามีเธอ ไม่คาดหวังให้เธอต้อง ้ มารับภาระด้านงานแม่บานตามประเพณีนิยม ้  นั ่นคือ ผูบริหารชายยกย่องคู่ครอง ว่ามีส่วนช่วยสนับสนุนในอาชีพการ ้ งาน ผูบริหารหญิงยกย่องคู่ครอง ที่ไม่เข้ามาวุ่นวายกับชีวิตของเธอ ้  จากข้อมูลการสารวจ 88% ของผูบริหารชายมีสถานะแต่งงาน ้ ผูบริหารหญิงมี 70% และ 60% ของผูชาย ภรรยาไม่ได้ประกอบ ้ ้ อาชีพอะไร เทียบกับ 10% ของผูหญิง ้
  • 21.   ผูบริหารชายยอมรับว่า ให้ความสาคัญกับครอบครัวน้อยไป และ ้ ผูหญิงอาจต้องลืมเรืองการมีลกหรือการแต่งงาน เพื่อเลี่ยงแรง ้ ่ ู กดดันระหว่างงานและครอบครัว ผูบริหารทั้งสองเพศคิดว่า ความตึงเครียดระหว่างงานและ ้ ครอบครัว โดยมากเป็ นปั ญหาเรื่องของผูบริหารหญิง ซึ่ง ้ นักศึกษาไม่เห็นด้วย เพราะในโลกธุรกิจปั จจุบน ผูชายได้เป็ น ั ้ ผูบริหารมากกว่าผูหญิง และคงใช้เวลาอีกนาน กว่าที่องค์กรจะ ้ ้ ยอมรับว่า ผูหญิงก็มีประสิทธิภาพในการบริหาร ทั้งการงานและ ้ ครอบครัว ได้เช่นเดียวกับผูชาย ้
  • 22. เราไม่สามารถพยากรณ์ได้  ในศตวรรษที่ 21 การทางานและการดาเนินชีวิต จะมีการ ดาเนินไปทางใด ไม่มีใครสามารถคาดการณ์ได้ มีเพียงสิ่งที่ เป็ นความจริง 3 ประการคือ:  อะไรก็เกิดขึ้นได้กบชีวิต (Life happens) ั  หนทางสูความสาเร็จมีได้หลายเส้นทาง (There are multiple ่ routes to success)  ไม่มีใครทาได้สาเร็จเพียงผูดียว (No one can do it alone) ้
  • 23. อะไรก็เกิดขึ้นได้กบชีวิต ั  บางครั้งบางครา ผูบริหารอาจเผชิญกับวิกฤตส่วนตัว เช่น หัวใจ ้ ล้มเหลวกระทันหัน หรือความตายของบุคคลในครอบครัว  ผูบริหารท่านหนึ่งกล่าวว่า ผูคนโดยมากมักจะลืมความสมดุลของ ้ ้ ชีวิตและการงาน จนกระทั ่งมีบางสิ่งผิดปกติ (something is wrong) ซึ่งไม่เป็ นการฉลาดเลย  ผูบริหารที่ฉลาดจะไตร่ตรองเสมอว่า อะไรเป็ นสิ่งที่ดีงาม ถ้า ้ แนวทางนั้นไม่ดีในห้องประชุมหรือในโรงงาน ก็ไม่มีเหตุผลใดที่ จะต้องฝื นกระทา เพราะอะไรก็เกิดขึ้นได้กบชีวิต (Life happens) ั
  • 24. หนทางสูความสาเร็จมีหลายเส้นทาง ่  บางคนวางแผนเส้นทางอาชีพโดยละเอียด บางคนไขว่คว้าหา โอกาสอยูเสมอ บางคนทางานในที่แห่งเดียว บางคนเปลี่ยนงาน ่ บ่อย บางคนนิยมติดต่อกับผูคนจานวนมาก ้  เช่นเดียวกับเรืองของครอบครัว ซึ่งขึ้นกับบุคคลแต่ละราย ่ ผูบริหารบางคนมีค่ครองเป็ นแม่บานอย่างเดียว บางคนต่าง ้ ู ้ ทางานทั้งคู่  ส่วนปั ญหาเรื่องการดูแลบุตร การย้ายที่ทางานไปต่างประเทศ การใช้สมาร์ทโฟนในโต๊ะรับประทานอาหาร ซึ่งไม่มีคาตอบใดที่ ถูกที่สุด แต่ยงคงเป็ นปั ญหาที่ตองการคาตอบอยูดี ั ้ ่
  • 25. ไม่มีใครทาได้สาเร็จเพียงผูดียว ้  ถนนทุกสายที่มุ่งสูความสาเร็จ ไม่มีใครเดินเพียงผูเดียวได้ การมี ่ ้ เครือข่ายสนับสนุน เป็ นเรืองสาคัญทั้งการงานและนอกการงาน ่  การมุ่งสูอาชีพที่สวยงามและมีครอบครัวที่สุขสันต์ ทั้งชายและ ่ หญิงต้องเผชิญกับการตัดสินใจที่ยากลาบาก ในการเลือกที่จะ มุ่งเน้นทางด้านใดด้านหนึ่ง นั ่นคือต้องมองให้ทะลุปรุโปร่งอย่าง มีสติและสัมปชัญญะ จึงจะพบความสาเร็จ