SlideShare a Scribd company logo
1 of 56
Download to read offline
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
เรื่อง เคมีพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
1
ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
รายวิชาชีววิทยา 1 รหัสวิชา ว32141
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
สารชีวโมเลกุล คือ
สารประกอบขนาดใหญ่ (macromolecules) ในสิ่งมีชีวิต จัดเป็น 4 กลุ่มตามลักษณะโครงสร้างของ
โมเลกุล ได้แก่
Carbohydrate ประกอบด้วยธาตุ C, H, O
Protein “ C, H, O, N
Lipid “ C, H, O
Nucleic acid “ C, H, O, N, P
2
Building models to study the structure of macromolecules
Linus Pauling (1901-1994) Today, scientists use computer
ปฏิกิริยาเคมีของ macromolecules ได้แก่
Condensation เป็นปฏิกิริยาสังเคราะห์ macromolecules จาก monomers
เล็กๆเป็นจานวนมาก และได้ผลผลิต H2O ด้วย ดังนั้นอาจเรียกว่า ปฏิกิริยา dehydration
Hydrolysis เป็นปฏิกิริยาย่อยสลาย macromolecules ให้เล็กลง เพื่อให้สามารถ
นาผ่านเยื่อหุ้มเซลล์เข้าสู่เซลล์ได้ หรือย่อยสลาย macromolecules ที่ไม่ใช้แล้วภายในเซลล์
3
The synthesis of a polymer The Breakdown of a polymer
Carbohydrates เป็นสารประกอบจาพวกน้าตาล และ polymer ของน้าตาล
แบ่งกลุ่ม carbohydrates ได้เป็น 3 กลุ่ม ตามจานวนโมเลกุลของน้าตาลที่เป็น
องค์ประกอบ ได้แก่ Monosaccharide/Disaccharide/Polysaccharide
Carbohydrates
4
Monosaccharide เป็นน้าตาลโมเลกุลเดี่ยว ที่ประกอบด้วย C, O และ H มี
สูตรคือ (CH2O)n โดยมีอะตอมของ C ต่อกันเป็นสาย และมี Carbonyl group และ
hydroxy group ต่อกับอะตอมของ C
aldehydes ketones
Carbonyl group
The structure and classification of some monosaccharides
5
น้าตาลโมเลกุลคู่ (Disaccharides) เกิดจากการรวมตัวของน้าตาล
โมเลกุลเดี่ยว 2 โมเลกุล โดยปฏิกิริยา condensation
Covalent bond ที่เกิดขึ้น เรียกว่า Glycosidic linkage
6
Polysaccharide เป็น carbohydrate ที่มีขนาดใหญ่มาก
ประกอบด้วย monosaccharides จานวนมากต่อกันด้วย glycosidic linkage
ชนิดของ polysaccharide ขึ้นอยู่กับ
1. ชนิดของ monosaccharide
2. ชนิดของ Glycosidic linkage
ตัวอย่าง polysaccharide ได้แก่ starch, glycogen, cellulose และ
chitin
Cellulose มี glucose เป็นองค์ประกอบเช่นเดียวกับ แป้ ง แต่มีพันธะแบบ
1-4 glycosidic linkage ผนังเซลล์ของพืชประกอบด้วย cellulose เป็น
จานวนมาก
7
Storage polysaccharides
8
Starch: 1-4 linkage of
 glucose monomers
Cellulose: 1-4 linkage
of  glucose monomers
9
The arrangement of cellulose in plant cell walls
10
Chitin, a structural polysaccharide
Chitin forms the
exoskeleton of Arthropods
Chitin is used to make a strong and
flexible surgical thread
11
Chitin มีโครงสร้างคล้ายกับ Cellulose ต่างกันที่ว่า หน่วย
ย่อยเป็น N-acetylglucosamine ต่อกันเป็นโมเลกุลสายยาว
หน้าที่ของ carbohydrate
Sugars :
ทาหน้าที่ให้พลังงานและเป็นแหล่งคาร์บอนแก่สิ่งมีชีวิต
ribose และ deoxyribose เป็นองค์ประกอบของ nucleic acid
Polysaccharide :
เป็นแหล่งสะสมพลังงานของสิ่งมีชีวิต โดยพืชเก็บสะสมพลังงานในรูปของ
starch ส่วนสัตว์เก็บสะสมพลังงานในรูปของ glycogen
Cellulose และ chitin เป็นโครงสร้างของพืชและสัตว์
12
Lipids (Diverse Hydrophobic molecules)
ไขมันและน้ามันเป็นสารประกอบ
เอสเทอร์ที่เกิดจากกรดไขมันกับ
แอลกอฮอล์บางชนิด ที่ 25C
• ของแข็ง เรียกว่า ไขมัน
• ของเหลว เรียกว่า น้ามัน
Lipids เป็นสารที่ไม่เป็น polymer
Lipids ไม่ละลายน้า เนื่องจากโครงสร้างของ
lipids ประกอบด้วย nonpolar covalent
bonds เป็นส่วนมาก
Lipids ได้แก่ ไขมัน
(Fat)/Phospholipid/Steroid/ขี้ผึ้ง (Wax)
13
Fats : เป็นแหล่งสะสมพลังงาน
Fats ถึงแม้จะไม่เป็น polymer แต่เป็นสารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ ประกอบด้วย
สารที่มีโมเลกุลขนาดเล็กกว่ามาต่อกันด้วยปฏิกิริยา Dehydration
Fats ประกอบด้วย Glycerol และ กรดไขมัน (Fatty acid)
14
ส่วน “tail” ของ fatty acid ที่เป็น hydrocarbon ที่มักมีอะตอมคาร์บอนต่อกัน
ประมาณ 16-18 อะตอม เป็นส่วนที่ทาให้ fats ไม่ละลายน้า (hydrophobic)
Triglyceride
ไขมัน 1 โมเลกุล ประกอบด้วย Glycerol 1 โมเลกุล และ กรดไขมัน 3 โมเลกุล
15
โครงสร้างของไขมันและน้ามัน
กรดไขมันแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่
Saturated fatty acid (กรดไขมันชนิดอิ่มตัว)
Unsaturated fatty acid (กรดไขมันชนิดไม่อิ่มตัว)
ไขมันที่ได้จากสัตว์ เช่น เนย มี saturated fatty acid เป็นองค์ประกอบ มีลักษณะเป็นของแข็งที่
อุณหภูมิห้อง
ไขมันจากพืช มี unsaturated fatty acid เป็นองค์ประกอบ มีลักษณะเป็นของเหลวที่อุณหภูมิห้อง
16
Saturated fat
and fatty acid
Unsaturated fat
and fatty acid
 โมเลกุลของกรดไขมันในธรรมชาติส่วนใหญ่จะมีจานวนอะตอมของคาร์บอนเป็นเลขคู่
ทั้งชนิดอิ่มตัวและไม่อิ่มตัว
 จุดหลอมเหลวของกรดไขมันจะสูงขึ้นเมื่อมวลโมเลกุลเพิ่มขึ้น
 กรดไขมันอิ่มตัวจะมีจุดหลอมเหลวสูงกว่ากรดไขมันไม่อิ่มตัวเมื่อโมเลกุลมีจานวน
อะตอมของคาร์บอนเท่ากัน
 จุดหลอมเหลวของกรดไขมันไม่อิ่มตัวที่มีจานวนอะตอมของคาร์บอนเท่ากันจะลดลง
เมื่อจานวนพันธะคู่เพิ่มขึ้น
17
Phospholipids
เป็นองค์ประกอบหลักของ cell membrane
ประกอบด้วย glycerol 1 โมเลกุล fatty acid 2 โมเลกุล และ phosphate
group (phosphate group มีประจุ -)
มีส่วนหัวที่มีประจุ และเป็นส่วนที่ชอบน้า (hydrophilic) และส่วนหางที่ไม่ชอบน้า
(hydrophobic)
เมื่อเติม phospholipids ลงในน้า phospholipids จะรวมตัวกัน โดยเอาส่วน
หางเข้าหากัน และส่วนหัวหันออกทางด้านนอก กลายเป็นหยดเล็กๆ เรียกว่า micelle
ที่ cell membrane ของสิ่งมีชีวิต Phospholipids จะเรียงตัวเป็น 2 ชั้น โดย
hydrophilic head จะหันออกทางด้านนอกเข้าหากัน ส่วน hydrophobic tail
อยู่ตรงกลาง
18
The structure of phospholipid
19
Micelle
Phospholipibi
layerd
Steroids
เป็น lipids ประกอบด้วย คาร์บอนเรียงตัวเป็นวงแหวน 4 วง
Steroids ชนิดต่างๆ มีหมู่ functional group ที่ต่อกับวงแหวนแตกต่างกัน
Cholesterol เป็น steroid ที่เป็นองค์ประกอบของ cell membrane อีก
ทั้งยังเป็น precusor สาหรับการสังเคราะห์ steroid อื่นๆหลายชนิด เช่น
hormones
20
Protein
เป็น polypeptide ของ amino acid ที่ต่อกันเป็นลาดับเฉพาะตัวสาหรับโปรตีน
แต่ละชนิด
โปรตีนสามารถทางานได้ ต้องมีรูปร่าง (conformation) ที่เป็นลักษณะเฉพาะตัว
มนุษย์มีโปรตีนมากกว่า 10,000 ชนิด แต่ละชนิดมีโครงสร้างและหน้าที่แตกต่างกัน
Amino acid เป็นสารอินทรีย์ที่มีหมู่ carboxyl และหมู่ amino ต่อกับอะตอม
คาร์บอนที่เป็นศูนย์กลาง อะตอมที่เป็นศูนย์กลางยังต่อกับอะตอม hydrogen และหมู่
R group 1 หมู่ที่แตกต่างกัน
Amino acid แบ่งออกเป็นกลุ่มตามคุณสมบัติของ R group
R group ที่แตกต่างกันนี้ทาให้เกิด amino acid
แตกต่างกัน 20 ชนิด แต่ละชนิดมีคุณสมบัติ
ทางเคมีและชีววิทยาแตกต่างกัน
21
Amino acid กลุ่ม Nonpolar
22
Amino acid กลุ่ม Polar
กลุ่ม Electrically charged
23
Making a polypeptide chain
Amino acid ต่อกันเป็นสายยาวด้วย covalent bond เรียกว่า peptide bond
ปลายที่มีหมู่ amino เรียกว่า N-terminus
ปลายที่มีหมู่ carboxyl เรียกว่า C-terminus
24
โมเลกุลเพปไทด์ จำนวนโมเลกุลของกรดอะมิโน
Dipeptide 2
Tripeptide 3
Tetrapeptide 4
Polypeptide 5 – 35
Protein คือ Polypeptide ที่มีมวลโมเลกุลมำกกว่ำ 5000
25
สาย polypeptide ประกอบด้วย amino acid ทั้ง 20 ชนิด เรียงต่อกันเป็น
อิสระ สาย polypeptide จึงสามารถมีรูปแบบที่ไม่เหมือนกันนับหมื่นชนิดได้
โปรตีนสามารถทางานได้ต้องมีรูปร่าง (conformation) ที่เป็นลักษณะเฉพาะตัว
โปรตีนที่ทางานได้ประกอบด้วย polypeptide 1 สายหรือมากกว่า ซึ่งม้วนพับไปมาตาม
แรงยึดเหนี่ยวระหว่าง side chain ของ amino acid
รูปร่างของโปรตีนจึงขึ้นอยู่กับลาดับของ amino acid ที่เรียงกันอยู่
A protein’s function depends on its specific conformation
Ribbon model Space filling model
26
โครงสร้างของโปรตีนถูกแบ่งออกเป็น (สาหรับโปรตีนที่ประกอบด้วย polypeptide มากกว่า 1 สาย)
27
โครงสร้างปฐมภูมิ
(primary structure)
โครงสร้างทุติยภูมิ
(secondary structure)
โครงสร้างจตุรภูมิ
(quarternary structure)
โครงสร้างตติยภูมิ
(tertiary structure)
The primary structure of a protein
Primary structure คือ ลาดับของ amino acid
ที่ประกอบขึ้นเป็นโปรตีน
Primary structure ถูกกาหนดโดยข้อมูลทาง
พันธุกรรม (DNA)
การเปลี่ยนแปลงลาดับ amino acid ในโปรตีนอาจมี
ผลให้รูปร่างของโปรตีนเปลี่ยนไป และอาจมีผลต่อการทางาน
ของโปรตีนชนิดนั้นๆ
ตัวอย่างเช่น โรค sickle-cell anemia
28
The secondary structure of a protein
Secondary structure เป็นโครงสร้างที่เกิดขึ้นจาก
H-bond ระหว่างหมู่ carboxylและหมู่ amino
Secondary structure ที่พบบ่อยในธรรมชาติ
ได้แก่ Helix และ  Pleated sheet
ตัวอย่างเช่น เส้นใยแมงมุม มีโครงสร้างแบบ  Pleated
sheet ทาให้เส้นใยแมงมุมมีความแข็งแรงมาก
29
Tertiary structure of a protein
30
เป็นรูปร่างของ polypeptide สายหนึ่งตลอดสาย ซึ่งการม้วนพบไปมาขึ้นอยู่กับแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่าง R group ด้วยกันเอง หรือ R group กับโครงสร้างหลัก
แรงยึดเหนี่ยวหมายถึง
H-bond ionic bond
Hydrophobic interaction Van der Waals interaction
นอกจากนี้บางตอนยึดติดกันด้วย covalent bond ที่แข็งแรง เรียกว่า disulfide bridges
ระหว่างหมู่ sulhydryl (-SH) ของกรดอะมิโน cysteine ที่อยู่ใกล้กัน
The Quaternary structure of proteins
เป็นโครงสร้างของโปรตีนที่ประกอบด้วย polypeptide มากกว่า 1 สายเท่านั้น เกิด
จาก tertiary structure ของ polypeptide แต่ละสายมารวมกัน
Polypeptide chain
ตัวอย่างเช่น :
Collagen เป็น fibrous protein ประกอบด้วย
polypeptide 3 สายพันกันอยู่ ซึ่งทาให้โปรตีนชนิดนี้มี
ความแข็งแรงและพบใน connective tissue
31
Hemoglobin ประกอบด้วย
polypeptide 4 สายรวมกัน
กลายเป็นโปรตีนที่มีรูปร่างเป็นก้อน
รูปร่างของโปรตีนบางชนิดสามารถเปลี่ยนแปลงได้ ถ้าสภาพแวดล้อมของโปรตีนเปลี่ยนไป เช่น
pH อุณหภูมิ ตัวทาลาย เป็นต้น เนื่องจากแรงยึดเหนี่ยวต่างๆระหว่าง amino acid ในสาย
polypeptide ถูกทาลาย การเปลี่ยนแปลงนี้เรียกว่า Denaturation
โปรตีนบางชนิดเมื่อเกิด denaturation แล้ว ยังสามารถกลับคืนสู่สภาพเดิมได้ เรียกว่า
Renaturation
32
 ความร้อนและรังสีอัลตราไวโอเลต
 ตัวทาละลายอินทรีย์ เช่น เอทานอล แอซิโตน
 ความเป็นกรด หรือเป็นเบส
 การฉายรังสีเอกซ์(X – ray)
 การเขย่าหรือเหวี่ยงแรงๆ ทาให้ตกตะกอน
ปัจจัยที่มีผลต่อการแปรสภาพของโปรตีน
33
ประเภทของโปรตีน
โปรตีนก้อนกลม (globular protein)
 เกิดจากสายพอลิเพปไทด์รวมตัวม้วนพับ
พันกันและอัดแน่นเป็นก้อนกลม
 ละลายน้าได้ดี
 ทาหน้าที่เกี่ยวกับกระบวนการเมทาบอลิซึม
ต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในเซลล์
โปรตีนเส้นใย (fibrous protein)
 เกิดจากสายพอลิเพปไทด์พันกันในลักษณะ
เหมือนเส้นใยยาวๆ
 ละลายน้าได้น้อย
 ทาหน้าที่เป็นโปรตีนโครงสร้าง มีความ
แข็งแรงและยืดหยุ่นสูง
Keratin
Silk
Casein
Enzyme
Albumin
ประเภทของโปรตีน หน้าที่ ตัวอย่าง
โปรตีนเร่งปฏิกิริยา เร่งปฏิกิริยาในเซลล์สิ่งมีชีวิต เอ็นไซม์
โปรตีนขนส่ง ขนส่งสารไปสู่ส่วนต่างๆ ของร่างกาย ฮีโมโกลบิน
โปรตีนโครงสร้าง ให้ความแข็งแรงและช่วยคงรูปร่าง
โครงสร้างต่าง ๆของร่างการ
คอลลาเจน
เคราติน
โปรตีนสะสม สะสมธาตุต่าง ๆ เฟอริทิน
โปรตีนป้ องกัน ป้ องกันและกาจัดสิ่งแปลกปลอมที่เข้ามา
ในเซลล์
แอนติบอดี
โปรตีนฮอร์โมน แตกต่างกันตามชนิดของฮอร์โมนนั้นๆ
ควบคุมการเจริญเติบโต
ควบคุมการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรต
Growth hormone
Insulin
โปรตีนในการเคลื่อนที่ ยืดและหดตัวทาให้เกิดการเคลื่อนที่ของ
อวัยวะ
Acin และ myosin ใน
กล้ามเนื้อ
34
Nucleic acid (Informational polymer)
เป็นแหล่งเก็บข้อมูลทางพันธุกรรมและถ่ายทอดลักษณะของสิ่งมีชีวิต
Nucleic acid มี 2 ชนิด ได้แก่ Ribonucleic acid (RNA)/Deoxyribonucleic acid (DNA)
35
DNA ถูกใช้เป็นแม่แบบในการสังเคราะห์ mRNA ซึ่งถูกใช้เป็นตัวกาหนดในการสังเคราะห์โปรตีนอีกทอดหนึ่ง
DNA
RNA
protein
สิ่งมีชีวิตได้รับการถ่ายทอด DNA จากรุ่นพ่อแม่
โมเลกุลของ DNA เป็นสายยาวมียีนเป็นจานวนมากเป็นองค์ประกอบ
DNA อาจเกิดการเปลี่ยนแปลงได้ เนื่องจากสาเหตุต่างๆ เช่น ฤทธิ์ของสารเคมี หรือ รังสีจากสาร
กัมมันตรังสี
การเปลี่ยนลาดับ nucleotide ใน DNA อาจมีผลให้สิ่งมีชีวิตมีลักษณะเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมได้
การเปลี่ยนแลงลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่มีผลมาจากการเปลี่ยนแปลงลาดับ nucleotide สามารถถ่ายทอด
ต่อไปยังรุ่นลูกได้
36
สายของ nucleic acid ประกอบด้วย polymer ของ nucleotides
แต่ละ nucleotide ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่
1. Nitrogen base
2. Pentose sugar
3. Phosphate group
Nitrogen base แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ตามโครงสร้างทางเคมี ได้แก่
Pyrimidines
Purines
37
ใน DNA และ RNA มีเบสอยู่ 4 ชนิดเท่านั้น
DNA มีเบส A, G, C, T
RNA มีเบส A, G, C, U
น้าตาล pentose
ใน RNA คือ ribose
ใน DNA คือ deoxyribose
38
ตรงตาแหน่งอะตอมคาร์บอนที่ 5 (5’) ของน้าตาล pentose มีหมู่ phosphate group มาต่อ
รวมเรียก pentose + nitrogen base + phosphate group ว่า nucleotide
Nucleotide หลายโมเลกุลมาเชื่อมต่อกัน ได้สายยาวของ
polynucleotide ที่มีหมู่ phosphate และ pentose เรียงต่อกันเป็นสาย
โดย nitrogen base ยื่นออกมาจากส่วนยาวของ nucleic acid
Bond ที่มาเชื่อมต่อระหว่าง nucleotide 2 โมเลกุล เรียกว่า
Phosphodiester linkage
39
ลาดับของ nitrogen base บนสาย DNA หรือ mRNA มี
ลักษณะเฉพาะตัว
ลาดับของ base ในยีนจะเป็นตัวกาหนดลาดับของ amino
acid ของ polypeptide ของโปรตีน
The components of nucleic acids
40
3. การถ่ายทอดลักษณะทางกรรมพันธุ์เกิดขึ้น เนื่องจาก DNA มี
การจาลองตัวเอง
RNA ประกอบด้วยสาย polynucleotide เพียงสายเดียว
DNA ประกอบด้วยสาย polynucleotide 2 สายเรียงต่อขนานกัน และมี
โครงสร้างเป็นเกลียว เรียกว่า double helix
41
สายทั้งสองของ DNA มีการเรียงตัวสลับปลายกัน คือ
ปลายด้าน 5’ ของ DNA สายหนึ่งจะเข้าคู่กับปลายด้าน 3’
ของอีกสายหนึ่ง โดยยึดติดกันด้วย H-bond ระหว่าง A
กับ T และ G กับ C (ดังรูป)
ลักษณะการเข้าคู่กันของ base เรียกว่า
complementary
42
43
44
45
46
47
แคลเซียม
1. เป็นส่วนประกอบสาคัญของกระดูกและฟัน หากร่างกายขาดแคลเซียมจะทาให้โครงร่างของร่างกายเจริญเติบโต
ไม่เต็มที่ และเป็นโรคกระดูกอ่อน
2. ช่วยควบคุมการทางานของหัวใจ กล้ามเนื้อ และระบบประสาท
3. ช่วยทาให้เลือดแข็งตัว และทาให้เลือดหยุดเมื่อร่างกายเกิดบาดแผล
ฟอสฟอรัส
1. ทางานร่วมกับแคลเซียมในการสร้างกระดูกและฟัน
2. ควบคุมการปล่อยพลังงานในการเผาไหม้ของคาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน
3. ควบคุมสมดุลของความเป็นกรดและด่างในเลือด
4. เป็นส่วนประกอบของสมองและไขสันหลัง
48
เหล็ก
1.เป็นส่วนประกอบสาคัญของ "ฮีโมโกลบิน" ในเม็ดเลือดแดง หากร่างกายขาดธาตุเหล็กจะทาให้เป็นโรคโลหิตจาง ซึ่งมี
อาการซีด อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย
2.เหล็กยังเป็นส่วนประกอบของกล้ามเนื้อเยื่อต่างๆ ทาหน้าที่ขับออกซิเจนที่เลือดนามาไว้ใช้
ไอโอดีน
ธาตุไอโอดีนมีประโยชน์ต่อร่างกายคือ เป็นส่วนประกอบที่สาคัญของฮอร์โมนที่ผลิตจากต่อมธัยรอยด์ ฮอร์โมนนี้ทาหน้าที่
ควบคุมให้ร่างกายเจริญเติบโตตามปกติ ถ้าร่างกายขาดไอโอดีนจะทาให้ต่อมธัยรอยด์โตขึ้น ซึ่งเรียกว่า "โรคคอพอก"
ดังนั้นไอโอดีนจึงมีประโยชน์ในการป้องกันโรคคอพอก และไม่ทาให้ร่างกายเตี้ย แคระแกร็น
โซเดียม
1.ช่วยทาให้น้าในเนื้อเยื่อและหลอดเลือดมีความสมดุล
2.ช่วยทาให้ระบบต่างๆของร่างกายทางานปกติ โดยเฉพาะการขับถ่ายของเสียทางไตและผิวหนัง
แมกนีเซียม มีมากในอาหารหลายชนิด เช่น ถั่ว ข้าวแดง ข้าววีท ข้าวบาร์เลย์ ข้าวโพด ผักใบเขียว(หากหุงต้มนานเกินไป
จะทาให้แมกนีเซียมหลุดออกไปหมด) ทางานร่วมกับแคลเซียม หากร่างกายขาดแมกนีเซียม ฟันจะไม่แข็งแรงการที่
ร่างกายมีแมกนีเซียมต่า จะทาให้ความดันโลหิตสูง และเป็นโรคหัวใจ
สังกะสี เป็นธาตุที่เราต้องรับเป็นประจาในปริมาณที่น้อยมาก เพราะถ้ามากเกินไปก็จะก่อให้เกิดอันตราย อาหารที่มีมาก
ได้แก่ ตับ ข้าวสาลี ข้าวโพด ถั่ว หอยนางรม หากกินในปริมาณต่ามาก จะทาให้เจริญเติบโตช้า ขนร่วงมีความสาคัญในการ
เผาผลาญคาร์โบไฮเดรตและโปรตีนเป็นส่วนประกอบของเอนไซม์อินซูลิน(โรคเบาหวาน) หากขาดจะเป็นโรคตาบอดสี (เร
ตินาในตาของคนจะมีปริมาณสูง) บารุงรักษาผิวหนังและสิวฝ้ า
49
สรุปการทดสอบสารอาหาร
คาร์โบไฮเดรต : มี 2 วิธี
•ใช้สารละลายไอโอดีน ทดสอบคาร์โบไฮเดรตโมเลกุลใหญ่ (Polysaccharide)
- การทดสอบแป้ง โดยการนาน้าแป้งมาเติม I2 จะได้สีน้าเงิน
- การทดสอบไกลโคเจน โดยการนาสารละลายไกลโคเจนมาเติม I2 จะได้สีแดง
- การทดสอบเซลลูโลส โดยการนาสารละลายเซลลูโลสมาเติม I2 จะได้...
ไ ม่ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง
สารละลาย
ไอโอดีน
50
สารละลาย
เบเนดิกต์
น้าตาล ตะกอนสีแดงอิฐ
•ใช้สารละลายเบเนดิกต์ ทดสอบน้าตาล
* ยกเว้น ซูโครส(น้าตาลทราย) ต้องต้มกับกรดเจือจางก่อน
ไบยูเรต ได้จาก
การเติม CuSO4
ใน NaOH
สารละลาย
โปรตีน
หยดกรดไนตริกเข้มข้น
ใน สารละลายโปรตีน
เมื่อเติม
NH4OH
โปรตีน : มี 2 วิธี
•ใช้วิธีไบยูเร็ต
•ใช้กรดไนตริกเข้มข้น
51
ไขมัน : มี 2 วิธี
1. กำรทดสอบทำงกำยภำพ เพื่อทดสอบภำวะโปร่งแสง เนื่องจำกโมเลกุลของไขมันจะเข้ำไปแทนที่
โมเลกุลของอำกำศเมื่อนำน้ำมันไปทำบนกระดำษ และไขมัน มีดัชนีหักเหของแสงน้อยกว่ำอำกำศ จึงทำให้เกิดภำวะ
โปร่งแสงขึ้น
2. กำรทดสอบคุณสมบัติทำงเคมี สำมำรถทำได้โดยนำไขมันไปต้มกับสำรละลำยด่ำง เช่น NaOH จะได้
สำรประกอบชนิดใหม่ ซึ่งมีลักษณะลื่นเหมือนด่ำง แต่มีฟองมำกมำยเมื่อขยี้(สบู่)
@ กำรทดสอบควำมอิ่มตัวโดยกำรฟอกสีกับสำรละลำยไอโอดีน (หยดน้อยอิ่มมำก หยดมำกอิ่มน้อย)
วิตามิน C :
โดยใช้น้ำแป้ งมำหยดสำรละลำยไอโอดีน (ได้สีน้ำเงิน) เป็นตัวทดสอบ โดยนำสำรอำหำรที่สงสัยว่ำมี
วิตำมินซี มำหยดลงไป โดยถ้ำสีน้ำเงินจำงหำยไป แสดงว่ำมี วิตำมินซี ( จำนวนหยดน้อย มีวิตำมินซีมำก
จำนวนหยดมำก มีวิตำมินซีน้อย )
น้า :
ใช้จุนสีสะตุ (Anhydrus Copper Sulphate) ซึ่งมีสีขำว ถ้ำถูกน้ำจะเปลี่ยนเป็นสีฟ้ ำ ถึงน้ำเงิน
52
53
54
55
56
The End
Thank You For Your Attention

More Related Content

What's hot

เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์Phattarawan Wai
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์Wichai Likitponrak
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmAey Usanee
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2Tanchanok Pps
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnflimgold
 
พอลิเมอร์
พอลิเมอร์พอลิเมอร์
พอลิเมอร์IzmHantha
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02oranuch_u
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอกโครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอกRatarporn Ritmaha
 
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลoraneehussem
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)Thitaree Samphao
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์ratchaneeseangkla
 

What's hot (20)

เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shm
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 
พอลิเมอร์
พอลิเมอร์พอลิเมอร์
พอลิเมอร์
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส
 
Mole
MoleMole
Mole
 
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอกโครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์
 

Viewers also liked

สารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุลสารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุลNamRinNamRin
 
สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )
สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )
สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )PamPaul
 
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรคใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรคTANIKAN KUNTAWONG
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลJariya Jaiyot
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2Thanyamon Chat.
 

Viewers also liked (6)

สารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุลสารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุล
 
สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )
สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )
สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )
 
คาร์โบไฮเดรต
คาร์โบไฮเดรตคาร์โบไฮเดรต
คาร์โบไฮเดรต
 
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรคใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
 

Similar to ชีวเคมี

เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2kasidid20309
 
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
สารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุลสารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุลkruaoijaipcccr
 
The structure and function of macromolecules
The structure and function of macromoleculesThe structure and function of macromolecules
The structure and function of macromoleculesIssara Mo
 
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)kruaoijaipcccr
 
ใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิดใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิดTANIKAN KUNTAWONG
 
โภชนาการ
โภชนาการโภชนาการ
โภชนาการNok Tiwung
 
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdfเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdfBoviBow
 
Hr3 Lipid Fth 467 4
Hr3 Lipid Fth 467 4Hr3 Lipid Fth 467 4
Hr3 Lipid Fth 467 4off5230
 
Protein
Protein Protein
Protein 34361
 
Protein
ProteinProtein
Proteinsailom
 
เผยแพร่ความรู้
เผยแพร่ความรู้เผยแพร่ความรู้
เผยแพร่ความรู้songsak52236
 

Similar to ชีวเคมี (20)

เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
 
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
สารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุลสารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุล
 
The structure and function of macromolecules
The structure and function of macromoleculesThe structure and function of macromolecules
The structure and function of macromolecules
 
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
 
ไอโบโมเลกุล
ไอโบโมเลกุลไอโบโมเลกุล
ไอโบโมเลกุล
 
Chemical acr56
Chemical acr56Chemical acr56
Chemical acr56
 
ใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิดใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิด
 
พ+อ+ลิ+เ+ม+อ+ร์
พ+อ+ลิ+เ+ม+อ+ร์พ+อ+ลิ+เ+ม+อ+ร์
พ+อ+ลิ+เ+ม+อ+ร์
 
โภชนาการ
โภชนาการโภชนาการ
โภชนาการ
 
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdfเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
 
Hr3 Lipid Fth 467 4
Hr3 Lipid Fth 467 4Hr3 Lipid Fth 467 4
Hr3 Lipid Fth 467 4
 
Protein
Protein Protein
Protein
 
Protein
ProteinProtein
Protein
 
Protein
ProteinProtein
Protein
 
Protein
ProteinProtein
Protein
 
Protein
ProteinProtein
Protein
 
Springer link
Springer linkSpringer link
Springer link
 
B01[1]
B01[1]B01[1]
B01[1]
 
เผยแพร่ความรู้
เผยแพร่ความรู้เผยแพร่ความรู้
เผยแพร่ความรู้
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

ชีวเคมี

  • 1. หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เคมีพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต 1 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ รายวิชาชีววิทยา 1 รหัสวิชา ว32141 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
  • 2. สารชีวโมเลกุล คือ สารประกอบขนาดใหญ่ (macromolecules) ในสิ่งมีชีวิต จัดเป็น 4 กลุ่มตามลักษณะโครงสร้างของ โมเลกุล ได้แก่ Carbohydrate ประกอบด้วยธาตุ C, H, O Protein “ C, H, O, N Lipid “ C, H, O Nucleic acid “ C, H, O, N, P 2 Building models to study the structure of macromolecules Linus Pauling (1901-1994) Today, scientists use computer
  • 3. ปฏิกิริยาเคมีของ macromolecules ได้แก่ Condensation เป็นปฏิกิริยาสังเคราะห์ macromolecules จาก monomers เล็กๆเป็นจานวนมาก และได้ผลผลิต H2O ด้วย ดังนั้นอาจเรียกว่า ปฏิกิริยา dehydration Hydrolysis เป็นปฏิกิริยาย่อยสลาย macromolecules ให้เล็กลง เพื่อให้สามารถ นาผ่านเยื่อหุ้มเซลล์เข้าสู่เซลล์ได้ หรือย่อยสลาย macromolecules ที่ไม่ใช้แล้วภายในเซลล์ 3 The synthesis of a polymer The Breakdown of a polymer
  • 4. Carbohydrates เป็นสารประกอบจาพวกน้าตาล และ polymer ของน้าตาล แบ่งกลุ่ม carbohydrates ได้เป็น 3 กลุ่ม ตามจานวนโมเลกุลของน้าตาลที่เป็น องค์ประกอบ ได้แก่ Monosaccharide/Disaccharide/Polysaccharide Carbohydrates 4 Monosaccharide เป็นน้าตาลโมเลกุลเดี่ยว ที่ประกอบด้วย C, O และ H มี สูตรคือ (CH2O)n โดยมีอะตอมของ C ต่อกันเป็นสาย และมี Carbonyl group และ hydroxy group ต่อกับอะตอมของ C aldehydes ketones Carbonyl group
  • 5. The structure and classification of some monosaccharides 5
  • 6. น้าตาลโมเลกุลคู่ (Disaccharides) เกิดจากการรวมตัวของน้าตาล โมเลกุลเดี่ยว 2 โมเลกุล โดยปฏิกิริยา condensation Covalent bond ที่เกิดขึ้น เรียกว่า Glycosidic linkage 6
  • 7. Polysaccharide เป็น carbohydrate ที่มีขนาดใหญ่มาก ประกอบด้วย monosaccharides จานวนมากต่อกันด้วย glycosidic linkage ชนิดของ polysaccharide ขึ้นอยู่กับ 1. ชนิดของ monosaccharide 2. ชนิดของ Glycosidic linkage ตัวอย่าง polysaccharide ได้แก่ starch, glycogen, cellulose และ chitin Cellulose มี glucose เป็นองค์ประกอบเช่นเดียวกับ แป้ ง แต่มีพันธะแบบ 1-4 glycosidic linkage ผนังเซลล์ของพืชประกอบด้วย cellulose เป็น จานวนมาก 7
  • 9. Starch: 1-4 linkage of  glucose monomers Cellulose: 1-4 linkage of  glucose monomers 9
  • 10. The arrangement of cellulose in plant cell walls 10
  • 11. Chitin, a structural polysaccharide Chitin forms the exoskeleton of Arthropods Chitin is used to make a strong and flexible surgical thread 11 Chitin มีโครงสร้างคล้ายกับ Cellulose ต่างกันที่ว่า หน่วย ย่อยเป็น N-acetylglucosamine ต่อกันเป็นโมเลกุลสายยาว
  • 12. หน้าที่ของ carbohydrate Sugars : ทาหน้าที่ให้พลังงานและเป็นแหล่งคาร์บอนแก่สิ่งมีชีวิต ribose และ deoxyribose เป็นองค์ประกอบของ nucleic acid Polysaccharide : เป็นแหล่งสะสมพลังงานของสิ่งมีชีวิต โดยพืชเก็บสะสมพลังงานในรูปของ starch ส่วนสัตว์เก็บสะสมพลังงานในรูปของ glycogen Cellulose และ chitin เป็นโครงสร้างของพืชและสัตว์ 12
  • 13. Lipids (Diverse Hydrophobic molecules) ไขมันและน้ามันเป็นสารประกอบ เอสเทอร์ที่เกิดจากกรดไขมันกับ แอลกอฮอล์บางชนิด ที่ 25C • ของแข็ง เรียกว่า ไขมัน • ของเหลว เรียกว่า น้ามัน Lipids เป็นสารที่ไม่เป็น polymer Lipids ไม่ละลายน้า เนื่องจากโครงสร้างของ lipids ประกอบด้วย nonpolar covalent bonds เป็นส่วนมาก Lipids ได้แก่ ไขมัน (Fat)/Phospholipid/Steroid/ขี้ผึ้ง (Wax) 13
  • 14. Fats : เป็นแหล่งสะสมพลังงาน Fats ถึงแม้จะไม่เป็น polymer แต่เป็นสารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ ประกอบด้วย สารที่มีโมเลกุลขนาดเล็กกว่ามาต่อกันด้วยปฏิกิริยา Dehydration Fats ประกอบด้วย Glycerol และ กรดไขมัน (Fatty acid) 14 ส่วน “tail” ของ fatty acid ที่เป็น hydrocarbon ที่มักมีอะตอมคาร์บอนต่อกัน ประมาณ 16-18 อะตอม เป็นส่วนที่ทาให้ fats ไม่ละลายน้า (hydrophobic)
  • 15. Triglyceride ไขมัน 1 โมเลกุล ประกอบด้วย Glycerol 1 โมเลกุล และ กรดไขมัน 3 โมเลกุล 15 โครงสร้างของไขมันและน้ามัน
  • 16. กรดไขมันแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ Saturated fatty acid (กรดไขมันชนิดอิ่มตัว) Unsaturated fatty acid (กรดไขมันชนิดไม่อิ่มตัว) ไขมันที่ได้จากสัตว์ เช่น เนย มี saturated fatty acid เป็นองค์ประกอบ มีลักษณะเป็นของแข็งที่ อุณหภูมิห้อง ไขมันจากพืช มี unsaturated fatty acid เป็นองค์ประกอบ มีลักษณะเป็นของเหลวที่อุณหภูมิห้อง 16 Saturated fat and fatty acid Unsaturated fat and fatty acid
  • 17.  โมเลกุลของกรดไขมันในธรรมชาติส่วนใหญ่จะมีจานวนอะตอมของคาร์บอนเป็นเลขคู่ ทั้งชนิดอิ่มตัวและไม่อิ่มตัว  จุดหลอมเหลวของกรดไขมันจะสูงขึ้นเมื่อมวลโมเลกุลเพิ่มขึ้น  กรดไขมันอิ่มตัวจะมีจุดหลอมเหลวสูงกว่ากรดไขมันไม่อิ่มตัวเมื่อโมเลกุลมีจานวน อะตอมของคาร์บอนเท่ากัน  จุดหลอมเหลวของกรดไขมันไม่อิ่มตัวที่มีจานวนอะตอมของคาร์บอนเท่ากันจะลดลง เมื่อจานวนพันธะคู่เพิ่มขึ้น 17
  • 18. Phospholipids เป็นองค์ประกอบหลักของ cell membrane ประกอบด้วย glycerol 1 โมเลกุล fatty acid 2 โมเลกุล และ phosphate group (phosphate group มีประจุ -) มีส่วนหัวที่มีประจุ และเป็นส่วนที่ชอบน้า (hydrophilic) และส่วนหางที่ไม่ชอบน้า (hydrophobic) เมื่อเติม phospholipids ลงในน้า phospholipids จะรวมตัวกัน โดยเอาส่วน หางเข้าหากัน และส่วนหัวหันออกทางด้านนอก กลายเป็นหยดเล็กๆ เรียกว่า micelle ที่ cell membrane ของสิ่งมีชีวิต Phospholipids จะเรียงตัวเป็น 2 ชั้น โดย hydrophilic head จะหันออกทางด้านนอกเข้าหากัน ส่วน hydrophobic tail อยู่ตรงกลาง 18
  • 19. The structure of phospholipid 19 Micelle Phospholipibi layerd
  • 20. Steroids เป็น lipids ประกอบด้วย คาร์บอนเรียงตัวเป็นวงแหวน 4 วง Steroids ชนิดต่างๆ มีหมู่ functional group ที่ต่อกับวงแหวนแตกต่างกัน Cholesterol เป็น steroid ที่เป็นองค์ประกอบของ cell membrane อีก ทั้งยังเป็น precusor สาหรับการสังเคราะห์ steroid อื่นๆหลายชนิด เช่น hormones 20
  • 21. Protein เป็น polypeptide ของ amino acid ที่ต่อกันเป็นลาดับเฉพาะตัวสาหรับโปรตีน แต่ละชนิด โปรตีนสามารถทางานได้ ต้องมีรูปร่าง (conformation) ที่เป็นลักษณะเฉพาะตัว มนุษย์มีโปรตีนมากกว่า 10,000 ชนิด แต่ละชนิดมีโครงสร้างและหน้าที่แตกต่างกัน Amino acid เป็นสารอินทรีย์ที่มีหมู่ carboxyl และหมู่ amino ต่อกับอะตอม คาร์บอนที่เป็นศูนย์กลาง อะตอมที่เป็นศูนย์กลางยังต่อกับอะตอม hydrogen และหมู่ R group 1 หมู่ที่แตกต่างกัน Amino acid แบ่งออกเป็นกลุ่มตามคุณสมบัติของ R group R group ที่แตกต่างกันนี้ทาให้เกิด amino acid แตกต่างกัน 20 ชนิด แต่ละชนิดมีคุณสมบัติ ทางเคมีและชีววิทยาแตกต่างกัน 21
  • 22. Amino acid กลุ่ม Nonpolar 22 Amino acid กลุ่ม Polar
  • 23. กลุ่ม Electrically charged 23 Making a polypeptide chain Amino acid ต่อกันเป็นสายยาวด้วย covalent bond เรียกว่า peptide bond ปลายที่มีหมู่ amino เรียกว่า N-terminus ปลายที่มีหมู่ carboxyl เรียกว่า C-terminus
  • 24. 24
  • 25. โมเลกุลเพปไทด์ จำนวนโมเลกุลของกรดอะมิโน Dipeptide 2 Tripeptide 3 Tetrapeptide 4 Polypeptide 5 – 35 Protein คือ Polypeptide ที่มีมวลโมเลกุลมำกกว่ำ 5000 25 สาย polypeptide ประกอบด้วย amino acid ทั้ง 20 ชนิด เรียงต่อกันเป็น อิสระ สาย polypeptide จึงสามารถมีรูปแบบที่ไม่เหมือนกันนับหมื่นชนิดได้ โปรตีนสามารถทางานได้ต้องมีรูปร่าง (conformation) ที่เป็นลักษณะเฉพาะตัว โปรตีนที่ทางานได้ประกอบด้วย polypeptide 1 สายหรือมากกว่า ซึ่งม้วนพับไปมาตาม แรงยึดเหนี่ยวระหว่าง side chain ของ amino acid รูปร่างของโปรตีนจึงขึ้นอยู่กับลาดับของ amino acid ที่เรียงกันอยู่
  • 26. A protein’s function depends on its specific conformation Ribbon model Space filling model 26
  • 27. โครงสร้างของโปรตีนถูกแบ่งออกเป็น (สาหรับโปรตีนที่ประกอบด้วย polypeptide มากกว่า 1 สาย) 27 โครงสร้างปฐมภูมิ (primary structure) โครงสร้างทุติยภูมิ (secondary structure) โครงสร้างจตุรภูมิ (quarternary structure) โครงสร้างตติยภูมิ (tertiary structure)
  • 28. The primary structure of a protein Primary structure คือ ลาดับของ amino acid ที่ประกอบขึ้นเป็นโปรตีน Primary structure ถูกกาหนดโดยข้อมูลทาง พันธุกรรม (DNA) การเปลี่ยนแปลงลาดับ amino acid ในโปรตีนอาจมี ผลให้รูปร่างของโปรตีนเปลี่ยนไป และอาจมีผลต่อการทางาน ของโปรตีนชนิดนั้นๆ ตัวอย่างเช่น โรค sickle-cell anemia 28
  • 29. The secondary structure of a protein Secondary structure เป็นโครงสร้างที่เกิดขึ้นจาก H-bond ระหว่างหมู่ carboxylและหมู่ amino Secondary structure ที่พบบ่อยในธรรมชาติ ได้แก่ Helix และ  Pleated sheet ตัวอย่างเช่น เส้นใยแมงมุม มีโครงสร้างแบบ  Pleated sheet ทาให้เส้นใยแมงมุมมีความแข็งแรงมาก 29
  • 30. Tertiary structure of a protein 30 เป็นรูปร่างของ polypeptide สายหนึ่งตลอดสาย ซึ่งการม้วนพบไปมาขึ้นอยู่กับแรงยึดเหนี่ยว ระหว่าง R group ด้วยกันเอง หรือ R group กับโครงสร้างหลัก แรงยึดเหนี่ยวหมายถึง H-bond ionic bond Hydrophobic interaction Van der Waals interaction นอกจากนี้บางตอนยึดติดกันด้วย covalent bond ที่แข็งแรง เรียกว่า disulfide bridges ระหว่างหมู่ sulhydryl (-SH) ของกรดอะมิโน cysteine ที่อยู่ใกล้กัน
  • 31. The Quaternary structure of proteins เป็นโครงสร้างของโปรตีนที่ประกอบด้วย polypeptide มากกว่า 1 สายเท่านั้น เกิด จาก tertiary structure ของ polypeptide แต่ละสายมารวมกัน Polypeptide chain ตัวอย่างเช่น : Collagen เป็น fibrous protein ประกอบด้วย polypeptide 3 สายพันกันอยู่ ซึ่งทาให้โปรตีนชนิดนี้มี ความแข็งแรงและพบใน connective tissue 31 Hemoglobin ประกอบด้วย polypeptide 4 สายรวมกัน กลายเป็นโปรตีนที่มีรูปร่างเป็นก้อน
  • 32. รูปร่างของโปรตีนบางชนิดสามารถเปลี่ยนแปลงได้ ถ้าสภาพแวดล้อมของโปรตีนเปลี่ยนไป เช่น pH อุณหภูมิ ตัวทาลาย เป็นต้น เนื่องจากแรงยึดเหนี่ยวต่างๆระหว่าง amino acid ในสาย polypeptide ถูกทาลาย การเปลี่ยนแปลงนี้เรียกว่า Denaturation โปรตีนบางชนิดเมื่อเกิด denaturation แล้ว ยังสามารถกลับคืนสู่สภาพเดิมได้ เรียกว่า Renaturation 32  ความร้อนและรังสีอัลตราไวโอเลต  ตัวทาละลายอินทรีย์ เช่น เอทานอล แอซิโตน  ความเป็นกรด หรือเป็นเบส  การฉายรังสีเอกซ์(X – ray)  การเขย่าหรือเหวี่ยงแรงๆ ทาให้ตกตะกอน ปัจจัยที่มีผลต่อการแปรสภาพของโปรตีน
  • 33. 33 ประเภทของโปรตีน โปรตีนก้อนกลม (globular protein)  เกิดจากสายพอลิเพปไทด์รวมตัวม้วนพับ พันกันและอัดแน่นเป็นก้อนกลม  ละลายน้าได้ดี  ทาหน้าที่เกี่ยวกับกระบวนการเมทาบอลิซึม ต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในเซลล์ โปรตีนเส้นใย (fibrous protein)  เกิดจากสายพอลิเพปไทด์พันกันในลักษณะ เหมือนเส้นใยยาวๆ  ละลายน้าได้น้อย  ทาหน้าที่เป็นโปรตีนโครงสร้าง มีความ แข็งแรงและยืดหยุ่นสูง Keratin Silk Casein Enzyme Albumin
  • 34. ประเภทของโปรตีน หน้าที่ ตัวอย่าง โปรตีนเร่งปฏิกิริยา เร่งปฏิกิริยาในเซลล์สิ่งมีชีวิต เอ็นไซม์ โปรตีนขนส่ง ขนส่งสารไปสู่ส่วนต่างๆ ของร่างกาย ฮีโมโกลบิน โปรตีนโครงสร้าง ให้ความแข็งแรงและช่วยคงรูปร่าง โครงสร้างต่าง ๆของร่างการ คอลลาเจน เคราติน โปรตีนสะสม สะสมธาตุต่าง ๆ เฟอริทิน โปรตีนป้ องกัน ป้ องกันและกาจัดสิ่งแปลกปลอมที่เข้ามา ในเซลล์ แอนติบอดี โปรตีนฮอร์โมน แตกต่างกันตามชนิดของฮอร์โมนนั้นๆ ควบคุมการเจริญเติบโต ควบคุมการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรต Growth hormone Insulin โปรตีนในการเคลื่อนที่ ยืดและหดตัวทาให้เกิดการเคลื่อนที่ของ อวัยวะ Acin และ myosin ใน กล้ามเนื้อ 34
  • 35. Nucleic acid (Informational polymer) เป็นแหล่งเก็บข้อมูลทางพันธุกรรมและถ่ายทอดลักษณะของสิ่งมีชีวิต Nucleic acid มี 2 ชนิด ได้แก่ Ribonucleic acid (RNA)/Deoxyribonucleic acid (DNA) 35 DNA ถูกใช้เป็นแม่แบบในการสังเคราะห์ mRNA ซึ่งถูกใช้เป็นตัวกาหนดในการสังเคราะห์โปรตีนอีกทอดหนึ่ง DNA RNA protein
  • 36. สิ่งมีชีวิตได้รับการถ่ายทอด DNA จากรุ่นพ่อแม่ โมเลกุลของ DNA เป็นสายยาวมียีนเป็นจานวนมากเป็นองค์ประกอบ DNA อาจเกิดการเปลี่ยนแปลงได้ เนื่องจากสาเหตุต่างๆ เช่น ฤทธิ์ของสารเคมี หรือ รังสีจากสาร กัมมันตรังสี การเปลี่ยนลาดับ nucleotide ใน DNA อาจมีผลให้สิ่งมีชีวิตมีลักษณะเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมได้ การเปลี่ยนแลงลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่มีผลมาจากการเปลี่ยนแปลงลาดับ nucleotide สามารถถ่ายทอด ต่อไปยังรุ่นลูกได้ 36 สายของ nucleic acid ประกอบด้วย polymer ของ nucleotides แต่ละ nucleotide ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ 1. Nitrogen base 2. Pentose sugar 3. Phosphate group
  • 37. Nitrogen base แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ตามโครงสร้างทางเคมี ได้แก่ Pyrimidines Purines 37 ใน DNA และ RNA มีเบสอยู่ 4 ชนิดเท่านั้น DNA มีเบส A, G, C, T RNA มีเบส A, G, C, U
  • 38. น้าตาล pentose ใน RNA คือ ribose ใน DNA คือ deoxyribose 38 ตรงตาแหน่งอะตอมคาร์บอนที่ 5 (5’) ของน้าตาล pentose มีหมู่ phosphate group มาต่อ รวมเรียก pentose + nitrogen base + phosphate group ว่า nucleotide
  • 39. Nucleotide หลายโมเลกุลมาเชื่อมต่อกัน ได้สายยาวของ polynucleotide ที่มีหมู่ phosphate และ pentose เรียงต่อกันเป็นสาย โดย nitrogen base ยื่นออกมาจากส่วนยาวของ nucleic acid Bond ที่มาเชื่อมต่อระหว่าง nucleotide 2 โมเลกุล เรียกว่า Phosphodiester linkage 39 ลาดับของ nitrogen base บนสาย DNA หรือ mRNA มี ลักษณะเฉพาะตัว ลาดับของ base ในยีนจะเป็นตัวกาหนดลาดับของ amino acid ของ polypeptide ของโปรตีน
  • 40. The components of nucleic acids 40
  • 41. 3. การถ่ายทอดลักษณะทางกรรมพันธุ์เกิดขึ้น เนื่องจาก DNA มี การจาลองตัวเอง RNA ประกอบด้วยสาย polynucleotide เพียงสายเดียว DNA ประกอบด้วยสาย polynucleotide 2 สายเรียงต่อขนานกัน และมี โครงสร้างเป็นเกลียว เรียกว่า double helix 41 สายทั้งสองของ DNA มีการเรียงตัวสลับปลายกัน คือ ปลายด้าน 5’ ของ DNA สายหนึ่งจะเข้าคู่กับปลายด้าน 3’ ของอีกสายหนึ่ง โดยยึดติดกันด้วย H-bond ระหว่าง A กับ T และ G กับ C (ดังรูป) ลักษณะการเข้าคู่กันของ base เรียกว่า complementary
  • 42. 42
  • 43. 43
  • 44. 44
  • 45. 45
  • 46. 46
  • 47. 47 แคลเซียม 1. เป็นส่วนประกอบสาคัญของกระดูกและฟัน หากร่างกายขาดแคลเซียมจะทาให้โครงร่างของร่างกายเจริญเติบโต ไม่เต็มที่ และเป็นโรคกระดูกอ่อน 2. ช่วยควบคุมการทางานของหัวใจ กล้ามเนื้อ และระบบประสาท 3. ช่วยทาให้เลือดแข็งตัว และทาให้เลือดหยุดเมื่อร่างกายเกิดบาดแผล ฟอสฟอรัส 1. ทางานร่วมกับแคลเซียมในการสร้างกระดูกและฟัน 2. ควบคุมการปล่อยพลังงานในการเผาไหม้ของคาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน 3. ควบคุมสมดุลของความเป็นกรดและด่างในเลือด 4. เป็นส่วนประกอบของสมองและไขสันหลัง
  • 48. 48 เหล็ก 1.เป็นส่วนประกอบสาคัญของ "ฮีโมโกลบิน" ในเม็ดเลือดแดง หากร่างกายขาดธาตุเหล็กจะทาให้เป็นโรคโลหิตจาง ซึ่งมี อาการซีด อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย 2.เหล็กยังเป็นส่วนประกอบของกล้ามเนื้อเยื่อต่างๆ ทาหน้าที่ขับออกซิเจนที่เลือดนามาไว้ใช้ ไอโอดีน ธาตุไอโอดีนมีประโยชน์ต่อร่างกายคือ เป็นส่วนประกอบที่สาคัญของฮอร์โมนที่ผลิตจากต่อมธัยรอยด์ ฮอร์โมนนี้ทาหน้าที่ ควบคุมให้ร่างกายเจริญเติบโตตามปกติ ถ้าร่างกายขาดไอโอดีนจะทาให้ต่อมธัยรอยด์โตขึ้น ซึ่งเรียกว่า "โรคคอพอก" ดังนั้นไอโอดีนจึงมีประโยชน์ในการป้องกันโรคคอพอก และไม่ทาให้ร่างกายเตี้ย แคระแกร็น โซเดียม 1.ช่วยทาให้น้าในเนื้อเยื่อและหลอดเลือดมีความสมดุล 2.ช่วยทาให้ระบบต่างๆของร่างกายทางานปกติ โดยเฉพาะการขับถ่ายของเสียทางไตและผิวหนัง แมกนีเซียม มีมากในอาหารหลายชนิด เช่น ถั่ว ข้าวแดง ข้าววีท ข้าวบาร์เลย์ ข้าวโพด ผักใบเขียว(หากหุงต้มนานเกินไป จะทาให้แมกนีเซียมหลุดออกไปหมด) ทางานร่วมกับแคลเซียม หากร่างกายขาดแมกนีเซียม ฟันจะไม่แข็งแรงการที่ ร่างกายมีแมกนีเซียมต่า จะทาให้ความดันโลหิตสูง และเป็นโรคหัวใจ สังกะสี เป็นธาตุที่เราต้องรับเป็นประจาในปริมาณที่น้อยมาก เพราะถ้ามากเกินไปก็จะก่อให้เกิดอันตราย อาหารที่มีมาก ได้แก่ ตับ ข้าวสาลี ข้าวโพด ถั่ว หอยนางรม หากกินในปริมาณต่ามาก จะทาให้เจริญเติบโตช้า ขนร่วงมีความสาคัญในการ เผาผลาญคาร์โบไฮเดรตและโปรตีนเป็นส่วนประกอบของเอนไซม์อินซูลิน(โรคเบาหวาน) หากขาดจะเป็นโรคตาบอดสี (เร ตินาในตาของคนจะมีปริมาณสูง) บารุงรักษาผิวหนังและสิวฝ้ า
  • 49. 49 สรุปการทดสอบสารอาหาร คาร์โบไฮเดรต : มี 2 วิธี •ใช้สารละลายไอโอดีน ทดสอบคาร์โบไฮเดรตโมเลกุลใหญ่ (Polysaccharide) - การทดสอบแป้ง โดยการนาน้าแป้งมาเติม I2 จะได้สีน้าเงิน - การทดสอบไกลโคเจน โดยการนาสารละลายไกลโคเจนมาเติม I2 จะได้สีแดง - การทดสอบเซลลูโลส โดยการนาสารละลายเซลลูโลสมาเติม I2 จะได้... ไ ม่ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง สารละลาย ไอโอดีน
  • 50. 50 สารละลาย เบเนดิกต์ น้าตาล ตะกอนสีแดงอิฐ •ใช้สารละลายเบเนดิกต์ ทดสอบน้าตาล * ยกเว้น ซูโครส(น้าตาลทราย) ต้องต้มกับกรดเจือจางก่อน ไบยูเรต ได้จาก การเติม CuSO4 ใน NaOH สารละลาย โปรตีน หยดกรดไนตริกเข้มข้น ใน สารละลายโปรตีน เมื่อเติม NH4OH โปรตีน : มี 2 วิธี •ใช้วิธีไบยูเร็ต •ใช้กรดไนตริกเข้มข้น
  • 51. 51 ไขมัน : มี 2 วิธี 1. กำรทดสอบทำงกำยภำพ เพื่อทดสอบภำวะโปร่งแสง เนื่องจำกโมเลกุลของไขมันจะเข้ำไปแทนที่ โมเลกุลของอำกำศเมื่อนำน้ำมันไปทำบนกระดำษ และไขมัน มีดัชนีหักเหของแสงน้อยกว่ำอำกำศ จึงทำให้เกิดภำวะ โปร่งแสงขึ้น 2. กำรทดสอบคุณสมบัติทำงเคมี สำมำรถทำได้โดยนำไขมันไปต้มกับสำรละลำยด่ำง เช่น NaOH จะได้ สำรประกอบชนิดใหม่ ซึ่งมีลักษณะลื่นเหมือนด่ำง แต่มีฟองมำกมำยเมื่อขยี้(สบู่) @ กำรทดสอบควำมอิ่มตัวโดยกำรฟอกสีกับสำรละลำยไอโอดีน (หยดน้อยอิ่มมำก หยดมำกอิ่มน้อย) วิตามิน C : โดยใช้น้ำแป้ งมำหยดสำรละลำยไอโอดีน (ได้สีน้ำเงิน) เป็นตัวทดสอบ โดยนำสำรอำหำรที่สงสัยว่ำมี วิตำมินซี มำหยดลงไป โดยถ้ำสีน้ำเงินจำงหำยไป แสดงว่ำมี วิตำมินซี ( จำนวนหยดน้อย มีวิตำมินซีมำก จำนวนหยดมำก มีวิตำมินซีน้อย ) น้า : ใช้จุนสีสะตุ (Anhydrus Copper Sulphate) ซึ่งมีสีขำว ถ้ำถูกน้ำจะเปลี่ยนเป็นสีฟ้ ำ ถึงน้ำเงิน
  • 52. 52
  • 53. 53
  • 54. 54
  • 55. 55
  • 56. 56 The End Thank You For Your Attention