SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
~0~

วิทยาศาสตร์ ม.3
(เรื่อง ไฟฟ้าเบื้องต้น)
~1~

ไฟฟ้าเบื้องต้น
ประจุไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า
ชาวกรีกโบราณเป็นผู้พบไฟฟ้าเป็นครั้งแรกเมื่อประมาณ 2,000 ปี
มาแล้ว แต่ยังไม่รู้จักใช้ เรารู้จักใช้ไฟฟ้าให้เกิดประโยชน์
เมื่อประมาณ 150 ปี ที่ผ่านมาเท่านั้น พวกเขารู้ว่าอาพันซึ่งเป็นยางไม้
ที่กลายเป็นซากดึกดาบรรพ์ สามารถยกขนนกได้ เมื่อมันถูกขัดถู
กับผ้าไหม เราเรียกว่าไฟฟ้า หรืออิเล็กตรอน มาจากคาภาษากรีกว่า
“อิเล็กตร้า” ที่แปลว่าอาพัน
ไฟฟ้าเป็นพลังงานรูปหนึ่ง สามารถทาให้เกิดสิ่งต่าง ๆได้
เช่น ทาให้เครื่องปิ้งขนมปังร้อนขึ้น และทาให้ดวงไฟสว่าง

การที่วัตถุมีประจุไฟฟ้าเพราะอะตอมของวัตถุประกอบด้วย อิเล็กตรอน (Electron) โปรตอน
(Proton) และนิวตรอน (Neutron) โดยโปรตอนและนิวตรอนอยู่ที่แกนกลางหรือนิวเคลียสของอะตอม
ส่วนอิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่วนรอบ ๆ นิวเคลียส
ประจุไฟฟ้าคือสิ่งที่แสดงอานาจทางไฟฟ้ามี 2 ชนิด คือประจุบวกและประจุลบ อิเล็กตรอนเป็นประจุลบ และ
โปรตอนเป็นประจุบวก ส่วนนิวตรอนไม่มีประจุไฟฟ้าหรือเป็นกลาง เราสามารถจาแนกชนิดของวัตถุโดย
พิจารณาจากประจุไฟฟ้าได้ดังนี้
~2~

จาแนกชนิดของวัตถุจากประจุไฟฟ้า
1. วัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้า คือวัตถุที่ไม่แสดงอานาจทางไฟฟ้า คือไม่ดึงดูดวัตถุใด ๆ เนื่องจาก
วัตถุมีจานวนโปรตอน (+) เท่ากับจานวนอิเล็กตรอน (- ) ตัวอย่างได้แก่วัตถุทั่ว ๆ ไป
2. วัตถุที่แสดงอานาจทางไฟฟ้า คือวัตถุที่สามารถดึงดูดวัตถุใด ๆได้ เนื่องจากวัตถุมีจานวน
โปรตอนไม่เท่ากับจานวนอิเล็กตรอน ถ้าวัตถุมีจานวนโปรตอน (+) มากกว่าจานวนอิเล็กตรอน (- ) วัตถุจะ
แสดงอานาจไฟฟ้าเป็นบวก และถ้าวัตถุมีจานวนโปรตอนน้อยกว่าอิเล็กตรอน วัตถุนั้นจะแสดงอานาจไฟฟ้า
เป็นลบ

ในฤดูหนาวเมื่อเราใช้หวีพลาสติกหวีผม แล้วนาหวีไปใกล้เศษกระดาษชิ้นเล็ก ๆ จะพบว่าเศษกระดาษ
ถูกดูดขึ้นมาติดกับหวี ที่เป็นเช่นนี้เนื่องจากหวีพลาสติกมีประจุไฟฟ้า ประจุไฟฟ้าที่เกิดขึ้นเป็นไฟฟ้าสถิต ถ้า
ประจุไฟฟ้าไม่เคลื่อนที่ เรียกว่าไฟฟ้าสถิต (Static Electricity) แต่ถ้าประจุไฟฟ้ามีการเคลื่อนที่ เรียกว่า
ไฟฟ้ากระแส (Current Electricity)

ห้ามลืม ถ้าประจุไฟฟ้าชนิดเดียวกันจะผลักกัน และถ้าเป็นประจุไฟฟ้าต่างชนิดกันจะดูดกัน

แหล่งกาเนิดไฟฟ้า
แหล่งกาเนิดไฟฟ้าหรือแหล่งจ่ายไฟฟ้า คือ แหล่งที่จ่ายพลังงานศักย์ไฟฟ้า หรืออาจเรียกว่า
แรงเคลื่อนไฟฟ้า ออกมาใช้งานกับอุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วๆไปสามารถแบ่งออกเป็น 6 ชนิดใหญ่ๆคือ
1. แบตเตอรี่ 4. การขัดสี
2. เซลล์แสงอาทิตย์ 5. ความร้อน
3. สนามแม่เหล็ก 6. แรงกด
7. แหล่งจ่ายไฟฟ้าแบบอิเล็กทรอนิกส์
~3~

แบตเตอรี่ เป็นแหล่งกาเนิดไฟฟ้าที่อาศัยหลักการเปลี่ยนแปลงพลังงานเคมีให้เป็นพลังงานไฟฟ้า แบตเตอรี่
ประกอบด้วยเซลล์ไฟฟ้าตั้งแต่ 1 เซลล์ หรือมากกว่า โดยเซลล์นี้จะเชื่อมต่อเข้าด้วยกันทางไฟฟ้าซึ่งจะ
ประกอบด้วยอุปกรณ์พื้นฐาน 4 ส่วน
1. ขั้วบวก (Positive Electrode)
2. ขั้วลบ (Negative Electrode)
3. อิเล็กโทรไลต์ (Electrolyte)
4. ตัวขั้นเซลล์ (Seperator)

สาหรับการแบ่งกลุ่มของแบตเตอรี่ สามารถแบ่งได้ 2 กลุ่มหลักดังนี้
1. แบตเตอรี่แบบปฐมภูมิ (Primary Battery) เช่น ถ่านไฟฉาย
2. แบตเตอรี่แบบทุติยภูมิ (Secondary Battery) เช่น ถ่านแบบชาร์ทได้ แบตเตอรี่
แบตเตอรี่แบบปฐมภูมิ หมายถึง แบตเตอรี่ที่ใช้งานได้เพียงครั้งเดียวและเมื่อประจุไฟหมดแล้วจะต้องทิ้งไป
ทั้งนี้เนื่องจากไม่สามารถทาให้เกิดปฏิกิริยาทางเคมีแบบย้อนกลับใหม่ได้ ส่วนแบตเตอรี่ทุติยภูมิสามารถจะทา
ปฏิกิริยาทางเคมีแบบย้อนกลับได้ ดังนั้น จึงสามารถทาการเก็บประจุไฟใหม่และนากลับมาใช้งานได้อีก
เซลล์แสงอาทิตย์
เป็นแหล่งกาเนิดพลังงานไฟฟ้าที่อาศัยหลักการเปลี่ยนแปลงพลังงานแสงให้เป็นพลังงานไฟฟ้า
โครงสร้างของเซลล์แสงอาทิตย์ประกอบด้วยสารกึ่งตัวนา 2 ชนิด เชื่อมกันเพื่อให้เกิดรอยต่อ เมื่อผิวของสาร
กึ่งตัวนาด้านหนึ่งถูกแสงจะทาให้อิเล็กตรอนได้รับพลังงานเพียงพอจะทาให้อะตอมเคลื่อนที่ข้ามรอยต่อทาให้
เกิดความต่างศักย์ไฟฟ้า
~4~

สนามแม่เหล็ก
เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าทีเปลี่ยนพลังงานกลให้เป็นพลังงานไฟฟ้า โดยอาศัยหลักการเหนียวนา
่
่
แม่เหล็กไฟฟ้า หลักการทางานโดยการทาให้ตัวนาหมุนตัดผ่านสนามแม่เหล็กซึ่งการจัดการทางานลักษณะ
เช่นนี้ทาให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนาผ่านตัวนาที่หมุนอยู่ และสามารถต่อแรงดันไฟฟ้านี้ออกไปใช้งาน
ภายนอกได้

หน่วยวัดทางไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้า (Electrical Current) เกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุด
หนึ่งภายในตัวนาไฟฟ้า การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนเกิดจากการนาวัตถุที่มีประจุไฟฟ้าต่างกันนามาวางไว้
ใกล้กันโดยจะใช้ตัวนาทางไฟฟ้าคือ ทองแดง การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่จากวัตถุที่มีประจุไฟฟ้า
บวกไปยังวัตถุ ที่มีประจุไฟฟ้าลบ มีหน่วยเป็น Ampere อักษรย่อคือ " A "
~5~

กระแสไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้า หมายถึง ปริมาณประจุไฟฟ้าที่เคลื่อนที่ผ่านพื้นที่ตัดขวางของตัวนาจากจุดหนึ่งไปยัง
อีกจุดหนึ่งใน 1 หน่วยเวลา
กระแสไฟฟ้าเกิดจากการไหลของประจุไฟฟ้า เนื่องจากประจุไฟฟ้ามี 2 ชนิด จึงเกิดกระแสไฟฟ้า 2
แบบคือ
1. กระแสอิเล็กตรอน เป็นกระแสไฟฟ้าที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนหรือประจุลบ
โดยไหลจากขั้วลบไปยังขั้วบวกของเซลล์ไฟฟ้า
2. กระแสสมมติ เป็นกระแสที่ไม่ได้เกิดขึ้นจริง โดยกาหนดให้ไหลสวนทางกับการไหลของอิเล็กตรอน
โดยไหลจากจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าสูงไปยังจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าต่ากว่า หรือไหลจากขั้วบวกไปยังขั้วลบ
~6~

กระแสไฟฟ้าสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด
1. ไฟฟ้ากระแสตรง Direct Current : DC เป็นกระแสไฟฟ้าที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน
จากแหล่งจ่ายไฟฟ้าไปยังอุปกรณ์ไฟฟ้าใดๆได้เพียงทิศทางเดียว สาหรับแหล่งจ่ายไฟฟ้านั้น มาจากเซลล์
ปฐมภูมิคือถ่านไฟฉาย หรือเซลล์ทุติยภูมิคือ แบตเตอรี่ หรือเครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง

2. ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current : AC เป็นกระแสไฟฟ้าที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน
จากแหล่งจ่ายไฟไปยังอุปกรณ์ไฟฟ้าใดๆโดยมีการเคลื่อนที่กลับไปกลับมาตลอดเวลา สาหรับแหล่งจ่ายไฟนั้น
มาจากเครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับชนิดหนึ่งเฟสหรือเครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับชนิดสามเฟส
~7~

1

D.C.
A.C.
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
~8~

เซลส์ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเป็นพลังงานรูปหนึ่งทีสามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานรูปอื่นได้ง่าย มีแหล่งกาเนิดมาจาก
่
เซลล์ไฟฟ้าเคมี และพลังงานกลจากไดนาโมซึ่งเกิดจากการเหนี่ยวนาในสนามแม่เหล็ก
เซลล์ไฟฟ้าเคมี (Electrical Cell) ทาหน้าทีเปลี่ยนพลังงานจากปฏิกิริยาเคมีมาเป็นพลังงานไฟฟ้า
่
ส่วนประกอบของเซลล์ไฟฟ้าเคมี ได้แก่
1. แผ่นโลหะที่ต่างกัน 2 ชนิด ทาหน้าที่เป็นขั้วไฟฟ้าขั้วบวกและขั้วไฟฟ้าลบ
2. สารละลายที่นาไฟฟ้าได้ (อิเล็กโทรไลต์) ซึ่งจะมีไอออนบวกและไอออนลบ โดยจะต้องจุ่มแผ่น
โลหะทั้งสองชนิดลงในสารละลายที่นาไฟฟ้าได้

แผ่นทองแดง

แผ่นสังกะสี

ภาพแสดงส่วนประกอบของเซลล์ไฟฟ้าเคมี
~9~

หลักการสร้างเซลล์ไฟฟ้าเคมี
1. จุ่มแผ่นโลหะต่างกัน 2 ชนิดลงในสารละลายที่สามารถแตกตัวให้ไอออนบวกและไอออนลบได้
2. โลหะต่างชนิดกันแตกตัวให้อิเล็กตรอนได้ต่างกัน ดังนั้นเมื่อต่อแผ่นโลหะทั้งสองเข้าด้วยกัน โลหะ
ที่แตกตัวให้อิเล็กตรอนได้ดีกว่า จะมีศักย์ไฟฟ้าต่า เรียกว่า ขั้วลบ ส่วนโลหะที่เสียอิเล็กตรอนยากกว่า จะมี
ศักย์ไฟฟ้าสูงกว่า เรียกว่า ขั้วบวก
3. อิเล็กตรอนจะไหลจากขั้วที่มีศักย์ไฟฟ้าต่าไปยังขั้วที่มีศักย์ไฟฟ้าสูง ส่วนกระแสไฟฟ้าจะไหลจาก
ขั้วที่มีศักย์ไฟฟ้าสูงไปยังขั้วที่มีศักย์ไฟฟ้าต่ากว่า
4. กระแสไฟฟ้าจะไหลจนกระทั่งศักย์ไฟฟ้าที่ขั้วทั้งสองเท่ากัน จึงจะหยุดไหล แสดงว่า ไฟหมด
ตัวอย่างเซลล์ไฟฟ้าเคมี
1. ถ่านไฟฉาย เป็นเซลล์แห้ง (Dry cell) สารเคมีที่เป็นอิเล็กโทรไลต์ คือ แอมโมเนียมคลอไรด์
(NH4CI) ส่วนกล่องสังกะสีที่บรรจุสารเคมีเป็นขั้วลบตรงกลางของถ่านไฟฉายมีแท่งคาร์บอนหรือแกรไฟต์ทา
หน้าที่เป็นขั้วบวกถ่านไฟฉาย 1 ก้อน หรือ 1 เซลล์ มีความต่างศักย์ 1.5 โวลต์ เมื่อใช้ไปนานๆ ปฏิกิริยาเคมี
จะน้อยลง(ความต่างศักย์ลดลง) เนื่องจากสารเคมีที่ใช้ทาปฏิกิริยาเหลือน้อยลง ขณะเกิดปฏิกิริยาเคมีจะมีน้า
เกิดขึ้น ดังนั้นเมื่อใช้ไปนาน ๆถ่านไฟฉายจะบวม เยิ้มเปียก แสดงว่าถ่านเสื่อมสภาพ ควรเลิกใช้ เพราะมี
แมงกานีสไดออกไซด์ เป็นสารมีอันตรายถ้าเข้าสู่ร่างกาย จะไปทาลายระบบประสาท
~ 10 ~

2. แบตเตอรี่รถยนต์ คือเซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่ว ผลิตขึ้นโดยนาเซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่วซึ่ง
มีความต่างศักย์ เซลล์ละ 2 โวลต์ มาต่อกันแบบอนุกรม 6 เซลล์ ได้ความต่างศักย์รวม 12 โวลต์ เพือให้มี
่
พลังงานไฟฟ้ามากขึ้น แบตเตอรี่รถยนต์มีความต่างศักย์ 12 โวลต์

ภาพที่แสดงส่วนประกอบของแบตเตอรี่
1. ส่วนประกอบได้แก่ แผ่นตะกั่ว แผ่นตะกั่วออกไซด์ สารละลายกรดซัลฟิวริก
2. ให้ความต่างศักย์ 2 โวลต์ กระแสไฟฟ้าจะไหลจากแผ่นตะกั่วออกไซด์ไปยังแผ่นตะกั่ว
3. เมื่อใช้ไปนาน ๆ จะเกิดตะกั่วซัลเฟต(PbSo4 ) จับที่ขั้วทั้งสอง ทาให้ไม่เกิดความต่างศักย์
กระแสไฟฟ้าจึงหยุดไหล แต่สามารถนาไปประจุไฟฟ้าใหม่ ก็จะได้ ตะกั่ว ตะกั่วออกไซด์ และกรดซัลฟิวริก ซึ่ง
นามาใช้ได้อีก
4. การประจุไฟฟ้า ให้ต่อขั้วลบเข้ากับขั้วลบ ขั้วบวกเข้ากับขั้วบวก
สารตะกั่วมีอันตราย เพราะไปทาลายเม็ดโลหิตแดงและระบบประสาทของร่างกาย ดังนั้นจึงต้อง
ระวังทั้งในกระบวนการผลิต การใช้ และไม่ควรนาไปทิ้งในที่สาธารณะ
ประเภทของเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ยังสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท
1. เซลล์ปฐมภูม(Primary Cell) เมื่อใช้แล้วสารเคมีจะหมดไป เมื่อใช้กระแสไฟฟ้าหมดแล้วไม่
ิ
สามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้อีก เช่น ถ่านไฟฉาย เซลล์อัลคาไลน์
~ 11 ~

2. เซลล์ทุติยภูมิ (Secondary Cell) เมื่อใช้กระแสไฟฟ้าหมดแล้ว สามารถนาไปประจุไฟฟ้า เพือ
่
นากลับมาใช้ใหม่ได้อีก เช่น แบตเตอรรี่รถยนต์
แบบฝึกหัดที่ 2 เรื่องเซลส์ไฟฟ้าเคมี

จงเติมเครื่องหมาย ถูก

หน้าข้อความที่ถูกต้องและเติมเครื่องหมาย กากบาท

หน้าข้อความที่ไม่ถูกต้อง
……

1.

........

2.

……

3.

........

4.

……

5.

……

6.

.......

7.

.......

8.

......

9.

......

10.

ภ
Primary Cell

ภ
2
~ 12 ~

ไดนาโม
ไดนาโม เป็นเครื่องกาเนิดไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานกลเป็นพลังงานไฟฟ้า หลักการเหนี่ยวนาให้เกิด
กระแสไฟฟ้า อาจทาได้โดยการหมุนขดลวดตัดสนามแม่เหล็กจะ ทาให้สนามแม่เหล็กบริเวณขดลวดเกิดการ
เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา จึงเกิดกระแสไฟฟ้าขึ้น ผู้ค้นพบกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนาคือ
ไมเคิล ฟาราเดย์ (Michael Faraday) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ โดยใช้ขดลวดเคลื่อนตัดกับเส้นแรง
แม่เหล็ก
ถ้าต้องการสร้างไดนาโมให้สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้มากขึ้น สามารถทาได้ ดังนี้
1. เพิ่มจานวนรอบของขดลวด
2. เพิ่มแรงขั้วแม่เหล็ก
3. หมุนขดลวดให้เร็วขึ้น

แรงดันไฟฟ้า(Voltage)
เป็นแรงที่ทาให้อิเล็กตรอนเกิดการเคลื่อนที่ หรือแรงที่ทาให้เกิดการไหลของไฟฟ้าโดยแรงดันไฟฟ้าที่
มีระดับต่างกันจะมีปริมาณไฟฟ้าสูงเนื่องจากปริมาณประจุไฟฟ้าทั้งสองด้านมีความแตกต่างกัน
หน่วยของแรงดันไฟฟ้าจะใช้ตัวอักษร V จะแทนคาว่า Volt ซึ่งเป็นหน่วยวัดของแรงดันไฟฟ้า
~ 13 ~

ความต้านทานไฟฟ้า
ความต้านทานไฟฟ้า (Resistance) เป็นการต่อต้านการไหลของกระแสไฟฟ้าของวัตถุซึ่งจะมีค่า
มากหรือค่าน้อยจะขึ้นอยู่กับชนิดของวัตถุนั้นๆ ความต้านทานจะมีหน่วยวัดเป็น โอห์ม และจะใช้สัญลักษณ์
เป็น(Ohms) Ω

ตัวนาไฟฟ้า
ตัวนาไฟฟ้า (Conductors) วัตถุที่กระแสไฟฟ้าสามารถไหลผ่านได้โดยง่ายหรือวัตถุที่มีความ
ต้านทานต่า เช่น ทองแดง อลูมิเนียม ทอง และเงิน ซึ่งเป็นตัวนาไฟฟ้าที่ดีที่สุด ค่าความนาไฟฟ้าจะมี
สัญลักษณ์เป็น G และมีหน่วยเป็น ซีเมนส์ (S) โดยมีสูตรการคานวณดังนี้

G = 1/R
~ 14 ~

ตัวอย่าง
วัตถุชนิดหนึ่งมีค่าความต้านทานไฟฟ้า 25 โอห์ม จงคานวณหาค่าความนาไฟฟ้าของวัตถุชนิดนี้มีค่าเป็นเท่าไร
จากสูตร
G = 1/R
แทนค่า
G = 1/25
คาตอบ = 0.04 S
G = 40 mS
ฉนวนไฟฟ้า
ฉนวนไฟฟ้า Insulators วัตถุที่ซึ่งไม่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไปได้ หรือวัตถุที่มีความ
ต้านทานไฟฟ้าสูง ซึ่งสามารถต้านทานการไหลของกระแสได้ เช่น ไมก้า แก้ว และ พลาสติก
การเปลี่ยนหน่วยทางไฟฟ้า
หน่วยวัดพื้นฐานทางไฟฟ้า ได้แก่ แอมแปร์ A โวลต์ V และโอห์ม W ซึ่ง
แอมแปร์ A =ปริมาณกระแสไฟฟ้า
โวลต์ V=ขนาดของแรงดัน
โอห์ม W=ค่าความต้านทาน
กฎของโอห์ม
กระแสไฟฟ้าที่ไหลในวงจรไฟฟ้าได้นั้น เกิดจากแรงดันไฟฟ้าที่จ่ายให้กับวงจรและปริมาณ
กระแสไฟฟ้าภายในวงจรจะถูกจากัดโดยความต้านทานไฟฟ้าภายในวงจรไฟฟ้านั้นๆ ดังนั้นปริมาณ
กระแสไฟฟ้าภายในวงจรจะขึ้นอยู่กับแรงดันไฟฟ้าและค่าความต้านทานของวงจร ซึ่งวงจรนี้ถูกค้นพบด้วย
George Simon Ohm เป็นนักฟิสิกส์ชาวเยอรมันและนาออกมาเผยแพร่ในปี ค.ศ.1826
~ 15 ~

ซึ่งวงจรนี้เรียกว่า กฎของโอห์ม กล่าวว่ากระแสไฟฟ้าที่ไหลในวงจรจะแปรผันตรงกับแรงดันไฟฟ้าและ
แปรผกผันกับค่าความต้านทานไฟฟ้า โดยเขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้

ตัวอย่าง
จงคานวนหาค่าปริมาณกระแสไฟฟ้าของวงจรไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้าขนาด 50 โวลต์ และมีค่าความ
ต้านทานของวงจรเท่ากับ 5 โอห์ม

วิธีทา

กาลังไฟฟ้า
กาลังไฟฟ้า Electrical Power : P เป็นกาลังไฟฟ้าที่ใช้ไปในการทาให้เกิดพลังงานในรูปต่างๆ เช่น
พลังงานความร้อน พลังงานแสงสว่าง พลังงานกล มีหน่วยเป็น วัตต์ Watt ใช้สัญลักษณ์เป็น " W " ตามชื่อ
ของ James Watt ซึ่งกาลังไฟฟ้ามีสูตรการคานวนดังนี้
~ 16 ~

ตัวอย่าง
จงคานวนหากาลังไฟฟ้าของโหลดของวงจรไฟฟ้าที่มีแรงดัน 200 โวลต์ ตกคร่อมอยู่และมีกระแสไฟฟ้า 1.5
แอมแปร์ ไหลผ่านโหลด
วิธีทา

การวัดกาลังไฟฟ้า
วัตต์มิเตอร์ Wattmeter เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดกาลังไฟฟ้าของอุปกรณ์ไฟฟ้าหรือเครื่องใช้ไฟฟ้า โดย
การวัดจะต้องต่อขั้วไฟให้ถูกต้อง ซึ่งเราจะอ่านค่าของกาลังไฟฟ้าได้โดยตรงจากวัตต์มิเตอร์
~ 17 ~

กิโลวัตต์ - ชั่วโมง
การที่เราจะต้องจ่ายค่าไฟฟ้าทุกๆเดือนเป็นการแสดงค่าใช้จ่ายของพลังงานไฟฟ้าที่ถูกใช้ไปในแต่ละ
เดือนจะวัดในหน่วยที่เรียกว่า กิโลวัตต์ - ชั่วโมง ซึ่งจะมีค่าเท่ากับ 1000 วัตต์ ใน 1 ชั่วโมง และอุปกรณ์ที่วัด
นี้มีชื่อเรียกว่า Kilowatt - Hour meter จึงสามารถนาค่าพลังงานที่วัดมาได้มาใช้ในการคานวนเรียกเก็บ
ค่าใช้จ่ายไฟฟ้าในแต่ละเดือน สามารถคานวนหาค่าพลังงานที่ถูกใช้ไปได้จากสูตรดังต่อไปนี้
พลังงานที่ถูกใช้ไป = กาลังไฟฟ้า x เวลา
ตัวอย่าง
ถ้าหลอดไฟขนาด 100 วัตต์ ถูกเปิดไว้นาน 10 ชั่วโมง จงคานวนหาค่าพลังงานไฟฟ้าที่ถูกใช้ไป
วิธีทา
~ 18 ~

แบบทดสอบ เรื่อง การผลิตกระแสไฟฟา
้
1. จงพิจารณาข้อความในข้อต่อไปนี้ ข้อใด ไม่ ถูกต้อง
ก. แบตเตอรี่รถยนต์ให้ไฟฟ้ากระแสสลับ
ข. เซลล์ไฟฟ้าเคมีทุกชนิดให้ไฟฟ้ากระแสตรง
ค. เกิดการไหลของกระแสไฟฟ้าได้เมื่อมีความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างจุด 2 จุด
ง. ในเซลล์ไฟฟ้าเคมี ถ้ามีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นมาก จะเกิดกระแสไฟฟ้าไดมากด้วย
2. ถ้านาแผ่นสังกะสีทั้ง 2 อัน เสียบเข้ากับผลมะนาว แล้วต่อเข้ากับเครื่องวัดกระแสไฟฟ้า จะมีกระแสไฟฟ้าเกิดขึ้นหรือไม่
เพราะเหตุใด
ก. เกิดเพราะใช้แผ่นสังกะสีขนาดต่างกัน
ข. ไม่เกิด เพราะแผ่นสังกะสีมีขนาดเล็กเกินไป
ค. เกิด เพราะแผ่นสังกะสีทาปฏิกิริยากับน้ามะนาวได้
ง. ไม่เกิด เพราะใช้โลหะชนิดเดียวกัน ทาให้เกิดปฏิกิริยาเคมีเท่ากัน ความต่างศักย์จึงเท่ากันไม่เกิดกระแสไฟฟ้าไหล
3. ไฟฟ้ากระแสสลับและไฟฟ้ากระแสตรงจากไดนาโม จะมีค่ามากหรือน้อย ไม่ เกี่ยวกับข้อใด
ก. ความเร็วของขดลวด
ข. จานวนรอบของขดลวด
ค. ชนิดของแรงหมุนขดลวด
ง. ความเข้มของสนามแม่เหล็ก
4. ไฟฟ้ากระแสตรงและไฟฟ้ากระแสสลับนั้นมีความแตกต่างกันในเรื่องใด
ก. ทิศทางการไหล
ข. ความเข้มของแสง
ค. แหล่งกาเนิดไฟฟ้า
ง. ปริมาณกระแสไฟฟ้า
~ 19 ~
5. การไหลของกระแสไฟฟ้าเปรียบได้กับการเคลื่อนที่ในข้อใดได้ดีที่สุด
ก. ควันไฟ
ข. ลมพัดฝุ่น
ค. น้าในแม่น้า
ง. คลื่นในทะเล

6. ถ้ากระแสไฟฟ้าไหลจากจุด ก ไปยังจุด ข สามารถสรุปได้ตามข้อใด
ก. จุด ก ศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าจุด ข
ข. จุด ข ศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าจุด ก
ค. จุด ก มีความต่างศักย์สูงกว่าจุด ข
ง. จุด ข มีความต่างศักย์สูงกว่าจุด ก
7. ไฟฟ้าที่เกิดจาก แหล่งกาเนิดในข้อใดเป็นไฟฟ้ากระแสตรง
ก. ไดนาโม การเหนี่ยวนา
ข. ถ่านไฟฉาย การเหนี่ยวนา
ค. ไดนาโม แบตเตอรี่รถยนต์
ง. ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่รถยนต์
8. ในเซลล์ไฟฟ้าเคมีอิเล็กตรอนที่เกิดจากการแตกตัวของสังกะสีมีทิศทางการเคลื่อนที่อย่างไร
ก. สังกะสี

สารละลาย

ทองแดง

ข. สังกะสี

ลวดตัวนา

ทองแดง

ค. ทองแดง สารละลาย

สังกะสี

ง. ทองแดง

สังกะสี

ลวดตัวนา
~ 20 ~
9. เมื่อนาแผ่นโลหะ 2 ชนิดจุ่มลงในสารละลายชนิดหนึ่งแล้วต่อแผ่นโลหะทั้งสองด้วยสายไฟเข้ากับแบตเตอรี่ ปรากฏว่าเข็ม
ของแอมมิเตอร์ไม่เบน สามารถคาดคะเนได้อย่างไร
ก. สารละลายที่ใช้เป็นน้า
ข. สารละลายที่ใช้เป็นด่าง
ค. สารละลายที่ใช้ไม่เป็นกรด
ง. คาดคะเนไม่ได้
10. กระแสไฟฟ้าที่เกิดจากการเหนี่ยวนา ได้จากอุปกรณ์ชนิดใด
ก. ไดนาโม

ข. แบตเตอรี่

ค. ถ่านไฟฉาย

ง. โซลาร์เซลล์
~ 21 ~

เฉลยแบบทดสอบ
เรื่องการผลิตกระแสไฟฟา
้

1. ก
2. ง
3. ค
4. ก
5. ค
6. ก
7. ง
8. ข
9. ค
10. ก
~ 22 ~
~ 23 ~

1.3

…X…

1.

..../....

2.

…/…

3.

..../....

4.

…X…

5.

…X…

6.

.../....

8.

...X...

9.

.../...

10.

Primary Cell

7.

.../....

ภ

ภ
2
~ 24 ~
~ 25 ~

More Related Content

What's hot

6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์orasa1971
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558dnavaroj
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบJariya Jaiyot
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันPreeyapat Lengrabam
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีWichai Likitponrak
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศTa Lattapol
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfssuser2feafc1
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 

What's hot (20)

6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 

Viewers also liked

Wp3หน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1
Wp3หน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1Wp3หน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1
Wp3หน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1krupornpana55
 
ทบทวนไฟฟ้าอย่างง่าย
ทบทวนไฟฟ้าอย่างง่ายทบทวนไฟฟ้าอย่างง่าย
ทบทวนไฟฟ้าอย่างง่ายkrupornpana55
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6Supaluk Juntap
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแสหน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแสPornsak Tongma
 
หน่วย1 กฏของโอห์ม
หน่วย1 กฏของโอห์มหน่วย1 กฏของโอห์ม
หน่วย1 กฏของโอห์มPornsak Tongma
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้าเรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทานหน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทานPornsak Tongma
 
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม6
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม6Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม6
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม6krupornpana55
 
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม5
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม5Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม5
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม5krupornpana55
 
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม13
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม13Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม13
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม13krupornpana55
 
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม4
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม4Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม4
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม4krupornpana55
 
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม2
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม2Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม2
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม2krupornpana55
 
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม3
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม3Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม3
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม3krupornpana55
 
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม10
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม10Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม10
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม10krupornpana55
 
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม11
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม11Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม11
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม11krupornpana55
 
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม7
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม7Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม7
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม7krupornpana55
 
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย  3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56Slโครงสร้างวิชา หน่วย  3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56krupornpana55
 
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม9
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม9Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม9
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม9krupornpana55
 

Viewers also liked (20)

Wp3หน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1
Wp3หน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1Wp3หน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1
Wp3หน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1
 
ทบทวนไฟฟ้าอย่างง่าย
ทบทวนไฟฟ้าอย่างง่ายทบทวนไฟฟ้าอย่างง่าย
ทบทวนไฟฟ้าอย่างง่าย
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแสหน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
 
หน่วย1 กฏของโอห์ม
หน่วย1 กฏของโอห์มหน่วย1 กฏของโอห์ม
หน่วย1 กฏของโอห์ม
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3
 
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทานหน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
 
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม6
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม6Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม6
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม6
 
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม5
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม5Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม5
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม5
 
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม13
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม13Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม13
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม13
 
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม4
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม4Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม4
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม4
 
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม2
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม2Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม2
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม2
 
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม3
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม3Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม3
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม3
 
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม10
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม10Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม10
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม10
 
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม11
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม11Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม11
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม11
 
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม7
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม7Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม7
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม7
 
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย  3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56Slโครงสร้างวิชา หน่วย  3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56
 
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม9
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม9Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม9
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม9
 

Similar to วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3

ฟิสิกส์ ใบงาน10
ฟิสิกส์ ใบงาน10ฟิสิกส์ ใบงาน10
ฟิสิกส์ ใบงาน10Nann 'mlemell
 
10.1 dynamo 2
10.1 dynamo 210.1 dynamo 2
10.1 dynamo 23cha_sp
 
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้างานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้าSarun Boonwong
 
งานว ทย 2
งานว ทย 2งานว ทย 2
งานว ทย 2thanawan302
 
งานว ทย 2
งานว ทย 2งานว ทย 2
งานว ทย 2thanawan302
 
พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)Nontawat Rupsung
 
พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)Nontawat Rupsung
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าthanawan302
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบันเครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบันfghfhtruru
 
งานไฟฟ้า
งานไฟฟ้างานไฟฟ้า
งานไฟฟ้าfghfhtruru
 
งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์thanawan302
 
งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์thanawan302
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าthanawan302
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าthanawan302
 
งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์thanawan302
 
การค้นพบไฟฟ้า
การค้นพบไฟฟ้าการค้นพบไฟฟ้า
การค้นพบไฟฟ้าJiraporn Chaimongkol
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าrattanapon
 

Similar to วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3 (20)

ฟิสิกส์ ใบงาน10
ฟิสิกส์ ใบงาน10ฟิสิกส์ ใบงาน10
ฟิสิกส์ ใบงาน10
 
10.1 dynamo 2
10.1 dynamo 210.1 dynamo 2
10.1 dynamo 2
 
ใบความรู้.05
ใบความรู้.05ใบความรู้.05
ใบความรู้.05
 
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้างานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งานว ทย 2
งานว ทย 2งานว ทย 2
งานว ทย 2
 
งานว ทย 2
งานว ทย 2งานว ทย 2
งานว ทย 2
 
พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)
 
พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)
 
การนำไฟฟ้า (Conductivity)
การนำไฟฟ้า (Conductivity)การนำไฟฟ้า (Conductivity)
การนำไฟฟ้า (Conductivity)
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบันเครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
 
งานไฟฟ้า
งานไฟฟ้างานไฟฟ้า
งานไฟฟ้า
 
งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์
 
งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์
 
การค้นพบไฟฟ้า
การค้นพบไฟฟ้าการค้นพบไฟฟ้า
การค้นพบไฟฟ้า
 
Lesson15
Lesson15Lesson15
Lesson15
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้า
 

วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3

  • 2. ~1~ ไฟฟ้าเบื้องต้น ประจุไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า ชาวกรีกโบราณเป็นผู้พบไฟฟ้าเป็นครั้งแรกเมื่อประมาณ 2,000 ปี มาแล้ว แต่ยังไม่รู้จักใช้ เรารู้จักใช้ไฟฟ้าให้เกิดประโยชน์ เมื่อประมาณ 150 ปี ที่ผ่านมาเท่านั้น พวกเขารู้ว่าอาพันซึ่งเป็นยางไม้ ที่กลายเป็นซากดึกดาบรรพ์ สามารถยกขนนกได้ เมื่อมันถูกขัดถู กับผ้าไหม เราเรียกว่าไฟฟ้า หรืออิเล็กตรอน มาจากคาภาษากรีกว่า “อิเล็กตร้า” ที่แปลว่าอาพัน ไฟฟ้าเป็นพลังงานรูปหนึ่ง สามารถทาให้เกิดสิ่งต่าง ๆได้ เช่น ทาให้เครื่องปิ้งขนมปังร้อนขึ้น และทาให้ดวงไฟสว่าง การที่วัตถุมีประจุไฟฟ้าเพราะอะตอมของวัตถุประกอบด้วย อิเล็กตรอน (Electron) โปรตอน (Proton) และนิวตรอน (Neutron) โดยโปรตอนและนิวตรอนอยู่ที่แกนกลางหรือนิวเคลียสของอะตอม ส่วนอิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่วนรอบ ๆ นิวเคลียส ประจุไฟฟ้าคือสิ่งที่แสดงอานาจทางไฟฟ้ามี 2 ชนิด คือประจุบวกและประจุลบ อิเล็กตรอนเป็นประจุลบ และ โปรตอนเป็นประจุบวก ส่วนนิวตรอนไม่มีประจุไฟฟ้าหรือเป็นกลาง เราสามารถจาแนกชนิดของวัตถุโดย พิจารณาจากประจุไฟฟ้าได้ดังนี้
  • 3. ~2~ จาแนกชนิดของวัตถุจากประจุไฟฟ้า 1. วัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้า คือวัตถุที่ไม่แสดงอานาจทางไฟฟ้า คือไม่ดึงดูดวัตถุใด ๆ เนื่องจาก วัตถุมีจานวนโปรตอน (+) เท่ากับจานวนอิเล็กตรอน (- ) ตัวอย่างได้แก่วัตถุทั่ว ๆ ไป 2. วัตถุที่แสดงอานาจทางไฟฟ้า คือวัตถุที่สามารถดึงดูดวัตถุใด ๆได้ เนื่องจากวัตถุมีจานวน โปรตอนไม่เท่ากับจานวนอิเล็กตรอน ถ้าวัตถุมีจานวนโปรตอน (+) มากกว่าจานวนอิเล็กตรอน (- ) วัตถุจะ แสดงอานาจไฟฟ้าเป็นบวก และถ้าวัตถุมีจานวนโปรตอนน้อยกว่าอิเล็กตรอน วัตถุนั้นจะแสดงอานาจไฟฟ้า เป็นลบ ในฤดูหนาวเมื่อเราใช้หวีพลาสติกหวีผม แล้วนาหวีไปใกล้เศษกระดาษชิ้นเล็ก ๆ จะพบว่าเศษกระดาษ ถูกดูดขึ้นมาติดกับหวี ที่เป็นเช่นนี้เนื่องจากหวีพลาสติกมีประจุไฟฟ้า ประจุไฟฟ้าที่เกิดขึ้นเป็นไฟฟ้าสถิต ถ้า ประจุไฟฟ้าไม่เคลื่อนที่ เรียกว่าไฟฟ้าสถิต (Static Electricity) แต่ถ้าประจุไฟฟ้ามีการเคลื่อนที่ เรียกว่า ไฟฟ้ากระแส (Current Electricity) ห้ามลืม ถ้าประจุไฟฟ้าชนิดเดียวกันจะผลักกัน และถ้าเป็นประจุไฟฟ้าต่างชนิดกันจะดูดกัน แหล่งกาเนิดไฟฟ้า แหล่งกาเนิดไฟฟ้าหรือแหล่งจ่ายไฟฟ้า คือ แหล่งที่จ่ายพลังงานศักย์ไฟฟ้า หรืออาจเรียกว่า แรงเคลื่อนไฟฟ้า ออกมาใช้งานกับอุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วๆไปสามารถแบ่งออกเป็น 6 ชนิดใหญ่ๆคือ 1. แบตเตอรี่ 4. การขัดสี 2. เซลล์แสงอาทิตย์ 5. ความร้อน 3. สนามแม่เหล็ก 6. แรงกด 7. แหล่งจ่ายไฟฟ้าแบบอิเล็กทรอนิกส์
  • 4. ~3~ แบตเตอรี่ เป็นแหล่งกาเนิดไฟฟ้าที่อาศัยหลักการเปลี่ยนแปลงพลังงานเคมีให้เป็นพลังงานไฟฟ้า แบตเตอรี่ ประกอบด้วยเซลล์ไฟฟ้าตั้งแต่ 1 เซลล์ หรือมากกว่า โดยเซลล์นี้จะเชื่อมต่อเข้าด้วยกันทางไฟฟ้าซึ่งจะ ประกอบด้วยอุปกรณ์พื้นฐาน 4 ส่วน 1. ขั้วบวก (Positive Electrode) 2. ขั้วลบ (Negative Electrode) 3. อิเล็กโทรไลต์ (Electrolyte) 4. ตัวขั้นเซลล์ (Seperator) สาหรับการแบ่งกลุ่มของแบตเตอรี่ สามารถแบ่งได้ 2 กลุ่มหลักดังนี้ 1. แบตเตอรี่แบบปฐมภูมิ (Primary Battery) เช่น ถ่านไฟฉาย 2. แบตเตอรี่แบบทุติยภูมิ (Secondary Battery) เช่น ถ่านแบบชาร์ทได้ แบตเตอรี่ แบตเตอรี่แบบปฐมภูมิ หมายถึง แบตเตอรี่ที่ใช้งานได้เพียงครั้งเดียวและเมื่อประจุไฟหมดแล้วจะต้องทิ้งไป ทั้งนี้เนื่องจากไม่สามารถทาให้เกิดปฏิกิริยาทางเคมีแบบย้อนกลับใหม่ได้ ส่วนแบตเตอรี่ทุติยภูมิสามารถจะทา ปฏิกิริยาทางเคมีแบบย้อนกลับได้ ดังนั้น จึงสามารถทาการเก็บประจุไฟใหม่และนากลับมาใช้งานได้อีก เซลล์แสงอาทิตย์ เป็นแหล่งกาเนิดพลังงานไฟฟ้าที่อาศัยหลักการเปลี่ยนแปลงพลังงานแสงให้เป็นพลังงานไฟฟ้า โครงสร้างของเซลล์แสงอาทิตย์ประกอบด้วยสารกึ่งตัวนา 2 ชนิด เชื่อมกันเพื่อให้เกิดรอยต่อ เมื่อผิวของสาร กึ่งตัวนาด้านหนึ่งถูกแสงจะทาให้อิเล็กตรอนได้รับพลังงานเพียงพอจะทาให้อะตอมเคลื่อนที่ข้ามรอยต่อทาให้ เกิดความต่างศักย์ไฟฟ้า
  • 5. ~4~ สนามแม่เหล็ก เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าทีเปลี่ยนพลังงานกลให้เป็นพลังงานไฟฟ้า โดยอาศัยหลักการเหนียวนา ่ ่ แม่เหล็กไฟฟ้า หลักการทางานโดยการทาให้ตัวนาหมุนตัดผ่านสนามแม่เหล็กซึ่งการจัดการทางานลักษณะ เช่นนี้ทาให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนาผ่านตัวนาที่หมุนอยู่ และสามารถต่อแรงดันไฟฟ้านี้ออกไปใช้งาน ภายนอกได้ หน่วยวัดทางไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า (Electrical Current) เกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุด หนึ่งภายในตัวนาไฟฟ้า การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนเกิดจากการนาวัตถุที่มีประจุไฟฟ้าต่างกันนามาวางไว้ ใกล้กันโดยจะใช้ตัวนาทางไฟฟ้าคือ ทองแดง การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่จากวัตถุที่มีประจุไฟฟ้า บวกไปยังวัตถุ ที่มีประจุไฟฟ้าลบ มีหน่วยเป็น Ampere อักษรย่อคือ " A "
  • 6. ~5~ กระแสไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า หมายถึง ปริมาณประจุไฟฟ้าที่เคลื่อนที่ผ่านพื้นที่ตัดขวางของตัวนาจากจุดหนึ่งไปยัง อีกจุดหนึ่งใน 1 หน่วยเวลา กระแสไฟฟ้าเกิดจากการไหลของประจุไฟฟ้า เนื่องจากประจุไฟฟ้ามี 2 ชนิด จึงเกิดกระแสไฟฟ้า 2 แบบคือ 1. กระแสอิเล็กตรอน เป็นกระแสไฟฟ้าที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนหรือประจุลบ โดยไหลจากขั้วลบไปยังขั้วบวกของเซลล์ไฟฟ้า 2. กระแสสมมติ เป็นกระแสที่ไม่ได้เกิดขึ้นจริง โดยกาหนดให้ไหลสวนทางกับการไหลของอิเล็กตรอน โดยไหลจากจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าสูงไปยังจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าต่ากว่า หรือไหลจากขั้วบวกไปยังขั้วลบ
  • 7. ~6~ กระแสไฟฟ้าสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด 1. ไฟฟ้ากระแสตรง Direct Current : DC เป็นกระแสไฟฟ้าที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน จากแหล่งจ่ายไฟฟ้าไปยังอุปกรณ์ไฟฟ้าใดๆได้เพียงทิศทางเดียว สาหรับแหล่งจ่ายไฟฟ้านั้น มาจากเซลล์ ปฐมภูมิคือถ่านไฟฉาย หรือเซลล์ทุติยภูมิคือ แบตเตอรี่ หรือเครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง 2. ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current : AC เป็นกระแสไฟฟ้าที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน จากแหล่งจ่ายไฟไปยังอุปกรณ์ไฟฟ้าใดๆโดยมีการเคลื่อนที่กลับไปกลับมาตลอดเวลา สาหรับแหล่งจ่ายไฟนั้น มาจากเครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับชนิดหนึ่งเฟสหรือเครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับชนิดสามเฟส
  • 9. ~8~ เซลส์ไฟฟ้าเคมี ไฟฟ้าเป็นพลังงานรูปหนึ่งทีสามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานรูปอื่นได้ง่าย มีแหล่งกาเนิดมาจาก ่ เซลล์ไฟฟ้าเคมี และพลังงานกลจากไดนาโมซึ่งเกิดจากการเหนี่ยวนาในสนามแม่เหล็ก เซลล์ไฟฟ้าเคมี (Electrical Cell) ทาหน้าทีเปลี่ยนพลังงานจากปฏิกิริยาเคมีมาเป็นพลังงานไฟฟ้า ่ ส่วนประกอบของเซลล์ไฟฟ้าเคมี ได้แก่ 1. แผ่นโลหะที่ต่างกัน 2 ชนิด ทาหน้าที่เป็นขั้วไฟฟ้าขั้วบวกและขั้วไฟฟ้าลบ 2. สารละลายที่นาไฟฟ้าได้ (อิเล็กโทรไลต์) ซึ่งจะมีไอออนบวกและไอออนลบ โดยจะต้องจุ่มแผ่น โลหะทั้งสองชนิดลงในสารละลายที่นาไฟฟ้าได้ แผ่นทองแดง แผ่นสังกะสี ภาพแสดงส่วนประกอบของเซลล์ไฟฟ้าเคมี
  • 10. ~9~ หลักการสร้างเซลล์ไฟฟ้าเคมี 1. จุ่มแผ่นโลหะต่างกัน 2 ชนิดลงในสารละลายที่สามารถแตกตัวให้ไอออนบวกและไอออนลบได้ 2. โลหะต่างชนิดกันแตกตัวให้อิเล็กตรอนได้ต่างกัน ดังนั้นเมื่อต่อแผ่นโลหะทั้งสองเข้าด้วยกัน โลหะ ที่แตกตัวให้อิเล็กตรอนได้ดีกว่า จะมีศักย์ไฟฟ้าต่า เรียกว่า ขั้วลบ ส่วนโลหะที่เสียอิเล็กตรอนยากกว่า จะมี ศักย์ไฟฟ้าสูงกว่า เรียกว่า ขั้วบวก 3. อิเล็กตรอนจะไหลจากขั้วที่มีศักย์ไฟฟ้าต่าไปยังขั้วที่มีศักย์ไฟฟ้าสูง ส่วนกระแสไฟฟ้าจะไหลจาก ขั้วที่มีศักย์ไฟฟ้าสูงไปยังขั้วที่มีศักย์ไฟฟ้าต่ากว่า 4. กระแสไฟฟ้าจะไหลจนกระทั่งศักย์ไฟฟ้าที่ขั้วทั้งสองเท่ากัน จึงจะหยุดไหล แสดงว่า ไฟหมด ตัวอย่างเซลล์ไฟฟ้าเคมี 1. ถ่านไฟฉาย เป็นเซลล์แห้ง (Dry cell) สารเคมีที่เป็นอิเล็กโทรไลต์ คือ แอมโมเนียมคลอไรด์ (NH4CI) ส่วนกล่องสังกะสีที่บรรจุสารเคมีเป็นขั้วลบตรงกลางของถ่านไฟฉายมีแท่งคาร์บอนหรือแกรไฟต์ทา หน้าที่เป็นขั้วบวกถ่านไฟฉาย 1 ก้อน หรือ 1 เซลล์ มีความต่างศักย์ 1.5 โวลต์ เมื่อใช้ไปนานๆ ปฏิกิริยาเคมี จะน้อยลง(ความต่างศักย์ลดลง) เนื่องจากสารเคมีที่ใช้ทาปฏิกิริยาเหลือน้อยลง ขณะเกิดปฏิกิริยาเคมีจะมีน้า เกิดขึ้น ดังนั้นเมื่อใช้ไปนาน ๆถ่านไฟฉายจะบวม เยิ้มเปียก แสดงว่าถ่านเสื่อมสภาพ ควรเลิกใช้ เพราะมี แมงกานีสไดออกไซด์ เป็นสารมีอันตรายถ้าเข้าสู่ร่างกาย จะไปทาลายระบบประสาท
  • 11. ~ 10 ~ 2. แบตเตอรี่รถยนต์ คือเซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่ว ผลิตขึ้นโดยนาเซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่วซึ่ง มีความต่างศักย์ เซลล์ละ 2 โวลต์ มาต่อกันแบบอนุกรม 6 เซลล์ ได้ความต่างศักย์รวม 12 โวลต์ เพือให้มี ่ พลังงานไฟฟ้ามากขึ้น แบตเตอรี่รถยนต์มีความต่างศักย์ 12 โวลต์ ภาพที่แสดงส่วนประกอบของแบตเตอรี่ 1. ส่วนประกอบได้แก่ แผ่นตะกั่ว แผ่นตะกั่วออกไซด์ สารละลายกรดซัลฟิวริก 2. ให้ความต่างศักย์ 2 โวลต์ กระแสไฟฟ้าจะไหลจากแผ่นตะกั่วออกไซด์ไปยังแผ่นตะกั่ว 3. เมื่อใช้ไปนาน ๆ จะเกิดตะกั่วซัลเฟต(PbSo4 ) จับที่ขั้วทั้งสอง ทาให้ไม่เกิดความต่างศักย์ กระแสไฟฟ้าจึงหยุดไหล แต่สามารถนาไปประจุไฟฟ้าใหม่ ก็จะได้ ตะกั่ว ตะกั่วออกไซด์ และกรดซัลฟิวริก ซึ่ง นามาใช้ได้อีก 4. การประจุไฟฟ้า ให้ต่อขั้วลบเข้ากับขั้วลบ ขั้วบวกเข้ากับขั้วบวก สารตะกั่วมีอันตราย เพราะไปทาลายเม็ดโลหิตแดงและระบบประสาทของร่างกาย ดังนั้นจึงต้อง ระวังทั้งในกระบวนการผลิต การใช้ และไม่ควรนาไปทิ้งในที่สาธารณะ ประเภทของเซลล์ไฟฟ้าเคมี ยังสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท 1. เซลล์ปฐมภูม(Primary Cell) เมื่อใช้แล้วสารเคมีจะหมดไป เมื่อใช้กระแสไฟฟ้าหมดแล้วไม่ ิ สามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้อีก เช่น ถ่านไฟฉาย เซลล์อัลคาไลน์
  • 12. ~ 11 ~ 2. เซลล์ทุติยภูมิ (Secondary Cell) เมื่อใช้กระแสไฟฟ้าหมดแล้ว สามารถนาไปประจุไฟฟ้า เพือ ่ นากลับมาใช้ใหม่ได้อีก เช่น แบตเตอรรี่รถยนต์ แบบฝึกหัดที่ 2 เรื่องเซลส์ไฟฟ้าเคมี จงเติมเครื่องหมาย ถูก หน้าข้อความที่ถูกต้องและเติมเครื่องหมาย กากบาท หน้าข้อความที่ไม่ถูกต้อง …… 1. ........ 2. …… 3. ........ 4. …… 5. …… 6. ....... 7. ....... 8. ...... 9. ...... 10. ภ Primary Cell ภ 2
  • 13. ~ 12 ~ ไดนาโม ไดนาโม เป็นเครื่องกาเนิดไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานกลเป็นพลังงานไฟฟ้า หลักการเหนี่ยวนาให้เกิด กระแสไฟฟ้า อาจทาได้โดยการหมุนขดลวดตัดสนามแม่เหล็กจะ ทาให้สนามแม่เหล็กบริเวณขดลวดเกิดการ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา จึงเกิดกระแสไฟฟ้าขึ้น ผู้ค้นพบกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนาคือ ไมเคิล ฟาราเดย์ (Michael Faraday) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ โดยใช้ขดลวดเคลื่อนตัดกับเส้นแรง แม่เหล็ก ถ้าต้องการสร้างไดนาโมให้สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้มากขึ้น สามารถทาได้ ดังนี้ 1. เพิ่มจานวนรอบของขดลวด 2. เพิ่มแรงขั้วแม่เหล็ก 3. หมุนขดลวดให้เร็วขึ้น แรงดันไฟฟ้า(Voltage) เป็นแรงที่ทาให้อิเล็กตรอนเกิดการเคลื่อนที่ หรือแรงที่ทาให้เกิดการไหลของไฟฟ้าโดยแรงดันไฟฟ้าที่ มีระดับต่างกันจะมีปริมาณไฟฟ้าสูงเนื่องจากปริมาณประจุไฟฟ้าทั้งสองด้านมีความแตกต่างกัน หน่วยของแรงดันไฟฟ้าจะใช้ตัวอักษร V จะแทนคาว่า Volt ซึ่งเป็นหน่วยวัดของแรงดันไฟฟ้า
  • 14. ~ 13 ~ ความต้านทานไฟฟ้า ความต้านทานไฟฟ้า (Resistance) เป็นการต่อต้านการไหลของกระแสไฟฟ้าของวัตถุซึ่งจะมีค่า มากหรือค่าน้อยจะขึ้นอยู่กับชนิดของวัตถุนั้นๆ ความต้านทานจะมีหน่วยวัดเป็น โอห์ม และจะใช้สัญลักษณ์ เป็น(Ohms) Ω ตัวนาไฟฟ้า ตัวนาไฟฟ้า (Conductors) วัตถุที่กระแสไฟฟ้าสามารถไหลผ่านได้โดยง่ายหรือวัตถุที่มีความ ต้านทานต่า เช่น ทองแดง อลูมิเนียม ทอง และเงิน ซึ่งเป็นตัวนาไฟฟ้าที่ดีที่สุด ค่าความนาไฟฟ้าจะมี สัญลักษณ์เป็น G และมีหน่วยเป็น ซีเมนส์ (S) โดยมีสูตรการคานวณดังนี้ G = 1/R
  • 15. ~ 14 ~ ตัวอย่าง วัตถุชนิดหนึ่งมีค่าความต้านทานไฟฟ้า 25 โอห์ม จงคานวณหาค่าความนาไฟฟ้าของวัตถุชนิดนี้มีค่าเป็นเท่าไร จากสูตร G = 1/R แทนค่า G = 1/25 คาตอบ = 0.04 S G = 40 mS ฉนวนไฟฟ้า ฉนวนไฟฟ้า Insulators วัตถุที่ซึ่งไม่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไปได้ หรือวัตถุที่มีความ ต้านทานไฟฟ้าสูง ซึ่งสามารถต้านทานการไหลของกระแสได้ เช่น ไมก้า แก้ว และ พลาสติก การเปลี่ยนหน่วยทางไฟฟ้า หน่วยวัดพื้นฐานทางไฟฟ้า ได้แก่ แอมแปร์ A โวลต์ V และโอห์ม W ซึ่ง แอมแปร์ A =ปริมาณกระแสไฟฟ้า โวลต์ V=ขนาดของแรงดัน โอห์ม W=ค่าความต้านทาน กฎของโอห์ม กระแสไฟฟ้าที่ไหลในวงจรไฟฟ้าได้นั้น เกิดจากแรงดันไฟฟ้าที่จ่ายให้กับวงจรและปริมาณ กระแสไฟฟ้าภายในวงจรจะถูกจากัดโดยความต้านทานไฟฟ้าภายในวงจรไฟฟ้านั้นๆ ดังนั้นปริมาณ กระแสไฟฟ้าภายในวงจรจะขึ้นอยู่กับแรงดันไฟฟ้าและค่าความต้านทานของวงจร ซึ่งวงจรนี้ถูกค้นพบด้วย George Simon Ohm เป็นนักฟิสิกส์ชาวเยอรมันและนาออกมาเผยแพร่ในปี ค.ศ.1826
  • 16. ~ 15 ~ ซึ่งวงจรนี้เรียกว่า กฎของโอห์ม กล่าวว่ากระแสไฟฟ้าที่ไหลในวงจรจะแปรผันตรงกับแรงดันไฟฟ้าและ แปรผกผันกับค่าความต้านทานไฟฟ้า โดยเขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้ ตัวอย่าง จงคานวนหาค่าปริมาณกระแสไฟฟ้าของวงจรไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้าขนาด 50 โวลต์ และมีค่าความ ต้านทานของวงจรเท่ากับ 5 โอห์ม วิธีทา กาลังไฟฟ้า กาลังไฟฟ้า Electrical Power : P เป็นกาลังไฟฟ้าที่ใช้ไปในการทาให้เกิดพลังงานในรูปต่างๆ เช่น พลังงานความร้อน พลังงานแสงสว่าง พลังงานกล มีหน่วยเป็น วัตต์ Watt ใช้สัญลักษณ์เป็น " W " ตามชื่อ ของ James Watt ซึ่งกาลังไฟฟ้ามีสูตรการคานวนดังนี้
  • 17. ~ 16 ~ ตัวอย่าง จงคานวนหากาลังไฟฟ้าของโหลดของวงจรไฟฟ้าที่มีแรงดัน 200 โวลต์ ตกคร่อมอยู่และมีกระแสไฟฟ้า 1.5 แอมแปร์ ไหลผ่านโหลด วิธีทา การวัดกาลังไฟฟ้า วัตต์มิเตอร์ Wattmeter เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดกาลังไฟฟ้าของอุปกรณ์ไฟฟ้าหรือเครื่องใช้ไฟฟ้า โดย การวัดจะต้องต่อขั้วไฟให้ถูกต้อง ซึ่งเราจะอ่านค่าของกาลังไฟฟ้าได้โดยตรงจากวัตต์มิเตอร์
  • 18. ~ 17 ~ กิโลวัตต์ - ชั่วโมง การที่เราจะต้องจ่ายค่าไฟฟ้าทุกๆเดือนเป็นการแสดงค่าใช้จ่ายของพลังงานไฟฟ้าที่ถูกใช้ไปในแต่ละ เดือนจะวัดในหน่วยที่เรียกว่า กิโลวัตต์ - ชั่วโมง ซึ่งจะมีค่าเท่ากับ 1000 วัตต์ ใน 1 ชั่วโมง และอุปกรณ์ที่วัด นี้มีชื่อเรียกว่า Kilowatt - Hour meter จึงสามารถนาค่าพลังงานที่วัดมาได้มาใช้ในการคานวนเรียกเก็บ ค่าใช้จ่ายไฟฟ้าในแต่ละเดือน สามารถคานวนหาค่าพลังงานที่ถูกใช้ไปได้จากสูตรดังต่อไปนี้ พลังงานที่ถูกใช้ไป = กาลังไฟฟ้า x เวลา ตัวอย่าง ถ้าหลอดไฟขนาด 100 วัตต์ ถูกเปิดไว้นาน 10 ชั่วโมง จงคานวนหาค่าพลังงานไฟฟ้าที่ถูกใช้ไป วิธีทา
  • 19. ~ 18 ~ แบบทดสอบ เรื่อง การผลิตกระแสไฟฟา ้ 1. จงพิจารณาข้อความในข้อต่อไปนี้ ข้อใด ไม่ ถูกต้อง ก. แบตเตอรี่รถยนต์ให้ไฟฟ้ากระแสสลับ ข. เซลล์ไฟฟ้าเคมีทุกชนิดให้ไฟฟ้ากระแสตรง ค. เกิดการไหลของกระแสไฟฟ้าได้เมื่อมีความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างจุด 2 จุด ง. ในเซลล์ไฟฟ้าเคมี ถ้ามีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นมาก จะเกิดกระแสไฟฟ้าไดมากด้วย 2. ถ้านาแผ่นสังกะสีทั้ง 2 อัน เสียบเข้ากับผลมะนาว แล้วต่อเข้ากับเครื่องวัดกระแสไฟฟ้า จะมีกระแสไฟฟ้าเกิดขึ้นหรือไม่ เพราะเหตุใด ก. เกิดเพราะใช้แผ่นสังกะสีขนาดต่างกัน ข. ไม่เกิด เพราะแผ่นสังกะสีมีขนาดเล็กเกินไป ค. เกิด เพราะแผ่นสังกะสีทาปฏิกิริยากับน้ามะนาวได้ ง. ไม่เกิด เพราะใช้โลหะชนิดเดียวกัน ทาให้เกิดปฏิกิริยาเคมีเท่ากัน ความต่างศักย์จึงเท่ากันไม่เกิดกระแสไฟฟ้าไหล 3. ไฟฟ้ากระแสสลับและไฟฟ้ากระแสตรงจากไดนาโม จะมีค่ามากหรือน้อย ไม่ เกี่ยวกับข้อใด ก. ความเร็วของขดลวด ข. จานวนรอบของขดลวด ค. ชนิดของแรงหมุนขดลวด ง. ความเข้มของสนามแม่เหล็ก 4. ไฟฟ้ากระแสตรงและไฟฟ้ากระแสสลับนั้นมีความแตกต่างกันในเรื่องใด ก. ทิศทางการไหล ข. ความเข้มของแสง ค. แหล่งกาเนิดไฟฟ้า ง. ปริมาณกระแสไฟฟ้า
  • 20. ~ 19 ~ 5. การไหลของกระแสไฟฟ้าเปรียบได้กับการเคลื่อนที่ในข้อใดได้ดีที่สุด ก. ควันไฟ ข. ลมพัดฝุ่น ค. น้าในแม่น้า ง. คลื่นในทะเล 6. ถ้ากระแสไฟฟ้าไหลจากจุด ก ไปยังจุด ข สามารถสรุปได้ตามข้อใด ก. จุด ก ศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าจุด ข ข. จุด ข ศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าจุด ก ค. จุด ก มีความต่างศักย์สูงกว่าจุด ข ง. จุด ข มีความต่างศักย์สูงกว่าจุด ก 7. ไฟฟ้าที่เกิดจาก แหล่งกาเนิดในข้อใดเป็นไฟฟ้ากระแสตรง ก. ไดนาโม การเหนี่ยวนา ข. ถ่านไฟฉาย การเหนี่ยวนา ค. ไดนาโม แบตเตอรี่รถยนต์ ง. ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่รถยนต์ 8. ในเซลล์ไฟฟ้าเคมีอิเล็กตรอนที่เกิดจากการแตกตัวของสังกะสีมีทิศทางการเคลื่อนที่อย่างไร ก. สังกะสี สารละลาย ทองแดง ข. สังกะสี ลวดตัวนา ทองแดง ค. ทองแดง สารละลาย สังกะสี ง. ทองแดง สังกะสี ลวดตัวนา
  • 21. ~ 20 ~ 9. เมื่อนาแผ่นโลหะ 2 ชนิดจุ่มลงในสารละลายชนิดหนึ่งแล้วต่อแผ่นโลหะทั้งสองด้วยสายไฟเข้ากับแบตเตอรี่ ปรากฏว่าเข็ม ของแอมมิเตอร์ไม่เบน สามารถคาดคะเนได้อย่างไร ก. สารละลายที่ใช้เป็นน้า ข. สารละลายที่ใช้เป็นด่าง ค. สารละลายที่ใช้ไม่เป็นกรด ง. คาดคะเนไม่ได้ 10. กระแสไฟฟ้าที่เกิดจากการเหนี่ยวนา ได้จากอุปกรณ์ชนิดใด ก. ไดนาโม ข. แบตเตอรี่ ค. ถ่านไฟฉาย ง. โซลาร์เซลล์