SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
การปกครองประชาธิปไตย แบบ
กึ่งรัฐสภา กึงประธานาธิบดี กับ
             ่
    การปกครองระบอบอืน ๆ่
รายชื่อผู้จัดทำา
   เด็กชายเสกสิทธิ์ สกุลแก้ว
   เด็กหญิงณัฏฐนิช ชายหิน
    เด็กหญิงธิตยา ขุขันธิน
  เด็กหญิงนรนาถ ยิ่งคำาแหง
เด็กหญิงณัฐรดา เพิ่มเบญจบุญ
   เด็กหญิงสุธารัตน์ สาธุการ
การปกครองแบบประชาธิปไตย
      ประชาธิปไตยเป็นระบอบการปกครองแบบหนึง   ่
ซึงบริหารอำานาจรัฐมาจากเสียงข้างมากของพลเมือง ผู้
  ่
เป็นเจ้าของอำานาจอธิปไตย โดยพลเมืองอาจใช้อำานาจ
ของตนโดยตรงหรือผ่านผู้แทนทีตนเลือกไปใช้อำานาจ
                             ่
แทนก็ได้ ประชาธิปไตยยังเป็นอุดมคติทว่าพลเมืองทุก
                                   ี่
คนในชาติร่วมกันพิจารณากฎหมายและการปฏิบัติของ
รัฐ และกำาหนดให้พลเมืองทุกคนมีโอกาสเท่าเทียมกัน
ในการแสดงความยินยอมและเจตนาของตน
ประชาธิปไตยเกิดขึ้นในบางนครรัฐกรีกโบราณช่วง
ศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล
การปกครองแบบประชาธิปไตย
• ประชาธิปไตยในปัจจุบันเป็น
  ประชาธิป ไตยแบบมีผ ู้แ ทน โดยสาธารณะออกเสียง
  ในการเลือกตั้งและเลือกนักการเมืองเป็นผู้แทนตนใน
  รัฐสภา จากนัน สมาชิกสภาจะเป็นผู้ตัดสินใจด้วยเสียง
                ้
  ข้างมาก ประชาธิปไตยทางตรงยังมีอยูในระดับท้องถิ่น
                                      ่
  หลายประเทศ เช่น การเลือกตั้งสมาชิกเทศบาล
   อย่างไรก็ดี ในระดับชาติ ความเป็นประชาธิปไตยทาง
  ตรงมีเพียงการลงประชามติ การริเริ่มออกกฎหมายและ
  การถอดถอนผู้ได้รับเลือกตั้งประชาธิปไตยมักถูกเข้าใจ
  สับสนกับระบอบการปกครองแบบสาธารณรัฐ อย่างไรก็
  ดี แม้การดำาเนินการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย
  แม้จะได้รับความนิยมมากในปัจจุบัน แต่ต้องเผชิญกับ
  ปัญหาหลายประการทีเกิดขึ้นในปัจจุบัน อย่างเช่น ข้อ
                       ่
  พิพาทเกี่ยวกับดินแดน การอพยพเข้าเมือง และการ
  กีดกันกลุ่มประชากรบางชาติพันธุ์ เป็นต้น
การปกครองแบบประชาธิปไตย
• ระบบรัฐ สภา ประชาธิปไตยระบบรัฐสภาเป็น
  ประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน ซึ่งรัฐบาลได้รับแต่งตั้งจาก
  ผู้แทน รัฐบาลบริหารประเทศโดยมอบหน้าทีให้คณะ่
  รัฐมนตรีทำาหน้าทีบริหาร ตลอดจนถูกวิจารณ์ ตรวจ
                    ่
  สอบและถ่วงดุลอย่างต่อเนื่องโดยสภานิติบัญญัติซึ่งได้
  รับเลือกจากประชาชน ระบบรัฐสภามีสิทธิถอดถอนนาย
  รัฐมนตรีได้เมือถึงเวลาที่สภาเห็นว่าผู้นนทำาหน้าทีไม่
                  ่                      ั้        ่
  เป็นไปตามความคาดหวังของฝ่ายนิติบัญญัติ การ
  ถอดถอนนี้เรียกว่า การอภิปรายไม่ไว้วางใจ โดยทีฝ่าย  ่
  นิติบัญญัติตัดสินใจว่าจะถอดนายกรัฐมนตรีออกจาก
  ตำาแหน่งหรือไม่โดยการสนับสนุนเสียงข้างมากต่อการ
  ถอดถอนผู้นน ในบางประเทศ นายกรัฐมนตรียง
               ั้                                ั
  สามารถยุบสภาและเรียกการเลือกตั้งใหม่ได้เมือใด่
การปกครองแบบประชาธิปไตย
• ระบบประธานาธิบ ดี ระบอบประชาธิปไตยแบบ
  ประธานาธิบดีมลักษณะคล้ายคลึงกับแบบรัฐสภา   การ
                 ี
  มีรัฐสภาเหมือนกัน แต่มลักษณะทีแตกต่างกัน คือ การมี
                          ี        ่
  ประธานาธิบดีเป็นผู้ใช้อำานาจบริหาร โดย
  ประธานาธิบดีมสิทธิและหน้าทีในการจะแต่งตั้งคณะ
                   ี            ่
  รัฐมนตรีขึ้นมาชุดหนึ่ง เพือบริหารประเทศและรับผิด
                            ่
  ชอบร่วมกัน ส่วนอำานาจนิติบัญญัตินั้นก็ยงคงตกอยู่ที่
                                         ั
  รัฐสภา การปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบ
  ประธานาธิบดีนี้ ทั้งประธานาธิบดีและสมาชิกสภาผู้
  แทนราษฎรต่างก็ได้รับเลือกจากประชาชน ทั้งสองฝ่าย
  จึงต้องรับผิดชอบโดยตรงต่อระชาชน ส่วนอำานาจ
  ตุลาการยังคงเป็นอิสระ ฉะนันอำานาจนิติบัญญัติ
                              ้
  อำานาจบริหาร และอำานาจตุลาการ ต่างก็เป็นอิสระและ
การปกครองแบบประชาธิปไตย
• ระบบแบบกึง ประธานาธิบ ดีแ ละกึ่ง รัฐ สภา มีทง
               ่                                ั้
  ประธานาธิบดีและนายกรัฐมนตรี ประธานาธิบดีมี
  อำานาจบริหารและเป็นประมุขของประเทศ รวมทัง  ้
  สามารถแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีได้ ระบอบประชาธิปไตย
  แบบนี้ประธานาธิบดีเป็นทังประมุขของรัฐและบริหาร
                           ้
  ราชการแผ่นดินร่วมกับนายรัฐมนตรี ในด้านการ
  บริหารนั้นนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ลงนามประกาศใช้
  กฎหมาย และคณะรัฐมนตรีก็ยงคงเป็นผู้ใช้อำานาจ
                               ั
  บริหาร แต่ต้องรับผิดชอบต่อรัฐสภา ส่วนรัฐสภาเองก็ยง
                                                   ั
  คงทำาหน้าที่สำาคัญ คือ ออกกฎหมายและควบคุมการ
  บริหารราชการแผ่นดิน ประธานาธิบดีในระบอบ
  ประชาธิปไตย แบบนี้เป็นผู้กำาหนดนโยบายต่างประเทศ
  และการเมืองโดยทัวๆ ไปทั้งยังทำาหน้าที่
                     ่
การปกครองระบอบอื่น ๆ
• การปกครองระบอบเผด็จ การ แบ่งออกได้เป็นสองแบบ
  ได้แก่
  1. ระบอบเผด็จ การแบบอำา นาจนิย ม เน้นอำานาจเป็น
  หลักสำาคัญ โดยทั่วไปมักเกิดจากผู้นำาหรือคณะบุคคลที่
  อาศัยกำาลังอำานาจหรือการสนับสนุนจากกองทัพยึดอำานาจ
  ด้วยทำารัฐประหาร โดยมุ่งควบคุมกิจกรรมทางการเมืองเป็น
  หลัก มีวัตถุประสงค์ในการบริหารและตัดสินใจทางการ
  เมืองแต่เพียงผู้เดียว ผู้ปกครองไม่เปิดกว้างในสิทธิเสรีภาพ
  ทางการเมืองรวมถึงสิทธิมนุษยชนด้วย ไม่มีนโยบาย
  ควบคุมสถาบัน มีการใช้อำานาจรัฐเข้าแทรกแซง เพื่อ
  ทำาการตรวจสอบหน่วยงานหรือองค์กรต่างๆ ที่มีการดำาเนิน
  การส่อไปในทางขัดหรือบั่นทอนความมั่นคงของรัฐ มีการ
  ครอบงำากระบวนการยุติธรรม สามารถดำาเนินการและคงอยู่
  เป็นหลักสำาคัญ มีการกำาหนดบทบาทและควบคุมพฤติกรรม
การปกครองระบอบอื่น ๆ
 2. ระบอบเผด็จ การแบบเบ็ด เสร็จ  ผู้นำาของรัฐมีอำานาจ
  เด็ดขาดในด้านการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม ควบคุมสิทธิ
  เสรีภาพประชาชนสื่อมวลชน ได้แก่ เผด็จการฟาสซิสต์
   เผด็จการนาซี เผด็จการคอมมิวนิสต์
  2.1 ฟาสซิส ต์ เป็นหนึ่งในลักษณะการปกครองของรัฐ ใน
  ฟาสซิสต์ซึ่งปรากฏในช่วงก่อนและระหว่าง
  สงครามโลกครั้งที่สอง โดยมีแนวคิดสำาคัญว่า รัฐเป็นสิ่งที่
  สำาคัญกว่าตนหรือบุคคล ฟาสซิสต์จะมีบุคคลคนหนึ่ง
  ปกครองประเทศเรียกว่า ผู้นำาเผด็จการ มีอำานาจสิทธิใน
  การควบคุมรัฐบาลและประชาชน ซึ่งประชาชนภายในรัฐจะ
  ต้องเชื่อฟังผู้นำาสูงสุดเพื่อใช้ประเทศชาติอยู่รอดปลอดภัย
  และพัฒนาไปอย่างต่อเนื่อง
การปกครองระบอบอื่น ๆ
  2.2  เผด็จ การนาซี เป็นเผด็จการแบบเบ็ดเสร็จ เกิดขึ้นใน
  ประเทศเยอรมนี โดยอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เป็นผู้นำาได้รับอิทธิพลมา
  จากเผด็จการฟาสซิสต์ ที่เน้นความเป็นชาตินิยม และเชื้อ
  ชาตินิยม และเน้นให้ประชาชนมีความศรัทธา เคารพ เชื่อฟัง
  ผู้นำา และปลูกฝังในเรื่อง ความภูมิใจในชาติ
  2.3 เผด็จ การคอมมิว นิส ต์ เป็นแนวความคิดของ คาร์ล มาก
  ซ์ ( Karl Marx) มุ่งประเด็นการขัดแย้งระหว่างชนชั้น มุ่งจุด
  ประสงค์ให้สังคมไร้ชนชั้น ประชาชนทุกคนมีฐานะทางสังคมเท่า
  เทียมกัน ระบอบคอมมิวนิสต์ถือว่าเป็นระบอบมหาอำานาจของ
  การเมืองโลกในช่วงต้นคริสตศ์ตวรรษที่ 20 โดยถือว่าชนชั้น
  กรรมาชีพ เป็นพลังสำาคัญที่จะสร้างสังคมให้มีความชอบธรรม
  ผู้คนอยู่ดีกินดี มุ่งทำาลายล้างระบบทุนนิยม ผ่านทางพรรค
  คอมมิวนิสต์ ซึ่งถือว่าเป็นพรรคการเมืองพรรคเดียวที่เป็นตัวแทน
  ของ ชนชั้นกรรมาชีพ  ให้ทำาหน้าที่ปกครองบริหารประเทศและ
การปกครองในไทย เปรียบเทียบกับ
         ต่างประเทศ
• เปรียบเทียบประเทศไทยกับอีก 3 ประเทศทีมีการปกครองแบบ
                                            ่
   ประชาอธิปไตย ได้แก่
    ประเทศฟิลปปินส์ ประเทศมาเลเซีย และ ประเทศอินเดีย ซึ่ง
                ิ
   เป็นประเทศที่มีวิถีชีวตและวัฒนธรรมคล้ายคลึงกับประเทศไทย
                         ิ
   เราจะแบ่งการเปรียบเทียบออกเป็น 6 ประการ ได้แก่
1.รูป แบบของรัฐ
• ประเทศลักษณะของรัฐไทยมีลักษณะเป็นรัฐบาลเดี่ยวซึ่งสามารถ
   บริหารได้ทั้งประเทศและมีประมหากษัตริย์เป็นประมุข(ราช
   อาณาจักร) ฟิลิปปินส์มีลักษณะเป็นรัฐบาลเดี่ยวซึ่งสามารถ
   บริหารได้ทั้งประเทศและมีประธานาธิบดีเป็น
   ประมุข(สาธารณรัฐ) มาเลเซียมีลักษณะเป็นรัฐรวมซึ่งประกอบ
   ขึ้นด้วยรัฐอย่างน้อย 2 รัฐขึ้นไป ในมาเลเซียมีทั้งหมด 13 ส่วน
   รัฐอินเดียมีลกษณะเป็นรัฐรวมซึ่งประกอบขึ้นด้วยรัฐอย่างน้อย 2
                  ั
การปกครองในไทย เปรียบเทียบกับ
         ต่างประเทศ
2. รูป แบบการปกครอง
• ประเทศรูปแบบการปกครองและเขตการปกครองไทยมี
  การปกครองแบบประชาอธิปไตยในระบบรัฐสภาและมี
  การแบ่งเขตการปกครองเป็นจังหวัดต่าง และเขต
  ปกครองท้องถิ่น ได้แก่ เทศบาล ตำาบล หมูบ้าน
                                        ่
  ฟิลิปปินส์มการปกครองแบบประชาอธิปไตยในระบบ
              ี
  ประธานาธิบดีและมีการแบ่งเขตการปกครองเป็น
  จังหวัดต่าง และเขตปกครองท้องถิ่น ได้แก่ เทศบาล
  ตำาบล หมูบ้าน เช่นเดียวกับไทยมาเลเซียมีการปกครอง
            ่
  แบบประชาอธิปไตยในระบบรัฐสภาแบ่งเขตเป็นรัฐบาล
  กลาง และ รัฐบาลแห่งรัฐอีก 13 รัฐโดยใน 13 รัฐมี เขต
  ปกครองแบบสุลต่าน 9 รัฐ และ แบบผู้ว่ารัฐอีก 4
การปกครองในไทย เปรียบเทียบกับ
         ต่างประเทศ
3.ประมุข ของรัฐ
• ประเทศลักษณะของประมุขไทยมีประมหากษัตริยทรง    ์
  เป็นประมุขของรัฐภายใต้รัฐธรรมนูญทรงครองราชย์
  โดยนัยแห่งกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันติ
  วงศ์ฟิลิปปินส์มประมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของรัฐ
                 ี
  ภายใต้รัฐธรรมนูญซึ่งได้รับเลือกจากสุลต่านทัง 9 รัฐ
                                             ้
  และมีวาระผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนคราวละ 5 ปีมาเลเซีย
  ประมุขของรัฐคือประธานาธิบดีซึ่งมาจากการเลือกตั้ง
  โดยตรงของประชาชนมีวาระผลัดเปลี่ยนหมุนเวียน 6
  ปีอินเดียประมุขของรัฐคือประธานาธิบดีซึ่งมาจากการ
  เลือกโดยออ้อมจากผู้แทนสภาต่างๆมีวาระ 5 ปี
การปกครองในไทย เปรียบเทียบกับ
         ต่างประเทศ
4.ประมุข ฝ่า ยบริห าร
• ประเทศประมุขฝ่ายบริหารไทยประมุขคือ นายก
  รัฐมนตรีทมีอำานาจบริหารและรับผิดชอบต่อรัฐสภา
             ี่
  ฟิลิปปินส์ประมุข คือ ประธานาธิบดี โดยมีคณะผู้บริหาร
  และคณะรัฐมนตรีร่วมกันบริหารบ้านเมืองมาเลเซีย
  ประมุขคือ นายกรัฐมนตรีทมอำานาจบริหารและรับผิด
                            ี่ ี
  ชอบต่อรัฐสภาอินเดียประมุข คือ ประธานาธิบดีซึ่งเป็น
  หัวของคณะผู้บริหาร มีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าฝ่าย
  บริหารอีกส่วนหนึง่
การปกครองในไทย เปรียบเทียบกับ
         ต่างประเทศ
5.รัฐ สภา
• ประเทศรูปแบบรัฐสภาไทยประกอบด้วย ส.ส. จำานวน
  500 คนมาการการเลือกตั้ง 375 และอีก 125 มาจาก
  แบบบัญชีรายชื่อ มีวาระ 4 ปี และ ส.ว. อีกจำานวน 150
  คนมากจากจังหวัดละ 1 คน และ ทีเหลือมาจากการ
                                       ่
  สรรหา มีวาระ 6 ปีฟิลิปปินส์ประกอบด้วย ส.ส. จำานวน
  250 มาจากการเลือกตั้ง 200 คน และ บัญชีรายชื่ออีก
  50 มีวาระ 3 ปี และ ส.ว. จำานวน 50 คนจากการเลือก
  ตั้ง มีวาระ 6 ปี มาเลเซีย มี ส.ส. จำานวน 219 คน มา
  จากการเลือกตั้งของประชาชนโดยตรงมีวาระ 5 ปี และ
  ส.ว. จากการแต่งตั้ง 70 คนมีวาระ 6 ปี ส.ว.จากการ
  เลือกของนายกและคณะรัฐมนตรีอีก 70 คนมีวาระ 3 ปี
  อินเดียมี ส.ส. จำานวน 545 คน มาจากการเลือกตั้งจาก
การปกครองในไทย เปรียบเทียบกับ
         ต่างประเทศ
6. พรรคการเมือ ง
• ทัง 4 ประเทศจัดได้ว่ามีหลายพรรคการเมือง ดังนั้น
    ้
  คณะผู้บริหารทัวไปจึงมีลักษณะเป็นแบบรัฐบาลผสม
                ่
  (Coalition Goverment)
ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา (ที่มี
          ประธานาธิบดีเป็นประมุข)
 ระเทศบังกลาเทศ ประเทศบัลแกเรีย ประเทศเช็ก ประเทศโดมินิกา
ประเทศฮังการี ประเทศไอร์แลนด์ ประเทศอิสราเอล ประเทศลัตเวีย
 ระเทศลิธัวเนียประเทศมาซีโดเนีย ประเทศมอริเชียส ประเทศฟินแล
 ระเทศเนปาล ประเทศโปรตุเกส ประเทศสโลวาเกีย ประเทศตรินแด  ิ
ละโตเบโก ประเทศตุรกี ประเทศซิมบับเว
ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา (ที่มี
          ประธานาธิบดีเป็นประมุข)
 ระเทศบังกลาเทศ ประเทศบัลแกเรีย ประเทศเช็ก ประเทศโดมินิกา
ประเทศฮังการี ประเทศไอร์แลนด์ ประเทศอิสราเอล ประเทศลัตเวีย
 ระเทศลิธัวเนียประเทศมาซีโดเนีย ประเทศมอริเชียส ประเทศฟินแล
 ระเทศเนปาล ประเทศโปรตุเกส ประเทศสโลวาเกีย ประเทศตรินแด  ิ
ละโตเบโก ประเทศตุรกี ประเทศซิมบับเว

More Related Content

What's hot

Reconciliation-bill
Reconciliation-billReconciliation-bill
Reconciliation-billSanchai San
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองkroobannakakok
 
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปSiriyagon Pusod
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีthnaporn999
 
ระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย Isระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย IsLawsom
 
รายชื่อร่างพระราชบัญญัติฉบับประชาชน สมัย รธน2550
รายชื่อร่างพระราชบัญญัติฉบับประชาชน สมัย รธน2550รายชื่อร่างพระราชบัญญัติฉบับประชาชน สมัย รธน2550
รายชื่อร่างพระราชบัญญัติฉบับประชาชน สมัย รธน2550Parun Rutjanathamrong
 

What's hot (7)

Reconciliation-bill
Reconciliation-billReconciliation-bill
Reconciliation-bill
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมือง
 
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
ระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย Isระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย Is
 
low basic
low basiclow basic
low basic
 
รายชื่อร่างพระราชบัญญัติฉบับประชาชน สมัย รธน2550
รายชื่อร่างพระราชบัญญัติฉบับประชาชน สมัย รธน2550รายชื่อร่างพระราชบัญญัติฉบับประชาชน สมัย รธน2550
รายชื่อร่างพระราชบัญญัติฉบับประชาชน สมัย รธน2550
 

Viewers also liked

ส่งงานค่ะ ^^
ส่งงานค่ะ ^^ส่งงานค่ะ ^^
ส่งงานค่ะ ^^Zhanghaifang Pear
 
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (3)
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (3)เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (3)
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (3)Nakhon Pathom Rajabhat University
 
UHC in 11 countries and Thailand reform
UHC in 11 countries and Thailand reformUHC in 11 countries and Thailand reform
UHC in 11 countries and Thailand reformChuchai Sornchumni
 
คุณธรรม จริยธรรม สันติวิธีและธรรมาภิบาลกับการเข้าสู่ความเป็นประชาคมอาเซียน
คุณธรรม จริยธรรม สันติวิธีและธรรมาภิบาลกับการเข้าสู่ความเป็นประชาคมอาเซียนคุณธรรม จริยธรรม สันติวิธีและธรรมาภิบาลกับการเข้าสู่ความเป็นประชาคมอาเซียน
คุณธรรม จริยธรรม สันติวิธีและธรรมาภิบาลกับการเข้าสู่ความเป็นประชาคมอาเซียนTaraya Srivilas
 
New งานนำเสนอ microsoft office power point
New งานนำเสนอ microsoft office power pointNew งานนำเสนอ microsoft office power point
New งานนำเสนอ microsoft office power pointPim Chainamon Puri
 

Viewers also liked (9)

ส่งงานค่ะ ^^
ส่งงานค่ะ ^^ส่งงานค่ะ ^^
ส่งงานค่ะ ^^
 
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (3)
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (3)เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (3)
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (3)
 
44
4444
44
 
UHC in 11 countries and Thailand reform
UHC in 11 countries and Thailand reformUHC in 11 countries and Thailand reform
UHC in 11 countries and Thailand reform
 
Microsoft power point presentation ใหม่
Microsoft power point presentation ใหม่Microsoft power point presentation ใหม่
Microsoft power point presentation ใหม่
 
คุณธรรม จริยธรรม สันติวิธีและธรรมาภิบาลกับการเข้าสู่ความเป็นประชาคมอาเซียน
คุณธรรม จริยธรรม สันติวิธีและธรรมาภิบาลกับการเข้าสู่ความเป็นประชาคมอาเซียนคุณธรรม จริยธรรม สันติวิธีและธรรมาภิบาลกับการเข้าสู่ความเป็นประชาคมอาเซียน
คุณธรรม จริยธรรม สันติวิธีและธรรมาภิบาลกับการเข้าสู่ความเป็นประชาคมอาเซียน
 
Social Enterprise: World & Thailand
Social Enterprise: World & ThailandSocial Enterprise: World & Thailand
Social Enterprise: World & Thailand
 
New งานนำเสนอ microsoft office power point
New งานนำเสนอ microsoft office power pointNew งานนำเสนอ microsoft office power point
New งานนำเสนอ microsoft office power point
 
Nrru 004
Nrru 004Nrru 004
Nrru 004
 

Similar to ส่งงานค่ะ ~

การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทยsangworn
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทยsangworn
 
iyddddddบทความของ ดร
iyddddddบทความของ ดรiyddddddบทความของ ดร
iyddddddบทความของ ดรkhamaroon
 
Power point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมืองPower point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมืองbunchai
 
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองการศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองTaraya Srivilas
 
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตยเรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตยThongkum Virut
 
พัฒนาทางการเมือง
พัฒนาทางการเมืองพัฒนาทางการเมือง
พัฒนาทางการเมืองpailinsarn
 
การเมืองประชาธิปไตย : การต่อสู้และชัยชนะของประชาชน (ตื่นเถิดชาวไทย)
การเมืองประชาธิปไตย : การต่อสู้และชัยชนะของประชาชน (ตื่นเถิดชาวไทย)การเมืองประชาธิปไตย : การต่อสู้และชัยชนะของประชาชน (ตื่นเถิดชาวไทย)
การเมืองประชาธิปไตย : การต่อสู้และชัยชนะของประชาชน (ตื่นเถิดชาวไทย)Narong Chokwatana
 
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]Sansanee Tooksoon
 
kpi_journal,+61-1-11.pdf
kpi_journal,+61-1-11.pdfkpi_journal,+61-1-11.pdf
kpi_journal,+61-1-11.pdfLulochLambeLoch
 
รัฐสภา
รัฐสภารัฐสภา
รัฐสภาthnaporn999
 
Lesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the stateLesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the stateKatawutPK
 
Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)Medical Student, GCM
 
ระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภาระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภาThongkum Virut
 
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรคู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรDental Faculty,Phayao University.
 

Similar to ส่งงานค่ะ ~ (20)

ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
Soc
SocSoc
Soc
 
iyddddddบทความของ ดร
iyddddddบทความของ ดรiyddddddบทความของ ดร
iyddddddบทความของ ดร
 
Power point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมืองPower point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมือง
 
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองการศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
 
8.1
8.18.1
8.1
 
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตยเรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
 
พัฒนาทางการเมือง
พัฒนาทางการเมืองพัฒนาทางการเมือง
พัฒนาทางการเมือง
 
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
 
การเมืองประชาธิปไตย : การต่อสู้และชัยชนะของประชาชน (ตื่นเถิดชาวไทย)
การเมืองประชาธิปไตย : การต่อสู้และชัยชนะของประชาชน (ตื่นเถิดชาวไทย)การเมืองประชาธิปไตย : การต่อสู้และชัยชนะของประชาชน (ตื่นเถิดชาวไทย)
การเมืองประชาธิปไตย : การต่อสู้และชัยชนะของประชาชน (ตื่นเถิดชาวไทย)
 
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
 
kpi_journal,+61-1-11.pdf
kpi_journal,+61-1-11.pdfkpi_journal,+61-1-11.pdf
kpi_journal,+61-1-11.pdf
 
รัฐสภา
รัฐสภารัฐสภา
รัฐสภา
 
Lesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the stateLesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the state
 
Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)
 
ระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภาระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภา
 
ข้อ 1
ข้อ 1ข้อ 1
ข้อ 1
 
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรคู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
 

ส่งงานค่ะ ~

  • 2. รายชื่อผู้จัดทำา เด็กชายเสกสิทธิ์ สกุลแก้ว เด็กหญิงณัฏฐนิช ชายหิน เด็กหญิงธิตยา ขุขันธิน เด็กหญิงนรนาถ ยิ่งคำาแหง เด็กหญิงณัฐรดา เพิ่มเบญจบุญ เด็กหญิงสุธารัตน์ สาธุการ
  • 3. การปกครองแบบประชาธิปไตย  ประชาธิปไตยเป็นระบอบการปกครองแบบหนึง ่ ซึงบริหารอำานาจรัฐมาจากเสียงข้างมากของพลเมือง ผู้ ่ เป็นเจ้าของอำานาจอธิปไตย โดยพลเมืองอาจใช้อำานาจ ของตนโดยตรงหรือผ่านผู้แทนทีตนเลือกไปใช้อำานาจ ่ แทนก็ได้ ประชาธิปไตยยังเป็นอุดมคติทว่าพลเมืองทุก ี่ คนในชาติร่วมกันพิจารณากฎหมายและการปฏิบัติของ รัฐ และกำาหนดให้พลเมืองทุกคนมีโอกาสเท่าเทียมกัน ในการแสดงความยินยอมและเจตนาของตน ประชาธิปไตยเกิดขึ้นในบางนครรัฐกรีกโบราณช่วง ศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล
  • 4. การปกครองแบบประชาธิปไตย • ประชาธิปไตยในปัจจุบันเป็น ประชาธิป ไตยแบบมีผ ู้แ ทน โดยสาธารณะออกเสียง ในการเลือกตั้งและเลือกนักการเมืองเป็นผู้แทนตนใน รัฐสภา จากนัน สมาชิกสภาจะเป็นผู้ตัดสินใจด้วยเสียง ้ ข้างมาก ประชาธิปไตยทางตรงยังมีอยูในระดับท้องถิ่น ่ หลายประเทศ เช่น การเลือกตั้งสมาชิกเทศบาล  อย่างไรก็ดี ในระดับชาติ ความเป็นประชาธิปไตยทาง ตรงมีเพียงการลงประชามติ การริเริ่มออกกฎหมายและ การถอดถอนผู้ได้รับเลือกตั้งประชาธิปไตยมักถูกเข้าใจ สับสนกับระบอบการปกครองแบบสาธารณรัฐ อย่างไรก็ ดี แม้การดำาเนินการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย แม้จะได้รับความนิยมมากในปัจจุบัน แต่ต้องเผชิญกับ ปัญหาหลายประการทีเกิดขึ้นในปัจจุบัน อย่างเช่น ข้อ ่ พิพาทเกี่ยวกับดินแดน การอพยพเข้าเมือง และการ กีดกันกลุ่มประชากรบางชาติพันธุ์ เป็นต้น
  • 5. การปกครองแบบประชาธิปไตย • ระบบรัฐ สภา ประชาธิปไตยระบบรัฐสภาเป็น ประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน ซึ่งรัฐบาลได้รับแต่งตั้งจาก ผู้แทน รัฐบาลบริหารประเทศโดยมอบหน้าทีให้คณะ่ รัฐมนตรีทำาหน้าทีบริหาร ตลอดจนถูกวิจารณ์ ตรวจ ่ สอบและถ่วงดุลอย่างต่อเนื่องโดยสภานิติบัญญัติซึ่งได้ รับเลือกจากประชาชน ระบบรัฐสภามีสิทธิถอดถอนนาย รัฐมนตรีได้เมือถึงเวลาที่สภาเห็นว่าผู้นนทำาหน้าทีไม่ ่ ั้ ่ เป็นไปตามความคาดหวังของฝ่ายนิติบัญญัติ การ ถอดถอนนี้เรียกว่า การอภิปรายไม่ไว้วางใจ โดยทีฝ่าย ่ นิติบัญญัติตัดสินใจว่าจะถอดนายกรัฐมนตรีออกจาก ตำาแหน่งหรือไม่โดยการสนับสนุนเสียงข้างมากต่อการ ถอดถอนผู้นน ในบางประเทศ นายกรัฐมนตรียง ั้ ั สามารถยุบสภาและเรียกการเลือกตั้งใหม่ได้เมือใด่
  • 6. การปกครองแบบประชาธิปไตย • ระบบประธานาธิบ ดี ระบอบประชาธิปไตยแบบ ประธานาธิบดีมลักษณะคล้ายคลึงกับแบบรัฐสภา   การ ี มีรัฐสภาเหมือนกัน แต่มลักษณะทีแตกต่างกัน คือ การมี ี ่ ประธานาธิบดีเป็นผู้ใช้อำานาจบริหาร โดย ประธานาธิบดีมสิทธิและหน้าทีในการจะแต่งตั้งคณะ ี ่ รัฐมนตรีขึ้นมาชุดหนึ่ง เพือบริหารประเทศและรับผิด ่ ชอบร่วมกัน ส่วนอำานาจนิติบัญญัตินั้นก็ยงคงตกอยู่ที่ ั รัฐสภา การปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบ ประธานาธิบดีนี้ ทั้งประธานาธิบดีและสมาชิกสภาผู้ แทนราษฎรต่างก็ได้รับเลือกจากประชาชน ทั้งสองฝ่าย จึงต้องรับผิดชอบโดยตรงต่อระชาชน ส่วนอำานาจ ตุลาการยังคงเป็นอิสระ ฉะนันอำานาจนิติบัญญัติ ้ อำานาจบริหาร และอำานาจตุลาการ ต่างก็เป็นอิสระและ
  • 7. การปกครองแบบประชาธิปไตย • ระบบแบบกึง ประธานาธิบ ดีแ ละกึ่ง รัฐ สภา มีทง ่ ั้ ประธานาธิบดีและนายกรัฐมนตรี ประธานาธิบดีมี อำานาจบริหารและเป็นประมุขของประเทศ รวมทัง ้ สามารถแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีได้ ระบอบประชาธิปไตย แบบนี้ประธานาธิบดีเป็นทังประมุขของรัฐและบริหาร ้ ราชการแผ่นดินร่วมกับนายรัฐมนตรี ในด้านการ บริหารนั้นนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ลงนามประกาศใช้ กฎหมาย และคณะรัฐมนตรีก็ยงคงเป็นผู้ใช้อำานาจ ั บริหาร แต่ต้องรับผิดชอบต่อรัฐสภา ส่วนรัฐสภาเองก็ยง ั คงทำาหน้าที่สำาคัญ คือ ออกกฎหมายและควบคุมการ บริหารราชการแผ่นดิน ประธานาธิบดีในระบอบ ประชาธิปไตย แบบนี้เป็นผู้กำาหนดนโยบายต่างประเทศ และการเมืองโดยทัวๆ ไปทั้งยังทำาหน้าที่ ่
  • 8. การปกครองระบอบอื่น ๆ • การปกครองระบอบเผด็จ การ แบ่งออกได้เป็นสองแบบ ได้แก่ 1. ระบอบเผด็จ การแบบอำา นาจนิย ม เน้นอำานาจเป็น หลักสำาคัญ โดยทั่วไปมักเกิดจากผู้นำาหรือคณะบุคคลที่ อาศัยกำาลังอำานาจหรือการสนับสนุนจากกองทัพยึดอำานาจ ด้วยทำารัฐประหาร โดยมุ่งควบคุมกิจกรรมทางการเมืองเป็น หลัก มีวัตถุประสงค์ในการบริหารและตัดสินใจทางการ เมืองแต่เพียงผู้เดียว ผู้ปกครองไม่เปิดกว้างในสิทธิเสรีภาพ ทางการเมืองรวมถึงสิทธิมนุษยชนด้วย ไม่มีนโยบาย ควบคุมสถาบัน มีการใช้อำานาจรัฐเข้าแทรกแซง เพื่อ ทำาการตรวจสอบหน่วยงานหรือองค์กรต่างๆ ที่มีการดำาเนิน การส่อไปในทางขัดหรือบั่นทอนความมั่นคงของรัฐ มีการ ครอบงำากระบวนการยุติธรรม สามารถดำาเนินการและคงอยู่ เป็นหลักสำาคัญ มีการกำาหนดบทบาทและควบคุมพฤติกรรม
  • 9. การปกครองระบอบอื่น ๆ  2. ระบอบเผด็จ การแบบเบ็ด เสร็จ  ผู้นำาของรัฐมีอำานาจ เด็ดขาดในด้านการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม ควบคุมสิทธิ เสรีภาพประชาชนสื่อมวลชน ได้แก่ เผด็จการฟาสซิสต์  เผด็จการนาซี เผด็จการคอมมิวนิสต์ 2.1 ฟาสซิส ต์ เป็นหนึ่งในลักษณะการปกครองของรัฐ ใน ฟาสซิสต์ซึ่งปรากฏในช่วงก่อนและระหว่าง สงครามโลกครั้งที่สอง โดยมีแนวคิดสำาคัญว่า รัฐเป็นสิ่งที่ สำาคัญกว่าตนหรือบุคคล ฟาสซิสต์จะมีบุคคลคนหนึ่ง ปกครองประเทศเรียกว่า ผู้นำาเผด็จการ มีอำานาจสิทธิใน การควบคุมรัฐบาลและประชาชน ซึ่งประชาชนภายในรัฐจะ ต้องเชื่อฟังผู้นำาสูงสุดเพื่อใช้ประเทศชาติอยู่รอดปลอดภัย และพัฒนาไปอย่างต่อเนื่อง
  • 10. การปกครองระบอบอื่น ๆ   2.2  เผด็จ การนาซี เป็นเผด็จการแบบเบ็ดเสร็จ เกิดขึ้นใน ประเทศเยอรมนี โดยอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เป็นผู้นำาได้รับอิทธิพลมา จากเผด็จการฟาสซิสต์ ที่เน้นความเป็นชาตินิยม และเชื้อ ชาตินิยม และเน้นให้ประชาชนมีความศรัทธา เคารพ เชื่อฟัง ผู้นำา และปลูกฝังในเรื่อง ความภูมิใจในชาติ 2.3 เผด็จ การคอมมิว นิส ต์ เป็นแนวความคิดของ คาร์ล มาก ซ์ ( Karl Marx) มุ่งประเด็นการขัดแย้งระหว่างชนชั้น มุ่งจุด ประสงค์ให้สังคมไร้ชนชั้น ประชาชนทุกคนมีฐานะทางสังคมเท่า เทียมกัน ระบอบคอมมิวนิสต์ถือว่าเป็นระบอบมหาอำานาจของ การเมืองโลกในช่วงต้นคริสตศ์ตวรรษที่ 20 โดยถือว่าชนชั้น กรรมาชีพ เป็นพลังสำาคัญที่จะสร้างสังคมให้มีความชอบธรรม ผู้คนอยู่ดีกินดี มุ่งทำาลายล้างระบบทุนนิยม ผ่านทางพรรค คอมมิวนิสต์ ซึ่งถือว่าเป็นพรรคการเมืองพรรคเดียวที่เป็นตัวแทน ของ ชนชั้นกรรมาชีพ  ให้ทำาหน้าที่ปกครองบริหารประเทศและ
  • 11. การปกครองในไทย เปรียบเทียบกับ ต่างประเทศ • เปรียบเทียบประเทศไทยกับอีก 3 ประเทศทีมีการปกครองแบบ ่ ประชาอธิปไตย ได้แก่ ประเทศฟิลปปินส์ ประเทศมาเลเซีย และ ประเทศอินเดีย ซึ่ง ิ เป็นประเทศที่มีวิถีชีวตและวัฒนธรรมคล้ายคลึงกับประเทศไทย ิ เราจะแบ่งการเปรียบเทียบออกเป็น 6 ประการ ได้แก่ 1.รูป แบบของรัฐ • ประเทศลักษณะของรัฐไทยมีลักษณะเป็นรัฐบาลเดี่ยวซึ่งสามารถ บริหารได้ทั้งประเทศและมีประมหากษัตริย์เป็นประมุข(ราช อาณาจักร) ฟิลิปปินส์มีลักษณะเป็นรัฐบาลเดี่ยวซึ่งสามารถ บริหารได้ทั้งประเทศและมีประธานาธิบดีเป็น ประมุข(สาธารณรัฐ) มาเลเซียมีลักษณะเป็นรัฐรวมซึ่งประกอบ ขึ้นด้วยรัฐอย่างน้อย 2 รัฐขึ้นไป ในมาเลเซียมีทั้งหมด 13 ส่วน รัฐอินเดียมีลกษณะเป็นรัฐรวมซึ่งประกอบขึ้นด้วยรัฐอย่างน้อย 2 ั
  • 12. การปกครองในไทย เปรียบเทียบกับ ต่างประเทศ 2. รูป แบบการปกครอง • ประเทศรูปแบบการปกครองและเขตการปกครองไทยมี การปกครองแบบประชาอธิปไตยในระบบรัฐสภาและมี การแบ่งเขตการปกครองเป็นจังหวัดต่าง และเขต ปกครองท้องถิ่น ได้แก่ เทศบาล ตำาบล หมูบ้าน ่ ฟิลิปปินส์มการปกครองแบบประชาอธิปไตยในระบบ ี ประธานาธิบดีและมีการแบ่งเขตการปกครองเป็น จังหวัดต่าง และเขตปกครองท้องถิ่น ได้แก่ เทศบาล ตำาบล หมูบ้าน เช่นเดียวกับไทยมาเลเซียมีการปกครอง ่ แบบประชาอธิปไตยในระบบรัฐสภาแบ่งเขตเป็นรัฐบาล กลาง และ รัฐบาลแห่งรัฐอีก 13 รัฐโดยใน 13 รัฐมี เขต ปกครองแบบสุลต่าน 9 รัฐ และ แบบผู้ว่ารัฐอีก 4
  • 13. การปกครองในไทย เปรียบเทียบกับ ต่างประเทศ 3.ประมุข ของรัฐ • ประเทศลักษณะของประมุขไทยมีประมหากษัตริยทรง ์ เป็นประมุขของรัฐภายใต้รัฐธรรมนูญทรงครองราชย์ โดยนัยแห่งกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันติ วงศ์ฟิลิปปินส์มประมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของรัฐ ี ภายใต้รัฐธรรมนูญซึ่งได้รับเลือกจากสุลต่านทัง 9 รัฐ ้ และมีวาระผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนคราวละ 5 ปีมาเลเซีย ประมุขของรัฐคือประธานาธิบดีซึ่งมาจากการเลือกตั้ง โดยตรงของประชาชนมีวาระผลัดเปลี่ยนหมุนเวียน 6 ปีอินเดียประมุขของรัฐคือประธานาธิบดีซึ่งมาจากการ เลือกโดยออ้อมจากผู้แทนสภาต่างๆมีวาระ 5 ปี
  • 14. การปกครองในไทย เปรียบเทียบกับ ต่างประเทศ 4.ประมุข ฝ่า ยบริห าร • ประเทศประมุขฝ่ายบริหารไทยประมุขคือ นายก รัฐมนตรีทมีอำานาจบริหารและรับผิดชอบต่อรัฐสภา ี่ ฟิลิปปินส์ประมุข คือ ประธานาธิบดี โดยมีคณะผู้บริหาร และคณะรัฐมนตรีร่วมกันบริหารบ้านเมืองมาเลเซีย ประมุขคือ นายกรัฐมนตรีทมอำานาจบริหารและรับผิด ี่ ี ชอบต่อรัฐสภาอินเดียประมุข คือ ประธานาธิบดีซึ่งเป็น หัวของคณะผู้บริหาร มีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าฝ่าย บริหารอีกส่วนหนึง่
  • 15. การปกครองในไทย เปรียบเทียบกับ ต่างประเทศ 5.รัฐ สภา • ประเทศรูปแบบรัฐสภาไทยประกอบด้วย ส.ส. จำานวน 500 คนมาการการเลือกตั้ง 375 และอีก 125 มาจาก แบบบัญชีรายชื่อ มีวาระ 4 ปี และ ส.ว. อีกจำานวน 150 คนมากจากจังหวัดละ 1 คน และ ทีเหลือมาจากการ ่ สรรหา มีวาระ 6 ปีฟิลิปปินส์ประกอบด้วย ส.ส. จำานวน 250 มาจากการเลือกตั้ง 200 คน และ บัญชีรายชื่ออีก 50 มีวาระ 3 ปี และ ส.ว. จำานวน 50 คนจากการเลือก ตั้ง มีวาระ 6 ปี มาเลเซีย มี ส.ส. จำานวน 219 คน มา จากการเลือกตั้งของประชาชนโดยตรงมีวาระ 5 ปี และ ส.ว. จากการแต่งตั้ง 70 คนมีวาระ 6 ปี ส.ว.จากการ เลือกของนายกและคณะรัฐมนตรีอีก 70 คนมีวาระ 3 ปี อินเดียมี ส.ส. จำานวน 545 คน มาจากการเลือกตั้งจาก
  • 16. การปกครองในไทย เปรียบเทียบกับ ต่างประเทศ 6. พรรคการเมือ ง • ทัง 4 ประเทศจัดได้ว่ามีหลายพรรคการเมือง ดังนั้น ้ คณะผู้บริหารทัวไปจึงมีลักษณะเป็นแบบรัฐบาลผสม ่ (Coalition Goverment)
  • 17. ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา (ที่มี ประธานาธิบดีเป็นประมุข) ระเทศบังกลาเทศ ประเทศบัลแกเรีย ประเทศเช็ก ประเทศโดมินิกา ประเทศฮังการี ประเทศไอร์แลนด์ ประเทศอิสราเอล ประเทศลัตเวีย ระเทศลิธัวเนียประเทศมาซีโดเนีย ประเทศมอริเชียส ประเทศฟินแล ระเทศเนปาล ประเทศโปรตุเกส ประเทศสโลวาเกีย ประเทศตรินแด ิ ละโตเบโก ประเทศตุรกี ประเทศซิมบับเว
  • 18. ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา (ที่มี ประธานาธิบดีเป็นประมุข) ระเทศบังกลาเทศ ประเทศบัลแกเรีย ประเทศเช็ก ประเทศโดมินิกา ประเทศฮังการี ประเทศไอร์แลนด์ ประเทศอิสราเอล ประเทศลัตเวีย ระเทศลิธัวเนียประเทศมาซีโดเนีย ประเทศมอริเชียส ประเทศฟินแล ระเทศเนปาล ประเทศโปรตุเกส ประเทศสโลวาเกีย ประเทศตรินแด ิ ละโตเบโก ประเทศตุรกี ประเทศซิมบับเว