SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสื อการศึกษา
                                                ดร.อิศรา ก้ านจั กร คณะศึกษาศาสตร์ ม
                                                                                   .ขอนแก่น


                                  บทที 7
                        นวัตกรรมทางการศึกษา

โครงร่ างเนื อหาของบท                                          คําสําคัญ
   1. ความหมายและความสําคัญของนวัตกรรมทางการศึกษา               คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน
   2. นวัตกรรมทางการศึกษาในช่วงก่อนปฏิรูปการศึกษา               ชุดการสอน
    3. นวัตกรรมทางการศึกษาในช่วงปฏิรูปการศึกษา                  บทเรียนโปรแกรม
วัตถุประสงค์การเรียนรู ้                                        การเรี ยนรู ้ บนเครือข่าย
   1. อธิบายความคิดรวบยอดเกียวกับความหมายและ                    อีเลรินนิง
      ความสําคัญของนวัตกรรมทางการศึกษาได้                       มัลติมีเดีย
   2. วิเคราะห์ความแตกต่างของนวัตกรรมทางการศึกษา                สิงแวดล้ อมทางการ
      ในช่วงก่อนและช่วงปฏิรูปการศึกษาได้                         เรียนรู ้
   3. เลือกใช้นวัตกรรมทางการศึกษาให้ สอดคล้ องกับสภาพ           ชุดการสร้ างความรู ้
      บริบทการเรี ยนการสอนจริงได้
กิจกรรมการเรียนรู ้
   1. ให้ มโนทัศน์เชิงทฤษฎี หลั กการ เรือง นวัตกรรมทาง
      การศึกษา
   2. นักศึกษาแบ่งเป็ นกลุ่มย่อย กลุ่มละ 3 คน ศึกษาจาก
      สิงแวดล้ อมทางการเรี ยนรู ้ บนเครือข่าย
      http://ednet.kku.ac.th/~sumcha/web-230301/ โดย
      นักศึกษาศึกษาสถานการณ์ปัญหาบทที 7 วิเคราะห์ทํา
      ความเข้ าใจค้ นหาคําตอบจากเอกสารประกอบการสอน
      และแหล่งเรียนรู ้ บนเครือข่ายและร่วมกันสรุปคําตอบ
      และนําเสนอในรูปแบบ Power point
   3. ร่วมกันสะท้ อนผลงานและสรุปองค์ความรู ้ โดยแต่ละกลุ่ม
      ต้ องสลั บทําหน้ าทีกันสะท้ อนผลได้ แก่ ถามคําถาม
      ควบคุม ชมเชย ข้ อควรปรับปรุง และประเมิน ) ผู ้ สอน
      ขยายกรอบความคิดของผู ้ เรียนโดยการตั งประเด็นถึงการ
      นําไปใช้ ในสภาพบริบทจริง
เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสื อการศึกษา
                                                        ดร.อิศรา ก้ านจั กร คณะศึกษาศาสตร์ ม
                                                                                           .ขอนแก่น


สถานการณ์ ปัญหา(Problem-based learning)
            กระทรวงศึกษาธิการต้ องการให้ ท่านเลือกและสร้ างนวัตกรรมการเรี ยนรู ้ ให้ เหมาะสม
กับบริบทของโรงเรียนทั ง3 แห่งคือ โรงเรียนเปรมสวัสดิ โรงเรียนมหาชัย โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ
                                              โรงเรี ยนเปรมสวัส ดิ เป็ นโรงเรี ย นทีอยู่ห่ างไกล
                                              ความเจริ ญ ไม่ มี ก ารเชื อมโยงเครื อข่ า ย
                                              อินเตอร์ เน็ต แต่พอจะมีคอมพิวเตอร์ ใช้ บ้าง ซึงเป็ น
                                              ห้ องคอมพิ วเตอร์ สําหรั บนัก เรี ย น ความต้ อ งการ
                                              ของโรงเรี ย นคื ออยากจะได้ สือทีมาแก้ ปั ญหาการ
                                              เรียนการสอนทีช่วยกระตุ ้ นให้ เด็กมีความสนใจใน
การเรี ยนมากขึ น สือนี สามารถทําให้ เด็ก เห็นสภาพเสมือนจริ ง (Realistic) และเหมาะสมกับ
การศึกษารายบุคคล โดยผู ้ เรี ยนมีปฏิ สัมพันธ์ กับสือโดยตรงอาจจะมี ภาพนิง ภาพเคลือนไหว
เสีย ง หรื อ วีดิทัศน์ ประกอบอยู่ ในสือนั น เพื อสร้ างความตืนเต้ น น่าสนใจ และสามารถย้ อ น
ทบทวนส่วนทีต้ อ งการได้ โ ดยไม่ มีข้อ จํากัด มีการประเมิน เพือแก้ ไขข้ อบกพร่ อ งของตนเองได้
อาจจะออกแบบมาในลักษณะของเกม หรื อลักษณะทีกระตุ ้ นให้ ผู ้ เรี ยนให้ มีความกระตือรื อร้ น
มากขึนทั งนี ก็สอดแทรกเนื อหาวิชาการเข้ าไว้ อย่างเหมาะสม
                                              โรงเรี ยนมหาชั ย ต้ อ งการนวัต กรรมทีสามารถ
                                              แก้ ไข ข้ อจํ า กั ด ด้ านสถานที และ เวลา โด ย
                                              ประยุกต์ ใช้ คุณสมบัติ เวิล์ด ไวด์ เว็บ ทีโรงเรี ยนมี
                                              อยู่ ในการจัด สภาพแวดล้ อ มและสนับสนุนการ
                                              เรี ย นการสอน สิงแรกที ต้ อ งมีคื อการลงทะเบีย น
                                              เพือขอรหัสผ่านเข้ าเรี ยน หลังจากนั นผู ้ เรี ยนศึกษา
เนื อหาอาจเป็ นการอ่านบนจอหรือโหลดเนื อหาลงมาทีเครืองของตน อสังพิมพ์ ทางเครื องพิมพ์
                                                                        หรื
เพือศึกษาภายหลังก็ได้ ผู ้ เรี ยนสามารถกําหนดการเรี ยนได้ ด้ วยตนเอง (Self-directed) เปิ ด
โอกาสให้ เ ลือกเรี ยนได้ ตามสะดวก สามารถ กําหนดกรอบเวลาในการเรี ยนรู ้ ได้ เ หมาะสมกับ
ความสามารถในการเรียนรู ้ ของตนเอง คลอบคลุ มทั งการเรี ยนแบบประสานเวลา(Synchronous
Learning) และไม่ป ระสานเวลา (Asynchronous Learning) และสามารถถามคํ าถาม ทํ า
แบบฝึ กหัด ทํารายงานกลุ่ม อภิ ปรายแลกเปลียนความคิดเห็นแก่ผู ้ เรี ยนคนอืน ๆ ได้ และยัง
สามารถเข้ าถึงเนื อหาได้ ทุกที ทุกเวลา ทุกสถานที
                                                                                            มีต่อ>>
เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสื อการศึกษา
                                                               ดร.อิศรา ก้ านจั กร คณะศึกษาศาสตร์ ม
                                                                                                  .ขอนแก่น


สถานการณ์ ปัญหา(Problem-based learning)
                                                   โรงเรี ย นเทศบาลวั ด ธาตุ ต้ อ งการออกแบบ
                                                   นวัตกรรมการเรียนรู ้ ทเน้ นให้ ผู ้ เรี ยนสามารถสร้ าง
                                                                            ี
                                                   ความรู ้ ด้ ว ยตนเอง โดยการเผชิ ญ สถานการณ์
                                                   ปั ญหา มีแหล่ง เรี ยนรู ้ ให้ ผู ้ เ รี ยนได้ สืบ ค้ น เมื อไม่
                                                   สามารถแก้ ปั ญหาได้ ก็ มี ฐ านความช่ ว ยเหลื อ
                                                   พร้ อมทั งมี เ ครื องมื อ ที สนับ สนุน การร่ ว มมื อ กั น
แก้ ปั ญหา สามารถแลกเปลียนความคิด เห็น ระหว่ างกันได้ ต ลอดเวลา นอกจากนี นวัต กรรมที
พัฒนาขึ นต้ องสามารถนํามาใช้ ได้ ในหลายบริ บทเนืองจากผู ้ เรี ยนมีควา แตกต่างกัน บางกลุ่ม
                                                                                 ม
ชอบที จะเรี ย นบนเครื อ ข่ า ย บางกลุ่ม ชอบที จะเรี ย นแบบมัล ติ มี เ ดี ย และบางกลุ่ ม ชอบที จะ
สามารถนํ า ไปใช้ เ รี ย นได้ ทุก สถานที ไม่ ว่ า จะเป็ นใต้ ร่ม ไม้ หรื อ สถานที ที ไม่ มี ค อมพิ ว เตอร์ ก็
สามารถใช้ เรียนรู ้ เพือให้ เกิดประสิทธิภาพได้
ภารกิจการเรี ยนรู ้
       1. อธิบายความหมายของสิงแวดล้ อมทางการเรียนรู ้
       2. วิเคราะห์เลือกใช้นวัตกรรมการเรียนรู ้ ให้ สอดคล้ องกับบริบทของโรงเรียนทั ง3 แห่งนี
       3. จากประเภทของนวัตกรรมการเรี ยนรู ้ ใ นบทที 7 ให้ ท่า นเสนอนวัตกรรมการเรี ยนรู ้ ที
          สอดคล้ องกับลั กษณะวิชาเอกทีท่านจะปฏิบัติหน้ าทีสอน พร้ อมทั งอธิบ                 ายเหตุผล
เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสื อการศึกษา
                                                  ดร.อิศรา ก้ านจั กร คณะศึกษาศาสตร์ ม
                                                                                     .ขอนแก่น




นวั ตกรรมการศึ กษาก่อน                                       นวั ตกรรมการศึ กษาในยุค
     ปฏิ รูปการศึ กษา                                             ปฏิ รูปการศึ กษา


มีพื นฐานการออกแบบมา                                        เน้นให้นํ า เทคโนโลยีเ ข้ า มา
จากทฤษฎีก ลุ ่ม พฤติ ก รรม
                                   นวัตกรรมทาง              เพื อเพิ มประสิ ท ธิ ภ าพการ
นิ ย ม จะเน้นการถ่า ยทอด                                    เรียนรู ้ ของผู ้ เรี ยน โดยเฉพาะ
เนื อหาจากสื อไปยังผู ้ เ รี ย น    การศึกษา                การสร้า งความรู ้ด ้ ว ยตนเอง
โดยตรง บทบาทของผู ้ เรี ยน                                  ซึ งจะมี พื นฐานจากทฤษฎี
จะเป็ นการรอรั บ ความรู ้                                   กลุ ่ม คอนสตรั ค ติ วิ ส ต์ ซึ ง
นวั ต กรรม ในยุ คนี เ ช่ น                                  เรี ย กว่า สิ งแวดล้ อมทางการ
บทเรี ย นโปรแกรม ชุ ด การ                                   เรี ย นรู ้ต ามแนวคอนสตรั ค ติ
สอน คอมพิวเตอร์ช ่วยสอน                                     วิสต์ เช่ น มั ลติมีเดีย ชุ ดสร้าง
เป็ นต้ น                                                   ความรู ้ ฯลฯ


                             ความหมายและความสําคัญของ
                                นวัตกรรมทางการศึกษา
เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสื อการศึกษา
                                                         ดร.อิศรา ก้ านจั กร คณะศึกษาศาสตร์ ม
                                                                                            .ขอนแก่น


ความหมายและความสําคัญของนวัตกรรมทางการศึกษา

ความหมายของนวัตกรรมทางการศึกษา
            คําว่า "นวัตกรรม" หรื อ นวกรรม มาจากคําภาษาอังกฤษว่า "Innovation" โดยคําว่า
นวัตกรรม มีรูป ศัพท์ เดิมมาจากภาษาบาลี คือ นว+อตต+กรรม กล่าวคือ นว แปลว่า ใหม่
อัตต แปลว่า ตัวเอง และกรรม แปลว่า การกระทํา เมือรวมคํา นว มาสนธิ กับ อัตต จึงเป็ น
                                      นวัตต และ เมือรวมคํา นวัตต มาสมาส กับ กรรม จึงเป็ นคํา
                                      ว่า นวัตกรรม แปลตามรากศัพท์ เดิมว่า การกระทําทีใหม่ของ
                                      ตนเอง หรื อ การกระทํา ของตนเองที ใหม่ (เสาวณี ย์ สิก ขา
                                      บัณฑิต, 2528)
                                               ส่วนคําว่า "นวกรรม”ทีมีใช้ กันมาแต่เดิม มีรากศัพท์
                                      เดิมมาจากคําว่า นว แปลว่า ใหม่ กรรม แปลว่า การกระทํา จึง
                                      แปลตามรูปศัพท์เดิมว่าเป็ นการปฏิบัติหรือการกระทําใหม่ๆ
                                               ในความหมายโดยทัวไปแล้ วสิงใหม่ๆ อาจหมายถึง
ความคิด วิธีปฏิบัติ วัตถุหรือสิงของทีใหม่ ซึงยังไม่เป็ นทีรู ้ จักมาก่อนคําว่านวัตกรรมนี อาจมีผู ้ ใช้
คํ า อื นๆ อี ก เช่ น นวัต กรรม ความจริ ง แล้ ว ก็ เ ป็ นคํ า ๆ เดี ย วกั น นันจากการศึ ก ษานิ ย าม
ความหมาย ของคําว่านวัตกรรมการศึกษาได้ มีผู ้ ให้ ความหมายไว้ ดังนี
            Hughes (1971) อธิบายว่า นวัตกรรม เป็ นการนําวิธีการใหม่ ๆ มาปฏิ บัติหลังจากได้
ผ่านการทดลองหรือได้ รับการพัฒนามาเป็ นขั น ๆ แล้ วโดยมีขั นตอนดังนี
             1. การคิดค้ น (invention)
             2. การพัฒนา (Development)
             3. นําไปปฏิบัติจริ ง ซึงมีความแตกต่างจากการปฏิบัติเดิมทีเคยปฏิบัติมา
            J.A. Morton (1973) กล่าวว่า “นวัตกรรม " หมายถึง การปรับปรุ งของเก่าให้ ใหม่ขึ น
และพัฒนาศักยภาพของบุคลากร ตลอดจนหน่วยงาน หรื อองค์ การนั นนวัตกรรมไม่ใช่การขจัด
หรื อล้ มล้ างสิงเก่าให้ หมดไป แต่ เป็ นการปรับปรุ ง เสริ มแต่ง และพัฒนาเพือความอยู่รอดของ
ระบบ
            Everette M. Rogers (1983) ได้ ให้ ความหมายของคําว่า นวัตกรรม (Innovation) ว่า
นวัตกรรมคือ ความคิด การกระทํา หรือวัตถุใหม่ ๆ ซึงถูกรับรูว่าเป็ นสิงใหม่ๆ ด้ วยตัวบุคคลแต่ละ
                                                                  ้
คนหรื อหน่วยอืน ๆ ของการยอมรับในสังคม(Innovation is a new idea, practice or object,
that is perceived as new by the individual or other unit of adoption
เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสื อการศึกษา
                                                        ดร.อิศรา ก้ านจั กร คณะศึกษาศาสตร์ ม
                                                                                           .ขอนแก่น


             ไชยยศ เรื องสุว รรณ (2526) ได้ ใ ห้ ความหมาย “นวัตกรรม " ไว้ ว่า หมายถึง วิธี การ
ปฏิบัติใหม่ๆ ทีแปลกไปจากเดิม โดยอาจจะได้ มาจากการคิดค้ นพบวิธีการใหม่ๆขึ นมา หรื อมีการ
ปรับปรุงของเก่าให้ เหมาะสม และสิงทั งหลายเหล่านีได้ รับการทดลองพัฒนาจนเป็ นทีเชือถือได้
แล้ วว่าได้ ผลดีทางปฏิบัติ ทําให้ ระบบก้ าวไปสู่จุดหมายปลายทางได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
             บุญเกื อ ครวญหาเวช(2543) กล่าวว่า นวัตกรรมการศึกษา หมายถึง เป็ นการนําเอาสิง
ใหม่ๆ ซึงอาจอยู่ในรู ปของความคิด หรื อ การกระทํา รวมทั ง สิงประดิษฐ์ ก็ตามเข้ ามาในระบบ
การศึกษา เพือมุ่งหวังทีจะเปลียนแปลงสิงทีมีอยู่เดิม ให้ ระบบการจัดการศึกษามีประสิทธิ ภาพ
ยิงขึ น
              สุ มาลี ชัยเจริ ญ (2548) ได้ ให้ ความหมาย “นวัตกรรม " ไว้ ว่า คือ การนําสิงใหม่ๆ ซึง
อาจจะเป็ นแนวความคิดหรือการกระทํา หรื อสิงประดิษฐ์ ทีอาศัยหลักการ ทฤษฎี และผ่านการ
ทดลอง วิจัยจนเชือถือได้ เพือเพิมพูนประสิทธิภาพของการปฏิบัติงาน
             จากนิยามความหมายข้ างต้ นสามารถสรุ ปได้ ว่า นวัตกรรม เป็ นความคิด การกระทํา
สิงประดิษฐ์ หรื อวิ ธีการใหม่ ๆ หรื อ ทีได้ รับ การพัฒ นาปรั บปรุ งมาจากสิงเดิม โดยต้ องผ่ านการ
ทดลอง วิจัย พัฒนาจนเป็ นทีเชือถือได้ ว่าสามารถนํามาใช้ ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
ความสําคัญของนวัตกรรมการศึกษา
             นวัตกรรมมี ความสําคัญต่อการศึก ษาหลายประการ ทั งนี เนืองจากในโลกยุคลกาภิ      โ
วัตน์ ทีมี การเปลียนแปลงในทุกด้ านอย่า งรวดเร็ ว โดยเฉพาะอย่า งยิ ง ความก้ า วหน้ า ทั งด้ า น
เทคโนโลยี แ ละสารสนเทศ การศึ ก ษาจึง จํ า เป็ นต้ องมี ก ารพัฒ นาเปลียนแปลงจากระบบ
การศึก ษาที มีอ ยู่ เดิ ม เพื อให้ ทันสมัยต่ อ การเปลียนแปลงของเทคโนโลยี และสภาพสังคมที
เปลียนแปลงไป อีกทั งเพือแก้ ไขปั ญหา านการศึกษาบางอย่างทีเกิดขึ นอย่างมีประสิทธิ ภาพ
                                            ทางด้
เช่นเดียวกัน การเปลียนแปลงทางด้ านการศึกษาจึงจําเป็ นต้ องมีการศึกษาเกียวกับนวัตกรรม
การศึกษาทีจะนํามาใช้ เพือแก้ ไขปั ญหาทางด้ านการศึกษาในบางเรื อง เช่น ปั ญหาทีเกียวเนือง
กับจํานวนผู ้ เรียนทีมากขึ น การพัฒนา ลักสูตรให้ ทันสมัย การผลิตและพัฒนาสือใหม่ ๆ ขึ นมา
                                           ห
เพือตอบสนองการเรี ยนรู ้ ของมนุษย์ ให้ เพิมมากขึ นด้ วยระยะเวลาทีสั นลงการใช้ นวัตกรรมมา
ประยุกต์ ในระบบการบริ ห ารจัด การด้ านการศึกษาก็ มีส่วนช่ว ยให้ ก ารใช้ ทรั พยากรการเรี ยนรู ้
เป็ นไปอย่ างมี ประสิท ธิ ภ าพ เช่ น เกิด การเรี ย นรู ้ ด้ วยตน การพัฒ นาศักยภาพทีพึงประสงค์
โดยเฉพาะอย่างยิงกระบวนการทางปั ญญาและกระบวนการคิด
             การพิจารณาว่าสิงหนึงสิงใดเป็ นนวัตกรรมนั น สุมาลี ชัยเจริ ญ(2548) ได้ ชี ให้ เห็นว่า
ขึ นอยู่กับการรับรู ้ ของแต่ละบุคคลหรื อกลุ่มบุคคลว่าเป็ นสิงใหม่สําหรับเขา งนั นนวัตกรรมของ
                                                                               ดั
บุคคลกลุ่มใดกลุ่มหนึงอาจไม่ใช่นวัตกรรมของบุคคลกลุ่มอืน ๆก็ได้ ขึ นอยู่กับการรับรู ้ ของบุคคล
นั นว่ า เป็ นสิงใหม่ สํา หรั บ เขาหรื อ ไม่ อี กประการหนึงความใหม่ (newness) อาจขึ นอยู่ กับ
เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสื อการศึกษา
                                                            ดร.อิศรา ก้ านจั กร คณะศึกษาศาสตร์ ม
                                                                                               .ขอนแก่น


ระยะเวลาด้ วย สิงใหม่ๆ ตามความหมายของนวัตกรรมไม่จําเป็ นจะต้ องใหม่จริ งๆ แต่อาจจะ
หมายถึงสิงใดสิงหนึงทีเป็ นความคิดหรือการปฏิบัติทีเคยทํากันมาแล้ วแต่ได้ หยุดกันไประยะเวลา
หนึง ต่อมาได้ มีการรื อฟื นขึ นมาทําใหม่เนืองจากเห็นว่าสามารถช่วยแก้ ปัญหาในสภาพการณ์
ใหม่นั นได้ก็นับว่าสิงนั นเป็ นสิงใหม่ได้ดังนั น นวัตกรรมอาจหมายถึงสิใหม่ๆ ดังต่อไป
                                                                     ง
       เป็ นสิงใหม่ทั งหมดหรือใหม่บางส่วนโดยนําสิงเดิมมาปรับปรุง
       มีการออกแบบ สร้ าง ผลิต ทีอาศัยทฤษฎี หลั กการ
       มีการทดลองและการศึกษาวิจัย
       ยังไม่เป็ นทีแพร่หลายจนเป็ นส่วนหนึงของระบบ
      ในบทนี จะขอนําเสนอนวัตกรรมทางการศึกษาในแต่ละช่วงซึงได้ จากการทบทวนงานวิจัย
ทางด้ านเทคโนโลยีการศึกษาในประเทศไทย 30 ปี ทีผ่านมา (2520-2550) โดยกําหนดเป็ นช่วง
ก่อนปฏิรูปการศึกษา ช่วงปฏิ รูปการศึกษาและสิงแวดล้ อมทางการเรี ยนรู ้ ตามแนวคอนสตรัคติ
วิสต์ ดังทีจะนําเสนอในแต่ละหัวข้ อต่อไปนี

นวัตกรรมทางการศึกษาในช่ วงก่ อนปฏิรูปการศึกษา

               ความเชือเกียวกับเรียนรู ้ ก่อนยุคปฏิ รูปการศึกษาของไทยจะอยู่บนพื นฐานทีว่าความรู ้
เป็ นสิงทีหยุดนิง ไม่มีการเปลียนแปลง ดังนั นหากใครสามารถรับหรื อจดจําความรู ้ ได้ มากทีสุดก็
ถือ ว่ า ผู ้ นั นเป็ นผู ้ ที เรี ย นรู ้ ได้ ดี ที สุด และนันคื อ เปาหมายของการจัดการเรี ยนรู ้ ของคแนวคิ ด
                                                                      ้                             รู
เกียวกับการเรียนรู ้ ดังกล่าวจะสอดคล้ องกับแนวคิดกลุ่มพฤติกรรมนิยม ซึงเชือว่า การเรี ยนรู ้ คือ
การเปลียนแปลงพฤติก รรม ซึงเป็ นผลมาจากความสัมพันธ์ ระหว่างสิงเร้ า และการตอบสนอง
และการเรี ยนรู ้ นั นจะคงทนหากได้ รับการเสริ มแรง การฝึ กหัด การทําซํ าๆ เป็ นต้ น บทบทของ             า
ผู ้ เรียนจึงเป็ นผู ้ ทีรอรับความรู ้ ทีจะได้ รับการถ่ายทอดโดยตรงจากครู แนวคิดดังกล่าวนํามาซึงการ
พัฒนาเป็ นนวัตกรรมทางการศึกษา ดังเช่น บทเรียนโปรแกรม คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ชุดการสอน
ดังรายละเอียดทีจะนําเสนอต่อไปนี
บทเรี ยนแบบโปรแกรม
               บทเรียนแบบโปรแกรม เป็ นบทเรียนทีเสนอเนื อหาในรู ปของกรอบ หรื อเฟรม(Frame)
โดยแบ่งเนื อหาเป็ นหน่วยย่อย ๆ ให้ ผู ้ เรียนได้ เรียนด้ วยตนเองทีละน้ อยแล้ วมีคําถามให้ ผู ้ เรี ยนได้
ตอบคําถามและมีเฉลยให้ ผู ้ เรียนได้ ทราบผลทันที
เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสื อการศึกษา
                                                              ดร.อิศรา ก้ านจั กร คณะศึกษาศาสตร์ ม
                                                                                                 .ขอนแก่น


                                                                  นอกจากนี บทเรียนโปรแกรมจะต้ องมี
                                                       การวางวัตถุประสงค์ ไว้ อ ย่างชัดเจน ระบุการ
                                                       กระทํ า ที สัง เกตได้ สามารถ วั ด ผลได้ อ ย่ า ง
                                                       แม่ นยํ า และก่ อนทีจะนํ าบทเรี ย นโปรแกรมมา
                                                       ใช้ ได้ จะต้ อ งผ่ า นการทด ลองใช้ และ
                                                       แก้ ไข ปรั บ ปรุ งส่ ว นที เป็ นปั ญหาจนได้
                                                       ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ ทีได้ ตั งไว้ และลักษณะ
                                                       ของบทเรี ย นโปรแกรมจะค่ อ ย ๆ เพิ มพู น
                                                       ประ สบ กา รณ์ กา รเ รี ยน รู ้ เ พิ ม ขึ น เ รื อ ย ๆ
ตามลําดับทีผู ้ สร้ างได้ กําหนดเอา
            ลักษณะสําคัญของบทเรี ยนแบบโปรแกรม
            บทเรียนแบบโปรแกรมนั น อาจนํามาใช้ ได้ หลายลักษณะเช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมเทปโทรทัศน์ เครืองช่วยสอน หรือเป็ นบทเรียนทีเป็ นสิงพิมพ์ ขึ นกับวัตถุประสงค์ การใช้
แต่ไม่ว่าจะเป็ นลั กษณะใดก็ตาม บทเรียนแบบโปรแกรมจะมีลั กษณะสําคัญดังนี
            .........1. กําหนดวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมไว้
            .........2. แบ่งเนื อหาวิชาไว้ เป็ นหน่วยย่อย ๆ เรี ยกว่ากรอบหรื อเฟรม (Frame) แต่ละ
กรอบหรือเฟรมจะมีความสั นยาวแตกต่างกันไป
            .........3. จัดเรียงลําดับกรอบไว้ อย่างต่อเนืองตามลําดับความง่ายไปหายาก มีการยํ า
และทบทวนให้ ผู ้ เรียนทดสอบตนเองอยู่ตลอดเวลาผู ้ เรี ยนจะสามารถเรี ยนไปตามลําดับขั นและ
เข้ าใจง่าย
                     4. เปิ ดโอกาสให้ ผู ้ เรียนได้ ประกอบกิจกรรมด้ วยตนเอง โดยศึกษาจากเนื อหาใน
กรอบผู ้ เรียนจะเกิดความเข้ าใจได้ ดียิงขึ น
            .........5. มีการให้ ข้อมูลย้ อนกลับทันที โดยผู ้ เรี ยนจะตรวจสอบคําตอบของตนเองว่า
ถูกต้ องหรือไม่ถ้าถูกต้ องจะมีการให้ รางวัล.หรือเสริมแรง โดยการชมเชย หรื อการทีผู ้ เรี ยนประสบ
ความสําเร็จก็ถือว่าเป็ นแรงเสริมให้ ผู ้ เรียนต้ องการเรี ยนต่อไป.แต่ถ้าตอบผิดก็จะได้ ทราบคําตอบ
ทีถูกต้ องทันที ผู ้ เรียนจะเกิดการเรียนรู ้ ได้ อย่างถูกต้ อง
            .........6. เปิ ดโอกาสให้ ผู ้ เรียนได้ ใช้ เวลาเรียนอย่างเต็มที โดยไม่จํากัดเวลาเรี ยน ผู ้ เรี ยน
ทีเรี ยนเร็ วหรื อ ช้ าจะสามารถใช้ เวลาในการเรี ยนอย่ างเต็ มที ตามความสามารถและอัต ราการ
เรียนรู ้ ของตนในการแสวงหาความรู ้ ชนิดของบทเรียนโปรแกร               ม
เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสื อการศึกษา
                                                       ดร.อิศรา ก้ านจั กร คณะศึกษาศาสตร์ ม
                                                                                          .ขอนแก่น


หน่ วยการเรี ยนการสอน
              หน่วยการเรี ยนการสอน นั นมีชือเรี ยกได้ หลายชือ ได้ แก่ บทเรี ยนโมดูล หรื อบทเรี ยน
แบบโมดุลเป็ นบทเรียนทีใช้ เรียนเป็ นรายบุคคล และเป็ นกลุ่มใหญ่ ได้ มีลักษณะเด่นคือ มีการจัด
กิจ กรรมการเรี ย นการสอนที หลากหลาย เพื อตอบสนองต่ อความแตกต่ า งระหว่า งบุคคล มี
ส่วนประกอบหลักได้ แก่ ความมุ่ง หมาย กิ จกรรมการเรี ยนการสอน การประเมินผล (บุญเกื อ
ครวญหาเวช, 2543) ลั กษณะของหน่วยการเรียนการสอน
               โปรแกรมทั งหมดถูกขยายเป็ นส่วน ๆ เพื อไม่ใ ห้ เกิด ความซํ าซ้ อน และสามารถ
                     มองเห็นโครงร่างทั งหมดของโปรแกรม
               ยึดตัวผู ้ เรียนเป็ นศูนย์ก
                                          ลางในการจัดระบบการเรียนการสอน
               มีจุดประสงค์ในการเรียนทีชัดเจน
               เน้ นการเรียนด้ วยตนเอง
               ใช้ วิธีการสอนแบบต่าง ๆ ไว้ หลายอย่าง
               เน้ นการนําเอาวิธีระบบ (System Approach) เข้ ามาใช้ ในการสร้ าง
              หน่ ว ยการเรี ย นการสอนที จัด ทํา ขึ น อาจมีรูป แบบที แตกต่ า งกัน ออกไป เพือความ
เหมาะสมกับลั กษณะเนื อหาวิชา ผู ้ เรียน ฯลฯ องค์ประกอบทีสําคัญได้ แก่
                                                   แต่
              1. หลั กการและเหตุผล
              2. สมมรรถภาพพื นฐาน
              3. จุดประสงค์
              4. การประเมินผลเบื องต้ น
              5. กิจกรรมการเรียนการสอน
              6. การประเมินผลหลั งเรียน
              7. การเรียนซ่อมเสริม
ชุดการสอน
              ชุดการสอน หมายถึง ชุดของกิจกรรมการเรี ยนการสอนทีมีการนําเอาสือการสอน
หลายๆ ชนิดมาประกอบเข้ าด้ วยกัน ในรู ปของสือ
ประสมที สอดคล้ อ งกับ เนื อหาและประสบการณ์
โดยสือการสอนแต่ละชนิ ดจะส่งเสริ ม ซึงกันและกัน
เพื อให้ ผู ้ เรี ย นเกิ ด การเปลียนแปลงพฤติก รรมและ
ช่ว ยให้ มี ผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนตามจุดมุ่ ง หมาย
ทีตั งเอาไว้ ภายในชุดการสอนจะประกอบด้ ว ย
คู่มือการใช้ ชุดการสอนซึงระบุจุดมุ่ งหมายของการ
เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสื อการศึกษา
                                                           ดร.อิศรา ก้ านจั กร คณะศึกษาศาสตร์ ม
                                                                                              .ขอนแก่น


เรียนการสอน รายละเอียดทีเกียวกับเนื อหาวิชา ลําดับขั นของกิจกรรมการเรี ยนการสอนรายชือ
สือการสอน แบบทดสอบ บัตรงาน และสืออุปกรณ์ต่างๆ ชุดการสอนจึงมีความเหมาะสม และ
สามารถเปลียนแปลงพฤติก รรมการเรี ย นรู ้ ของนักเรี ย นได้ อ ย่างมีป ระสิท ธิ ภ าพยิงขึ น(เปรื อง
กุมุท , 2517; ไชยยศ เรืองสุ วรรณ, 2526; สุ มาลี ชัยเจริญ, 2547) ในการนําชุดการสอนมาใช้ นั น
อาศัย แนวคิด หลั กการ ตลอดจนทฤษฎีต่าง ๆ มี 5 ประการ คือ
             1. แนวคิดตามหลั กจิตวิทยา เกียวกับความแตกต่างระหว่างบุคคล โดยจัดให้ ผู ้ เรี ยนมี
อิสระในการเรียนรู ้ ตามความสามารถ และอัตราการเรียนรู ้ ของแต่ละคน
             2. แนวคิดทีจะจัดระบบการผลิต การใช้ สือการสอนในรู ปแบบของสือประสม โดยมี
จุดมุ่งหมายเพือเปลียนจากการใช้ สือช่วยครูมาเป็ นใช้ สือเพือช่วยนักเรียนในการรียนรู ้เ
             3. แนวคิ ดที จะสร้ างปฏิ สัม พัน ธ์ ระหว่ างครู และนักเรี ยน นัก เรี ยนกับ นัก เรี ยน และ
นักเรี ยนกับสภาพแวดล้ อม โดยนําสือการสอนมาใช้ ร่วมกับกระบวนการกลุ่ม ในการประกอบ
กิจกรรมการเรียนการสอน
             4. แนวคิดทียึดหลักจิตวิทยาการเรี ยนรู ้ มาจัดสภาพการเรี ยนการสอน เพือให้ เกิดการ
เรียนรู ้ อย่างมีประสิทธิ ภาพ โดยจัดสภาพการณ์ ให้ ผู ้ เรี ยนได้ ประกอบกิจกรรมด้ วยตนเอง และมี
ผลย้ อ นกลับทัน ทีว่าตอบถูกหรื อตอบผิด มีการเสริ มแรงทํา ให้ ผู ้ เ รี ยนเกิด ความภาคภูมิใ นและ
ต้ องการทีจะเรียนต่อไป ได้ เรี ยนรู ้ ทีละน้ อยๆ ตามลําดับขั น ตามความสามารถและความสนใจ
ของแต่ละคน
คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน
             คอมพิว เตอร์ ถูก พัฒ นานํ า มาประยุก ต์ ใ ช้
เพื อการเรี ยนการสอนและการบริ หารงานด้ า นการ
เรี ยนการ สอนต่า งๆ ในการนําเสนอสาระความรู ้
(Tutor) เป็ นเครื องมือ (Tool) ประกอบการเรี ยนการ
สอนและใช้ เป็ นเครื องมือฝึ ก (Tutee) ทักษะในด้ าน
ต่า งๆ การนํ าคอมพิว เตอร์ ม าใช้ เ พือการเรี ย นการ
ส อ น โ ด ย ทั ว ไ ป จ ะ รู ้ จั ก กั น ใ น ชื อ ที เ รี ย ก ว่ า
คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (Computer-Assisted Instruction หรื อ Computer Aid Instruction–
CAI) ซึงเป็ นโปรแกรมการเรียนการสอนโดยใช้ เครืองคอมพิวเตอร์ บันทึกเนื อหาวิชาทีมีทั งอักษร
ข้ อความ ภาพนิง ภาพเคลือนไหว กราฟแผนภูมิ ภาพเคลือนไหวและเสียง ลําดับวิธีการเสนอ
องค์ความรู ้ ต่างๆ ทีจะให้ ผู ้ เรียนได้ เรียนรู ้ เนื อหาวิชา ส่วนร่ วมและสนองต่อการเรี ยนรู ้ อย่างแข็ง
                                                                มี
ขันเพือบรรลุ ผลตามความมุ่งหมายของรายวิชา (ยืน ภู่ สุวรรณ, 2531; ถนอมพร เลาหจรัสแสง ,
2541)
เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสื อการศึกษา
                                                        ดร.อิศรา ก้ านจั กร คณะศึกษาศาสตร์ ม
                                                                                           .ขอนแก่น


บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน แบ่งตามลั กษณะการเสนอเนื อหาได้4 ลั กษณะ คือ
           1. บทเรียนชนิดโปรแกรมการสอนเนื อหารายละเอียด(Tutorial Instruction) บทเรี ยนนี
จะมีลั กษณะเป็ นกิจกรรมเสนอเนื อหาโดยจะเริ มจากบทนําซึงเป็ นการกําหนดจุดประสงค์ ของ
บทเรี ยน หลังจากนั นเสนอเนื อหาโดยให้ ความู ้ แก่ผู ้ เรี ยนตามทีผู ้ ออกแบบบทเรี ยนกําหนดไว้
                                                      ร
และมีคําถามเพือให้ ผู ้ เรี ยนตอบ โปรแกรมในบทเรี ยนจะประเมินผลคําตอบของผู ้ เรี ยนทันทีซึง
การทํางานของโปรแกรมจะมีลั กษณะวนซํ าเพือให้ ข้อมูลย้ อนกลั บจนจบบทเรียน
           2. บทเรี ยนชนิด โปรแกรมการฝึ กทัก ษะ (Drill and Practice) บทเรี ยนชนิดนี จะมี
ลั กษณะให้ ผู ้ เรียนฝึ กทักษะหรือฝึ กปฏิบัติเรืองใดเรืองหนึงโดยเฉพาะ
           3. บทเรียนชนิดโปรแกรมจําลองสถานการณ์ (Simulation) มีลักษณะเป็ นแบบจําลอง
เพือฝึ กทักษะและการเรียนรู ้ ใกล้ เคียงกับความจริงผู ้ เรียนไม่ต้องเสียงภัย และเสียค่าใช้ จ่ายน้ อย
           4. บทเรี ยนชนิด โปรแกรมเกมการศึก ษา (Education Game) มี ลักษณะเป็ นการ
กําหนดเหตุการณ์ วิธีการ และกฎเกณฑ์ ให้ ผู ้ เรี ยนเลือกเล่นและแข่งขัน การเล่นเกมจะเล่นคน
เดียวหรือหลายคนก็ได้ การแข่งขันโดยการเล่นเกม จะช่วยกระตุ ้ นให้ ผู ้ เล่นมีการติดตามถ้ าหาก
เกมดัง กล่า วมี ค วามรู ้ สอดแทรกก็จ ะเป็ นประโยชน์ ดี มาก แต่ การออกแบบบทเรี ย นชนิ ดเกม
การศึกษาค่อนข้ างทําได้ ยาก
              บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนมีขั นตอนในการนําเสนอเนื อหาเช่นเดียวกับการสอน
แบบโปรแกรม การสร้ างบทเรี ยนจึงใช้ วิธีเดียวกันกับการสร้ างบทเรี ยนโปรแกรมนันเอง เมือได้
บทเรี ยนโปรแกรม ซึงบางตําราเรี ยกว่า บทเรี ยนสําเร็ จรู ป (Programmed Text) ต่อจากนั นจึง
นํ า ไปแปลงเป็ นภาษาคอมพิ ว เตอร์ โดยอาศัย โปรแกรมสํ า เร็ จ เพื อเป็ นคํ า สังให้ เครื อง
คอมพิวเตอร์ ทํา งานตามเนื อหาที ผู ้ เขี ยนโปรแกรมออกแบบ ดังนั น ในการออกแบบบทเรี ย น
คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน จึงต้ องอาศัยพื นฐานทางทฤษฎี การเรียนรู ้ เพือเข้ าใจผู ้ เรี ยนแต่ละระดับ
และเน้ นผู ้ เรียนเป็ นศูนย์กลางฉะนั นการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนจึงมีขั นตอนดังนี
       กําหนดเนื อหาวิชาและระดับชั น         โดยผู ้ ออกแบบต้ องวิเคราะห์ว่าเนื อหาวิชานั นจะต้ อง
           ไม่เปลียนแปลงบ่อย ไม่ซํ ากับใครเพือคุ ้ มค่าการลงทุนและสามารถช่วยลดเวลาเรี ยน
           ของผู ้ เรียนได้
       การกําหนดวัตถุประสงค์ จะเป็ นแนวทางแก่ผู ้ ออกแบบบทเรี ยน เพือทราบว่าผู ้ เรี ยน
           หลั งจากเรียนจบแล้ วจะบรรลุตามวัตถุประสงค์มากน้ อยแค่ไหนการกําหนด
           วัตถุประสงค์จึงกําหนดได้ ทัวไปและเชิงพฤติกรรม สําหรับการกําหนดวัตถุประสงค์เชิง
           พฤติกรรมต้ องคํานึงถึง
                             ผู ้ เรียน (Audience) ว่ามีพื นฐานความรู ้ แค่ไหน
เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสื อการศึกษา
                                                        ดร.อิศรา ก้ านจั กร คณะศึกษาศาสตร์ ม
                                                                                           .ขอนแก่น


                            พฤติกรรม (Behavior) เป็ นการคาดหวังเพือทีจะให้ ผู ้ เรี ยนบรรลุ
                             เปาหมาย การวัดพฤติกรรมทําได้ โดยสั งเกต คํานวณ นับแยกแยะ
                                ้
                             แต่งประโยค
                           เงือนไข (Condition) เป็ นการกําหนดสภาวะทีพฤติกรรมของผู ้ เรี ยน
                             จะเกิดขึ นเช่น เมือนักเรียนดูภาพแล้ วจะต้ องวาดภาพนั นส่งครู
                             เป็ นต้ น
                           ปริมาณ (Degree) เป็ นการกําหนดมาตรฐานทียอมรับว่าผู ้ เรียน
                             บรรลุ วัตถุประสงค์แล้ ว เช่น อ่านคําควบกลํ าได้ ถูกต้ อง20 คํา จาก
                             25 คํา เป็ นต้ น
        การวิเคราะห์เนือหา เป็ นขั นตอนทีสําคัญโดยต้ องย่อยเนื อหาเป็ นเนื อหาเล็ๆกมีการ
         เรียงลําดับจากง่ายไปหายาก มีการวิเคราะห์ภารกิจ (Task Analysis) ว่าจะเริมต้ น
         ตรงไหนและดําเนินการไปทางใด
        การสร้ างแบบทดสอบ ต้ องสร้ างแบบทดสอบก่อนเรียนและหลั งเรี ยน แบบทดสอบนี จะ
         เป็ นตัวบ่งชี ว่าบทเรี
                             ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน มีประสิทธิภาพมากน้ อยประการใด
        การเขียนบทเรียน ก่อนเขียนบทเรี ยนต้ องกําหนดโครงสร้ างเพือให้ ได้ รูปร่ างของ
         บทเรียนเสียก่อน คือ จะทราบว่าต้ องประกอบด้ วยอะไรบ้ าง มีสั ดส่วนอย่างไร บทเรียน
         จึงจะมีขั น

นวัตกรรมทางการศึกษาในช่ วงปฏิรูปการศึกษา

                จากกระบวนทัศน์ (Paradigm) ของการจัดการศึกษาจากทีเน้ น “การสอน” เปลียนมา
เป็ น “การเรียนรู” ทีให้ ความสําคัญกับผู ้ เรียนมากทีสุ ดโดยกระบวนการจัดการศึกษาต้ องส่งเสริ ม
                    ้
ให้ ผู ้ เรี ย นสามารถพัฒนาตามธรรมชาติแ ละเต็ม ศักยภาพ มุ่ง เน้ นทีการพัฒนาและส่ง เสริ มให้
ผู ้ เ รี ย นสามารถสร้ างความรู ้ โดยใช้ เ ทคโนโลยีสารสนเทศ เพื อตอบสนองต่ อ การเรี ย นรู ้ อย่ า ง
ต่อเนืองตลอดชีวิต (สุมาลี ชัยเจริ ญ, 2546) โดยเฉพาะอย่างยิงในพระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ. 2542 ทีให้ ความสําคัญในการจัดการศึกษาทีเน้ นผู ้ เรี ยนเป็ นสําคัญ โดยในหมวด
1 มาตรา 8 การจัด การศึก ษาเป็ นการจัด การศึก ษาตลอดชี วิ ต สัง คมมี ส่ว นร่ ว มในการจัด
การศึกษา พัฒนาสาระ และกระบวนการเรี ยนรู ้ อย่า งต่อ เนือง หมวด 4 มาตรา 22 หลักการ
จัดการศึกษาต้ องยึดหลั กทีว่าผู ้ เรี ยนมีความสําคัญทีสุด และมาตรา24 กระบวนการเรี ยนรู ้ ต้อง
จัด เนื อหาสาระและกิ จ กรรมให้ สอดคล้ อ งกับ ความสนใจ ความถนัด และความแตกต่ า งของ
ผู ้ เรียน ฝึ กทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และประยุกต์ ใช้ เพือปองกัน ้
เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสื อการศึกษา
                                                         ดร.อิศรา ก้ านจั กร คณะศึกษาศาสตร์ ม
                                                                                            .ขอนแก่น


และแก้ ปัญหา ให้ ผู ้ เรียนเรียนรู ้ จากประสบการณ์จริง การฝึ กปฏิ บัติให้ ทําได้ คิดเป็ น ทําเป็ น และ
ในมาตรา 4 ได้ ให้ ความหมายของการศึกษา หมายถึง กระบวนการเรี ยนรู ้ เพือสร้ างความเจริ ญ
งอกงามของบุคคลและสังคม ซึงการเรี ยนรู ้ ดังกล่าวก็ คือการสร้ างความรู ้ นันเอง(รุ่ ง แก้ วแดง,
2545) นํามาซึงการออกแบบและพัฒนานวัตกรรมการศึกษาทีสอดคล้ องกับความเปลียนแปลง
ดังกล่าว ซึงในบทนี จะขอนําเสนอนวัตกรรมการศึกษาในยุคปฏิ รูปการศึ ได้ แก่ การเรี ยนบน
                                                                           กษา
เครื อข่า ย มัลติมี เดีย e-Learning และสิงแวดล้ อมทางการเรี ยนรู ้ ตามแนวคอนสตรัคติ วิสต์ ดัง
รายละเอียดทีจะนําเสนอต่อไปนี
การเรี ยนรู บนเครื อข่ าย
                ้
              การเรี ยนบนเครื อข่าย เป็ นบทเรี ยนทีนําเสนอผ่านเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ โดยอาศัย
คุณลัก ษณะของสื อที สามารถนํ า เสนอบทเรี ย นแบบ ข้ อ ความหลายมิ ติ (Hypertext) ที
ประกอบด้ วยสารสนเทศหรือข้ อมูลทีเรียกว่า โนด (Node) หลั กและโนดย่อย รวมทั งการเชือมโยง
แต่ ละโนดซึงกันและกัน ที เรี ยกว่า การเชื อมโยงหลายมิติ (Hyperlinks) เพื อสนับ สนุนและ
ส่งเสริ มให้ ผู ้ เรี ยนเกิดการเรี ยนรูอย่างมีความหมาย เชือมโยงเป็ นเครื อข่ายได้ ทัวโลกทีสามารถ
                                          ้
เรียนได้ ทุกทีทุกเวลา โดยมีลักษณะทีผู ้ สอนและผู ้ เรี ยนมีปฏิ สัมพันธ์ กันโดยผ่านระบบเครื อข่าย
คอมพิวเตอร์ ทีเชือมโยงซึงกันและกัน ( กิดานันท์ มลิทอง, 2543; ใจทิพย์ ณ สงขลา, 2542)
                  การจัดการเรี ยนการสอนด้ วยการเรี ยนบนเครื อข่าย นั นผู ้ สอนและผู ้ เรี ยนจะต้ องมี
ปฏิสั มพันธ์ กันโดยผ่านระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ทีเชือมโยงคอมพิวเตอร์ ของผู ้ เรี ยนเข้ าไว้ กับ
เครืองคอมพิวเตอร์ ของผู ้ ใช้ บริการเครือข่าย (File Server) และเครืองคอมพิวเตอร์ ของผู ้ ให้ บริ การ
เว็บ (Web Server) อาจเป็ นการเชือมโดยระยะใกล้ หรื อเชือมโยงระยะไกลผ่านทางระบบการ
สือสารและอินเทอร์ เน็ต
มัลติมีเดีย
              มัลติ มี เดี ย เข้ า มามีบ ทบาทมากขึ นในวงการธุ รกิ จและอุต สาหกรรม โดยเฉพาะได้
นํามาใช้ ในการฝึ กอบรมและให้ ความบันเทิง ส่วนในวงการศึกษามัลติมีเดียได้ นํามาใช้ เพือการ
เรียนการสอนในลั กษณะแผ่นซีดีรอม หรืออาจใช้ ในลั กษณะห้ องปฏิ บัติการมัลติมีเดียโดยเฉพาะ
ก็ได้ ซึงอาจกล่า วได้ ว่า มัลติมี เดียจะกลายมาเป็ นเครื องมือ ทีสําคัญทางการศึกษาในอนาคต
ทั งนี เพราะว่ามัลติมีเดียสามารถทีจะนําเสนอได้ ทั งเสียง ความ ภาพเคลือนไหว ดนตรี กราฟิ ก
                                                          ข้ อ
ภาพถ่ายวัสดุตีพิมพ์ ภาพยนตร์ และวีดิทัศน์ ประกอบกับสามารถทีจะจําลองภาพของการเรี ยน
การสอนทีผู ้ เรียนสามารถเรียนรู ้ ได้ ด้วยตนเองแบบเชิงรุก(Active Learning)
              มัลติมีเดียทีสมบูรณ์ควรจะต้ องประกอบด้ วยสือมากกว่า 2 สือ ตามองค์ ประกอบ ดังนี
ตัวอักษร ภาพนิง เสียง ภาพเคลือนไหว การเชือมโยงแบบปฏิ สัมพันธ์ และวีดิทัศน์ เป็ น การใช้
มัลติ มี เ ดี ย ก็ เ พื อเพิ มทางเลือ กในการเรี ย นและสนองต่ อ รู ป แบบของการเรี ย นของนัก เรี ย นที
เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสื อการศึกษา
                                                            ดร.อิศรา ก้ านจั กร คณะศึกษาศาสตร์ ม
                                                                                               .ขอนแก่น


แตกต่ า งกัน การจํ า ลองสภาพการณ์ ข องวิ ช าต่า งๆ เป็ นวิ ธี ก ารเรี ย นรู ้ ที นํ า ให้ นัก เรี ย นได้ รับ
ประสบการณ์ตรงก่อนการลงมือปฏิ บัติจริงโดยสามารถทีจะทบทวนขั นตอนและกระบวนการได้
เป็ นอย่างดี นักเรี ยนอาจเรี ยนหรื อฝึ กซํ าได้ และใช้ มัลติมีเดียในการฝึ กภาษาต่างประเทศ โดย
เน้ นเรืองของการออกเสียงและฝึ กพูด
            มัลติมีเดียสามารถเชือมทฤษฎีและการปฏิ บัติเข้ าด้ วยกันคือ ให้ โอกาสผู ้ ใช้ บทเรี ยนได้
ทดลองฝึ กปฏิบัติในสิงทีได้ เรียนในห้ องเรียน และช่วยเปลียนผู ้ ใช้ บทเรียนจากสภาพการเรี ยนรู ้ ใน
เชิงรับ มาเป็ นเชิงรุก ในด้ านของผู ้ สอนใช้ มัลติมีเดียในการนําเสนอการสอนในชั นเรี ยนแทนการ
สอนโดยใช้ เ ครื องฉายภาพข้ ามศี รษะ ทั งนี เนืองจากมัลติมีเ ดียจะสามารถนํ าเสนอความรู ้ ไ ด้
หลายสือและเสมือนจริงได้ มากกว่าการใช้ สือประเภทแผ่นใสเพียงอย่างเดียว
e-Learning
            E-Learning เป็ นนวัตกรรมทางการศึกษาทีเปลียนแปลงวิธีเรี ยนทีเป็ นอยู่เดิม เป็ นการ
เรียนทีใช้ เทคโนโลยีทีก้ าวหน้ า เช่น อินเทอร์ เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซ์ ทราเน็ต ดาวเทียม วิดีโอเทป
แผ่ น ซี ดี ฯลฯ คํ า ว่ า E-Learning ใช้ ใ นสถานการณ์ ก ารเรี ย นรู ้ ที มี ค วามหมายกว้ า งขวาง มี
ความหมายรวมถึง การเรียนทางไกล การเรี ยนผ่านเว็บ ห้ องเรี ยนเสมือนจริ ง และอืนๆ มากมาย
โดยสถานการณ์ดังกล่าวมีสิงทีมีเหมือนกันอยู่ประการหนึงคือ การใช้ เทคโนโลยีการสือสารเป็ น
สือสารของการเรียนรู ้
             แคมป เบล (Campbell. 1999) ให้ ค วามหมายของ E-Learning ว่ า เป็ นการใช้
                   ์
เทคโนโลยีทีมีอยู่ในอินเทอร์ เน็ตเพือสร้ างการศึกษาทีมีปฎิ สัมพันธ์ และการศึกษาทีมีคุณภาพสูง
ทีผู ้ คนทัวโลกมีความสะดวกและสามารถเข้ าถึงได้ ไม่จําเป็ นต้ องจัดการศึกษาทีต้ องกําหนดเวลา
และสถานที เปิ ดประตูของการเรียนรู ้ ตลอดชีวิตให้ กับประชากร

รู ปแบบการเรี ยนใน E-Learning
           การศึกษาทีใช้ เว็ บเป็ นเครื องมือในการเรี ยนรู ้ เป็ นการประยุกต์ กลยุทธ์ การเรี ยนการ
สอนตามแนวคิดของกลุ่มนักคอนสตรัคติวิสต์ และใช้ วิธีการเรี ยนรู ้ ร่วมกัน ทั งนี การออกแ        บบกล
ยุทธ์ การเรียนการสอนโดยการใช้ เว็บเป็ นเครื องมือการเรี ยนรู ้ นั นอาจใช้ วิธีใดวิธีหนึงดังต่อไปนี
(Relan และ Gillani. 1997)
      1. ใช้ เว็บเป็ นแหล่งข้ อมูลเพือการจําแนก ประเมิน และบูรณาการสารสนเทศต่างๆ
      2. ใช้ เว็บเป็ นสือกลางของการร่วมมือ สนทนา อภิปราย แลกเปลียน และสือสาร
      3. ใช้ เว็บเป็ นสือกลางในการมีส่วนร่วมในประสบการณ์จําลอง การทดลองฝึ กหัด และการมี
ส่วนร่วมคิด นอกจากนี การใช้ เว็บเพือการเรียนการสอนนั นมีหลั กการสําคัญ4 ประการ คือ
เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสื อการศึกษา
                                                             ดร.อิศรา ก้ านจั กร คณะศึกษาศาสตร์ ม
                                                                                                .ขอนแก่น


              1) ผู ้ เรี ยนเข้ าเว็บได้ ทุกเวลา และเป็ นผู ้ กําหนดลําดับการเข้ าเว็บนั นหรื อตามลําดับที
ผู ้ ออกแบบได้ ให้ แนวทางไว้
              2) การเรี ย นการสอนผ่ านเครื อข่า ยจะเป็ นไปได้ ดีถ้า เป็ นไปตามสภาพแวดล้ อมตาม
แนวคิดของนัก Constructivist กล่าวคือมีการเรียนรู ้ อย่างมีปฏิสั มพันธ์ และเรียนรู ้ ร่วมกัน
              3) ผู ้ สอนเปลียนแปลงตนเองจากการเป็ นผู ้ กระจายถ่ายทอดข้ อมูลมาเป็ นผู ้ ช่วยเหลือ
ผู ้ เรียนในการค้ นหา การประเมิน และการใช้ ประโยชน์จากสารสนเทศทีค้ นมาจากสือหลากหลาย
              4) การเรี ย นรู ้ เกิด ขึ นในลักษณะเกียวข้ องกันหลายวิช า(Interdisciplinary) และไม่
กําหนดว่าจะต้ องบรรลุ จุดประสงค์การเรียนรู ้ ในเวลาทีกําหนด
บริ บทของ E-Learning
         E-Learning เป็ นการเรี ยนทีใช้ เทคโนโลยีอสมวาร (Asynchronous Technologies) เป็ น
เทคโนโลยีทีทําให้ มีการเรียนดําเนินไปโดยไม่จํากัดเวลาและสถานที หรื อเป็ นการเรี ยนทีไม่พร้ อม
กัน โดยใช้ เครื องมื อสํา คัญ ทีมี อยูใ นอิ นเทอร์ เน็ ตและเว็บ ได้ แก่ กระดานข่าว ไปรษณี ย์
                                                ่
อิเล็กทรอนิกส์ การประชุมทางไกล ฯลฯ เครื องมือ
เห ล่ า นี ทํ าใ ห้ เ กิ ด กา รเรี ยน ไม่ พร้ อม กั น ไ ด้
(Asynchronous Technologies) การเรี ย นไม่
พร้ อมกันนี มีความหมายกว้ างไกลกว่าคําทีกล่าว
ว่า "ใครก็ได้ ทีไหนก็ได้ เวลาใดก็ได้ เรื องอะไรก็ได้
" (Anyone Anywhere Anytime Anything") ทั งนี
ในการสร้ างความรู ้ นั นการมีปฎิ สัมพันธ์ เป็ นส่วน
สําคัญส่วนหนึงของกระบวนการเรียนรู ้ เพราะการเรียนรู ้ จะเกิดขึ นได้ ดีหากผู ้ เรี ยนได้ มีโอกาสถาม
อธิบายสั งเกต รับฟั ง สะท้ อนความคิด และตรวจสอบความคิดเห็นกับผูอืน การเรี ยนไม่พร้ อมกัน
                                                                                    ้
จึง มี ค วามหมายถึ ง วิ ธี ก ารใดก็ ต ามที ช่ ว ยให้ มี ก ารเรี ย นรู ้ อย่ า งมี ป ฎิ สัม พัน ธ์ (Interactive
Learning) และการเรียนรู ้ ร่วมกัน (Collaborative Learning) โดยใช้ แหล่งทรัพยากรทีอยู่ห่างไกล
(Remote Resource) ที สามารถเข้ าถึง ได้ ตามเวลาและสถานทีทีผู ้ เ รี ยนมี ความสะดวกหรื อ
ต้ องการ เกียวข้ องกับการใช้ เทคโนโลยีการสือสารทางไกล เพือขยายการเรี ยนการสอนออกไป
นอกเหนือจากชั นเรียนหรือในห้ องเรียนและการเรียนทีเป็ นการพบกันโดยตรง
สิ งแวดล้ อมทางการเรี ยนรู ้ ตามแนวคอนสตรั คติวิสต์
              ในปั จ จุบันแนวการจัด การศึก ษาได้ เ ปลียนจาก “การสอน หรื อ การถ่ ายทอดโดย
ครู ผู ้ สอน หรื อสือการสอน” มาสู่ “การเน้ นผู ้ เรี ยนเป็ นศูนย์ กลางทีให้ ความสําคัญต่อการเรี ยนรู ้
ของผู ้ เ รี ย น” โดยผ่ า นการปฏิ บัติ ลงมื อ กระทํ า ด้ วยตนเอง การพัฒนาศัก ยภาพทางการคิ ด
ตลอดจนการแสวงหาความรู ้ ด้วยตนเอง ซึงเป็ นการเปิ ดโอกาสให้ ผู ้ เรียน วางแผน ดําเนินการและ
เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสื อการศึกษา
                                                                  ดร.อิศรา ก้ านจั กร คณะศึกษาศาสตร์ ม
                                                                                                     .ขอนแก่น


การประเมินตนเอง และมีปฏิ สัมพันธ์ กับแหล่งการเรี ยนรู ้ ต่างๆ ได้ แก่ ครู เทคโนโลยี พ่อแม่ ภูมิ
ปั ญญาท้ องถิน และบุคคลอืน ๆ ตลอดจน สือต่างๆ เพือทีจะนํามาสู่การสร้ างความรู ้
               แนวการจัด การศึก ษาดังกล่า วมีค วามสอดคล้ องอย่ างยิ งกั บทฤษฎี คอนสตรัคติ วิสต์
(Constructivism) ที เน้ นการสร้ าง
ความรู ้ ด้ วยตนเอง ด้ วยการลงมื อ
กระทํ า หรื อ ปฏิ บัติ ทีผ่ า นกระบวนการ
คิด และอาศัย ประสบการณ์ เ ดิ มหรื อ
ความรู ้ เดิ ม ที มี อ ยู่ แ ล้ วเชื อมโยงกั บ
ประสบการณ์ ใหม่หรื อความรู ้ ใหม่ เพือ
ขยายโครงสร้ างทางปั ญญา (Schema)
ซึ งเชื อว่ า ครู ไม่ ส า มารถขยา ย
โครงสร้ างทางปั ญญาให้ แ ก่ ผู ้ เ รี ย นได้
ผู ้ เ รี ยนต้ อง เป็ นผู ้ สร้ าง และข ยา ย
โครงสร้ างทางปั ญญาด้ วยตนเอง โดย
ครู เ ป็ นผู ้ จัด สิงแวดล้ อ มที เอื อต่ อ การเรี ย นรู ้ หรื อ สร้ างความรู ้ ของผู ้ เ รี ย นด้ ว ยการนํ า วิ ธี ก าร
เทคโนโลยีและนวัตกรรมหรือสือ ตลอดจนภูมิปัญญาท้ องถินมาใช้ ร่วมกันเพือเพิมประสิทธิ ภาพ
ในการเรียนรู ้
               สุม าลี ชัย เจริ ญ (2547) กล่า วว่า สิงแวดล้ อ มทางการเรี ยนรู ้ ที พัฒ นาตามแนวคอน
สตรัคติวิสต์เป็ นการออกแบบทีประสานร่ วมกันระหว่าง “สือ (Media)” กับ “วิธีการ (Methods)”
โดยการนําทฤษฎี คอนสตรัคติวิสต์ มาเป็ นพื นฐานในการออกแบบร่ วมกับสือ ซึงมีคุณลักษณะ
ของสือและระบบสั ญลั กษณ์ของสือทีสนับสนุนการสร้ างความรู ้ ของผู ้ เรียน

หลักการที สําคัญในการออกแบบสิ งแวดล้ อมทางการเรี ยนรู ้ ตามแนวคอนสตรั คติวิสต์
         สถานการณ์ ปั ญหา (Problem Base) มาจากพื นฐานของ Cognitive
Constructivism ของเพียเจต์เชือว่าถ้ าผู ้ เรียนถูกกระตุ ้ นด้ วยปั ญหา(Problem) ทีก่อให้ เกิดความ
ขัดแย้ งทางปั ญญา (Cognitive conflict)หรื อเรี ยกว่าเกิดการเสียสมดุลทางปั ญญา ผู ้ เรี ยนต้ อง
พยายามปรั บ โครงสร้ างทางปั ญญาให้ เข้ าสู่ ภ าวะสมดุ ล (Equilibrium)โดยการดู ด ซึ ม
(Assimilation)หรื อ การปรั บ เปลียนโครงสร้ างทางปั ญญา(Accommodation)จนกระทังผู ้ เ รี ย น
สามารถปรับโครงสร้ างทางปั ญญาเข้ าสู่สภาพสมดุลหรื อสามารถทีจะสร้ างความรู ้ ใหม่ขึ นมาได้
หรือเกิดการเรียนรู ้ นันเอง
เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสื อการศึกษา
                                                          ดร.อิศรา ก้ านจั กร คณะศึกษาศาสตร์ ม
                                                                                             .ขอนแก่น


             แหล่ งเรี ยนรู ้ (Resource) เป็ นทีรวบรวมข้ อมูล เนื อหาสารสนเทศ ทีผู ้ เรี ยนจะใช้ ใน
การแก้ สถานการณ์ ปัญหาทีผู ้ เรี ยนเผชิญ ซึงแหล่งเรี ยนรู ้ ในสิงแวดล้ อมทางการเรี ยนรู ้ ฯ นั นคง
ไม่ ใช่ เพี ย งแค่เ ป็ นเพีย งแหล่ง รวบรวมเนื อหาเท่ า นั น แต่รวมถึง สิงต่ างๆที ผู ้ เรี ยนจะใช้ ใ นการ
แสวงหาและค้ นพบคําตอบ (Discovery)
             ฐานความช่ วยเหลือ (Scaffolding) มาจากแนวคิดของ Social Constructivism ของ
Vygotsky ทีเชือว่า ถ้ าผู ้ เรียนอยู่ตํากว่าZone of Proximal Development ไม่สามารถเรี ยนรู ้ ด้วย
ตนเองได้ จําเป็ นทีจะต้ องได้ รับการช่วยเหลือทีเรี ยกว่า Scaffolding ซึงฐานความช่วยเหลือจะ
สนับสนุนผู ้ เรียนในการแก้ ปัญหาหรือการเรียนรู ้ ในกรณีทีไม่สามารถปฏิ บัติภารกิจให้ สําเร็ จด้ วย
ตัวเองได้ โดยฐานความช่วยเหลืออาจเป็ นคําแนะนํา แนวทาง ตลอดจนกลยุทธ์ ต่างๆในการ
แก้ ปัญหาหรือปฏิบัติภารกิจการเรียนรู ้
             ผู ้ ฝึกสอน (Coaching) มาจากพื นฐาน Situated Cognition และ Situated Learning
ของ Brown&Collins(1989) หลัก การนี ได้ กลาย นแนวทางในการจัด การเรี ยนรู ้ ต ามแนว
                                                          มาเป็
คอนสตรั ค ติวิ สต์ ที ได้ เ ปลียนบทบาทของครู ที ทํา หน้ า ทีในการถ่ ายทอดความรู ้ มาเป็ น “ผู ้
ฝึ กสอน” ทีให้ ความช่วยเหลือ การให้ คําแนะนําสําหรับผู ้ เรียน จะเป็ นการฝึ กหัดผู ้ เรี ยนโดยการให้
ความรู ้ แก่ผู ้ เรียนในเชิงการให้ การรู ้ คิดและการสร้ ญญา
                                                       างปั
             การร่ วมมื อ กั น แก้ ปั ญหา (Collaboration) เป็ นอี ก องค์ ป ระกอบหนึง ที มี ส่ว น
สนับ สนุน ให้ ผู ้ เรี ยนได้ แ ลกเปลียนประสบการณ์ กับ ผู ้ อื น เพือขยายมุม มองให้ แก่ต นเอง การ
ร่วมมือกันแก้ ปัญหาจะสนับสนุนให้ ผู ้ เรียนเกิดการคิดไตร่ ตรอง(Reflective Thinking) เป็ นแหล่ง
ทีเปิ ดโอกาสให้ ทั งผู ้ เรี ยนผู ้ สอน ผู ้ เชียวชาญ ได้ สนทนาแสดงความคิดเห็นของตนเองกับผู ้ อืน
สําหรับ การออกแบบการร่ ว มมื อกันแก้ ปั ญหาในขณะสร้ างความรู ้ นอกจากนี การร่ ว มมื อกัน
แก้ ปั ญหายั ง เป็ นส่ ว นสํ า คั ญ ในการปรั บ เปลี ยนและป องกั น ความเข้ าใจที คลาดเคลื อน
                                                                ้
(Misconception) ทีจะเกิดขึ นในขณะทีเรียนรูรวมทั งการขยายแนวคิด
                                                     ้
             สิงแวดล้ อมทางการเรี ย นรู ้ ตามแนวคอนสตรัคติ วิสต์ สามารถแยกตามบริ บทของสือ
และคุณลักษณะของสือได้ 3 ลักษณะคือ (1) สิงแวดล้ อมทางการเรี ยนรู ้ บนเครื อข่ายตามแนว
คอนสตรัคติวิสต์ (2) มัลติมีเดียตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ (3) ชุดสร้ างความรู ้ (สุมาลี ชัยเจริ ญ,
2547) ดังทีจะนําเสนอต่อไปนี
             (1) สิงแวดล้ อมทางการเรียนรู ้ บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ เป็ นออกแบบโดย
ใช้ ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เป็ นพื นฐานทีประสานร่ วมกับคุณลักษณะของสือบนเครื อข่ายทีสนอง
ต่อการสร้ างความรู ้ ของผู ้ เรี ยน ได้ แก่ กษณะเป็ นโนด (Node) ของความรู ้ ทีเชือมโยงกัน (Link)
                                              ลั
เป็ นเครื อข่ายทัวโลก ซึงแต่ละโหนดความรู ้ ทีผู ้ เรี ยนคลิกเข้ าไปศึกษาจะสนับสนุนผู ้ เรี ยนในการ
เชือมโยงปูพื นฐานความรู ้ ทีช่วยในการสร้ างความรู ้ ตลอดจนคุณลักษะด้ านการสือสารทีสามารถ
Unit 7
Unit 7
Unit 7
Unit 7

More Related Content

What's hot

การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์”
การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์” การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์”
การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์” Surapon Boonlue
 
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานAriyaporn Suaekong
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทJiraporn Chaimongkol
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
รายงานการฝึกอบรมต่างประเทศ โครงการ STEM Education
รายงานการฝึกอบรมต่างประเทศ โครงการ STEM Educationรายงานการฝึกอบรมต่างประเทศ โครงการ STEM Education
รายงานการฝึกอบรมต่างประเทศ โครงการ STEM Educationกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
Theoretical foundation by math ed kku sec2
Theoretical  foundation by math ed kku sec2Theoretical  foundation by math ed kku sec2
Theoretical foundation by math ed kku sec2chatruedi
 
รายงานผลการปฏิบัติงาน Thailand go green
รายงานผลการปฏิบัติงาน Thailand go green รายงานผลการปฏิบัติงาน Thailand go green
รายงานผลการปฏิบัติงาน Thailand go green Weerachat Martluplao
 
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active learning)
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active  learning)การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active  learning)
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active learning)Prachyanun Nilsook
 
การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ดร.กุศลิน 191116
การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ดร.กุศลิน 191116การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ดร.กุศลิน 191116
การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ดร.กุศลิน 191116kroofon fon
 
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์chaiwat vichianchai
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 

What's hot (20)

การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์”
การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์” การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์”
การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์”
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
 
บทที่ 6new
บทที่ 6newบทที่ 6new
บทที่ 6new
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงาน
 
Classroom In The Future
Classroom In  The  FutureClassroom In  The  Future
Classroom In The Future
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
รายงานการฝึกอบรมต่างประเทศ โครงการ STEM Education
รายงานการฝึกอบรมต่างประเทศ โครงการ STEM Educationรายงานการฝึกอบรมต่างประเทศ โครงการ STEM Education
รายงานการฝึกอบรมต่างประเทศ โครงการ STEM Education
 
Theoretical foundation by math ed kku sec2
Theoretical  foundation by math ed kku sec2Theoretical  foundation by math ed kku sec2
Theoretical foundation by math ed kku sec2
 
E Learning Concept El Yru
E Learning Concept El YruE Learning Concept El Yru
E Learning Concept El Yru
 
รายงานผลการปฏิบัติงาน Thailand go green
รายงานผลการปฏิบัติงาน Thailand go green รายงานผลการปฏิบัติงาน Thailand go green
รายงานผลการปฏิบัติงาน Thailand go green
 
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active learning)
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active  learning)การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active  learning)
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active learning)
 
จุดเน้นที่ 6
จุดเน้นที่ 6จุดเน้นที่ 6
จุดเน้นที่ 6
 
การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ดร.กุศลิน 191116
การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ดร.กุศลิน 191116การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ดร.กุศลิน 191116
การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ดร.กุศลิน 191116
 
Teacher1
Teacher1Teacher1
Teacher1
 
STEM Education
STEM Education STEM Education
STEM Education
 
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
2
22
2
 

Viewers also liked

Issara trf-present-2012
Issara trf-present-2012Issara trf-present-2012
Issara trf-present-2012Tar Bt
 
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...Tar Bt
 
Innovative learning environment
Innovative learning environmentInnovative learning environment
Innovative learning environmentTar Bt
 
แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาแบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาTar Bt
 
Innovative teacher
Innovative teacherInnovative teacher
Innovative teacherTar Bt
 
Epistemology
EpistemologyEpistemology
EpistemologyTar Bt
 
Smart learning environment
Smart learning environmentSmart learning environment
Smart learning environmentTar Bt
 
ร่างงานเลี้ยงรุ่น
ร่างงานเลี้ยงรุ่นร่างงานเลี้ยงรุ่น
ร่างงานเลี้ยงรุ่นTar Bt
 
Education 4.0 transforming educatio
Education 4.0  transforming educatioEducation 4.0  transforming educatio
Education 4.0 transforming educatioTar Bt
 
Online active learning
Online active learningOnline active learning
Online active learningTar Bt
 
Multimedia learning environment
Multimedia learning environmentMultimedia learning environment
Multimedia learning environmentTar Bt
 
ภาวินี โยวะศรี Mindmap
ภาวินี โยวะศรี Mindmapภาวินี โยวะศรี Mindmap
ภาวินี โยวะศรี MindmapAnn Pawinee
 
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครูkruthai40
 
การประเมินแฟ้ม
การประเมินแฟ้มการประเมินแฟ้ม
การประเมินแฟ้มTupPee Zhouyongfang
 
Online learning environment
Online learning environmentOnline learning environment
Online learning environmentTar Bt
 

Viewers also liked (15)

Issara trf-present-2012
Issara trf-present-2012Issara trf-present-2012
Issara trf-present-2012
 
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
 
Innovative learning environment
Innovative learning environmentInnovative learning environment
Innovative learning environment
 
แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาแบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
 
Innovative teacher
Innovative teacherInnovative teacher
Innovative teacher
 
Epistemology
EpistemologyEpistemology
Epistemology
 
Smart learning environment
Smart learning environmentSmart learning environment
Smart learning environment
 
ร่างงานเลี้ยงรุ่น
ร่างงานเลี้ยงรุ่นร่างงานเลี้ยงรุ่น
ร่างงานเลี้ยงรุ่น
 
Education 4.0 transforming educatio
Education 4.0  transforming educatioEducation 4.0  transforming educatio
Education 4.0 transforming educatio
 
Online active learning
Online active learningOnline active learning
Online active learning
 
Multimedia learning environment
Multimedia learning environmentMultimedia learning environment
Multimedia learning environment
 
ภาวินี โยวะศรี Mindmap
ภาวินี โยวะศรี Mindmapภาวินี โยวะศรี Mindmap
ภาวินี โยวะศรี Mindmap
 
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
 
การประเมินแฟ้ม
การประเมินแฟ้มการประเมินแฟ้ม
การประเมินแฟ้ม
 
Online learning environment
Online learning environmentOnline learning environment
Online learning environment
 

Similar to Unit 7

จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยPamkritsaya3147
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
หลักการออกแบบสื่อการสอน
หลักการออกแบบสื่อการสอนหลักการออกแบบสื่อการสอน
หลักการออกแบบสื่อการสอนKrookhuean Moonwan
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยVachii Ra
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11wanneemayss
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826gam030
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11benty2443
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11nattawad147
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1Ailada_oa
 

Similar to Unit 7 (20)

จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
หลักการออกแบบสื่อการสอน
หลักการออกแบบสื่อการสอนหลักการออกแบบสื่อการสอน
หลักการออกแบบสื่อการสอน
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 

More from Tar Bt

Reviwe of current trends in educational technologies
Reviwe of current trends in educational technologiesReviwe of current trends in educational technologies
Reviwe of current trends in educational technologiesTar Bt
 
Online learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & PracticeOnline learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & PracticeTar Bt
 
Show case global smart learning environment
Show case global smart learning environmentShow case global smart learning environment
Show case global smart learning environmentTar Bt
 
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนTar Bt
 
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...Tar Bt
 
A look forward etc research_new
A look forward etc research_newA look forward etc research_new
A look forward etc research_newTar Bt
 
การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2
การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2
การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2Tar Bt
 
A Look Forward: Educational Technology Research
A Look Forward: Educational Technology ResearchA Look Forward: Educational Technology Research
A Look Forward: Educational Technology ResearchTar Bt
 
Scopus_07
Scopus_07Scopus_07
Scopus_07Tar Bt
 
Scopus_06
Scopus_06Scopus_06
Scopus_06Tar Bt
 
Scopus_05
Scopus_05Scopus_05
Scopus_05Tar Bt
 
Scopus_04
Scopus_04Scopus_04
Scopus_04Tar Bt
 
Scopus_03
Scopus_03Scopus_03
Scopus_03Tar Bt
 
Scopus_02
Scopus_02Scopus_02
Scopus_02Tar Bt
 
Scopus_01
Scopus_01Scopus_01
Scopus_01Tar Bt
 
Scaffolding
ScaffoldingScaffolding
ScaffoldingTar Bt
 
คุณลักษณะของการเรียนและการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
คุณลักษณะของการเรียนและการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์คุณลักษณะของการเรียนและการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
คุณลักษณะของการเรียนและการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์Tar Bt
 

More from Tar Bt (19)

Reviwe of current trends in educational technologies
Reviwe of current trends in educational technologiesReviwe of current trends in educational technologies
Reviwe of current trends in educational technologies
 
Online learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & PracticeOnline learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & Practice
 
Show case global smart learning environment
Show case global smart learning environmentShow case global smart learning environment
Show case global smart learning environment
 
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
 
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
 
A look forward etc research_new
A look forward etc research_newA look forward etc research_new
A look forward etc research_new
 
การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2
การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2
การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2
 
A Look Forward: Educational Technology Research
A Look Forward: Educational Technology ResearchA Look Forward: Educational Technology Research
A Look Forward: Educational Technology Research
 
Scopus_07
Scopus_07Scopus_07
Scopus_07
 
Scopus_06
Scopus_06Scopus_06
Scopus_06
 
Scopus_05
Scopus_05Scopus_05
Scopus_05
 
Scopus_04
Scopus_04Scopus_04
Scopus_04
 
Scopus_03
Scopus_03Scopus_03
Scopus_03
 
Scopus_02
Scopus_02Scopus_02
Scopus_02
 
Scopus_01
Scopus_01Scopus_01
Scopus_01
 
Scaffolding
ScaffoldingScaffolding
Scaffolding
 
Sc
ScSc
Sc
 
Pb
PbPb
Pb
 
คุณลักษณะของการเรียนและการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
คุณลักษณะของการเรียนและการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์คุณลักษณะของการเรียนและการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
คุณลักษณะของการเรียนและการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
 

Unit 7

  • 1. เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสื อการศึกษา ดร.อิศรา ก้ านจั กร คณะศึกษาศาสตร์ ม .ขอนแก่น บทที 7 นวัตกรรมทางการศึกษา โครงร่ างเนื อหาของบท คําสําคัญ 1. ความหมายและความสําคัญของนวัตกรรมทางการศึกษา  คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน 2. นวัตกรรมทางการศึกษาในช่วงก่อนปฏิรูปการศึกษา  ชุดการสอน 3. นวัตกรรมทางการศึกษาในช่วงปฏิรูปการศึกษา  บทเรียนโปรแกรม วัตถุประสงค์การเรียนรู ้  การเรี ยนรู ้ บนเครือข่าย 1. อธิบายความคิดรวบยอดเกียวกับความหมายและ  อีเลรินนิง ความสําคัญของนวัตกรรมทางการศึกษาได้  มัลติมีเดีย 2. วิเคราะห์ความแตกต่างของนวัตกรรมทางการศึกษา  สิงแวดล้ อมทางการ ในช่วงก่อนและช่วงปฏิรูปการศึกษาได้ เรียนรู ้ 3. เลือกใช้นวัตกรรมทางการศึกษาให้ สอดคล้ องกับสภาพ  ชุดการสร้ างความรู ้ บริบทการเรี ยนการสอนจริงได้ กิจกรรมการเรียนรู ้ 1. ให้ มโนทัศน์เชิงทฤษฎี หลั กการ เรือง นวัตกรรมทาง การศึกษา 2. นักศึกษาแบ่งเป็ นกลุ่มย่อย กลุ่มละ 3 คน ศึกษาจาก สิงแวดล้ อมทางการเรี ยนรู ้ บนเครือข่าย http://ednet.kku.ac.th/~sumcha/web-230301/ โดย นักศึกษาศึกษาสถานการณ์ปัญหาบทที 7 วิเคราะห์ทํา ความเข้ าใจค้ นหาคําตอบจากเอกสารประกอบการสอน และแหล่งเรียนรู ้ บนเครือข่ายและร่วมกันสรุปคําตอบ และนําเสนอในรูปแบบ Power point 3. ร่วมกันสะท้ อนผลงานและสรุปองค์ความรู ้ โดยแต่ละกลุ่ม ต้ องสลั บทําหน้ าทีกันสะท้ อนผลได้ แก่ ถามคําถาม ควบคุม ชมเชย ข้ อควรปรับปรุง และประเมิน ) ผู ้ สอน ขยายกรอบความคิดของผู ้ เรียนโดยการตั งประเด็นถึงการ นําไปใช้ ในสภาพบริบทจริง
  • 2. เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสื อการศึกษา ดร.อิศรา ก้ านจั กร คณะศึกษาศาสตร์ ม .ขอนแก่น สถานการณ์ ปัญหา(Problem-based learning) กระทรวงศึกษาธิการต้ องการให้ ท่านเลือกและสร้ างนวัตกรรมการเรี ยนรู ้ ให้ เหมาะสม กับบริบทของโรงเรียนทั ง3 แห่งคือ โรงเรียนเปรมสวัสดิ โรงเรียนมหาชัย โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ โรงเรี ยนเปรมสวัส ดิ เป็ นโรงเรี ย นทีอยู่ห่ างไกล ความเจริ ญ ไม่ มี ก ารเชื อมโยงเครื อข่ า ย อินเตอร์ เน็ต แต่พอจะมีคอมพิวเตอร์ ใช้ บ้าง ซึงเป็ น ห้ องคอมพิ วเตอร์ สําหรั บนัก เรี ย น ความต้ อ งการ ของโรงเรี ย นคื ออยากจะได้ สือทีมาแก้ ปั ญหาการ เรียนการสอนทีช่วยกระตุ ้ นให้ เด็กมีความสนใจใน การเรี ยนมากขึ น สือนี สามารถทําให้ เด็ก เห็นสภาพเสมือนจริ ง (Realistic) และเหมาะสมกับ การศึกษารายบุคคล โดยผู ้ เรี ยนมีปฏิ สัมพันธ์ กับสือโดยตรงอาจจะมี ภาพนิง ภาพเคลือนไหว เสีย ง หรื อ วีดิทัศน์ ประกอบอยู่ ในสือนั น เพื อสร้ างความตืนเต้ น น่าสนใจ และสามารถย้ อ น ทบทวนส่วนทีต้ อ งการได้ โ ดยไม่ มีข้อ จํากัด มีการประเมิน เพือแก้ ไขข้ อบกพร่ อ งของตนเองได้ อาจจะออกแบบมาในลักษณะของเกม หรื อลักษณะทีกระตุ ้ นให้ ผู ้ เรี ยนให้ มีความกระตือรื อร้ น มากขึนทั งนี ก็สอดแทรกเนื อหาวิชาการเข้ าไว้ อย่างเหมาะสม โรงเรี ยนมหาชั ย ต้ อ งการนวัต กรรมทีสามารถ แก้ ไข ข้ อจํ า กั ด ด้ านสถานที และ เวลา โด ย ประยุกต์ ใช้ คุณสมบัติ เวิล์ด ไวด์ เว็บ ทีโรงเรี ยนมี อยู่ ในการจัด สภาพแวดล้ อ มและสนับสนุนการ เรี ย นการสอน สิงแรกที ต้ อ งมีคื อการลงทะเบีย น เพือขอรหัสผ่านเข้ าเรี ยน หลังจากนั นผู ้ เรี ยนศึกษา เนื อหาอาจเป็ นการอ่านบนจอหรือโหลดเนื อหาลงมาทีเครืองของตน อสังพิมพ์ ทางเครื องพิมพ์ หรื เพือศึกษาภายหลังก็ได้ ผู ้ เรี ยนสามารถกําหนดการเรี ยนได้ ด้ วยตนเอง (Self-directed) เปิ ด โอกาสให้ เ ลือกเรี ยนได้ ตามสะดวก สามารถ กําหนดกรอบเวลาในการเรี ยนรู ้ ได้ เ หมาะสมกับ ความสามารถในการเรียนรู ้ ของตนเอง คลอบคลุ มทั งการเรี ยนแบบประสานเวลา(Synchronous Learning) และไม่ป ระสานเวลา (Asynchronous Learning) และสามารถถามคํ าถาม ทํ า แบบฝึ กหัด ทํารายงานกลุ่ม อภิ ปรายแลกเปลียนความคิดเห็นแก่ผู ้ เรี ยนคนอืน ๆ ได้ และยัง สามารถเข้ าถึงเนื อหาได้ ทุกที ทุกเวลา ทุกสถานที มีต่อ>>
  • 3. เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสื อการศึกษา ดร.อิศรา ก้ านจั กร คณะศึกษาศาสตร์ ม .ขอนแก่น สถานการณ์ ปัญหา(Problem-based learning) โรงเรี ย นเทศบาลวั ด ธาตุ ต้ อ งการออกแบบ นวัตกรรมการเรียนรู ้ ทเน้ นให้ ผู ้ เรี ยนสามารถสร้ าง ี ความรู ้ ด้ ว ยตนเอง โดยการเผชิ ญ สถานการณ์ ปั ญหา มีแหล่ง เรี ยนรู ้ ให้ ผู ้ เ รี ยนได้ สืบ ค้ น เมื อไม่ สามารถแก้ ปั ญหาได้ ก็ มี ฐ านความช่ ว ยเหลื อ พร้ อมทั งมี เ ครื องมื อ ที สนับ สนุน การร่ ว มมื อ กั น แก้ ปั ญหา สามารถแลกเปลียนความคิด เห็น ระหว่ างกันได้ ต ลอดเวลา นอกจากนี นวัต กรรมที พัฒนาขึ นต้ องสามารถนํามาใช้ ได้ ในหลายบริ บทเนืองจากผู ้ เรี ยนมีควา แตกต่างกัน บางกลุ่ม ม ชอบที จะเรี ย นบนเครื อ ข่ า ย บางกลุ่ม ชอบที จะเรี ย นแบบมัล ติ มี เ ดี ย และบางกลุ่ ม ชอบที จะ สามารถนํ า ไปใช้ เ รี ย นได้ ทุก สถานที ไม่ ว่ า จะเป็ นใต้ ร่ม ไม้ หรื อ สถานที ที ไม่ มี ค อมพิ ว เตอร์ ก็ สามารถใช้ เรียนรู ้ เพือให้ เกิดประสิทธิภาพได้ ภารกิจการเรี ยนรู ้ 1. อธิบายความหมายของสิงแวดล้ อมทางการเรียนรู ้ 2. วิเคราะห์เลือกใช้นวัตกรรมการเรียนรู ้ ให้ สอดคล้ องกับบริบทของโรงเรียนทั ง3 แห่งนี 3. จากประเภทของนวัตกรรมการเรี ยนรู ้ ใ นบทที 7 ให้ ท่า นเสนอนวัตกรรมการเรี ยนรู ้ ที สอดคล้ องกับลั กษณะวิชาเอกทีท่านจะปฏิบัติหน้ าทีสอน พร้ อมทั งอธิบ ายเหตุผล
  • 4. เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสื อการศึกษา ดร.อิศรา ก้ านจั กร คณะศึกษาศาสตร์ ม .ขอนแก่น นวั ตกรรมการศึ กษาก่อน นวั ตกรรมการศึ กษาในยุค ปฏิ รูปการศึ กษา ปฏิ รูปการศึ กษา มีพื นฐานการออกแบบมา เน้นให้นํ า เทคโนโลยีเ ข้ า มา จากทฤษฎีก ลุ ่ม พฤติ ก รรม นวัตกรรมทาง เพื อเพิ มประสิ ท ธิ ภ าพการ นิ ย ม จะเน้นการถ่า ยทอด เรียนรู ้ ของผู ้ เรี ยน โดยเฉพาะ เนื อหาจากสื อไปยังผู ้ เ รี ย น การศึกษา การสร้า งความรู ้ด ้ ว ยตนเอง โดยตรง บทบาทของผู ้ เรี ยน ซึ งจะมี พื นฐานจากทฤษฎี จะเป็ นการรอรั บ ความรู ้ กลุ ่ม คอนสตรั ค ติ วิ ส ต์ ซึ ง นวั ต กรรม ในยุ คนี เ ช่ น เรี ย กว่า สิ งแวดล้ อมทางการ บทเรี ย นโปรแกรม ชุ ด การ เรี ย นรู ้ต ามแนวคอนสตรั ค ติ สอน คอมพิวเตอร์ช ่วยสอน วิสต์ เช่ น มั ลติมีเดีย ชุ ดสร้าง เป็ นต้ น ความรู ้ ฯลฯ ความหมายและความสําคัญของ นวัตกรรมทางการศึกษา
  • 5. เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสื อการศึกษา ดร.อิศรา ก้ านจั กร คณะศึกษาศาสตร์ ม .ขอนแก่น ความหมายและความสําคัญของนวัตกรรมทางการศึกษา ความหมายของนวัตกรรมทางการศึกษา คําว่า "นวัตกรรม" หรื อ นวกรรม มาจากคําภาษาอังกฤษว่า "Innovation" โดยคําว่า นวัตกรรม มีรูป ศัพท์ เดิมมาจากภาษาบาลี คือ นว+อตต+กรรม กล่าวคือ นว แปลว่า ใหม่ อัตต แปลว่า ตัวเอง และกรรม แปลว่า การกระทํา เมือรวมคํา นว มาสนธิ กับ อัตต จึงเป็ น นวัตต และ เมือรวมคํา นวัตต มาสมาส กับ กรรม จึงเป็ นคํา ว่า นวัตกรรม แปลตามรากศัพท์ เดิมว่า การกระทําทีใหม่ของ ตนเอง หรื อ การกระทํา ของตนเองที ใหม่ (เสาวณี ย์ สิก ขา บัณฑิต, 2528) ส่วนคําว่า "นวกรรม”ทีมีใช้ กันมาแต่เดิม มีรากศัพท์ เดิมมาจากคําว่า นว แปลว่า ใหม่ กรรม แปลว่า การกระทํา จึง แปลตามรูปศัพท์เดิมว่าเป็ นการปฏิบัติหรือการกระทําใหม่ๆ ในความหมายโดยทัวไปแล้ วสิงใหม่ๆ อาจหมายถึง ความคิด วิธีปฏิบัติ วัตถุหรือสิงของทีใหม่ ซึงยังไม่เป็ นทีรู ้ จักมาก่อนคําว่านวัตกรรมนี อาจมีผู ้ ใช้ คํ า อื นๆ อี ก เช่ น นวัต กรรม ความจริ ง แล้ ว ก็ เ ป็ นคํ า ๆ เดี ย วกั น นันจากการศึ ก ษานิ ย าม ความหมาย ของคําว่านวัตกรรมการศึกษาได้ มีผู ้ ให้ ความหมายไว้ ดังนี Hughes (1971) อธิบายว่า นวัตกรรม เป็ นการนําวิธีการใหม่ ๆ มาปฏิ บัติหลังจากได้ ผ่านการทดลองหรือได้ รับการพัฒนามาเป็ นขั น ๆ แล้ วโดยมีขั นตอนดังนี 1. การคิดค้ น (invention) 2. การพัฒนา (Development) 3. นําไปปฏิบัติจริ ง ซึงมีความแตกต่างจากการปฏิบัติเดิมทีเคยปฏิบัติมา J.A. Morton (1973) กล่าวว่า “นวัตกรรม " หมายถึง การปรับปรุ งของเก่าให้ ใหม่ขึ น และพัฒนาศักยภาพของบุคลากร ตลอดจนหน่วยงาน หรื อองค์ การนั นนวัตกรรมไม่ใช่การขจัด หรื อล้ มล้ างสิงเก่าให้ หมดไป แต่ เป็ นการปรับปรุ ง เสริ มแต่ง และพัฒนาเพือความอยู่รอดของ ระบบ Everette M. Rogers (1983) ได้ ให้ ความหมายของคําว่า นวัตกรรม (Innovation) ว่า นวัตกรรมคือ ความคิด การกระทํา หรือวัตถุใหม่ ๆ ซึงถูกรับรูว่าเป็ นสิงใหม่ๆ ด้ วยตัวบุคคลแต่ละ ้ คนหรื อหน่วยอืน ๆ ของการยอมรับในสังคม(Innovation is a new idea, practice or object, that is perceived as new by the individual or other unit of adoption
  • 6. เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสื อการศึกษา ดร.อิศรา ก้ านจั กร คณะศึกษาศาสตร์ ม .ขอนแก่น ไชยยศ เรื องสุว รรณ (2526) ได้ ใ ห้ ความหมาย “นวัตกรรม " ไว้ ว่า หมายถึง วิธี การ ปฏิบัติใหม่ๆ ทีแปลกไปจากเดิม โดยอาจจะได้ มาจากการคิดค้ นพบวิธีการใหม่ๆขึ นมา หรื อมีการ ปรับปรุงของเก่าให้ เหมาะสม และสิงทั งหลายเหล่านีได้ รับการทดลองพัฒนาจนเป็ นทีเชือถือได้ แล้ วว่าได้ ผลดีทางปฏิบัติ ทําให้ ระบบก้ าวไปสู่จุดหมายปลายทางได้ อย่างมีประสิทธิภาพ บุญเกื อ ครวญหาเวช(2543) กล่าวว่า นวัตกรรมการศึกษา หมายถึง เป็ นการนําเอาสิง ใหม่ๆ ซึงอาจอยู่ในรู ปของความคิด หรื อ การกระทํา รวมทั ง สิงประดิษฐ์ ก็ตามเข้ ามาในระบบ การศึกษา เพือมุ่งหวังทีจะเปลียนแปลงสิงทีมีอยู่เดิม ให้ ระบบการจัดการศึกษามีประสิทธิ ภาพ ยิงขึ น สุ มาลี ชัยเจริ ญ (2548) ได้ ให้ ความหมาย “นวัตกรรม " ไว้ ว่า คือ การนําสิงใหม่ๆ ซึง อาจจะเป็ นแนวความคิดหรือการกระทํา หรื อสิงประดิษฐ์ ทีอาศัยหลักการ ทฤษฎี และผ่านการ ทดลอง วิจัยจนเชือถือได้ เพือเพิมพูนประสิทธิภาพของการปฏิบัติงาน จากนิยามความหมายข้ างต้ นสามารถสรุ ปได้ ว่า นวัตกรรม เป็ นความคิด การกระทํา สิงประดิษฐ์ หรื อวิ ธีการใหม่ ๆ หรื อ ทีได้ รับ การพัฒ นาปรั บปรุ งมาจากสิงเดิม โดยต้ องผ่ านการ ทดลอง วิจัย พัฒนาจนเป็ นทีเชือถือได้ ว่าสามารถนํามาใช้ ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ความสําคัญของนวัตกรรมการศึกษา นวัตกรรมมี ความสําคัญต่อการศึก ษาหลายประการ ทั งนี เนืองจากในโลกยุคลกาภิ โ วัตน์ ทีมี การเปลียนแปลงในทุกด้ านอย่า งรวดเร็ ว โดยเฉพาะอย่า งยิ ง ความก้ า วหน้ า ทั งด้ า น เทคโนโลยี แ ละสารสนเทศ การศึ ก ษาจึง จํ า เป็ นต้ องมี ก ารพัฒ นาเปลียนแปลงจากระบบ การศึก ษาที มีอ ยู่ เดิ ม เพื อให้ ทันสมัยต่ อ การเปลียนแปลงของเทคโนโลยี และสภาพสังคมที เปลียนแปลงไป อีกทั งเพือแก้ ไขปั ญหา านการศึกษาบางอย่างทีเกิดขึ นอย่างมีประสิทธิ ภาพ ทางด้ เช่นเดียวกัน การเปลียนแปลงทางด้ านการศึกษาจึงจําเป็ นต้ องมีการศึกษาเกียวกับนวัตกรรม การศึกษาทีจะนํามาใช้ เพือแก้ ไขปั ญหาทางด้ านการศึกษาในบางเรื อง เช่น ปั ญหาทีเกียวเนือง กับจํานวนผู ้ เรียนทีมากขึ น การพัฒนา ลักสูตรให้ ทันสมัย การผลิตและพัฒนาสือใหม่ ๆ ขึ นมา ห เพือตอบสนองการเรี ยนรู ้ ของมนุษย์ ให้ เพิมมากขึ นด้ วยระยะเวลาทีสั นลงการใช้ นวัตกรรมมา ประยุกต์ ในระบบการบริ ห ารจัด การด้ านการศึกษาก็ มีส่วนช่ว ยให้ ก ารใช้ ทรั พยากรการเรี ยนรู ้ เป็ นไปอย่ างมี ประสิท ธิ ภ าพ เช่ น เกิด การเรี ย นรู ้ ด้ วยตน การพัฒ นาศักยภาพทีพึงประสงค์ โดยเฉพาะอย่างยิงกระบวนการทางปั ญญาและกระบวนการคิด การพิจารณาว่าสิงหนึงสิงใดเป็ นนวัตกรรมนั น สุมาลี ชัยเจริ ญ(2548) ได้ ชี ให้ เห็นว่า ขึ นอยู่กับการรับรู ้ ของแต่ละบุคคลหรื อกลุ่มบุคคลว่าเป็ นสิงใหม่สําหรับเขา งนั นนวัตกรรมของ ดั บุคคลกลุ่มใดกลุ่มหนึงอาจไม่ใช่นวัตกรรมของบุคคลกลุ่มอืน ๆก็ได้ ขึ นอยู่กับการรับรู ้ ของบุคคล นั นว่ า เป็ นสิงใหม่ สํา หรั บ เขาหรื อ ไม่ อี กประการหนึงความใหม่ (newness) อาจขึ นอยู่ กับ
  • 7. เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสื อการศึกษา ดร.อิศรา ก้ านจั กร คณะศึกษาศาสตร์ ม .ขอนแก่น ระยะเวลาด้ วย สิงใหม่ๆ ตามความหมายของนวัตกรรมไม่จําเป็ นจะต้ องใหม่จริ งๆ แต่อาจจะ หมายถึงสิงใดสิงหนึงทีเป็ นความคิดหรือการปฏิบัติทีเคยทํากันมาแล้ วแต่ได้ หยุดกันไประยะเวลา หนึง ต่อมาได้ มีการรื อฟื นขึ นมาทําใหม่เนืองจากเห็นว่าสามารถช่วยแก้ ปัญหาในสภาพการณ์ ใหม่นั นได้ก็นับว่าสิงนั นเป็ นสิงใหม่ได้ดังนั น นวัตกรรมอาจหมายถึงสิใหม่ๆ ดังต่อไป ง  เป็ นสิงใหม่ทั งหมดหรือใหม่บางส่วนโดยนําสิงเดิมมาปรับปรุง  มีการออกแบบ สร้ าง ผลิต ทีอาศัยทฤษฎี หลั กการ  มีการทดลองและการศึกษาวิจัย  ยังไม่เป็ นทีแพร่หลายจนเป็ นส่วนหนึงของระบบ ในบทนี จะขอนําเสนอนวัตกรรมทางการศึกษาในแต่ละช่วงซึงได้ จากการทบทวนงานวิจัย ทางด้ านเทคโนโลยีการศึกษาในประเทศไทย 30 ปี ทีผ่านมา (2520-2550) โดยกําหนดเป็ นช่วง ก่อนปฏิรูปการศึกษา ช่วงปฏิ รูปการศึกษาและสิงแวดล้ อมทางการเรี ยนรู ้ ตามแนวคอนสตรัคติ วิสต์ ดังทีจะนําเสนอในแต่ละหัวข้ อต่อไปนี นวัตกรรมทางการศึกษาในช่ วงก่ อนปฏิรูปการศึกษา ความเชือเกียวกับเรียนรู ้ ก่อนยุคปฏิ รูปการศึกษาของไทยจะอยู่บนพื นฐานทีว่าความรู ้ เป็ นสิงทีหยุดนิง ไม่มีการเปลียนแปลง ดังนั นหากใครสามารถรับหรื อจดจําความรู ้ ได้ มากทีสุดก็ ถือ ว่ า ผู ้ นั นเป็ นผู ้ ที เรี ย นรู ้ ได้ ดี ที สุด และนันคื อ เปาหมายของการจัดการเรี ยนรู ้ ของคแนวคิ ด ้ รู เกียวกับการเรียนรู ้ ดังกล่าวจะสอดคล้ องกับแนวคิดกลุ่มพฤติกรรมนิยม ซึงเชือว่า การเรี ยนรู ้ คือ การเปลียนแปลงพฤติก รรม ซึงเป็ นผลมาจากความสัมพันธ์ ระหว่างสิงเร้ า และการตอบสนอง และการเรี ยนรู ้ นั นจะคงทนหากได้ รับการเสริ มแรง การฝึ กหัด การทําซํ าๆ เป็ นต้ น บทบทของ า ผู ้ เรียนจึงเป็ นผู ้ ทีรอรับความรู ้ ทีจะได้ รับการถ่ายทอดโดยตรงจากครู แนวคิดดังกล่าวนํามาซึงการ พัฒนาเป็ นนวัตกรรมทางการศึกษา ดังเช่น บทเรียนโปรแกรม คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ชุดการสอน ดังรายละเอียดทีจะนําเสนอต่อไปนี บทเรี ยนแบบโปรแกรม บทเรียนแบบโปรแกรม เป็ นบทเรียนทีเสนอเนื อหาในรู ปของกรอบ หรื อเฟรม(Frame) โดยแบ่งเนื อหาเป็ นหน่วยย่อย ๆ ให้ ผู ้ เรียนได้ เรียนด้ วยตนเองทีละน้ อยแล้ วมีคําถามให้ ผู ้ เรี ยนได้ ตอบคําถามและมีเฉลยให้ ผู ้ เรียนได้ ทราบผลทันที
  • 8. เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสื อการศึกษา ดร.อิศรา ก้ านจั กร คณะศึกษาศาสตร์ ม .ขอนแก่น นอกจากนี บทเรียนโปรแกรมจะต้ องมี การวางวัตถุประสงค์ ไว้ อ ย่างชัดเจน ระบุการ กระทํ า ที สัง เกตได้ สามารถ วั ด ผลได้ อ ย่ า ง แม่ นยํ า และก่ อนทีจะนํ าบทเรี ย นโปรแกรมมา ใช้ ได้ จะต้ อ งผ่ า นการทด ลองใช้ และ แก้ ไข ปรั บ ปรุ งส่ ว นที เป็ นปั ญหาจนได้ ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ ทีได้ ตั งไว้ และลักษณะ ของบทเรี ย นโปรแกรมจะค่ อ ย ๆ เพิ มพู น ประ สบ กา รณ์ กา รเ รี ยน รู ้ เ พิ ม ขึ น เ รื อ ย ๆ ตามลําดับทีผู ้ สร้ างได้ กําหนดเอา ลักษณะสําคัญของบทเรี ยนแบบโปรแกรม บทเรียนแบบโปรแกรมนั น อาจนํามาใช้ ได้ หลายลักษณะเช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ โปรแกรมเทปโทรทัศน์ เครืองช่วยสอน หรือเป็ นบทเรียนทีเป็ นสิงพิมพ์ ขึ นกับวัตถุประสงค์ การใช้ แต่ไม่ว่าจะเป็ นลั กษณะใดก็ตาม บทเรียนแบบโปรแกรมจะมีลั กษณะสําคัญดังนี .........1. กําหนดวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมไว้ .........2. แบ่งเนื อหาวิชาไว้ เป็ นหน่วยย่อย ๆ เรี ยกว่ากรอบหรื อเฟรม (Frame) แต่ละ กรอบหรือเฟรมจะมีความสั นยาวแตกต่างกันไป .........3. จัดเรียงลําดับกรอบไว้ อย่างต่อเนืองตามลําดับความง่ายไปหายาก มีการยํ า และทบทวนให้ ผู ้ เรียนทดสอบตนเองอยู่ตลอดเวลาผู ้ เรี ยนจะสามารถเรี ยนไปตามลําดับขั นและ เข้ าใจง่าย 4. เปิ ดโอกาสให้ ผู ้ เรียนได้ ประกอบกิจกรรมด้ วยตนเอง โดยศึกษาจากเนื อหาใน กรอบผู ้ เรียนจะเกิดความเข้ าใจได้ ดียิงขึ น .........5. มีการให้ ข้อมูลย้ อนกลับทันที โดยผู ้ เรี ยนจะตรวจสอบคําตอบของตนเองว่า ถูกต้ องหรือไม่ถ้าถูกต้ องจะมีการให้ รางวัล.หรือเสริมแรง โดยการชมเชย หรื อการทีผู ้ เรี ยนประสบ ความสําเร็จก็ถือว่าเป็ นแรงเสริมให้ ผู ้ เรียนต้ องการเรี ยนต่อไป.แต่ถ้าตอบผิดก็จะได้ ทราบคําตอบ ทีถูกต้ องทันที ผู ้ เรียนจะเกิดการเรียนรู ้ ได้ อย่างถูกต้ อง .........6. เปิ ดโอกาสให้ ผู ้ เรียนได้ ใช้ เวลาเรียนอย่างเต็มที โดยไม่จํากัดเวลาเรี ยน ผู ้ เรี ยน ทีเรี ยนเร็ วหรื อ ช้ าจะสามารถใช้ เวลาในการเรี ยนอย่ างเต็ มที ตามความสามารถและอัต ราการ เรียนรู ้ ของตนในการแสวงหาความรู ้ ชนิดของบทเรียนโปรแกร ม
  • 9. เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสื อการศึกษา ดร.อิศรา ก้ านจั กร คณะศึกษาศาสตร์ ม .ขอนแก่น หน่ วยการเรี ยนการสอน หน่วยการเรี ยนการสอน นั นมีชือเรี ยกได้ หลายชือ ได้ แก่ บทเรี ยนโมดูล หรื อบทเรี ยน แบบโมดุลเป็ นบทเรียนทีใช้ เรียนเป็ นรายบุคคล และเป็ นกลุ่มใหญ่ ได้ มีลักษณะเด่นคือ มีการจัด กิจ กรรมการเรี ย นการสอนที หลากหลาย เพื อตอบสนองต่ อความแตกต่ า งระหว่า งบุคคล มี ส่วนประกอบหลักได้ แก่ ความมุ่ง หมาย กิ จกรรมการเรี ยนการสอน การประเมินผล (บุญเกื อ ครวญหาเวช, 2543) ลั กษณะของหน่วยการเรียนการสอน  โปรแกรมทั งหมดถูกขยายเป็ นส่วน ๆ เพื อไม่ใ ห้ เกิด ความซํ าซ้ อน และสามารถ มองเห็นโครงร่างทั งหมดของโปรแกรม  ยึดตัวผู ้ เรียนเป็ นศูนย์ก ลางในการจัดระบบการเรียนการสอน  มีจุดประสงค์ในการเรียนทีชัดเจน  เน้ นการเรียนด้ วยตนเอง  ใช้ วิธีการสอนแบบต่าง ๆ ไว้ หลายอย่าง  เน้ นการนําเอาวิธีระบบ (System Approach) เข้ ามาใช้ ในการสร้ าง หน่ ว ยการเรี ย นการสอนที จัด ทํา ขึ น อาจมีรูป แบบที แตกต่ า งกัน ออกไป เพือความ เหมาะสมกับลั กษณะเนื อหาวิชา ผู ้ เรียน ฯลฯ องค์ประกอบทีสําคัญได้ แก่ แต่ 1. หลั กการและเหตุผล 2. สมมรรถภาพพื นฐาน 3. จุดประสงค์ 4. การประเมินผลเบื องต้ น 5. กิจกรรมการเรียนการสอน 6. การประเมินผลหลั งเรียน 7. การเรียนซ่อมเสริม ชุดการสอน ชุดการสอน หมายถึง ชุดของกิจกรรมการเรี ยนการสอนทีมีการนําเอาสือการสอน หลายๆ ชนิดมาประกอบเข้ าด้ วยกัน ในรู ปของสือ ประสมที สอดคล้ อ งกับ เนื อหาและประสบการณ์ โดยสือการสอนแต่ละชนิ ดจะส่งเสริ ม ซึงกันและกัน เพื อให้ ผู ้ เรี ย นเกิ ด การเปลียนแปลงพฤติก รรมและ ช่ว ยให้ มี ผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนตามจุดมุ่ ง หมาย ทีตั งเอาไว้ ภายในชุดการสอนจะประกอบด้ ว ย คู่มือการใช้ ชุดการสอนซึงระบุจุดมุ่ งหมายของการ
  • 10. เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสื อการศึกษา ดร.อิศรา ก้ านจั กร คณะศึกษาศาสตร์ ม .ขอนแก่น เรียนการสอน รายละเอียดทีเกียวกับเนื อหาวิชา ลําดับขั นของกิจกรรมการเรี ยนการสอนรายชือ สือการสอน แบบทดสอบ บัตรงาน และสืออุปกรณ์ต่างๆ ชุดการสอนจึงมีความเหมาะสม และ สามารถเปลียนแปลงพฤติก รรมการเรี ย นรู ้ ของนักเรี ย นได้ อ ย่างมีป ระสิท ธิ ภ าพยิงขึ น(เปรื อง กุมุท , 2517; ไชยยศ เรืองสุ วรรณ, 2526; สุ มาลี ชัยเจริญ, 2547) ในการนําชุดการสอนมาใช้ นั น อาศัย แนวคิด หลั กการ ตลอดจนทฤษฎีต่าง ๆ มี 5 ประการ คือ 1. แนวคิดตามหลั กจิตวิทยา เกียวกับความแตกต่างระหว่างบุคคล โดยจัดให้ ผู ้ เรี ยนมี อิสระในการเรียนรู ้ ตามความสามารถ และอัตราการเรียนรู ้ ของแต่ละคน 2. แนวคิดทีจะจัดระบบการผลิต การใช้ สือการสอนในรู ปแบบของสือประสม โดยมี จุดมุ่งหมายเพือเปลียนจากการใช้ สือช่วยครูมาเป็ นใช้ สือเพือช่วยนักเรียนในการรียนรู ้เ 3. แนวคิ ดที จะสร้ างปฏิ สัม พัน ธ์ ระหว่ างครู และนักเรี ยน นัก เรี ยนกับ นัก เรี ยน และ นักเรี ยนกับสภาพแวดล้ อม โดยนําสือการสอนมาใช้ ร่วมกับกระบวนการกลุ่ม ในการประกอบ กิจกรรมการเรียนการสอน 4. แนวคิดทียึดหลักจิตวิทยาการเรี ยนรู ้ มาจัดสภาพการเรี ยนการสอน เพือให้ เกิดการ เรียนรู ้ อย่างมีประสิทธิ ภาพ โดยจัดสภาพการณ์ ให้ ผู ้ เรี ยนได้ ประกอบกิจกรรมด้ วยตนเอง และมี ผลย้ อ นกลับทัน ทีว่าตอบถูกหรื อตอบผิด มีการเสริ มแรงทํา ให้ ผู ้ เ รี ยนเกิด ความภาคภูมิใ นและ ต้ องการทีจะเรียนต่อไป ได้ เรี ยนรู ้ ทีละน้ อยๆ ตามลําดับขั น ตามความสามารถและความสนใจ ของแต่ละคน คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน คอมพิว เตอร์ ถูก พัฒ นานํ า มาประยุก ต์ ใ ช้ เพื อการเรี ยนการสอนและการบริ หารงานด้ า นการ เรี ยนการ สอนต่า งๆ ในการนําเสนอสาระความรู ้ (Tutor) เป็ นเครื องมือ (Tool) ประกอบการเรี ยนการ สอนและใช้ เป็ นเครื องมือฝึ ก (Tutee) ทักษะในด้ าน ต่า งๆ การนํ าคอมพิว เตอร์ ม าใช้ เ พือการเรี ย นการ ส อ น โ ด ย ทั ว ไ ป จ ะ รู ้ จั ก กั น ใ น ชื อ ที เ รี ย ก ว่ า คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (Computer-Assisted Instruction หรื อ Computer Aid Instruction– CAI) ซึงเป็ นโปรแกรมการเรียนการสอนโดยใช้ เครืองคอมพิวเตอร์ บันทึกเนื อหาวิชาทีมีทั งอักษร ข้ อความ ภาพนิง ภาพเคลือนไหว กราฟแผนภูมิ ภาพเคลือนไหวและเสียง ลําดับวิธีการเสนอ องค์ความรู ้ ต่างๆ ทีจะให้ ผู ้ เรียนได้ เรียนรู ้ เนื อหาวิชา ส่วนร่ วมและสนองต่อการเรี ยนรู ้ อย่างแข็ง มี ขันเพือบรรลุ ผลตามความมุ่งหมายของรายวิชา (ยืน ภู่ สุวรรณ, 2531; ถนอมพร เลาหจรัสแสง , 2541)
  • 11. เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสื อการศึกษา ดร.อิศรา ก้ านจั กร คณะศึกษาศาสตร์ ม .ขอนแก่น บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน แบ่งตามลั กษณะการเสนอเนื อหาได้4 ลั กษณะ คือ 1. บทเรียนชนิดโปรแกรมการสอนเนื อหารายละเอียด(Tutorial Instruction) บทเรี ยนนี จะมีลั กษณะเป็ นกิจกรรมเสนอเนื อหาโดยจะเริ มจากบทนําซึงเป็ นการกําหนดจุดประสงค์ ของ บทเรี ยน หลังจากนั นเสนอเนื อหาโดยให้ ความู ้ แก่ผู ้ เรี ยนตามทีผู ้ ออกแบบบทเรี ยนกําหนดไว้ ร และมีคําถามเพือให้ ผู ้ เรี ยนตอบ โปรแกรมในบทเรี ยนจะประเมินผลคําตอบของผู ้ เรี ยนทันทีซึง การทํางานของโปรแกรมจะมีลั กษณะวนซํ าเพือให้ ข้อมูลย้ อนกลั บจนจบบทเรียน 2. บทเรี ยนชนิด โปรแกรมการฝึ กทัก ษะ (Drill and Practice) บทเรี ยนชนิดนี จะมี ลั กษณะให้ ผู ้ เรียนฝึ กทักษะหรือฝึ กปฏิบัติเรืองใดเรืองหนึงโดยเฉพาะ 3. บทเรียนชนิดโปรแกรมจําลองสถานการณ์ (Simulation) มีลักษณะเป็ นแบบจําลอง เพือฝึ กทักษะและการเรียนรู ้ ใกล้ เคียงกับความจริงผู ้ เรียนไม่ต้องเสียงภัย และเสียค่าใช้ จ่ายน้ อย 4. บทเรี ยนชนิด โปรแกรมเกมการศึก ษา (Education Game) มี ลักษณะเป็ นการ กําหนดเหตุการณ์ วิธีการ และกฎเกณฑ์ ให้ ผู ้ เรี ยนเลือกเล่นและแข่งขัน การเล่นเกมจะเล่นคน เดียวหรือหลายคนก็ได้ การแข่งขันโดยการเล่นเกม จะช่วยกระตุ ้ นให้ ผู ้ เล่นมีการติดตามถ้ าหาก เกมดัง กล่า วมี ค วามรู ้ สอดแทรกก็จ ะเป็ นประโยชน์ ดี มาก แต่ การออกแบบบทเรี ย นชนิ ดเกม การศึกษาค่อนข้ างทําได้ ยาก บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนมีขั นตอนในการนําเสนอเนื อหาเช่นเดียวกับการสอน แบบโปรแกรม การสร้ างบทเรี ยนจึงใช้ วิธีเดียวกันกับการสร้ างบทเรี ยนโปรแกรมนันเอง เมือได้ บทเรี ยนโปรแกรม ซึงบางตําราเรี ยกว่า บทเรี ยนสําเร็ จรู ป (Programmed Text) ต่อจากนั นจึง นํ า ไปแปลงเป็ นภาษาคอมพิ ว เตอร์ โดยอาศัย โปรแกรมสํ า เร็ จ เพื อเป็ นคํ า สังให้ เครื อง คอมพิวเตอร์ ทํา งานตามเนื อหาที ผู ้ เขี ยนโปรแกรมออกแบบ ดังนั น ในการออกแบบบทเรี ย น คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน จึงต้ องอาศัยพื นฐานทางทฤษฎี การเรียนรู ้ เพือเข้ าใจผู ้ เรี ยนแต่ละระดับ และเน้ นผู ้ เรียนเป็ นศูนย์กลางฉะนั นการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนจึงมีขั นตอนดังนี  กําหนดเนื อหาวิชาและระดับชั น โดยผู ้ ออกแบบต้ องวิเคราะห์ว่าเนื อหาวิชานั นจะต้ อง ไม่เปลียนแปลงบ่อย ไม่ซํ ากับใครเพือคุ ้ มค่าการลงทุนและสามารถช่วยลดเวลาเรี ยน ของผู ้ เรียนได้  การกําหนดวัตถุประสงค์ จะเป็ นแนวทางแก่ผู ้ ออกแบบบทเรี ยน เพือทราบว่าผู ้ เรี ยน หลั งจากเรียนจบแล้ วจะบรรลุตามวัตถุประสงค์มากน้ อยแค่ไหนการกําหนด วัตถุประสงค์จึงกําหนดได้ ทัวไปและเชิงพฤติกรรม สําหรับการกําหนดวัตถุประสงค์เชิง พฤติกรรมต้ องคํานึงถึง  ผู ้ เรียน (Audience) ว่ามีพื นฐานความรู ้ แค่ไหน
  • 12. เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสื อการศึกษา ดร.อิศรา ก้ านจั กร คณะศึกษาศาสตร์ ม .ขอนแก่น  พฤติกรรม (Behavior) เป็ นการคาดหวังเพือทีจะให้ ผู ้ เรี ยนบรรลุ เปาหมาย การวัดพฤติกรรมทําได้ โดยสั งเกต คํานวณ นับแยกแยะ ้ แต่งประโยค  เงือนไข (Condition) เป็ นการกําหนดสภาวะทีพฤติกรรมของผู ้ เรี ยน จะเกิดขึ นเช่น เมือนักเรียนดูภาพแล้ วจะต้ องวาดภาพนั นส่งครู เป็ นต้ น  ปริมาณ (Degree) เป็ นการกําหนดมาตรฐานทียอมรับว่าผู ้ เรียน บรรลุ วัตถุประสงค์แล้ ว เช่น อ่านคําควบกลํ าได้ ถูกต้ อง20 คํา จาก 25 คํา เป็ นต้ น  การวิเคราะห์เนือหา เป็ นขั นตอนทีสําคัญโดยต้ องย่อยเนื อหาเป็ นเนื อหาเล็ๆกมีการ เรียงลําดับจากง่ายไปหายาก มีการวิเคราะห์ภารกิจ (Task Analysis) ว่าจะเริมต้ น ตรงไหนและดําเนินการไปทางใด  การสร้ างแบบทดสอบ ต้ องสร้ างแบบทดสอบก่อนเรียนและหลั งเรี ยน แบบทดสอบนี จะ เป็ นตัวบ่งชี ว่าบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน มีประสิทธิภาพมากน้ อยประการใด  การเขียนบทเรียน ก่อนเขียนบทเรี ยนต้ องกําหนดโครงสร้ างเพือให้ ได้ รูปร่ างของ บทเรียนเสียก่อน คือ จะทราบว่าต้ องประกอบด้ วยอะไรบ้ าง มีสั ดส่วนอย่างไร บทเรียน จึงจะมีขั น นวัตกรรมทางการศึกษาในช่ วงปฏิรูปการศึกษา จากกระบวนทัศน์ (Paradigm) ของการจัดการศึกษาจากทีเน้ น “การสอน” เปลียนมา เป็ น “การเรียนรู” ทีให้ ความสําคัญกับผู ้ เรียนมากทีสุ ดโดยกระบวนการจัดการศึกษาต้ องส่งเสริ ม ้ ให้ ผู ้ เรี ย นสามารถพัฒนาตามธรรมชาติแ ละเต็ม ศักยภาพ มุ่ง เน้ นทีการพัฒนาและส่ง เสริ มให้ ผู ้ เ รี ย นสามารถสร้ างความรู ้ โดยใช้ เ ทคโนโลยีสารสนเทศ เพื อตอบสนองต่ อ การเรี ย นรู ้ อย่ า ง ต่อเนืองตลอดชีวิต (สุมาลี ชัยเจริ ญ, 2546) โดยเฉพาะอย่างยิงในพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542 ทีให้ ความสําคัญในการจัดการศึกษาทีเน้ นผู ้ เรี ยนเป็ นสําคัญ โดยในหมวด 1 มาตรา 8 การจัด การศึก ษาเป็ นการจัด การศึก ษาตลอดชี วิ ต สัง คมมี ส่ว นร่ ว มในการจัด การศึกษา พัฒนาสาระ และกระบวนการเรี ยนรู ้ อย่า งต่อ เนือง หมวด 4 มาตรา 22 หลักการ จัดการศึกษาต้ องยึดหลั กทีว่าผู ้ เรี ยนมีความสําคัญทีสุด และมาตรา24 กระบวนการเรี ยนรู ้ ต้อง จัด เนื อหาสาระและกิ จ กรรมให้ สอดคล้ อ งกับ ความสนใจ ความถนัด และความแตกต่ า งของ ผู ้ เรียน ฝึ กทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และประยุกต์ ใช้ เพือปองกัน ้
  • 13. เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสื อการศึกษา ดร.อิศรา ก้ านจั กร คณะศึกษาศาสตร์ ม .ขอนแก่น และแก้ ปัญหา ให้ ผู ้ เรียนเรียนรู ้ จากประสบการณ์จริง การฝึ กปฏิ บัติให้ ทําได้ คิดเป็ น ทําเป็ น และ ในมาตรา 4 ได้ ให้ ความหมายของการศึกษา หมายถึง กระบวนการเรี ยนรู ้ เพือสร้ างความเจริ ญ งอกงามของบุคคลและสังคม ซึงการเรี ยนรู ้ ดังกล่าวก็ คือการสร้ างความรู ้ นันเอง(รุ่ ง แก้ วแดง, 2545) นํามาซึงการออกแบบและพัฒนานวัตกรรมการศึกษาทีสอดคล้ องกับความเปลียนแปลง ดังกล่าว ซึงในบทนี จะขอนําเสนอนวัตกรรมการศึกษาในยุคปฏิ รูปการศึ ได้ แก่ การเรี ยนบน กษา เครื อข่า ย มัลติมี เดีย e-Learning และสิงแวดล้ อมทางการเรี ยนรู ้ ตามแนวคอนสตรัคติ วิสต์ ดัง รายละเอียดทีจะนําเสนอต่อไปนี การเรี ยนรู บนเครื อข่ าย ้ การเรี ยนบนเครื อข่าย เป็ นบทเรี ยนทีนําเสนอผ่านเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ โดยอาศัย คุณลัก ษณะของสื อที สามารถนํ า เสนอบทเรี ย นแบบ ข้ อ ความหลายมิ ติ (Hypertext) ที ประกอบด้ วยสารสนเทศหรือข้ อมูลทีเรียกว่า โนด (Node) หลั กและโนดย่อย รวมทั งการเชือมโยง แต่ ละโนดซึงกันและกัน ที เรี ยกว่า การเชื อมโยงหลายมิติ (Hyperlinks) เพื อสนับ สนุนและ ส่งเสริ มให้ ผู ้ เรี ยนเกิดการเรี ยนรูอย่างมีความหมาย เชือมโยงเป็ นเครื อข่ายได้ ทัวโลกทีสามารถ ้ เรียนได้ ทุกทีทุกเวลา โดยมีลักษณะทีผู ้ สอนและผู ้ เรี ยนมีปฏิ สัมพันธ์ กันโดยผ่านระบบเครื อข่าย คอมพิวเตอร์ ทีเชือมโยงซึงกันและกัน ( กิดานันท์ มลิทอง, 2543; ใจทิพย์ ณ สงขลา, 2542) การจัดการเรี ยนการสอนด้ วยการเรี ยนบนเครื อข่าย นั นผู ้ สอนและผู ้ เรี ยนจะต้ องมี ปฏิสั มพันธ์ กันโดยผ่านระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ทีเชือมโยงคอมพิวเตอร์ ของผู ้ เรี ยนเข้ าไว้ กับ เครืองคอมพิวเตอร์ ของผู ้ ใช้ บริการเครือข่าย (File Server) และเครืองคอมพิวเตอร์ ของผู ้ ให้ บริ การ เว็บ (Web Server) อาจเป็ นการเชือมโดยระยะใกล้ หรื อเชือมโยงระยะไกลผ่านทางระบบการ สือสารและอินเทอร์ เน็ต มัลติมีเดีย มัลติ มี เดี ย เข้ า มามีบ ทบาทมากขึ นในวงการธุ รกิ จและอุต สาหกรรม โดยเฉพาะได้ นํามาใช้ ในการฝึ กอบรมและให้ ความบันเทิง ส่วนในวงการศึกษามัลติมีเดียได้ นํามาใช้ เพือการ เรียนการสอนในลั กษณะแผ่นซีดีรอม หรืออาจใช้ ในลั กษณะห้ องปฏิ บัติการมัลติมีเดียโดยเฉพาะ ก็ได้ ซึงอาจกล่า วได้ ว่า มัลติมี เดียจะกลายมาเป็ นเครื องมือ ทีสําคัญทางการศึกษาในอนาคต ทั งนี เพราะว่ามัลติมีเดียสามารถทีจะนําเสนอได้ ทั งเสียง ความ ภาพเคลือนไหว ดนตรี กราฟิ ก ข้ อ ภาพถ่ายวัสดุตีพิมพ์ ภาพยนตร์ และวีดิทัศน์ ประกอบกับสามารถทีจะจําลองภาพของการเรี ยน การสอนทีผู ้ เรียนสามารถเรียนรู ้ ได้ ด้วยตนเองแบบเชิงรุก(Active Learning) มัลติมีเดียทีสมบูรณ์ควรจะต้ องประกอบด้ วยสือมากกว่า 2 สือ ตามองค์ ประกอบ ดังนี ตัวอักษร ภาพนิง เสียง ภาพเคลือนไหว การเชือมโยงแบบปฏิ สัมพันธ์ และวีดิทัศน์ เป็ น การใช้ มัลติ มี เ ดี ย ก็ เ พื อเพิ มทางเลือ กในการเรี ย นและสนองต่ อ รู ป แบบของการเรี ย นของนัก เรี ย นที
  • 14. เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสื อการศึกษา ดร.อิศรา ก้ านจั กร คณะศึกษาศาสตร์ ม .ขอนแก่น แตกต่ า งกัน การจํ า ลองสภาพการณ์ ข องวิ ช าต่า งๆ เป็ นวิ ธี ก ารเรี ย นรู ้ ที นํ า ให้ นัก เรี ย นได้ รับ ประสบการณ์ตรงก่อนการลงมือปฏิ บัติจริงโดยสามารถทีจะทบทวนขั นตอนและกระบวนการได้ เป็ นอย่างดี นักเรี ยนอาจเรี ยนหรื อฝึ กซํ าได้ และใช้ มัลติมีเดียในการฝึ กภาษาต่างประเทศ โดย เน้ นเรืองของการออกเสียงและฝึ กพูด มัลติมีเดียสามารถเชือมทฤษฎีและการปฏิ บัติเข้ าด้ วยกันคือ ให้ โอกาสผู ้ ใช้ บทเรี ยนได้ ทดลองฝึ กปฏิบัติในสิงทีได้ เรียนในห้ องเรียน และช่วยเปลียนผู ้ ใช้ บทเรียนจากสภาพการเรี ยนรู ้ ใน เชิงรับ มาเป็ นเชิงรุก ในด้ านของผู ้ สอนใช้ มัลติมีเดียในการนําเสนอการสอนในชั นเรี ยนแทนการ สอนโดยใช้ เ ครื องฉายภาพข้ ามศี รษะ ทั งนี เนืองจากมัลติมีเ ดียจะสามารถนํ าเสนอความรู ้ ไ ด้ หลายสือและเสมือนจริงได้ มากกว่าการใช้ สือประเภทแผ่นใสเพียงอย่างเดียว e-Learning E-Learning เป็ นนวัตกรรมทางการศึกษาทีเปลียนแปลงวิธีเรี ยนทีเป็ นอยู่เดิม เป็ นการ เรียนทีใช้ เทคโนโลยีทีก้ าวหน้ า เช่น อินเทอร์ เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซ์ ทราเน็ต ดาวเทียม วิดีโอเทป แผ่ น ซี ดี ฯลฯ คํ า ว่ า E-Learning ใช้ ใ นสถานการณ์ ก ารเรี ย นรู ้ ที มี ค วามหมายกว้ า งขวาง มี ความหมายรวมถึง การเรียนทางไกล การเรี ยนผ่านเว็บ ห้ องเรี ยนเสมือนจริ ง และอืนๆ มากมาย โดยสถานการณ์ดังกล่าวมีสิงทีมีเหมือนกันอยู่ประการหนึงคือ การใช้ เทคโนโลยีการสือสารเป็ น สือสารของการเรียนรู ้ แคมป เบล (Campbell. 1999) ให้ ค วามหมายของ E-Learning ว่ า เป็ นการใช้ ์ เทคโนโลยีทีมีอยู่ในอินเทอร์ เน็ตเพือสร้ างการศึกษาทีมีปฎิ สัมพันธ์ และการศึกษาทีมีคุณภาพสูง ทีผู ้ คนทัวโลกมีความสะดวกและสามารถเข้ าถึงได้ ไม่จําเป็ นต้ องจัดการศึกษาทีต้ องกําหนดเวลา และสถานที เปิ ดประตูของการเรียนรู ้ ตลอดชีวิตให้ กับประชากร รู ปแบบการเรี ยนใน E-Learning การศึกษาทีใช้ เว็ บเป็ นเครื องมือในการเรี ยนรู ้ เป็ นการประยุกต์ กลยุทธ์ การเรี ยนการ สอนตามแนวคิดของกลุ่มนักคอนสตรัคติวิสต์ และใช้ วิธีการเรี ยนรู ้ ร่วมกัน ทั งนี การออกแ บบกล ยุทธ์ การเรียนการสอนโดยการใช้ เว็บเป็ นเครื องมือการเรี ยนรู ้ นั นอาจใช้ วิธีใดวิธีหนึงดังต่อไปนี (Relan และ Gillani. 1997) 1. ใช้ เว็บเป็ นแหล่งข้ อมูลเพือการจําแนก ประเมิน และบูรณาการสารสนเทศต่างๆ 2. ใช้ เว็บเป็ นสือกลางของการร่วมมือ สนทนา อภิปราย แลกเปลียน และสือสาร 3. ใช้ เว็บเป็ นสือกลางในการมีส่วนร่วมในประสบการณ์จําลอง การทดลองฝึ กหัด และการมี ส่วนร่วมคิด นอกจากนี การใช้ เว็บเพือการเรียนการสอนนั นมีหลั กการสําคัญ4 ประการ คือ
  • 15. เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสื อการศึกษา ดร.อิศรา ก้ านจั กร คณะศึกษาศาสตร์ ม .ขอนแก่น 1) ผู ้ เรี ยนเข้ าเว็บได้ ทุกเวลา และเป็ นผู ้ กําหนดลําดับการเข้ าเว็บนั นหรื อตามลําดับที ผู ้ ออกแบบได้ ให้ แนวทางไว้ 2) การเรี ย นการสอนผ่ านเครื อข่า ยจะเป็ นไปได้ ดีถ้า เป็ นไปตามสภาพแวดล้ อมตาม แนวคิดของนัก Constructivist กล่าวคือมีการเรียนรู ้ อย่างมีปฏิสั มพันธ์ และเรียนรู ้ ร่วมกัน 3) ผู ้ สอนเปลียนแปลงตนเองจากการเป็ นผู ้ กระจายถ่ายทอดข้ อมูลมาเป็ นผู ้ ช่วยเหลือ ผู ้ เรียนในการค้ นหา การประเมิน และการใช้ ประโยชน์จากสารสนเทศทีค้ นมาจากสือหลากหลาย 4) การเรี ย นรู ้ เกิด ขึ นในลักษณะเกียวข้ องกันหลายวิช า(Interdisciplinary) และไม่ กําหนดว่าจะต้ องบรรลุ จุดประสงค์การเรียนรู ้ ในเวลาทีกําหนด บริ บทของ E-Learning E-Learning เป็ นการเรี ยนทีใช้ เทคโนโลยีอสมวาร (Asynchronous Technologies) เป็ น เทคโนโลยีทีทําให้ มีการเรียนดําเนินไปโดยไม่จํากัดเวลาและสถานที หรื อเป็ นการเรี ยนทีไม่พร้ อม กัน โดยใช้ เครื องมื อสํา คัญ ทีมี อยูใ นอิ นเทอร์ เน็ ตและเว็บ ได้ แก่ กระดานข่าว ไปรษณี ย์ ่ อิเล็กทรอนิกส์ การประชุมทางไกล ฯลฯ เครื องมือ เห ล่ า นี ทํ าใ ห้ เ กิ ด กา รเรี ยน ไม่ พร้ อม กั น ไ ด้ (Asynchronous Technologies) การเรี ย นไม่ พร้ อมกันนี มีความหมายกว้ างไกลกว่าคําทีกล่าว ว่า "ใครก็ได้ ทีไหนก็ได้ เวลาใดก็ได้ เรื องอะไรก็ได้ " (Anyone Anywhere Anytime Anything") ทั งนี ในการสร้ างความรู ้ นั นการมีปฎิ สัมพันธ์ เป็ นส่วน สําคัญส่วนหนึงของกระบวนการเรียนรู ้ เพราะการเรียนรู ้ จะเกิดขึ นได้ ดีหากผู ้ เรี ยนได้ มีโอกาสถาม อธิบายสั งเกต รับฟั ง สะท้ อนความคิด และตรวจสอบความคิดเห็นกับผูอืน การเรี ยนไม่พร้ อมกัน ้ จึง มี ค วามหมายถึ ง วิ ธี ก ารใดก็ ต ามที ช่ ว ยให้ มี ก ารเรี ย นรู ้ อย่ า งมี ป ฎิ สัม พัน ธ์ (Interactive Learning) และการเรียนรู ้ ร่วมกัน (Collaborative Learning) โดยใช้ แหล่งทรัพยากรทีอยู่ห่างไกล (Remote Resource) ที สามารถเข้ าถึง ได้ ตามเวลาและสถานทีทีผู ้ เ รี ยนมี ความสะดวกหรื อ ต้ องการ เกียวข้ องกับการใช้ เทคโนโลยีการสือสารทางไกล เพือขยายการเรี ยนการสอนออกไป นอกเหนือจากชั นเรียนหรือในห้ องเรียนและการเรียนทีเป็ นการพบกันโดยตรง สิ งแวดล้ อมทางการเรี ยนรู ้ ตามแนวคอนสตรั คติวิสต์ ในปั จ จุบันแนวการจัด การศึก ษาได้ เ ปลียนจาก “การสอน หรื อ การถ่ ายทอดโดย ครู ผู ้ สอน หรื อสือการสอน” มาสู่ “การเน้ นผู ้ เรี ยนเป็ นศูนย์ กลางทีให้ ความสําคัญต่อการเรี ยนรู ้ ของผู ้ เ รี ย น” โดยผ่ า นการปฏิ บัติ ลงมื อ กระทํ า ด้ วยตนเอง การพัฒนาศัก ยภาพทางการคิ ด ตลอดจนการแสวงหาความรู ้ ด้วยตนเอง ซึงเป็ นการเปิ ดโอกาสให้ ผู ้ เรียน วางแผน ดําเนินการและ
  • 16. เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสื อการศึกษา ดร.อิศรา ก้ านจั กร คณะศึกษาศาสตร์ ม .ขอนแก่น การประเมินตนเอง และมีปฏิ สัมพันธ์ กับแหล่งการเรี ยนรู ้ ต่างๆ ได้ แก่ ครู เทคโนโลยี พ่อแม่ ภูมิ ปั ญญาท้ องถิน และบุคคลอืน ๆ ตลอดจน สือต่างๆ เพือทีจะนํามาสู่การสร้ างความรู ้ แนวการจัด การศึก ษาดังกล่า วมีค วามสอดคล้ องอย่ างยิ งกั บทฤษฎี คอนสตรัคติ วิสต์ (Constructivism) ที เน้ นการสร้ าง ความรู ้ ด้ วยตนเอง ด้ วยการลงมื อ กระทํ า หรื อ ปฏิ บัติ ทีผ่ า นกระบวนการ คิด และอาศัย ประสบการณ์ เ ดิ มหรื อ ความรู ้ เดิ ม ที มี อ ยู่ แ ล้ วเชื อมโยงกั บ ประสบการณ์ ใหม่หรื อความรู ้ ใหม่ เพือ ขยายโครงสร้ างทางปั ญญา (Schema) ซึ งเชื อว่ า ครู ไม่ ส า มารถขยา ย โครงสร้ างทางปั ญญาให้ แ ก่ ผู ้ เ รี ย นได้ ผู ้ เ รี ยนต้ อง เป็ นผู ้ สร้ าง และข ยา ย โครงสร้ างทางปั ญญาด้ วยตนเอง โดย ครู เ ป็ นผู ้ จัด สิงแวดล้ อ มที เอื อต่ อ การเรี ย นรู ้ หรื อ สร้ างความรู ้ ของผู ้ เ รี ย นด้ ว ยการนํ า วิ ธี ก าร เทคโนโลยีและนวัตกรรมหรือสือ ตลอดจนภูมิปัญญาท้ องถินมาใช้ ร่วมกันเพือเพิมประสิทธิ ภาพ ในการเรียนรู ้ สุม าลี ชัย เจริ ญ (2547) กล่า วว่า สิงแวดล้ อ มทางการเรี ยนรู ้ ที พัฒ นาตามแนวคอน สตรัคติวิสต์เป็ นการออกแบบทีประสานร่ วมกันระหว่าง “สือ (Media)” กับ “วิธีการ (Methods)” โดยการนําทฤษฎี คอนสตรัคติวิสต์ มาเป็ นพื นฐานในการออกแบบร่ วมกับสือ ซึงมีคุณลักษณะ ของสือและระบบสั ญลั กษณ์ของสือทีสนับสนุนการสร้ างความรู ้ ของผู ้ เรียน หลักการที สําคัญในการออกแบบสิ งแวดล้ อมทางการเรี ยนรู ้ ตามแนวคอนสตรั คติวิสต์ สถานการณ์ ปั ญหา (Problem Base) มาจากพื นฐานของ Cognitive Constructivism ของเพียเจต์เชือว่าถ้ าผู ้ เรียนถูกกระตุ ้ นด้ วยปั ญหา(Problem) ทีก่อให้ เกิดความ ขัดแย้ งทางปั ญญา (Cognitive conflict)หรื อเรี ยกว่าเกิดการเสียสมดุลทางปั ญญา ผู ้ เรี ยนต้ อง พยายามปรั บ โครงสร้ างทางปั ญญาให้ เข้ าสู่ ภ าวะสมดุ ล (Equilibrium)โดยการดู ด ซึ ม (Assimilation)หรื อ การปรั บ เปลียนโครงสร้ างทางปั ญญา(Accommodation)จนกระทังผู ้ เ รี ย น สามารถปรับโครงสร้ างทางปั ญญาเข้ าสู่สภาพสมดุลหรื อสามารถทีจะสร้ างความรู ้ ใหม่ขึ นมาได้ หรือเกิดการเรียนรู ้ นันเอง
  • 17. เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสื อการศึกษา ดร.อิศรา ก้ านจั กร คณะศึกษาศาสตร์ ม .ขอนแก่น แหล่ งเรี ยนรู ้ (Resource) เป็ นทีรวบรวมข้ อมูล เนื อหาสารสนเทศ ทีผู ้ เรี ยนจะใช้ ใน การแก้ สถานการณ์ ปัญหาทีผู ้ เรี ยนเผชิญ ซึงแหล่งเรี ยนรู ้ ในสิงแวดล้ อมทางการเรี ยนรู ้ ฯ นั นคง ไม่ ใช่ เพี ย งแค่เ ป็ นเพีย งแหล่ง รวบรวมเนื อหาเท่ า นั น แต่รวมถึง สิงต่ างๆที ผู ้ เรี ยนจะใช้ ใ นการ แสวงหาและค้ นพบคําตอบ (Discovery) ฐานความช่ วยเหลือ (Scaffolding) มาจากแนวคิดของ Social Constructivism ของ Vygotsky ทีเชือว่า ถ้ าผู ้ เรียนอยู่ตํากว่าZone of Proximal Development ไม่สามารถเรี ยนรู ้ ด้วย ตนเองได้ จําเป็ นทีจะต้ องได้ รับการช่วยเหลือทีเรี ยกว่า Scaffolding ซึงฐานความช่วยเหลือจะ สนับสนุนผู ้ เรียนในการแก้ ปัญหาหรือการเรียนรู ้ ในกรณีทีไม่สามารถปฏิ บัติภารกิจให้ สําเร็ จด้ วย ตัวเองได้ โดยฐานความช่วยเหลืออาจเป็ นคําแนะนํา แนวทาง ตลอดจนกลยุทธ์ ต่างๆในการ แก้ ปัญหาหรือปฏิบัติภารกิจการเรียนรู ้ ผู ้ ฝึกสอน (Coaching) มาจากพื นฐาน Situated Cognition และ Situated Learning ของ Brown&Collins(1989) หลัก การนี ได้ กลาย นแนวทางในการจัด การเรี ยนรู ้ ต ามแนว มาเป็ คอนสตรั ค ติวิ สต์ ที ได้ เ ปลียนบทบาทของครู ที ทํา หน้ า ทีในการถ่ ายทอดความรู ้ มาเป็ น “ผู ้ ฝึ กสอน” ทีให้ ความช่วยเหลือ การให้ คําแนะนําสําหรับผู ้ เรียน จะเป็ นการฝึ กหัดผู ้ เรี ยนโดยการให้ ความรู ้ แก่ผู ้ เรียนในเชิงการให้ การรู ้ คิดและการสร้ ญญา างปั การร่ วมมื อ กั น แก้ ปั ญหา (Collaboration) เป็ นอี ก องค์ ป ระกอบหนึง ที มี ส่ว น สนับ สนุน ให้ ผู ้ เรี ยนได้ แ ลกเปลียนประสบการณ์ กับ ผู ้ อื น เพือขยายมุม มองให้ แก่ต นเอง การ ร่วมมือกันแก้ ปัญหาจะสนับสนุนให้ ผู ้ เรียนเกิดการคิดไตร่ ตรอง(Reflective Thinking) เป็ นแหล่ง ทีเปิ ดโอกาสให้ ทั งผู ้ เรี ยนผู ้ สอน ผู ้ เชียวชาญ ได้ สนทนาแสดงความคิดเห็นของตนเองกับผู ้ อืน สําหรับ การออกแบบการร่ ว มมื อกันแก้ ปั ญหาในขณะสร้ างความรู ้ นอกจากนี การร่ ว มมื อกัน แก้ ปั ญหายั ง เป็ นส่ ว นสํ า คั ญ ในการปรั บ เปลี ยนและป องกั น ความเข้ าใจที คลาดเคลื อน ้ (Misconception) ทีจะเกิดขึ นในขณะทีเรียนรูรวมทั งการขยายแนวคิด ้ สิงแวดล้ อมทางการเรี ย นรู ้ ตามแนวคอนสตรัคติ วิสต์ สามารถแยกตามบริ บทของสือ และคุณลักษณะของสือได้ 3 ลักษณะคือ (1) สิงแวดล้ อมทางการเรี ยนรู ้ บนเครื อข่ายตามแนว คอนสตรัคติวิสต์ (2) มัลติมีเดียตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ (3) ชุดสร้ างความรู ้ (สุมาลี ชัยเจริ ญ, 2547) ดังทีจะนําเสนอต่อไปนี (1) สิงแวดล้ อมทางการเรียนรู ้ บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ เป็ นออกแบบโดย ใช้ ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เป็ นพื นฐานทีประสานร่ วมกับคุณลักษณะของสือบนเครื อข่ายทีสนอง ต่อการสร้ างความรู ้ ของผู ้ เรี ยน ได้ แก่ กษณะเป็ นโนด (Node) ของความรู ้ ทีเชือมโยงกัน (Link) ลั เป็ นเครื อข่ายทัวโลก ซึงแต่ละโหนดความรู ้ ทีผู ้ เรี ยนคลิกเข้ าไปศึกษาจะสนับสนุนผู ้ เรี ยนในการ เชือมโยงปูพื นฐานความรู ้ ทีช่วยในการสร้ างความรู ้ ตลอดจนคุณลักษะด้ านการสือสารทีสามารถ