SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
การสอนแบบเปด
Open Approach
ความหมายของการสอนโดยวิธีเปด
      ไมตรี อินทรประสิทธิ์ ไดใหความหมาย วิธีการแบบเปด หมายถึง
วิธีการสอนที่เนนการพัฒนาศักยภาพการคิดทางคณิตศาสตรของ
นักเรียนโดยใชกิจกรรมการแกปญหาปลายเปด
      ลัดดา ศิลานอย ไดใหความหมาย วิธีการแบบเปด หมายถึง การจัด
กิจกรรมเรียนรูที่เนนกระบวนการจัดกิจกรรมหรือสถานการณตางๆ ให
มีลักษณะที่เปนปญหาแบบเปดกระตุนใหผูเรียนไดคิด ซึ่งจะเนนในเรื่อง
การเปดความคิดของผูเรียนใหผูเรียนไดคิดกวาง คิดหลากหลาย และคิด
สรางสรรคมากที่สุดเทาที่จะสามารถทําไดตามบริบทของเนื้อหา
ความหมายของการสอนโดยวิธีเปด (ตอ)
      โนดะ ( Nohda) ไดกลาววา แนวคิดเกี่ยวกับเรื่องการเปด
(Openness) มีเปาหมายเพื่อใหนักเรียนทุกคนสามารถเรียนคณิตศาสตร
ในแนวทางทีตอบสนองความสามารถของพวกเขาควบคูไปกับระดับ
              ่
ของการตัดสินใจดวยตนเองในการเรียนรูของพวกเขา และสามารถ
ขยายหรือเพิ่มเติมคุณภาพของกระบวนการและผลที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับ
คณิตศาสตรได การสอนโดยวิธีการแบบเปด มุงเนนทีจะเปดใจของ
                                                      ่
นักเรียนทีมตอคณิตศาสตรมากกวาเนนการสอนเนือหาใหครบ
          ่ ี                                     ้
ความหมายของการสอนโดยวิธีเปด (ตอ)
      วิธีการแบบเปด (Open Approach) จํากัดความไดวา เปนวิธีการสอน
หนึ่ง ที่ใชกิจกรรมที่มีปฏิสัมพันธระหวางวิชาคณิตศาสตร และนักเรียนได
เปดการใชวิธีการในการแกปญหาที่หลากหลาย จําเปนตองสรางกิจกรรมที่มี
                              
ปฏิสัมพันธระหวางวิธีคิดทางคณิตศาสตรและพฤติกรรมการแกปญหา
นักเรียนไดถูกเปดออกมาอยางชัดเจนสามารถอธิบายได 3 ลักษณะ คือ
      1) มีการพัฒนากิจกรรมของเด็กเพื่อวิธการสอนแบบเปดโดยเฉพาะ
                                             ี
      2) ปญหาที่กําหนดในวิธการแบบเปดตองอาศัยแนวคิดทางคณิตศาสตร
                                ี
ดวย
      3) วิธีการแบบเปดควรสอดคลองกันในกิจกรรมสัมพันธระหวาง ขอ 1
กับ ขอ 2
การจัดการเรียนการสอนโดยใชวิธีการแบบเปดในชั้นเรียน
                 คณิตศาสตรในญี่ปุน
           จุดเริ่มตนของวิธีการแบบเปดในญี่ปุน เกิดจากนักคณิตศาสตรศึกษาใน
ญี่ปุนไดทําการศึกษามุมมองทางดานคณิตศาสตรแบบเดิมในการวิจยและการั
ปฏิบัติการสอน ทําใหเกิดงานวิจัยเพิ่มในหัวขอ “วิธีการแบบปลายเปด” (The
Opended Approach) “วิธีการแบบเปด” (The Open Approach) “จากปญหาสู
ปญหา” (form problem to problem) เพื่อแกปญหาคณิตศาสตรแบบเดิมใน
หองเรียนคณิตศาสตรที่มีมาตั้งแตกอนสงครามโลก ครั้งที่ 2
           งานวิจยจะเนนที่ศักยภาพและแนวทางการคิดทางคณิตศาสตรของ
                   ั
นักเรียนเปนรายบุคคล และพัฒนาวิธีการสอนที่สามารถปรับเขากับความ
หลากหลายทางการคิดของนักเรียน
การจัดการเรียนการสอนโดยใชวิธีการแบบเปดในชั้นเรียน
                คณิตศาสตรในญี่ปุน (ตอ)
        ในป 1970 เกิดงานวิจยขึ้นมากมาย หนึ่งในนันคืองานวิจัยของชิมะดะ
                               ั                   ้
และคณะที่ไดวิจัยเกียวกับวิธีการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางคณิตศาสตรของนักเรียน
                    ่
ตามจุประสงคชั้นสูง คือ
        1.มีความสามารถในการทําสถานการณที่ตนเองเกี่ยวของใหเปน
คณิตศาสตรได
        2.มีความสามารถที่จะทํางานรวมกับคนอื่นในการแกปญหาทาง
คณิตศาสตร
        จากจุดนี้ถือวาเปนจุดเริ่มตนของการพัฒนาปญหาปลายเปดขึ้นมาเพื่อใช
ในการประเมินกิจกรรมทางคณิตศาสตรของนักเรียน
        ในชวงแรกของการวิจัยประกอบดวยนักวิจยจํานวน 4 คน คือ ชิเงะรุ
                                                 ั
ชิมะดะ, โทะชิโอะ ชะวะดะ, โยะชิฮิโกะ ฮะชิโมะโตะ, และเคนจินิจิ ชิบุยะ
การจัดการเรียนการสอนโดยใชวิธีการแบบเปดในชั้นเรียน
               คณิตศาสตรในญี่ปุน (ตอ)
        ตอมาสองสามป ไดมีนักวิจยและครูระดับประถมศึกษาและ
                                 ั
มัธยมศึกษาเขามามีสวนรวมในการวิจัยนี้ โดยไดใชวิธการแบบเปดใน
                                                    ี
หองเรียนคณิตศาสตรของตนละไดมีการเผยแพรหนังสือซึ่งเปนผลมาจาก
การทํางานรวมกัน ชื่อ The Openended approach : A new proposal for
teaching mathematics.และสมาคมครูคณิตศาสตรของอเมริกา (NCTM) ได
แปลเปนภาษาอังกฤษรวมทั้งเผยแพรการวิจัยเกียวกับปญหาปลายเปด จึงทํา
                                              ่
ใหการวิจัยดังกลาวไดรับการพัฒนาอยางตอเนื่อง
การสอนแบบเปิด1

More Related Content

What's hot

ออซูเบล
ออซูเบลออซูเบล
ออซูเบลsanniah029
 
การเรียนรู้แบบโครงงาน
การเรียนรู้แบบโครงงานการเรียนรู้แบบโครงงาน
การเรียนรู้แบบโครงงานNongaoylove
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานNongaoylove
 
ออซ เบล New
ออซ เบล Newออซ เบล New
ออซ เบล Newsaleehah053
 
David p. ausubel
David p. ausubelDavid p. ausubel
David p. ausubelya035
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
การสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้า
การสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้าการสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้า
การสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้าDueansc
 
ธอร์นไดร์
ธอร์นไดร์ธอร์นไดร์
ธอร์นไดร์sanniah029
 
ทฤษฎีของออซูเบล
ทฤษฎีของออซูเบลทฤษฎีของออซูเบล
ทฤษฎีของออซูเบลNusaiMath
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยนภสร ยั่งยืน
 
งานนำเสนอ111
งานนำเสนอ111งานนำเสนอ111
งานนำเสนอ111varangkruepila
 
Teaching สังเกตุการสอน
Teaching สังเกตุการสอนTeaching สังเกตุการสอน
Teaching สังเกตุการสอนO-mu Aomaam
 
วิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณีวิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณีOrapan Jantong
 
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบSunisa Khaisaeng
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนwannaphakdee
 
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตงานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตkrunum11
 

What's hot (16)

ออซูเบล
ออซูเบลออซูเบล
ออซูเบล
 
การเรียนรู้แบบโครงงาน
การเรียนรู้แบบโครงงานการเรียนรู้แบบโครงงาน
การเรียนรู้แบบโครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ออซ เบล New
ออซ เบล Newออซ เบล New
ออซ เบล New
 
David p. ausubel
David p. ausubelDavid p. ausubel
David p. ausubel
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
 
การสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้า
การสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้าการสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้า
การสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้า
 
ธอร์นไดร์
ธอร์นไดร์ธอร์นไดร์
ธอร์นไดร์
 
ทฤษฎีของออซูเบล
ทฤษฎีของออซูเบลทฤษฎีของออซูเบล
ทฤษฎีของออซูเบล
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
งานนำเสนอ111
งานนำเสนอ111งานนำเสนอ111
งานนำเสนอ111
 
Teaching สังเกตุการสอน
Teaching สังเกตุการสอนTeaching สังเกตุการสอน
Teaching สังเกตุการสอน
 
วิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณีวิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณี
 
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตงานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
 

Viewers also liked

แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาแบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาTar Bt
 
เทคโนโลยีการสอนแห่งศตวรรษที่ 21
เทคโนโลยีการสอนแห่งศตวรรษที่ 21เทคโนโลยีการสอนแห่งศตวรรษที่ 21
เทคโนโลยีการสอนแห่งศตวรรษที่ 21Photine Withstand
 
Active Learning
Active Learning Active Learning
Active Learning Dooney Seed
 
Active learning
Active learningActive learning
Active learningBunsasi
 
Continuous improvement - The active learning cycle
Continuous improvement - The active learning cycleContinuous improvement - The active learning cycle
Continuous improvement - The active learning cycleStefan Bln
 
Active learning [homework 5]
Active learning [homework 5] Active learning [homework 5]
Active learning [homework 5] Dooney Seed
 
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active learning)
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active  learning)การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active  learning)
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active learning)Prachyanun Nilsook
 

Viewers also liked (7)

แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาแบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
 
เทคโนโลยีการสอนแห่งศตวรรษที่ 21
เทคโนโลยีการสอนแห่งศตวรรษที่ 21เทคโนโลยีการสอนแห่งศตวรรษที่ 21
เทคโนโลยีการสอนแห่งศตวรรษที่ 21
 
Active Learning
Active Learning Active Learning
Active Learning
 
Active learning
Active learningActive learning
Active learning
 
Continuous improvement - The active learning cycle
Continuous improvement - The active learning cycleContinuous improvement - The active learning cycle
Continuous improvement - The active learning cycle
 
Active learning [homework 5]
Active learning [homework 5] Active learning [homework 5]
Active learning [homework 5]
 
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active learning)
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active  learning)การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active  learning)
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active learning)
 

Similar to การสอนแบบเปิด1

บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรมบันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรมJirathorn Buenglee
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Pitsiri Lumphaopun
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matSukanya Burana
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยVs'veity Sirvcn
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยVs'veity Sirvcn
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matSiriphan Kristiansen
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยPamkritsaya3147
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 

Similar to การสอนแบบเปิด1 (20)

บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรมบันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Learning by project
Learning by projectLearning by project
Learning by project
 
Teacher1
Teacher1Teacher1
Teacher1
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 mat
 
Teacher1
Teacher1Teacher1
Teacher1
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
 
03chap1
03chap103chap1
03chap1
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 

การสอนแบบเปิด1

  • 2. ความหมายของการสอนโดยวิธีเปด ไมตรี อินทรประสิทธิ์ ไดใหความหมาย วิธีการแบบเปด หมายถึง วิธีการสอนที่เนนการพัฒนาศักยภาพการคิดทางคณิตศาสตรของ นักเรียนโดยใชกิจกรรมการแกปญหาปลายเปด ลัดดา ศิลานอย ไดใหความหมาย วิธีการแบบเปด หมายถึง การจัด กิจกรรมเรียนรูที่เนนกระบวนการจัดกิจกรรมหรือสถานการณตางๆ ให มีลักษณะที่เปนปญหาแบบเปดกระตุนใหผูเรียนไดคิด ซึ่งจะเนนในเรื่อง การเปดความคิดของผูเรียนใหผูเรียนไดคิดกวาง คิดหลากหลาย และคิด สรางสรรคมากที่สุดเทาที่จะสามารถทําไดตามบริบทของเนื้อหา
  • 3. ความหมายของการสอนโดยวิธีเปด (ตอ) โนดะ ( Nohda) ไดกลาววา แนวคิดเกี่ยวกับเรื่องการเปด (Openness) มีเปาหมายเพื่อใหนักเรียนทุกคนสามารถเรียนคณิตศาสตร ในแนวทางทีตอบสนองความสามารถของพวกเขาควบคูไปกับระดับ ่ ของการตัดสินใจดวยตนเองในการเรียนรูของพวกเขา และสามารถ ขยายหรือเพิ่มเติมคุณภาพของกระบวนการและผลที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับ คณิตศาสตรได การสอนโดยวิธีการแบบเปด มุงเนนทีจะเปดใจของ ่ นักเรียนทีมตอคณิตศาสตรมากกวาเนนการสอนเนือหาใหครบ ่ ี  ้
  • 4. ความหมายของการสอนโดยวิธีเปด (ตอ) วิธีการแบบเปด (Open Approach) จํากัดความไดวา เปนวิธีการสอน หนึ่ง ที่ใชกิจกรรมที่มีปฏิสัมพันธระหวางวิชาคณิตศาสตร และนักเรียนได เปดการใชวิธีการในการแกปญหาที่หลากหลาย จําเปนตองสรางกิจกรรมที่มี  ปฏิสัมพันธระหวางวิธีคิดทางคณิตศาสตรและพฤติกรรมการแกปญหา นักเรียนไดถูกเปดออกมาอยางชัดเจนสามารถอธิบายได 3 ลักษณะ คือ 1) มีการพัฒนากิจกรรมของเด็กเพื่อวิธการสอนแบบเปดโดยเฉพาะ ี 2) ปญหาที่กําหนดในวิธการแบบเปดตองอาศัยแนวคิดทางคณิตศาสตร ี ดวย 3) วิธีการแบบเปดควรสอดคลองกันในกิจกรรมสัมพันธระหวาง ขอ 1 กับ ขอ 2
  • 5. การจัดการเรียนการสอนโดยใชวิธีการแบบเปดในชั้นเรียน คณิตศาสตรในญี่ปุน จุดเริ่มตนของวิธีการแบบเปดในญี่ปุน เกิดจากนักคณิตศาสตรศึกษาใน ญี่ปุนไดทําการศึกษามุมมองทางดานคณิตศาสตรแบบเดิมในการวิจยและการั ปฏิบัติการสอน ทําใหเกิดงานวิจัยเพิ่มในหัวขอ “วิธีการแบบปลายเปด” (The Opended Approach) “วิธีการแบบเปด” (The Open Approach) “จากปญหาสู ปญหา” (form problem to problem) เพื่อแกปญหาคณิตศาสตรแบบเดิมใน หองเรียนคณิตศาสตรที่มีมาตั้งแตกอนสงครามโลก ครั้งที่ 2 งานวิจยจะเนนที่ศักยภาพและแนวทางการคิดทางคณิตศาสตรของ ั นักเรียนเปนรายบุคคล และพัฒนาวิธีการสอนที่สามารถปรับเขากับความ หลากหลายทางการคิดของนักเรียน
  • 6. การจัดการเรียนการสอนโดยใชวิธีการแบบเปดในชั้นเรียน คณิตศาสตรในญี่ปุน (ตอ) ในป 1970 เกิดงานวิจยขึ้นมากมาย หนึ่งในนันคืองานวิจัยของชิมะดะ ั ้ และคณะที่ไดวิจัยเกียวกับวิธีการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางคณิตศาสตรของนักเรียน ่ ตามจุประสงคชั้นสูง คือ 1.มีความสามารถในการทําสถานการณที่ตนเองเกี่ยวของใหเปน คณิตศาสตรได 2.มีความสามารถที่จะทํางานรวมกับคนอื่นในการแกปญหาทาง คณิตศาสตร จากจุดนี้ถือวาเปนจุดเริ่มตนของการพัฒนาปญหาปลายเปดขึ้นมาเพื่อใช ในการประเมินกิจกรรมทางคณิตศาสตรของนักเรียน ในชวงแรกของการวิจัยประกอบดวยนักวิจยจํานวน 4 คน คือ ชิเงะรุ ั ชิมะดะ, โทะชิโอะ ชะวะดะ, โยะชิฮิโกะ ฮะชิโมะโตะ, และเคนจินิจิ ชิบุยะ
  • 7. การจัดการเรียนการสอนโดยใชวิธีการแบบเปดในชั้นเรียน คณิตศาสตรในญี่ปุน (ตอ) ตอมาสองสามป ไดมีนักวิจยและครูระดับประถมศึกษาและ ั มัธยมศึกษาเขามามีสวนรวมในการวิจัยนี้ โดยไดใชวิธการแบบเปดใน ี หองเรียนคณิตศาสตรของตนละไดมีการเผยแพรหนังสือซึ่งเปนผลมาจาก การทํางานรวมกัน ชื่อ The Openended approach : A new proposal for teaching mathematics.และสมาคมครูคณิตศาสตรของอเมริกา (NCTM) ได แปลเปนภาษาอังกฤษรวมทั้งเผยแพรการวิจัยเกียวกับปญหาปลายเปด จึงทํา ่ ใหการวิจัยดังกลาวไดรับการพัฒนาอยางตอเนื่อง