SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
บททีÉ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม 
 เนืÊอหาทีÉต้องเรียนในบททีÉ 10 
10.1 อุตสาหกรรมแร่ 
 ทองแดง 
 สังกะสีและแคดเมียม 
 ดีบุก 
 ทังสเตน 
 พลวง 
 เซอร์โคเนียม 
 แร่รัตนชาติ 
10.2 อุตสาหกรรมเซรามิกส์ 
 การเตรียมวัตถุดิบ 
 การขึÊนรูปผลิตภัณฑ์ 
 การเผาและการเคลือบ 
 ผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ 
ผลิตภัณฑ์แก้ว 
ปูนซีเมนส์ 
10.3 อุตสาหกรรมทีÉเกีÉยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์ 
 การผลิตโซเดียมคลอไรด์ 
 การผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์และแก๊สคลอรีน 
 การผลิตโซดาแอช 
 การผลิตสารฟอกขาว 
10.4 อุตสาหกรรมปุ๋ย 
 ประเภทของปุ๋ย 
 ปุ๋ยไนโตรเจน 
 ปุ๋ยฟอสเฟต 
 ปุ๋ยโพแทส 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 1
บททีÉ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม 
10.1 อุตสาหกรรมแร่ 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 2 
 Ds 
 แร่ คือ ธาตุหรือสารประกอบทÉีเกิดขึÊนตามธรรมชาติ โดยกระบวนการทางธรณีวิทยาภายในโลกและทÉีผิวโลก 
มีองค์ประกอบเป็นช่วง มีโครงสร้างและองค์ประกอบเฉพาะตัว 
 สินแร่ คือ กลุ่มของแร่ต่าง ๆ ทÉีมีปริมาณมากพอในเชิงเศรษฐกิจ ซึÉงสามารถใช้เป็นวัตถุดิบในการหลอมเหลว 
หรือถลุง เพืÉอให้ได้โลหะ 
 แร่หลักชนิดต่าง ๆ จำแนกตามองค์ประกอบทางเคมี ได้ดังตาราง řŘ.ř 
ตาราง 10.1 แสดงแร่หลักชนิดต่าง ๆ 
ชนิด แร่ 
โลหะเดีÉยว 
คาร์บอเนต 
เฮไลด์ 
ออกไซด์ 
ฟอสเฟต 
ซิลิเกต 
ซัลไฟด์ 
ซัลเฟต 
เงิน ทองคำ บิสมัท ทองแดง แพลทินัม แพลเลเดียม 
CaCO3 ( แคลไซต์ หินปูน) MgCO3 (แมกนีไซต์) CaMg(CO3)2 (โดโลไมต์) PbCO3 (เซอรัส 
ไซต์) ZnCO3 (สมิทโซไนต์) 
CaF2 (ฟลูออไรต์) NaCl (เฮไลต์) KCl (ซิลไวต์) Na3AlF6 (ไครโอไลต์) 
Al2O3.2H2O (บอกไซต์) Al2O3 (คอรันดัม) Fe2O3 (ฮีมาไทต์) Fe3O4 (แมกนีไทต์) Cu2O (คิว 
ไพรต์) MnO2 (ไพโรลูไลต์) SnO2 (แคสซิเทอไรต์) 
ZnO (ซิงไคต์) 
Ca3(PO4)2 (หินฟอสเฟต) Ca5(PO4)3OH (ไฮดรอกซีแอพาไทต์) 
Be3Al2(Si6O18) (เบริล) ZrSiO4 (เซอร์คอน) NaAlSiO3 (แอลไบต์)3MgO.4SiO2.H2O (ทัลก์) 
Ag2S (อาร์เจนไทต์) CdS (กรนอกไคต์) Cu2S (คาลโคไซต์) Fe2S (ไพไรต์) HgS (ซินนา 
บาร์) PbS (กาลีนา) ZnS (สฟาสเลอไรต์) 
BaSO4 (แบไรต์) CaSO4 (แอนไฮไดรต์) PbSO4 (แองกลีไซต์) SrSO4 (เซเลสไทต์) 
MgSO4.7H2O (เอปโซไมต์) 
นอกจากนีÊอาจจำแนกแร่ตามประโยชน์ทางเศรษฐกิจได้ดังนีÊ 
 แร่ประกอบหิน หมายถึง แร่ทีÉเป็นส่วนประกอบของหิน 
เช่น หินแกรนิตประกอบด้วยแร่ควอตซ์ แร่เฟลด์สปาร์และแร่ไมกา 
เช่น หินปูนประกอบด้วยแร่แคลไซต์ซึÉงจะกระจายแทรกตัวอยใู่นเนืÊอหินและแยกออกมาใช้ประโยชน์ได้ยาก 
จึงต้องนำหินเหล่านัÊนมาใช้โดยตรง เช่น นำมาใช้ในกระบวนการผลิตปูนซีเมนต์ อุตสาหกรรมก่อสร้าง 
นำหินแกรนิตหรือหินอ่อนในรูปของแผ่นหินมาใช้สำหรับปูพืÊนหรือการก่อสร้าง
ตารางทÉี 10.2 ตัวอย่างกลุ่มแร่เศรษฐกิจ 
กลุ่มแร่ ตัวอย่างแร่ 
แร่โลหะพืÊนฐาน 
แร่หนักและแร่หายาก 
แร่โลหะมีค่า 
แร่ในอุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้า 
แร่วัตถุดิบในอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ 
แร่ทีÉใช้ในอุตสาหกรรมก่อสร้าง 
แร่รัตนชาติ 
แร่ทีÉใช้เป็นเชืÊอเพลิง 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 3 
แร่ทองแดง ตะกัวÉ สังกะสี พลวง ดีบุก ทังสเตน 
แร่เทนทาไลต์โคลัมไบต์ เซอร์คอน อิลเมไนต์ โมนาไซต์ 
ทองคำ ทองคำขาว เงิน 
แร่เหล็ก แมงกานีส นิกเกิล โครไมต์ โมลิบดีไนต์ 
ยิปซัม หินปูน หินดินดาน ดินมาร์ลหรือดินสอพอง 
หินอ่อน หินแกรนิต หินทราย หินกาบหรือหินชนวน 
เพชร คอรันดัม มรกต บุษราคัม โกเมน 
ถ่านหิน หินนÊำมัน นÊำมันดิบ แก๊สธรรมชาติ 
 แร่เศรษฐกิจ หมายถึง แร่ทีÉมีค่าทางเศรษฐกิจและมีปริมาณมากพอทีÉจะนำมาใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรม 
โดยอาจแบ่งเป็นกลุ่มได้ตามตาราง 
หรืออาจแบ่งเป็น Ś ประเภทใหญ่ ๆ คือ แร่โลหะและแร่อโลหะ 
ตัวอย่างแร่เศรษฐกิจทÉีสำคัญของไทย เช่น หินปูน ยิปซัม สังกะสี เหล็ก ดีบุก ตะกัวÉ หินอ่อน ทรายแก้ว เฟลด์มปาร์ 
ดินขาว ฟลูออไรต์ โพแทซและรัตนชาติ รวมทัÊงแร่อโลหะทÉีใช้เป็นเชืÊอเพลิง เช่น ถ่านหิน หินนÊำมันและแก๊สธรรมชาติ 
โดยประเทศไทยผลิตแร่ได้มากกว่า ŜŘ ชนิด ทัÊงการผลิตเพÉือส่งออกและเพÉือรองรับอุตสาหกรรมภายในประเทศ 
 ตัวอย่างแร่ทีÉมีความสำคัญ 
1) ทองแดง 
แร่ทองแดงพบทÉี จ.เลย หนองคาย ขอนแก่น นครราชสีมา ตาก อุตรดิตถ์ แพร่ น่าน ลำปาง ลำพูน เพชรบูรณ์ ลพบุรี 
ฉะเชิงเทรา และกาญจนบุรี แต่ยังไม่มีการผลิต 
แร่ทองแดงส่วนใหญ่มีทองแดงเป็นส่วนประกอบปริมาณไม่มาก แร่ทองแดงทีÉสำคัญคือ แร่คาลโคโพไรต์ ( CuFeS2 ) 
แร่มาลาไคต์ แร่คาลโคไซต์ แร่คาลโคโพไรต์ แร่คิวไพรต์
การถลุงทองแดง จาก แร่คาลโคโพไรต์ ( CuFeS2 ) 
แยกแร่ทีÉต้องการออกจากสิÉงเจือปน อาจใช้วิธีการลอยตัว เป็นต้น 
นำแร่มาเผาในอากาศ เรียกว่า ย่างแร่ 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 4 
ไอร์ออน (II) ซัลไฟต์บางส่วนจะถูกออกซิไดส์ เป็นไอร์ออน (II) ออกไซด์ ดังสมการ 
2CuFeS2(s) + śO2(g) ŚCuS(s) + ŚFeO(s) + ŚSO2(g) 
กำจัด FeO 
นำ FeO (ไอร์ออน (II) ออกไซด์) 
ไปเผารวมกับ SiO2 (ออกไซด์ของซิลิกอน) 
บนเตาถลุงอุณหภูมิประมาณ 1100 °C 
เพÉือกำจัด FeO ออก ดังสมการ 
FeO(s) + SiO2(s) FeSiO3(l) 
กาํจัดได้ง่ายเพราะเป็นของเหลว 
ส่วน CuS (คอปเปอร์ ( II) ซัลไฟด์) 
เมืÉออยู่ในอุณหภูมิสูงจะสลายตัวได้ 
Cu2S (คอปเปอร์ ( I) ซัลไฟด์) ในสถานะของเหลว 
เมืÉอแยก Cu2S ในอากาศ บางส่วนจะเปลีÉยน 
เป็น Cu2O (คอปเปอร์ (I) ออกไซด์) ดังสมการ 
ŚCu2S (s ) + śO2(g) ŚCu2O(s) + SO2(g) 
และ Cu2S กับ Cu2O จะทำปฏิกิริยากัน 
โดยมีซัลไฟด์ไอออนเป็นตัวรีดิวซ์ ดังสมการ 
ŚCu2O(s) + Cu2S (s ) 6Cu(l) + SO2(g) 
ได้ทองแดง (Cu) แต่ก็ยังมีสิÉงเจือปน ต้องนำไปทำให้บริสุทธิÍ 
ก่อน โดยทัวÉไปใช้วิธีแยกสารละลายด้วยกระแสไฟฟ้า
การทำทองแดงให้บริสุทธิÍด้วยกระแสไฟฟ้า 
 โดยปกติทองแดงทÉีได้จากการถลุงสินแร่ จะมีความบริสุทธิÍไม่เกินร้อยละ 99 ทÉีเหลือเป็นสิÉงเจือปน ได้แก่ Fe , Ag , Pt ,Zn 
 ซึÉงทำให้ทองแดงมีการนำไฟฟ้าตํÉา 
 หลักการทำให้ทองแดงบริสุทธิÍถึงร้อยละ 99.95 โดยใช้หลักการเซลล์อิเล็กโตรไลต์ มีดังนีÊ 
 ใช้ ทองแดงไม่บริสุทธิÍเป็นแอโนด และทองแดงบริสุทธ์เป็นแคโทด จุ่มในสารละลาย CuSO4 กับ H2SO4 
 เมÉือผ่านกระแสไฟฟ้ากระแสตรงทÉีมีศักย์ไฟฟ้าเหมาะสมเข้าไปในเซลล์ ทองแดงจากแอโนด (ทองแดงไม่บริสุทธิÍ) 
จะให้อิเล็กตรอนกลายเป็น Cu2+ ดังสมการ Cu Cu2+ + 2e- และละลายลงไปในสารละลาย 
 ซึÉง Cu2+ ในสารละลายจะรับอิเล็กตรอนทÉีแคโทด กลายเป็นทองแดงบริสุทธิÍเกาะทÉีแคโทด 
ดังสมการ Cu2+ + 2e- Cu 
 ธาตุต่าง ๆ ทีÉเจือปนอยู่ เช่น Fe , Zn (เสียอิเล็กตรอนง่าย) จะถูกออกซิไดซ์เป็น Fe2+ และ Zn2+ ปนอยู่ในสารละลาย 
 ธาตุเจือปน เช่น Ag , Pt (เสียอิเล็กตรอนยาก) จะไม่แตกตัวเป็นไอออน จะตกตะกอนทีÉก้นภาชนะ และสามารถแยกออกมา 
เป็นโลหะแต่ละชนิดได้ 
ประโยชน์ของทองแดง 
1) ทองแดงเป็นโลหะทีÉมีความสำคัญและใช้มากในอุตสาหกรรมการผลิตอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์ตู้เย็น 
และเครืÉองปรับอากาศ อุปกรณ์เกีÉยวกับรถยนต์ อาวุธ เปรียญกษาปณ์ ฯลฯ 
2) เป็นส่วนประกอบสำคัญในโลหะผสมหลายชนิด เช่น ทองเหลือง บรอนซ์ โลหะผสมทองแดงนิกเกิลใช้ทำท่อในระบบ 
กลันÉ อุปกรณ์ภายในเรือเดินทะเล โลหะผสมทองแดง นิกเกิล และสังกะสี (เรียกว่าเงินนิกเกิลหรือเงินเยอรมัน ) ใช้ทำ 
เครืÉองใช้ เช่น ส้อม มีด เครืÉองมือแพทย์ 
3) แร่ทองแดงทÉีมีลวดลายสวยงาม เช่น มาลาไคต์ อะซูไรต์ และคริโซคอลลา สามารถนำมาทำเครÉืองประดับได้อีกด้วย 
เหรียญกษาปณ์ ท่อทองแดง 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 5
2) สังกะสีและแคดเมียม 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 6 
 แร่สังกะสีทีÉพบมากทีÉสุดคือ แร่สฟาเลอไรด์ ( ZnS ) เมืÉอนำมาถลุงแล้วจะอยู่ในรูปของของเหลวไม่บริสุทธิÍ 
ในประเทศไทยพบแร่สังกะสีในหลายจังหวัด เช่น ลำปาง แพร่ แต่สำหรับทÉีตากเป็นแร่สังกะสีชนิดซิลิเกต 
คาร์บอเนตและออกไซด์ ซึÉงจะมีลำดับวิธีการถลุงแร่แตกต่างกันออกไป 
ปัจจุบันมีการใช้โลหะสังกะสีอย่างกว้างขวาง โดยใช้เป็นสารเคลือบเหล็กกล้า ใช้ผสมกับทองแดงเกิดเป็นทองเหลือง 
เพÉือใช้ขึÊนรูปหรือหล่อผลิตภัณฑ์ต่างๆ 
นอกจากนีÊสารประกอบออกไซด์ของสังกะสียังนำมาใช้ในอุตสาหกรรมยาง สี เซรามิกส์ ยา เครÉืองสำอาง 
 โลหะแคดเมียมใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมการผลิตเซลล์นิกเกิล-แคดเมียม ทำสีในอุตสาหกรรมพลาสติก เซรามิกส์ 
ทำโลหะผสม และใช้โลหะแคดเมียมเคลือบเหล็กกล้า ทองแดง และโลหะอÉืนๆเพÉือป้องกันการผุกร่อน 
3) ดีบุก 
 แร่ดีบุกทีÉพบส่วนใหญ่ พบในรูปของ แร่แคสซิเทอร์ไรต์ (SnO2) 
 การถลุงแร่ดีบุก 
นำแร่ดีบุกผสมถ่านโค้กและหินปูน อัตราส่วน 20 : 4 : 5 
นำใส่เตาถลุงทÉีมีไฟฟ้าหรือนÊำมันเตาให้ความร้อน 
เกิดปฏิกิริยาดังนีÊ 
ŚC(s) + O2(g) 2CO(g) 
SnO2(s) + 2 CO(g) Sn(l) + 2CO2(g) 
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ทÉีเกิดขึÊน สามารถเปลÉียนกลับไปเป็นแก๊ส 
คาร์บอนมอนอกไซด์แล้วนำกลับมาใช้ใหม่ได้ 
สำหรับแร่ดีบุกบางชนิดทีÉมีสารประกอบ SiO ปนอยู่ ต้องจำกัดออก 
โดยปฏิกิริยาต่อไปนีÊ ทÉีสุดท้ายแล้วได้ผลิตภัณฑ์เป็นแคลเซียมซิลิเกต 
CaCO3(s) CaO(s) + CO2(s) 
CaO(s) + SiO2(s) CaSiO3(l) 
เมÉือกำจัด SiO ออกแล้ว ก็จะได้แร่ดีบุก 
ดีบุกทÉีผ่านการถลุงแล้วต้องมีการนำไปทำให้บริสุทธิÍอีกทีก่อน 
กากโลหะทีÉเป็นตะกรันทีÉมีดีบุกปนอยู่ ต้องมีการนำไปถลุงเอาดีบุก 
ออกอีกครัÊง 
คุณสมบัติของดีบุก 
1) ทนต่อการกัดกร่อน 
2) ไม่เป็นสนิม 
3) ไม่เป็นพิษต่อร่างกาย 
4) ผสมเป็นเนืÊอเดียวกับโลหะอÉืนได้ดี 
ประโยชน์ของดีบุก 
1) ใช้เคลือบโลหะ ทำภาชนะบรรจุอาหาร 
2) ทำโลหะผสม เช่น 
ดีบุก ผสม ทองแดง เป็น ทองสัมฤทธิÍ/ 
ทองบรอนซ์ 
ดีบุก ผสม ทองแดงและพลวง เป็น 
โลหะพิวเตอร์ 
ดีบุก ผสม ตะกัวÉ เป็น ตะกัวÉบัดกรี
4) ทังสเตน 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 7 
 ทังสเตนส่วนใหญ่พบร่วมกับแร่ดีบุก สินแร่ของโลหะทังสเตนทีÉพบในประเทศมี Ś ชนิด คือ วุลแฟรไมต์ (Fe,Mn)WO4 
และซีไลต์ CaWO4 
 ทังสเตนเป็นโลหะสีเทาเงิน มีจุดหลอมเหลวและความหนาแน่นสูง เป็นตัวนำความร้อนและไฟฟ้าทีÉดี 
 เมืÉอผสมกับคาร์บอนจะมีความแข็งมาก 
 โลหะทังสเตนใช้ทำไส้และขัÊวหลอดไฟฟ้า ชิÊนส่วนบริเวณผิวสัมผัสของอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ทำฉากป้องกัน 
ความร้อนและรังสีในอุปกรณ์ต่างๆ ผสมกับเหล็กจะได้เหล็กกล้าทÉีมีความแข็งมาก สำหรับใช้ทำเกราะในยานพาหนะ 
อาวุธสงคราม ทำมีด มีดโกน ตะไบ ใบเลÉือย ผสมกับคาร์บอน นิกเกิลและโคบอลต์จะมีความแข็งแกร่งเป็นพิเศษ จึงใช้ทำ 
วัตถุสำหรับตัดเหล็กกล้า สารประกอบเรืองแสงของทังสเตนนำมาใช้เป็นสีเขียวและสีเหลืองในการย้อมไหม ตกแต่งแก้ว 
และเครÉืองปัÊนดินเผา 
 หนังสือธรณีวิทยาประเทศไทย (กรมทรัพยากรธรณี,2544) กล่าวว่า แร่พลวงส่วน 
ใหญ่ทีÉพบเป็นแร่พลวงซัลไฟด์ คือ แร่สติบไนต์ (stibnite สูตรเคมี Sb2S3) หรือทีÉ 
เรียกว่า “พลวงเงิน” และแร่พลวงไฮดรอกไซด์ คือแร่สติบิโคไนต์ (stibiconite สูตร 
เคมี Sb2O4H2O) หรือทีÉเรียกว่า “พลวงทอง” 
แร่พลวงเงิน รูปผลึกระบบออโทรอมบิก (orthorhombic system) มักพบเป็นแท่งเรียวคล้ายเข็ม เกาะรวมกันเป็น 
กระจุกโดยมีปลายข้างหนึÉงอยรู่วมกัน คล้ายรัศมีดาว หรือเป็นแผ่นแบบใบมีดซ้อนกัน หรืออาจจะอยใู่นลักษณะ 
เกาะกันเป็นก้อนก็ได้ สีภายนอกและสีผงละเอียดเป็นสีเดียวกัน คือ สีเทาตะกัวÉถึงสีดำ ทึบแสง วาวแบบโลหะ 
ความแข็ง 
แร่พลวงทอง เป็นแร่ทีÉแปรสภาพมาจากพลวงเงิน มักพบในลักษณะทีÉแร่ผ่านการผุมาแล้ว มีสีออกไปทางสีอ่อน 
นÊำตาลอ่อน หรือขาวคลÊำ ลักษณะคล้ายหินผุ แต่ยังคงมีรูปร่างของแร่เดิม 
5) พลวง 
 การกำเนิดแร่พลวง 
แร่พลวงเกิดได้ทัÊงในหินชัÊน หินแปร หรือหินอัคนี โดยแหล่งแร่ มีอยใู่น 2 แบบ คือ 
1) แบบสายแร่และแบบกระเปาะแร่ (cavity filling type) 
เนÉืองจากนÊำแร่พลวงมีอุณหภูมิการตกผลึกค่อนข้างตํÉา 
จะไหลแยกออกไปจากหินอัคนี ซึÉงเป็นหินต้นกำเนิด แทรกตามรอยหรือโพรง หรือเขตทÉีมีการชะล้างได้ง่าย 
(weak zone) ในหินต่างๆ ทีÉสัมผัสหรืออยู่ใกล้เคียงกับหินอัคนี 
นÊำแร่พลวงจะตกผลึกเป็นแร่พลวงเงิน ตามรอยแตกหรือโพรงหินนัÊน 
และเมÉือแร่พลวงเงินนีÊผุก็จะเกิดเป็นแร่พลวงทอง 
แหล่งแร่ส่วนใหญ่ของประเทศไทยและของโลกจะมีการกำเนิดแบบกระเปาะแร่ 
2) ลานแร่พัด เกิดจากการผุพังของสายแร่หรือกระเปาะแร่ แร่ถูกพัดไปสะสมตัวในทÉีราบทÉีอยไู่ม่ไกลจากแหล่งต้นกำเนิดเดิม 
มากนัก แร่ทÉีพบมีทัÊงพลวงเงินและพลวงทอง
 ประโยชน์ของแร่พลวง 
สินแร่พลวง ถลุงได้โลหะพลวง ใช้ในการทำโลหะผสม 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 8 
 โดยผสมกับโลหะตะกัวÉทำแผ่นกริด แบตเตอรÉี 
 ผสมตะกัวÉและดีบุกในการทำตะกัวÉตัวพิมพ์และโลหะบัดกรีบางชนิด 
 ใช้เป็นส่วนประกอบของกระสุนปืน 
 ใช้ในอุตสาหกรรมไม้ขีดไฟ ยาง ผ้าทนไฟ และในอุตสาหกรรมเครืÉองเคลือบ 
 นอกจากนีÊยังใช้ในการหุ้มสายโทรศัพท์ สายไฟขนาดใหญ่ ทำหมึกโรเนียว อุปกรณ์ทรานซิสเตอร์ 
หลอดยาสีฟัน สี และ ยารักษาโรค 
 แหล่งแร่พลวงของประเทศไทย 
 แร่พลวงเป็นแร่เศรษฐกิจทสÉีำคัญชนิดหนึÉงของประเทศไทยทÉีเริÉมมีการผลิตตัÊงแต่ พ.ศ. 2486 เป็นต้นมา 
โดยเริÉมมีการผลิตส่วนใหญ่ในภาคเหนือ และมีการผลิตอย่างจริงจัง ตัÊงแต่ พ.ศ. 2506 ทำให้แร่พลวงเริÉมมีบทบาท 
สำคัญต่ออุตสาหกรรมเหมืองแร่ 
 แหล่งแร่พลวงทÉีสำคัญ ได้แก่ แหล่งแร่ในบริเวณอำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน อำเภอแจ้ห่ม และเสริมงาม 
จังหวัดลำปาง อำเภอลองและอำเภอวังชิÊน จังหวัดแพร่ อำเภอบ้านนาสารและเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี 
และแหล่งแร่พลวงทÉีพบใหม่ คือ ทÉีอำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี 
 นอกจากนีÊ ยังพบแหล่งแร่พลวงทÉีน่าสนใจจังหวัดต่างๆ คือ จังหวัดเชียงใหม่ พะเยา แม่ฮ่องสอน ตาก สุโขทัย 
กาญจนบุรี ราชบุรี เลย สตูล นครศรีธรรมราช ชุมพร กระบีÉ ระยอง และจันทบุรี 
6) เซอร์โคเนียม 
 เซอร์โคเนียม (Zr) เป็นโลหะทีÉมีจุดหลอมเหลว 1852 .C จุดเดือด 4377 .C พบอยู่ในรูปของแร่เซอร์คอน (ZrSiO4) 
เกิดตามแหล่งแร่ดีบุก 
 การถลุงเซอร์โคเนียม 
นำแร่เซอร์คอนไปถลุงในเตาทีÉอุณหภูมิ 800 – 1000°C โดยใช้คาร์บอนเป็นตัวรีดิวซ์ 
จะได้โลหะเซอร์โคเนียมทÉีไม่บริสุทธิÍ 
นำโลหะไปเผาทีÉอุณหภูมิ 500 °C และพ่นแก๊สคลอรีนลงไปตลอดเวลา 
จะได้ไอของ ZrCI4 เมืÉอควบแน่นจะได้ผลึก ZrCI4 
นำผลึก ZrCI4 ทำปฏิกิริยากับโลหะแมกนีเซียมทÉีหลอมเหลว 
ในเตาภายใต้บรรยากาศของแก๊สเฉÉือย จะได้Zr ดังสมการ 
ZrCI4 + Mg(l) Zr + 2MgCI2 
แยก MgCI2 ออก โดยเผาในภาวะทีÉเป็นสุญญากาศทีÉ 900°C 
และนำโลหะเซอร์โคเนียมไปหลอมในเตาสุญญากาศ เพÉือให้ได้โลหะทÉีบริสุทธิÍขึÊน
 ประโยชน์ของเซอร์โคเนียม 
1) ใช้เป็นชิÊนส่วนของเครืÉองยนต์ไอพ่น และจรวด 
2) ใช้ทำถ้วยกระเบืÊองทนไฟ 
3) ทำอิฐทนไฟสำหรับเตาหลอมโลหะ 
4) ทำฉนวนกันไฟฟ้าแรงสูง 
5) ทำชิÊนส่วนของหัวเทียนรถยนต ์ 
6) ทำอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ 
 ในการถลุงแร่จะเกิดกากแร่ซึÉงเป็นสารพิษเกิดขึÊนด้วย เช่น 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 9 
 กากแคดเมียม (Cd) ซึÉงเป็นโลหะทรานซิสชันÉสีขาว-ฟ้า เป็นธาตุมีพิษ ในธรรมชาติพบอยใู่นแร่สังกะสี 
 การย่างแร่ ทองแดง สังกะสี และพลวง จะได้แก๊ส SO2 ซึÉงเป็นพิษต่อสิÉงแวดล้อม 
7) แร่รัตนชาติ 
 แร่รัตนชาติเป็น “อโลหะ” ทÉีมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นอย่างมาก เพราะเป็นสินค้าส่งออกทÉีทำรายได้ 
ให้อย่างมาก โดยเฉพาะเพชรพลอยทีÉแปรรูปเป็นอัญมณีแล้ว 
 สถาบันอัญมณีศาสตร์แห่งสหรัฐอเมริกาได้ให้ ความหมายของรัตนชาติหรืออัญมณีว่า“เป็นแร่และหรือสารประกอบ 
อินทรีย์ทีÉนำมาใช้เป็นเครืÉองประดับ” 
 มีสมบัติสำคัญคือ ř. ความสวยงาม Ś.ความคงทน ś.ความหายาก Ŝ.ความนิยม และ ŝ. ความสามารถในการพกพา 
 ส่วนสารประกอบทÉีเกิดจากสิÉงมีชีวิตและจัดเป็นรัตนชาติ ได้แก่ ř.ไข่มุก Ś.ปะการัง ś.อำพัน 
 นอกจากนีÊสถาบันดังกล่าว ยังแบ่ง อัญมณีออกเป็น Ś กลุ่มคือ ř.เพชร Ś.พลอยหรือหินสี 
 บ่อพลอยทีÉเป็นแหล่งผลิตรัตนชาติทีÉสำคัญและเก่าแก่ของไทยอยู่ทีÉจังหวัดจันทบุรี ตราด และกาญจนบุรี 
 ส่วนเพชรพบปนอยใู่นลานแร่ดีบุกทÉีจังหวัดภูเก็ตและพังงา แต่ปริมาณน้อยและคุณภาพตํÉามาก 
 แร่รัตนชาติ ทÉีมีชÉือเสียงของไทย ได้แก่ ทับทิมสยาม ไพลินหรือแซปไฟร์สีนÊำเงิน บุษราคัม 
 ทับทิมสยามและไพลินเป็นพลอยในตระกูลแร่ คอรันดัม มีส่วนประกอบหลักเป็น อะลูมิเนียมออกไซด์ 
โดย มี Al ร้อยละŝŚ.š และ O ร้อยละ Ŝş.ř โดยมวล 
 การทีÉพลอยตระกูลคอรันดัมมีสีแตกต่างกัน เนืÉองจากมีธาตุอืÉนเป็นมลทิน เช่น 
 ถ้ามี Cr จะทำให้เนืÊอพลอยมีสีชมพูจนถึงสีแดงเข้ม ซึÉงเรียกว่า “ทับทิม” 
 ถ้ามี Fe จะทำให้พลอยมีสีเขียวอ่อน สีเหลือง หรือสีนÊำตาล 
 ถ้ามีทัÊง Fe และ Ti ปนด้วยกัน จะทำให้พลอยมีสีนÊำเงินอ่อนถึงสีนÊำเงินเข้ม เรียก “ไพลิน” 
 ถ้ามีแร่รูไทล์ ปนอยู่จะทำให้พลอยมีลายเส้นเหลือบๆ หรือ รูปดาว เรียกว่า “พลอยสาแหรก 
หรือพลอยสตาร์” 
 การตรวจสอบเพชรและพลอยเพืÉอจำแนกชนิดหรือเพืÉอพิสูจน์ว่า เป็นของแท้หรือเทียม จะใช้เครืÉองมือและวิธีการเฉพาะ 
เพืÉอตรวจสอบสมบัติทีÉปรากฏ เช่น ความแข็ง ความถ่วงจำเพาะ รูปลักษณะของผลึกทีÉเกิดตามธรรมชาติ เป็นต้น 
ซึÉงเป็นสมบัติเฉพาะของรัตนชาติแต่ละชนิด 
 แร่รัตนชาติแต่ละชนิดมีความแข็งหรือความทนทานต่อการขูดขีดได้ไม่เท่ากัน นักธรณีวิทยาชาวเยอรมัน ชืÉอ เฟดริก โมส์ 
ได้จัดระดับความแข็งของแร่ตัÊงแต่อ่อนทÉีสุดจนถึงแข็งทÉีสุดไว้ řŘ ระดับ โดยเพชร เป็นแร่ทÉีมีความแข็งทีÉสุด และ 
โดยทัวÉไปแร่รัตนชาติจะมีความแข็งสูงกว่า Ş
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 10 
 เพชรเป็นอัญมณีทีÉมีความแข็งทีÉสุด ประกอบด้วยผลึกของธาตุคาร์บอน มีโครงสร้างเป็นร่างตาข่าย ไม่นำไฟฟ้า 
แต่นำความร้อนได้ดีทีÉสุด และดีกว่าทองแดง ŝ เท่า จึงถูกนำไปใช้ทำส่วนประกอบของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ 
ปัจจุบันสามารถสังเคราะห์เพชรได้ โดยอัดแกรไฟต์ภายใต้ความดัน ŝŘ,ŘŘŘ-řŘŘ,ŘŘŘ บรรยากาศ ทีÉอุณหภูมิ ŚŘŘŘ oC 
โดยมีโครเมียม เหล็ก หรือแพลทินัมเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา เพชรทีÉได้จะมีความแข็ง ความถ่วงจำเพาะ ค่าดัชนีหักเหแสง 
และโครงสร้างผลึกเหมือนกับเพชรธรรมชาติ แต่การผลิตเพชรจะเสียค่าใช้จ่ายสูงมาก 
 ส่วน ทับทิม ไพลิน และบุษราคัม มีระดับความแข็ง ความถ่วงจำเพาะ และค่าดัชนีหักเหแสงเท่ากัน จึงจัดเป็นแร่ชนิด 
เดียวกัน แต่มีสีแตกต่างกันเนÉืองจากมีธาตุมลทินในเนืÊอพลอยแตกต่างกัน 
 ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีช่วยให้มีการเพิÉมคุณภาพของแร่ได้หลายวิธี เช่นการเจียระไน การเผา 
การอาบรังสี การย้อมเคลือบสี และการฉายแสงเลเซอร์ วิธีการเหล่านีÊช่วยให้อัญมณีมีความงดงามและมีคุณค่ามากขึÊน 
 การเจียระไน เป็นเทคนิคทÉีทำให้อัญมณีมีความแวววาวเป็นประกายและมีสีสันเด่นชัดขึÊน โดยใช้เครÉืองมือทำให้เป็น 
เหลีÉยม เพืÉอให้แสงหักเหสะท้อนกลับไปมาภายในผลึกและสะท้อนออกด้านหน้า 
รูปการเจียระไนเพชรพลอยแบบต่างๆ 
 การเผาพลอยหรือการหุงพลอย เป็นเทคนิคทÉีช่วยให้พลอยมีสีสันสวยงาม โดยใช้ความร้อนและอุณหภูมิทÉีเหมาะสม ทำให้ 
ธาตุต่างๆ ในเนืÊอพลอยจัดเรียงตัวใหม่ ทำให้พลอยใสขึÊนและมีสีเปลÉียนไปอย่างถาวรดังแสดงในตาราง
การเผาพลอย 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 11 
 การเผาพลอยหรือการหุงพลอย คือ การทำให้พลอยมีสีสันสวยงามยิงÉขึÊน โดยการนำพลอยมาให้ความร้อนในช่วง 
อุณหภูมิและภาวะทÉีเหมาะสม จนธาตุต่างๆในเนืÊอพลอยใสขึÊนและมีสีเปลÉียนไปถาวร เช่น 
ชนิดของพลอย สีเดิมตามธรรมชาติ สีทีÉเปลีÉยนแปลงหลังการให้ความร้อน 
- ทับทิม 
- แซปไฟร์สีนÊำเงิน 
(ไพลิน) 
-แซปไฟร์สีขาว 
-เพทาย 
-โทแปซ 
-ควอตซ์ (แอเมทิสต์) 
การย้อมเคลือบสี 
แดงอมม่วง แดงอมนÊำตาล ชมพูอมม่วง 
นÊำเงิน 
ขาวใส ขาวขุ่นนÊำนม หรือขาวอมเหลือง 
นÊำตาล สีชา 
ขาวใส 
ม่วง 
แดงสดหรือชมพูสด 
นÊำเงินเข้มขึÊนหรือนÊำเงินสว่างขึÊน 
นÊำเงิน เขียว เหลือง หรือเหลืองนÊำทอง 
ใสไม่มีสี เหลืองนÊำทอง นÊำเงิน 
นÊำเงิน (ก่อนเผาจะอาบรังสีนิวตรอนให้ได้สี 
เหลือง นÊำตาล หรือเขียว) 
ใสไม่มีสี เหลืองนÊำทอง เขียว 
 คือการเผาพลอยรวมกับสารเคมีบางชนิด ทำให้พลอยมีสีสันสวยงามขึÊน สารเคมีทÉีใช้จะมีส่วนผสมของธาตุมลทินทÉีทำให้ 
พลอยชนิดนัÊนเกิดสีตามธรรมชาติ แต่จะแตกต่างกับการเผาพลอยตรงทÉี สีทÉีเกิดขึÊนสามารถอยไู่ด้เพียงชัวÉคราวเท่านัÊน 
การอาบรังสี คือการนำพลอยไปอาบรังสีแกมมาจากโคบอลต์-ŞŘ ทำให้สีเปลÉียนแปลง 
 ปัจจุบันมีการนิยมทำเพชรเทียมกันมากขึÊนเนÉืองจากเพชรธรรมชาติหายากและมีราคาแพง โดยเพชรเทียมทÉีได้รับความ 
นิยมสูงสุดคือ เพชรรัสเซีย หรือคิวบิกเซอร์โคเนีย เพชรเทียมมีการกระจายแสงสูงกว่าเพชรธรรมชาติจึงทำให้เป็น 
ประกายแวววาว และมีความถ่วงจำเพาะสูงกว่าเพชรธรรมชาติมาก 
 ในการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ มีการนำแผ่นฟิล์มเพชรบางๆซึÉงได้จากการทำเพชรสังเคราะห์ โดยการเผาแก๊สมีเทน 
หรืออะเซติลีนสลายพันธะได้อะตอมของคาร์บอนเกาะติดบนแผ่นฟิล์มซิลิคอน เป็นแผ่นเพชรช่วยถ่ายเทความร้อน 
ออกจากวงจรอิเล็กทรอนิกส์
10.2 อุตสาหกรรมเซรามิกส์ 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 12 
 สมัยก่อน เซรามิกส์ หมายถึง ศิลปะทÉีเกÉียวข้องกับเครÉืองปัÊนดินเผา เนÉืองจากคำว่า “เซรามิกส์ ” มีรากศัพท์มาจาก 
ภาษากรีกว่า “เครามอส” ซึÉงหมายถึงวัสดุทÉีผ่านการเผา 
 ปัจจุบัน เซรามิกส์ หมายถึง ผลิตภัณฑ์ทÉีทำจากวัตถุดิบในธรรมชาติ เช่น ดิน หิน ทราย และแร่ธาตุต่างๆ นำมาผสมกัน 
แล้วทำเป็นสิÉงประดิษฐ์ หลังจากนัÊนจึงนำไปเผาเพÉือเปลÉียนเนืÊอวัตถุให้แข็งแรง สามารถคงรูปอยไู่ด้ 
 อุตสาหกรรมเซรามิกส์เป็นอุตสาหกรรมทÉีมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศ รวมทัÊงเป็นอุตสาหกรรมพืÊนฐาน 
รองรับอุตสาหกรรมอÉืนๆ อีกหลายอย่าง เช่น วัสดุทนไฟเป็นวัสดุพืÊนฐานของอุตสาหกรรมถลุงและผลิตโลหะ 
ซีเมนต์เป็นวัสดุสำคัญของงานการก่อสร้างและสถาปัตยกรรม เป็นต้น 
 กระบวนการผลิตเซรามิกส์มีขัÊนตอน ดังนีÊ 
1. การเตรียมวัตถุดิบ 4. การเผาดิบ 
2. การขึÊนรูป 5. การเคลือบ 
3. การตากแห้ง 6. การเผาเคลือบ 
นอกจากนีÊ อาจมีการตกแต่งให้สวยงามโดยการเขียนลวดลายด้วยสีหรือการติดรูปลอก สามารถทำได้ทัÊงก่อนและหลังเคลือบ 
กระบวนการผลิตเซรามิกส์ มีขัÊนตอนทÉีสำคัญ ๆ ดังนÊี 
1) การเตรียมวัตถุดิบ วัตถุดิบ อาจแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ วัตถุดิบหลัก และ วัตถุดิบอืÉน ๆ 
1.1 วัตถุดิบหลัก เช่น ดิน เฟลด์สปาร์ ควอตซ์ 
 ดิน 
 เป็นวัตถุดิบสำคัญทีÉใช้ในการผลิตเซรามิกส์หลายประเภท โดยเฉพาะทีÉใช้เป็นภาชนะรองรับอาหาร 
เครÉืองสุขภัณฑ์ กระเบืÊอง องค์ประกอบทÉีสำคัญของดิน คือ SiO2, Al2O3, Fe2O3 ,CaO, MgO, K2O และ Na2O 
ซึÉงดินจากทÉีต่างกันจะมีองค์ประกอบในสัดส่วนทÉีต่างกัน 
 แบ่งดินตามลักษณะทางกายภาพ จะแบ่งได้ดังนีÊ 
 ดินขาว เป็นวัตถุดิบทÉีสำคัญ ดินขาวบริสุทธิÍ มีสูตรเคมีเป็น Al2O3 (2SiO2.2H2O) 
ในประเทศไทยพบดินขาวในลักษณะทÉีเป็นสีขาวหรือสีอ่อนทัÊงในสภาพทÉียังไม่ได้เผาและหลังเผา 
เช่น ทÉีจังหวัดลำปาง อุตรดิตถ์ ปราจีนบุรี ระนอง สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช 
 ดินเหนียว มีสีขาวคลÊำจนถึงดำสนิท เนืÊอละเอียด เหนียวและแข็งแรงทนทานกว่าดินขาว 
พบมากทÉี ลำปาง เชียงใหม่ ปราจีนบุรี สุราษฎร์ธานี 
 เมÉือนำดินเหนียวผสมกับดินขาว จะทำให้เนืÊอดินแน่น และเนียนมากขึÊน สะดวกในการขึÊนรูป 
และทำเป็นผลิตภัณฑ์ 
 เฟลด์สปาร์ (หินฟันม้า) 
 เป็นสารประกอบอะลูมิเนียมซิลิเกตของ ธาตุหมู่ I และ II ส่วนใหญ่มีองค์ประกอบคงทีÉ 
 ทำหน้าทÉีช่วยให้เกิดการหลอมเหลวทÉีอุณหภูมิตํÉา ส่งเสริมให้เกิดการเปลÉียนแปลงเป็นเนืÊอแก้ว ทำให้เกิดความ 
โปร่งใส 
 ตัวอย่างเช่น โซดาเฟลด์สปาร์ มี Na ในปริมาณมาก จะใช้เป็นส่วนประกอบในนÊำเคลือบและใช้ผสมในเนืÊอดิน 
โพแทชเฟลด์สปาร์ มี K ในปริมาณมาก จะใช้เป็นส่วนผสมในเนืÊอดินปัÊน 
 ควอตซ์ (หินเขีÊยวหนุมาน) 
 องค์ประกอบคือ ซิลิกา ส่วนมากใสไม่มีสี ถ้ามีสิÉงเจือปนจะให้สีต่างๆ ทำหน้าทÉีเป็นโครงสร้างของผลิตภัณฑ์เซ 
ช่วยให้เกิดความแข็งแรงไม่โค้งงอ ทำให้ผลิตภัณฑ์หดตัวน้อย
1.2 วัตถุดิบอÉืนๆ เพÉือทำให้ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพสูงขึÊน เช่น โดโลไมต์ สารประกอบออกไซด์ ดิกไคต์ เป็นต้น 
 แร่โดโลไมต์ 
 แร่หรือหินตะกอนทีÉประกอบด้วย [CaMg(CO3)2] เป็นส่วนใหญ่ 
 ลักษณะคล้ายหินปูน ผสมเล็กน้อยในเนืÊอดิน 
 ทำหน้าทลÉีดจุดหลอมเหลวของวัตถุดิบ และผสมในนÊำเคลือบ 
 สารประกอบออกไซด์ 
 BeO Al2O3 ผสมในผลิตภัณฑ์ทีÉทนไฟสูง 
 Sio2 B2O3 ผสมเพÉือทำให้ผลิตภัณฑ์เป็นเนืÊอแก้ว 
 SnO2 ZnO ใช้เคลือบเพÉือทำให้ทึบแสง 
 ดิกไคต์ 
 องค์ประกอบเหมือนดิน แต่มีโครงสร้างผลึกต่างกัน 
 ถ้า อะลูมินาร้อยละ ŚŠ-śŚ โดยมวล จะเป็นหินแข็ง นำมาแกะสลักเป็นรูปต่างๆ ไว้ประดับตกแต่ง 
อะลูมินาร้อยละ řř-ŚŠ โดยมวล ใช้ทำวัสดุทนไฟ ทำกระเบืÊองปูพืÊน 
อะลูมินาร้อยละตํÉากว่าข้างต้น ใช้ทำปูนซีเมนต์ขาว 
วัตถุดิบทุกชนิดทÉีใช้ผลิตเซรามิกส์ จะต้องทำให้บริสุทธิÍและบดให้มีความละเอียดตามต้องการ จากนัÊนจึงนํÊามาผสมกับนÊำ 
และสารอÉืนๆ ทำให้เนืÊอดินอยใู่นสภาพทÉีเหมาะสมในการขึÊนรูป 
2) การขึนÊรูปผลิตภัณฑ์ การขึÊนรูปผลิตภัณฑ์เซรามิกส์มีหลายวิธีด้วยกัน ดังต่อไปนีÊ 
2.1 การเทแบบ โดยผสมดินกับนÊำจนได้ทÉีแล้วเทลงในแบบซึÉงมีรูปร่างต่างๆ ปล่อยไว้จนแข็งตัว จากนัÊนจึงแกะแบบ 
และตกแต่งผลิตภัณฑ์ให้เรียบร้อย การขึÊนรูปด้วยวิธีนีÊ ใช้ในการผลิตแจกัน ขวด และเครÉืองสุขภัณฑ์ต่างๆ 
2.2 การใช้แป้นหมุน จะปัÊนได้เฉพาะภาชนะทÉีมีลักษณะกลม ทรงกลมหรือทรงกระบอก เช่น การปัÊนไห โอ่ง อ่าง 
กระถาง แจกัน การปัÊนต้องใช้ความชำนาญเป็นพิเศษจึงจะได้เป็นรูปทรงตามต้องการ 
2.3 การหลอมเหลว โดยหลอมเหลวเนืÊอผลิตภัณฑ์ด้วยความร้อนแล้วเทลงในแบบโลหะหรือแบบทราย 
จากนัÊนปล่อยให้เย็นตัวลง ผลิตภัณฑ์ทÉีได้จะมีเนืÊอแน่นมากและทนต่อการกัดกร่อนสูง 
2.4 การอัดเนืÊอดินผ่านหัวแบบ เป็นวิธีการขึÊนรูปทÉีนิยมใช้ในระบบอุตสาหกรรม เช่น การทำผลิตภัณฑ์วัสดุทนไฟ 
กระเบืÊอง เป็นต้น 
2.5 การอัดผงเนืÊอดินลงในแบบโลหะ เป็นวิธีการขึÊนรูปทÉีนิยมใช้ในระบบอุตสาหกรรมเช่นเดียวกัน 
ผลิตภัณฑ์ทÉีขึÊนรูปเสร็จแล้ว ควรเก็บในทÉีร่มให้เนืÊอดินแห้งอย่างช้าๆ แล้วนำมาตกแต่งให้ผิวเรียบ 
จากนัÊนจึงนำไปตากหรืออบทÉีอุณหภูมิประมาณ ŜŘ-ŞŘ องศาเซลเซียส 
3) การเผาและเคลือบ 
 การเผาครัÊงแรก เรียกว่า เผาดิบ โดยเพิÉมอุณหภูมิให้สูงขึÊนอย่างช้าๆ เพÉือให้ผลิตภัณฑ์คงรูปไม่แตกชำรุด 
 ผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่หลังจากเผาดิบแล้ว ต้องเคลือบผิวเพืÉอความสวยงามคงทน ป้องกันรอยขีดข่วน 
 แต่บางชนิดไม่ต้องเคลือบ เช่น กระถางต้นไม้ อิฐ ไส้เครÉืองกรองนÊำ เป็นต้น 
 สารทีÉใช้เคลือบ เป็นสารผสมระหว่างซิลิเกตกับสารช่วยหลอมละลาย มีลักษณะเหมือนแก้วบางๆ ฉาบติดอยู่บนผิว 
ส่วนผสมของนÊำเคลือบ แบ่งตามสมบัติทางเคมีได้ ś กลุ่ม ดังนÊี 
กลุ่มทÉีř สารช่วยลดอุณหภูมิการหลอมละลายของนÊำเคลือบ เช่น ออกไซด์โลหะแอลคาไลน์และแอลคาไลน์เอิร์ท 
รวมทัÊงออกไซด์ของตะกัวÉ สังกะสี และออกไซด์ทÉีทำให้เกดิสี เช่น Na2O , Li2O , K2O , Cao , ZnO เป็นต้น 
กลุ่มทÉี Ś กลุ่มสารทÉีเป็นสารทนไฟและให้สี เช่น Al2O3 , Sb2O3 , Mn2O3 , Bi2O3 
กลุ่มทÉี ś กลุ่มสารทÉีช่วยให้เนืÊอผลิตภัณฑ์ทึบแสง เช่น SiO2 , TiO2 , CeO2 , P2O5 
เทคนิคและวิธีการเคลือบขึÊนอยกูั่บลักษณะและขนาดของผลิตภัณฑ์ เมÉือเผาเคลือบเสร็จแล้วควรปล่อยให้อุณหภูมิ 
ลดลงช้าๆ จนผลิตภัณฑ์เกือบเย็นแล้วจึงนำออกจากเตา 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 13
 ผลิตภัณฑ์เซรามิก ตัวอย่างผลิตภัณฑ์เซรามิกส์บางชนิด ดังนีÊ 
 ผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ทีÉใช้เป็นภาชนะรองรับหรือปรุงอาหาร เช่น ถ้วย 
ชาม หม้อหุงต้ม 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 14 
 ผลิตภัณฑ์เครืÉองสุขภัณฑ์ เช่น โถส้ม อ่างล้างหน้า ทีÉวางสบู่ 
 ผลิตภัณฑ์กระเบืÊอง เช่น กระเบืÊองปูพืÊน กระเบืÊองกรุฝาผนัง 
 ผลิตภัณฑ์ทีÉใช้งานด้านไฟฟ้า เช่น กล่องฟิวส์ ฐานและมือจับสะพานไฟ 
 วัสดุทนไฟ เช่น อิฐฉนวนไฟทนไฟ 
 ผลิตภัณฑ์แก้ว เช่น แก้ว กระจก 
การใช้ผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ ควรคำนึงถึงอันตรายทÉีอาจเกิดขึÊน จากสารตะกัวÉทÉีใช้เป็นตัวช่วยลดอุณหภูมิการหลอมละลาย 
และทำให้มีสีสดใส ถ้านÊำเคลือบยึดติดกับผิวเนืÊอดินปัÊนไม่ดี สารทÉีเคลือบอาจกะเทาะและมีสารตะกัวÉหลุดออกมาได้ เพราะฉะนัÊน 
การนำผลิตภัณฑ์ดังกล่าวไปใช้ใส่สารทÉีเป็นกรดหรือเป็นเบส จึงไม่สมควร เช่นการใส่อาหารทÉีเป็นกรดเบส ก็จะทำให้ภาชนะนัÊนถูก 
กร่อน และมีสารตะกัวÉปนหลุดออกมา เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค 
 ผลิตภัณฑ์แก้ว 
 แก้วได้ถูกนำมาใช้ประโยชน์หลายอย่าง เนÉืองจากแก้วมีสมบัติทÉีดีหลายประการ ทัÊงมีความโปร่งใส ทนต่อกรดเบส ไอนÊำ 
และแก๊สซึมผ่านได้ยาก แข็งแรงและทนต่อแรงดันได้ 
 แก้วทำจากทรายแก้วหรือซิลิกา โซดาแอช หินปูน โดโลไมต์และเศษแก้วประมาณ30% โดยมวล สารทÉีเติมลงไปจะช่วย 
เพิÉมความแกร่งของเนืÊอแก้ว 
 เมÉือได้รับความร้อน สารประกอบคาร์บอนจะเปลÉียนไปเป็นสารประกอบออกไซด์ และหลอมละลายเป็นเนืÊอเดียวกัน 
เรียกว่านÊำแก้ว จากนัÊนลดอุณหภูมิ เพÉือให้แก้วมีความหนืดก่อนทำการขึÊนรูปเป็นผลิตภัณฑ์ทÉีต้องการ 
 จำแนกแก้วตามองค์ประกอบทางเคมีเช่น 
 แก้วโซดาไลม์ องค์ประกอบหลักเป็นซิลิกา โซเดียมออกไซด์ แคลเซียมออกไซด์ ไม่ทนต่อสภาพความเป็นกรดเบส 
แตกง่ายเมÉือรับความร้อน แสงขาวผ่านได้แต่ดูดกลืนอัลตราไวโอเลต เช่น แก้วนÊำ ขวดนÊำ กระจกแผ่น สามารถทำให้ 
แก้วมีสีต่างๆได้โดยเติมออกไซด์ของสารบางชนิดลงไป 
 แก้วโบโรซิลิเกต มีซิลิกาเป็นส่วนผสมปริมาณค่อนข้างสูง โซเดียมออกไซด์และแคลเซียมออกไซด์ในปริมาณทีÉลดลง 
เติมออกไซด์ของโบรอนลงไปเพÉือให้ทนต่อการเปลÉียนแปลงอุณหภูมิ ใช้ทำภาชนะสำหรับไมโครเวฟ เครÉืองแก้วใน 
ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ 
 แก้วคริสตัล มีออกไซด์ของตะกัวÉกับโพแทสเซียมเป็นส่วนผสม มีดัชนีหักเหสูงมาก เมอÉืแสงมากระทบจะเห็น 
ประกายแวววาว มีราคาแพงเนืÉองจากต้องใช้ทรายแก้วทีÉมีเหล็กเจือปนน้อยมาก ผลิตในปริมาณน้อยและใช้ฝีมือใน 
การเจียระไน 
 แก้วโอปอล มีการเติมสารบางชนิดเพÉือให้เกิดการตกผลึกหรือแยกชัÊนในเนืÊอแก้ว ทำให้มีความขุ่นและโปร่งแสง 
หลอมขึÊนรูปได้ง่าย 
ผลิตภัณฑ์ทÉีมีการใช้งานมากในปัจจุบันคือ กระจกแผ่น ใช้ในการตกแต่งอาคาร ทำเครÉืองใช้ ทำโดยดึงและรีดนÊำแก้ว 
ทÉีมีความหนืด เหมาะต่อการขึÊนรูปตามแนวราบ แล้วทำให้เย็นลงและผ่านไปยังเครÉืองขัด จะได้กระจกผิวเรียบ นำไปแปร 
รูปเพืÉอใช้ประโยชน์ตามลักษณะงานต่างๆ 
แก้วโบโรซิลิเกต แก้วคริสตัล แก้วโอปอล
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 15 
 ผลิตภัณฑ์ปูนซีเมนต์ 
 ปูนซีเมนต์ หมายถึง ผงผลิตภัณฑ์ทÉีได้จากการบดปูนเม็ด ซึÉงเกิดจากการเผาส่วนผสมต่างๆ ได้แก่ แคลเซียมคาร์บอเนต 
ซิลิกา อะลูมินา และออกไซด์จากเหล็ก สัดส่วนของวัตถุดิบแตกต่างกันจะทำให้มีสมบัติแตกต่างกัน 
 วัตถุดิบเนืÊอปูน ร้อยละ ŠŘ โดยมวล เป็นหินปูน(มีแร่แคลไซด์) ดินสอพอง หรือ ดินมาร์ล หินอ่อน หินชอล์ก 
 วัตถุดิบเนืÊอดิน มีเนืÊอปูนอะลูมินา ซิลิกา หรือออกไซด์ของเหล็กปริมาณสูง ใช้ในกรณีทÉีส่วนผสมของเนืÊอปูนและ 
เนืÊอดินมีองค์ประกอบไม่เป็นไปตามกำหนด เช่น อะลูมินาตํÉาต้องเติมแร่บอกไซด์ ถ้ามีเหล็กตํÉาก็เติมแร่ทÉีมี 
เหล็กออกไซด์หรือเศษเหล็ก 
 สารเติมแต่ง เติมภายหลังการเผาเพืÉอปรับสมบัติบางประการ เช่น การเติบยิปซัมเพืÉอหน่วงเวลาให้ปูนทีÉผสมกับ 
นÊำแข็งตัวช้าลง 
 กระบวนการทÉีใช้ผลิตมีทัÊงแบบเผาเปียก และ เผาแห้ง ซÉึงขÊึนอยู่กับความชÊืนและชนิดของวัตถุดิบทÉีใช้ 
 แบบเผาเปียก ใช้ในกรณีความชืÊนสูง เช่น มีดินดำ ดินขาว หรือ ดินเหนียวเป็นส่วนประกอบ 
กระบวนการผลิต นำวัตถุดิบผสมกันตามสัดส่วน บดให้ละเอียดแล้วนำมาตีรวมกับนÊำจนเป็นนÊำดิน สูบนÊำดินทÉีผ่าน 
กรรมวิธีปรับคุณภาพมาสู่เตาเผา จะได้เป็นปูนเม็ดเก็บไว้ เมืÉอนำปูนเม็ดผสมกับยิปซัมแล้วบดละเอียดจะได้ 
ปูนซีเมนต์ผงการผลิตแบบนีÊใช้พลังงานมากและต้นทุนสูงจึงไม่นิยม 
 แบบเผาแห้ง ใช้ในกรณีความชืÊนตํÉา เช่น มีหินปูน หรือ หินดินดานเป็นส่วนประกอบ 
กระบวนการผลิต นำวัตถุดิบทัÊงหมดมาบดผสมกันใน 
อัตราส่วนทÉีเหมาะสมแล้วนำไปเผาแบบฝุ่นแห้ง 
เมÉือนำปูนซีเมนต์มาผสมกับนÊำจะจับตัวแข็งและมีกำลังอัดสูง 
จึงใช้เป็นตัวประสานวัสดุชนิดเม็ด เช่น ทรายหยาบ กรวด และ 
หินให้เกาะตัวแน่นเป็นคอนกรีตได้ ปูนซีเมนต์อาจแบ่งได้เป็น 
Ś ประเภท ดังนีÊ 
1) ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ ได้จากการบดปูนเม็ดกับ 
ยิปซัม แบ่งออกเป็น ŝ ประเภท 
ประเภททÉี ř ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ธรรมดา ใช้สำหรับงานการก่อสร้างตามปกติทัวÉไป 
ประเภททÉี Ś ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์สำหรับใช้ในการทำคอนกรีตหรือผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมทÉีเกิดความ 
ร้อนและทนซัลเฟตได้ปานกลาง 
ประเภททีÉ ś ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทเกิดแรงเร็วสูง ใช้ในงานคอนกรีตทีÉต้องการถอดแบบได้เร็ว 
หรืองานทีÉต้องการใช้เร็วเพืÉอแข่งกับเวลา 
ประเภททÉี Ŝ ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทเกิดความร้อนตํÉา ใช้ในงานคอนกรีตทÉีมีเนืÊอหนาๆ 
ประเภททีÉ ŝ ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภททนซัลเฟตได้สูง ใช้ในงานก่อสร้างบริเวณดินทีÉมีความเค็มปน 
อยู่เช่น ในทะเลหรือตามชายฝัÉง 
Ś. ปูนซีเมนต์ผสม มีแรงอัดตํÉาลงกว่าปูนซีเมนต์ธรรมดาเล็กน้อยเนÉืองจากมีการเติมทรายหรือหินปูนละเอียด 
ประมาณร้อยละ Śŝ ลงไป บดพร้อมกับปูนเม็ด เหมาะสำหรับใช้ในงานก่อสร้างทÉีไม่ต้องรับนÊำหนักมาก หรืองานคอนกรีตทÉีไม่มี 
การยืดหดมาก เช่น งานก่อ งานฉาบ เทพืÊน ทำกระเบืÊองมุงหลังคา หล่อท่อ เป็นต้น
10.3 อุตสาหกรรมทีÉเกีÉยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์ 
 เกลือเป็นสารเคมีชนิดหนึÉง มีชÉือทางเคมีว่า “โซเดียมคลอไรด์” (NaCl) มี ลักษณะเป็นผลึกสีขาว รสเค็ม 
 เกลือเป็นอาหารธรรมชาติทÉีมีความสำคัญต่อมนุษย์ และสัตว์มาตัÊงแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบัน มนุษย์ต้องบริโภคเกลือ 
ประมาณวันละ 5-10 กรัม เพÉือนำไปช่วยรักษาสมดุลของนÊำในร่างกายให้เซลล์เนืÊอเยอÉืต่างๆ ทำงานอย่างปกติ 
 นอกจากนีÊเกลือยังสามารถนำไปใช้ประโยชน์ต่างๆ ได้มากมายเช่น ปรุงอาหาร ถนอมอาหาร ผสมกับนÊำแข็งเพÉือเพิÉมความ 
เย็น ใช้ในอุตสาหกรรมผลิตสารเคมีต่างๆ ได้แก่ โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต (NaHCO3) หรือโซดาทำขนม , โซเดียม 
คาร์บอเนต (NaCO3) หรือโซดาแอส ,โซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) หรือโซดาไฟ และ ไฮโดรคลอริก (HCl) หรือกรด 
เกลือ เป็นต้น 
 โซเดียมคลอไรด์ใช้ประโยชน์ใน 
 อุตสาหกรรมเคมี 
 อุตสาหกรรมอาหาร 
 การบริโภคในครัวเรือน 
 ประเภทของเกลือ 
การผลิตเกลือของประเทศไทย แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ เกลือสมุทร (เกลือทะเล ) และ เกลือสินเธาว์ 
(เกลือหิน) โดยแต่ละประเภทมีทÉีมาแตกต่างกัน ดังนีÊ 
1) เกลือสมุทร (เกลือทะเล) (Sea Salt) คือ เกลือทÉีผลิตขึÊนโดยการนำนÊำทะเลขึÊนมาตากแดดให้นÊำระเหยไปเหลือแต่ 
ผลึกเกลือตกอยู่(Solar Evaporation System) เกลือประเภทนีÊมีการผลิตและการใช้มาตัÊงแต่สมัยโบราณและถือเป็น 
อาชีพเก่าแก่อาชีพ หนึÉงของโลกและของคนไทย โดยได้มีการกำหนดเป็นสินค้าเกษตรกรรมขัÊนต้นตาม 
พระราชบัญญัติธนาคารเพืÉอการ เกษตรและสหกรณ์การเกษตร พ.ศ. 2509 
2) เกลือสินเธาว์ (เกลือหิน) (Rock Salt) คือ เกลือทÉีทำจากดินทÉีนÊำชะดินละลายแล้วแห้งปรากฎเป็นคราบเกลือติดอยู่ 
บนผิว ดิน เรียกว่า “ส่าดิน” เมÉือนÊำผิวดินหรือส่าดินมาละลายนÊำ แล้วต้มจะได้เกลือสินเธาว์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2512 ได้ 
มีการค้นพบเกลือหินทÉีอยใู่ต้ดินในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทำให้รูปแบบการผลิตเกลือสินเธาว์เปลÉียนแปลงไป 
เป็นการใช้เกลือหินแทน โดยใช้วิธีฉีดนÊำลงไปละลายเกลือในบ่อเกลือ หรือใช้วิธีสูบนÊำเกลือใต้ดินขึÊนมาตากแดด 
หรือโดยการต้มเพืÉอให้ได้ตะกอนเกลือ และหากใช้เครืÉองจักรทีÉทันสมัยสามารถผลิตได้ตลอดปี 
 ปัจจุบัน เกลือสินเธาว์ (เกลือหิน)ได้ถูกนำมาใช้ประโยชน์อย่างแพร่หลายและเป็นคู่แข่งกับเกลือสมุทร (เกลือทะเล) 
เพราะสามารถใช้ทดแทนกันได้ แต่เกลือสินเธาร์ไม่มีธาตุไอโอดีน (เกลือสมุทรมีไอโอดีนป้องกันโรคคอหอยพอกและ 
โรคเอ๋อ) 
การผลิตโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) 
1) การผลิตเกลือสมุทร (เกลือทะเล) จากนํÊาทะเล 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 16
1) การผลิตเกลือสมุทร (เกลือทะเล) จากนํÊาทะเล (ต่อ) 
 เริÉมทำช่วงเดือน พฤศจิกายน – พฤษภาคม เรียก ฤดูทำนาเกลือ 
 วิธีการผลิต 
ระบายนÊำทะเลเข้าสู่บ่อเก็บนÊำ (วัง) เรียกว่า นÊำอ่อน เพÉือให้โคลนตมตกตะกอน 
เตรียมพืÊนทÉีนาทำนาเกลือให้เป็นชัÊนโดยลดหลันÉกันไปเพÉือสะดวกในการขังและระบายนÊำ 
โดยแบ่งเป็น นาตาก นาเชืÊอ นารองเชืÊอ นาประเทียบ และนาลูกวัง 
ระบายนÊำจากทะเลขึÊนมาตากไว้บนนาทÉีเตรียมไว้ (ใช้เวลาตากประมาณ 30 วัน) เกลือจะตกผลึก 
เมÉือนÊำทะเลโดนความร้อนและลม จะระเหยจนนÊำทะเลเหลือความถ่วงจำเพาะ 1.2 
ให้ระบายสู่นาปลง 
เกลือ (NaCl) จะตกผลึกและมีปริมาณเพิÉมขึÊน 
(นÊำทะเลทÉีเหลือน้อยจะมีความเข้มข้น Mg2+, Cl-, SO4 
 ผลผลิตทีÉได้ 
1) ได้ผลผลิต Ś.ŝ – Ş กิโลกรัม ต่อพืÊนทÉี ř ตารางเมตร 
2) ได้กุ้ง หอย ปู ปลาทÉีติดมากับนÊำทะเล 
3) CaSO4 ในนาเชืÊอ 
2) การผลิตเกลือสินเธาว์ หรือ เกลือหิน 
 วัตถุดิบ 
 แหล่งเกลือบนผิวดิน 
 นÊำเกลือบาดาล 
 แร่เกลือหิน หรือ แร่เฮไลต์ (พบมากแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) 
 วิธีการผลิต ในประเทศไทยมีการผลิตเกลือสินเธาว์ 3 วิธี ดังนีÊ 
วิธีทีÉ 1 เทคโนโลยีแบบชาวบ้าน 
ผลกระทบของวิธีทีÉ 1 เทคโนโลยีแบบชาวบ้าน 
 เกิดการยุบตัวของดินและนÊำในแหล่งนÊำ รัÉวหายไปในโพรงเกลือ 
 เกิดการปนเปืÊอนของเกลือบนพืÊนดินและแหล่งนÊำ 
2- เพิÉม 
จึงต้องระบายนÊำจากนาเชืÊอเข้าไปเพิÉมอีก เพÉือให้ความเข้มข้น Mg2+, Cl-, SO4 
2- น้อยลง 
จะช่วยป้องกันไม่ให้ MgCl2 MgSO4 ตกผลึกปนกับ NaCl ) 
เก็บเกลือทีÉตกผลึก จะได้เกลือ NaCl (เกลือสมุทรหรือเกลือทะเล) นำไปใช้ประโยชน์ต่อไป 
อัดอากาศลงไปตามท่อ เพÉือดันนÊำเกลือทÉีละลายอยใู่นชัÊนเกลือหรือชัÊนโดมเกลือขึÊนมา 
นำนÊำเกลือทÉีได้ไปตากในนาเกลือ หรือต้มให้เกลือตกตะกอน 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 17
 วิธีการผลิต ในประเทศไทยมีการผลิตเกลือสินเธาว์ 3 วิธี ดังนีÊ (ต่อ) 
วิธีทีÉ 2 การทำเหมืองละลายแร่ 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 18 
อัดนÊำลงไปเหมืองละลายเกลือและสูบขึÊนมา แล้วนำไปตากในนาเกลือ หรือนำไปต้มด้วยวิธีลดความดัน 
ผลกระทบของวิธีทีÉ 2 การทำเหมืองละลายแร่ 
 การสูบสารละลายเกลือทำให้เกิดปัญหาแผ่นดินทรุด ดังนัÊนต้องทำเหมืองละลายเกลือลึกจากผิวดินประมาณ 
200 เมตร และนำเกลือออกมาจากพืÊนทÉีได้ประมาณร้อยละ 10-15 เท่านัÊน 
 เมÉือสูบนÊำเกลือออกมาแล้วต้องมีการอัดนÊำขมกลับลงไปในชัÊนนÊำเกลือใต้ดิน เพÉือป้องกันผลกระทบต่อ 
สิÉงแวดล้อม และมีการตรวจวัดรูปร่างของบ่อเกลือเป็นระยะ 
วิธีทีÉ 3 การทำเหมืองใต้ดิน 
ขุดอุโมงค์ในแนวนอนลงไปในชัÊนเกลือ แล้วทำการเจาะหรือระเบิดนÊำเกลือขึÊนมา 
จากนัÊนนำนÊำขมใส่กลับไปไว้ในอุโมงค์เช่นเดิม 
นÊำเกลือทÉีได้นำมาผ่านกระบวนการทำให้บริสุทธิÍ 
จากนัÊนนำนÊำเกลือบริสุทธิÍไปต้มเคÉียวจนได้ผลึกเกลือ แล้วนำไปอบแห้งและบรรจุถุง 
หมายเหตุ : ในเกลือสินเธาว์จะมีปริมาณไอโอดีนน้อย ดังนัÊนถ้าจะนำมาบริโภคควรเติม 
ไอโอไดด์หรือไอโอเดตลงไป เรียกว่าเกลืออนามัยหรือเกลือไอโอเดต 
(ไอโอดีนป้องกันโรคคอหอยพอกและโรคเอ๋อ) 
การผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH ) และแก๊สคลอรีน (Cl2) 
 เมÉือนำ NaCl ทÉีผลิตได้มาแยกด้วยวิธีการต่าง ๆ จะได้ผลิตภัณฑ์เป็น NaOH , H2 และ Cl2 ซึÉงสามารถนำไปใช้เป็น 
วัตถุดิบในอุตสาหกรรมต่าง ๆ มากมาย ซึÉงวิธีการผลิต NaOH ด้วยกระแสไฟฟ้า มี 3 วิธี 
(อาศัยหลักการอิเล็กโทรไลต์) ดังนีÊ 
1) การผลิต NaOH และ Cl2 โดยใช้เซลล์ปรอท 
 ข้อเสีย คือ มีปรอท (Hg) อยใู่นนÊำทิÊง 
 ข้อดี คือ การใช้ปรอทช่วยป้องกันไม่ให้โลหะ Na ทÉีเกิดขึÊนทำปฏิกิริยากับนÊำทันที หรือป้องกันไม่ให้ 
ผลิตภัณฑ์บางชนิดทำปฏิกิริยากัน เช่น 2Na + 2 H2O 2NaOH + H2
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 19 
2) การผลิต NaOH และ Cl2 โดยใช้เซลล์ไดอะเฟรม 
 มีลักษณะเป็นแผ่นกัÊน ซึÉงมีคุณสมบัติยอมให้ไอออนต่าง ๆ ไหลผ่านได้ แต่ไม่ยอมให้แก๊สไหลผ่าน 
 เซลล์นีÊมีการปรับความดันด้าน Anode มากกว่า Cathod ทำให้ Na+ และ Cl- เคลÉือนมาทาง Cathode ทัÊงหมด 
เป็นผลให้ได้ NaOH ทÉีไม่บริสุทธิÍ กล่าวคือ จะมี NaCl ปนออกมาด้วย 
Anode 2Cl- Cl2 + 2e- 
Cathode 2H2O + 2e- H2 + 2OH-Anode 
3) การผลิต NaOH และ Cl2 โดยใช้เซลล์เยืÉอแลกเปลีÉยนไอออน 
 เซลล์ประเภทนีÊจะมีเยอÉืแลกเปลÉียนไอออน กล่าวคือ ยอมให้ไอออนเคลÉือนทÉีผ่านได้ แต่เป็นเฉพาะไอออน 
บวกเท่านัÊน (แต่เซลล์ไดอะเฟรม ยอมให้ทัÊงไอออนบวกและลบเคลÉือนทÉีผ่านได้) ดังนัÊน Cl- จึงไม่สามารถ 
เคลÉือนทÉีผ่านเยอÉืนีÊได้ ผลทÉีเกิดขึÊนคือ ได้ NaOH ทÉีบริสุทธิÍมาก 
2Cl- Cl2 + 2e- 
Cathode 2H2O + 2e- H2 + 2OH- 
 การแยกสารละลาย NaCl ด้วยกระแสไฟฟ้า ได้ผลิตภัณฑ์ คือ H2 (g) , Cl2 (g) , NaOH (aq) นำไปใช้ประโยชน์ ดังนีÊ 
H2 (g) ทำ 1) เตรียมกรด HCl 2) เตรียม NH3 (g) 3)ใช้ในปฏิกิริยาการเติม H2 ในนÊำมันพืช 
Cl2 (g) ทำ 1) ฆ่าเชืÊอโรคในนÊำประปา 
2) ฟอกสีในเยืÉอกระดาษ เส้นใยพืช 
3) เป็นวัตถุดิบในการผลิตสารเคมี เช่น พลาสติก สารกำจัดแมลง สารฟอกขาว CCl4 
4) รวมกับแก๊สไฮโดรเจน เป็นกรด HCl 
NaOH (aq) ทำ 1) สบู่ , ผงซักฟอก 2 ) ผงชูรส 3) ทำกระดาษ 4) ผลิตโซดาแอช
การผลิตโซดาแอช (โซเดียมคาร์บอเนต , Na2CO3) 
 ชืÉอทางเคมีโซดาแอช : โซเดียมคาร์บอเนต (Na2CO3) 
กระบวนการผลิตโซดาแอช : กระบวนการ Solvey หรือ กระบวนการ Soda ammonia 
วัตถุดิบ : 1) โซเดียมคลอไรด์ (NaCl) 
2) แคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) 
3) แก๊สแอมโมเนีย (NH3) 
 ขัÊนตอนการผลิต ดังนีÊ 
นำ CO2 (g) ไปทำปฏิกิริยากับ NaCl (aq) เข้มข้น และ NH3 (g) ได้ NaHCO3 (s) และ NH4Cl (aq) 
CO2 (g) + NaCl (aq) + NH3 (g) NaHCO3 (s) + NH4Cl (aq) (ปุ๋ยไนโตรเจน) 
 ผลิตภัณฑ์ทีÉเกิดขึÊนแล้วนำกลับมาใช้ได้อีก : 
1) CO2 (g) จากการเผา NaHCO3 (s) 
CaO (s) จากการเผา CaCO3 (s) 
และเมÉือ Ca(OH)Ś (aq) ทำปฏิกิริยากับ NH4Cl (aq) จะได้ NH3 (g) กลับมาใช้ในขัÊนตอนทÉี Ś อีกครัÊง 
และเกิด CaCl2(s) นำไปใช้เป็นใช้เป็นสารดูดความชืÊน แต่มีการนำไปใช้น้อย จึงเกิดปัญหาในการกำจัด 
2) NaHCO3 (s) ทำผงฟู 
3) NH4Cl (aq) ทำปุ๋ยเคมี 
 บางประเทศทีÉผลิต NaOH ได้มากเกินต้องการ อาจผลิตโซดาแอช โดยผ่าน CO2 (g) ลงใน NaOH (aq) โดยตรง 
ได้ NaHCO3 (s) เมืÉอเผาแล้วจะได้โซดาแอช 
 นอกจากการผลิตด้วยกระบวนการโซลเวย์ ยังได้จากแร่โซดาแอชในธรรมชาติ พบมากใน สหรัฐอเมริกา แคนาดา บราซิล 
อินเดีย รัสเซีย จีน 
นำ CaCO3 (s) ไปเผา ได้ CaO (s) และ CO2 (g) ดังสมการ 
CaCO3 (s) CaO (s) + CO2 (g) 
กรองแยก NaHCO3 (s) ออก แล้วนำไปเผา ได้ Na2CO3 (s) หรือโซดาแอช ดังสมการ 
Na2HCO3 (s) Na2CO3 (s) + H2O (l) + CO2 (g) 
เมÉือนำมาละลายนÊำ จะได้ Ca(OH)Ś (aq) 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 20
การผลิตสารฟอกขาว 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 21 
 สารฟอกขาวเป็นสารประกอบประเภทไฮโปคลอไรต์ ใช้ในอุตสาหกรรมการฟอกย้อมเส้นด้าย เยอÉืกระดาษ และใช้เป็น 
สารฆ่าเชืÊอโรคในนÊำ 
 การผลิตสารฟอกขาวมีวิธีการดังนีÊ 
1) การเตรียมแก๊สคลอรีน (Cl2) 
2KMnO4 (s) + 16HCl (aq) 2KCl(aq) + 2MnCl2(aq) + 8H2O(l) + 5Cl2(g) 
2) การผลิตสารฟอกขาว (NaOCl) 
2NaOH (aq) + Cl2 (g) NaOCl (aq) + NaCl (aq) + H2O(l) 
หรือ 
Na2CO3(aq)(โซดาแอช) + Cl2(g) NaOCl(aq) + NaCl(aq) + CO2(g) 
 เมÉือหยดสารละลายในหลอดทดลองบนกระดาษลิตมัสทัÊงสีแดงและสีนÊำเงิน พบว่ากระดาษลิตมัสทัÊง Ś สีเปลÉียนเป็นสีขาว 
แสดงว่า สารละลาย NaOCl มีสมบัติในการฟอกจางสี สารนีÊมีคุณสมบัติในการกัดกร่อนสูง ถ้าใช้ปริมาณมากอาจกัด 
กร่อนสิÉงทÉีต้องการฟอกเสียหายได้ 
 2Ca(OH)2 (aq) + Cl2(g) Ca(OCl)2 (s) + CaCl2(aq) + H2O(l) 
Ca(OCl)2 (s) มีสมบัติในการฟอกจางสีเช่นเดียวกับ NaOCl (aq) 
10.4 อุตสาหกรรมปุ๋ย 
 การนำปุ๋ยมาใช้ในการเกษตรเป็นวิธีหนึÉงทÉีช่วยเพิÉมผลผลิตทางการเกษตรให้สูงขึÊน ซึÉงเป็นสิÉงจำเป็นต่อการพัฒนาประเทศ 
 ปุ๋ย หมายถึง สารทÉีใส่ลงในดินเพÉือให้ปลดปล่อยธาตุอาหารแก่พืช โดยเฉพาะธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และ 
โพแทสเซียม มี Ś ประเภทคือ 
1) ปุ๋ยอินทรีย์ 
 เป็นปุ๋ยธรรมชาติทÉีได้จากการเน่าเปÉือยผุพังของซากสิÉงมีชีวิต ได้แก่ ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืชสด ปุ๋ยอินทรีย์ 
ชีวภาพ และวัสดุเหลือใช้จากโรงงานอุตสาหกรรมบางชนิด 
 เมืÉอใส่ในดินซากสิÉงมีชีวิตจะค่อย ๆ สลายตัว และปล่อยธาตุอาหารออกมาให้พืช 
 แต่มีข้อเสียคือ มีธาตุอาหารน้อย รวมทัÊงมีปริมาณและสัดส่วนธาตุอาหารไม่แน่นอน 
2) ปุ๋ยอนินทรีย์ หรือปุ๋ยเคมี หรือปุ๋ยวิทยาศาสตร์ 
 เป็นปุ๋ยทÉีได้จากการผลิต หรือสังเคราะห์จากแร่ธาตุต่างๆ หรือเป็นผลพลอยได้จากโรงงานอุตสาหกรรมบางชนิด 
 ซึÉงจะมีธาตุอาหารหลักทÉีจำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช ได้แก่ ธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม 
สามารถปลดปล่อยให้แก่พืชได้ง่ายและเร็ว มี Ś ประเภทคือ 
2.1 ปุ๋ยเดÉียวหรือแม่ปุ๋ย เป็นสารประกอบทÉีมีธาตุอาหารของพืชอยู่หนึÉงหรือสองธาตุ และมีปริมาณธาตุอาหารคงทÉี 
เช่น ปุ๋ยยูเรีย และปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต 
2.2 ปุ๋ยผสม เป็นปุ๋ยทÉีได้จากการนำปุ๋ยเดÉียวแต่ละชนิดมาผสมกันเพÉือให้ได้สัดส่วนของธาตุอาหาร N P และ K 
ตามต้องการ เช่น ปุ๋ยสูตร řŘ : řŝ : ŚŘ ประกอบด้วย N řŘ ส่วน P řŝ ส่วน K ŚŘ ส่วน และมีตัวเติมอีก 
ŝŝ ส่วน ให้ครบ řŘŘ ส่วน (สูตรปุ๋ย จะเป็น N : P : K) 
 นอกจากนีÊ ปุ๋ยวิทยาศาสตร์บางชนิดอาจมีธาตุอาหารของพืชทÉีมีความสำคัญในลำดับรอง ซึÉงพืชต้องการในปริมาณ 
น้อย ได้แก่ ธาตุแคลเซียม กำมะถัน แมกนีเซียม เหล็ก สังกะสี แมงกานีส และทองแดง ผสมอยดู่้วย
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม

More Related Content

What's hot

บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2Wichai Likitponrak
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)oraneehussem
 
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลChuanchen Malila
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีพัน พัน
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2Wichai Likitponrak
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารKatewaree Yosyingyong
 
ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)พัน พัน
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีพัน พัน
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีPreeyapat Lengrabam
 
การจำแนกสาร
การจำแนกสารการจำแนกสาร
การจำแนกสารSaowanee Sondech
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนSukanya Nak-on
 
อุตสาหกรรมเกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์
อุตสาหกรรมเกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์อุตสาหกรรมเกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์
อุตสาหกรรมเกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์Jariya Jaiyot
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกkkrunuch
 
โครงงานโคมไฟไม้ไอติม
โครงงานโคมไฟไม้ไอติมโครงงานโคมไฟไม้ไอติม
โครงงานโคมไฟไม้ไอติมSupaluck
 
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007Thidarat Termphon
 

What's hot (20)

บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
 
I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
 
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
 
การตกผลึก
การตกผลึกการตกผลึก
การตกผลึก
 
ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
 
การจำแนกสาร
การจำแนกสารการจำแนกสาร
การจำแนกสาร
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
อุตสาหกรรมเกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์
อุตสาหกรรมเกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์อุตสาหกรรมเกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์
อุตสาหกรรมเกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิก
 
โครงงานโคมไฟไม้ไอติม
โครงงานโคมไฟไม้ไอติมโครงงานโคมไฟไม้ไอติม
โครงงานโคมไฟไม้ไอติม
 
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
 

Similar to บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม

บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมบทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมJariya Jaiyot
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2ครูแป้ง ครูตาว
 
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมวิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมTutor Ferry
 

Similar to บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม (6)

บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมบทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
 
Industrial11
Industrial11Industrial11
Industrial11
 
Ppt [compatibility mode]
Ppt [compatibility mode]Ppt [compatibility mode]
Ppt [compatibility mode]
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมวิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
 

More from oraneehussem

ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3oraneehussem
 
ใบงาน 15.1
ใบงาน 15.1ใบงาน 15.1
ใบงาน 15.1oraneehussem
 
ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3oraneehussem
 
ใบงาน 12.1
ใบงาน 12.1ใบงาน 12.1
ใบงาน 12.1oraneehussem
 
ใบงาน 11.1
ใบงาน 11.1ใบงาน 11.1
ใบงาน 11.1oraneehussem
 
ใบงาน 10.1 10.2
ใบงาน 10.1 10.2ใบงาน 10.1 10.2
ใบงาน 10.1 10.2oraneehussem
 
ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2oraneehussem
 
ใบงาน 7.1 7.3
ใบงาน 7.1 7.3ใบงาน 7.1 7.3
ใบงาน 7.1 7.3oraneehussem
 
ใบงาน 6.1 6.4
ใบงาน 6.1 6.4ใบงาน 6.1 6.4
ใบงาน 6.1 6.4oraneehussem
 
ใบงาน 2.1 2.3
ใบงาน 2.1 2.3ใบงาน 2.1 2.3
ใบงาน 2.1 2.3oraneehussem
 
ใบงาน 4.1 4.3
ใบงาน 4.1 4.3ใบงาน 4.1 4.3
ใบงาน 4.1 4.3oraneehussem
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2oraneehussem
 
ใบงาน 2.1
ใบงาน 2.1ใบงาน 2.1
ใบงาน 2.1oraneehussem
 
ใบงาน 1.1
ใบงาน 1.1ใบงาน 1.1
ใบงาน 1.1oraneehussem
 
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557oraneehussem
 
สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556oraneehussem
 
Onet เคมี M6
Onet เคมี M6Onet เคมี M6
Onet เคมี M6oraneehussem
 
บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุบทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุoraneehussem
 
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลoraneehussem
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์oraneehussem
 

More from oraneehussem (20)

ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3
 
ใบงาน 15.1
ใบงาน 15.1ใบงาน 15.1
ใบงาน 15.1
 
ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3
 
ใบงาน 12.1
ใบงาน 12.1ใบงาน 12.1
ใบงาน 12.1
 
ใบงาน 11.1
ใบงาน 11.1ใบงาน 11.1
ใบงาน 11.1
 
ใบงาน 10.1 10.2
ใบงาน 10.1 10.2ใบงาน 10.1 10.2
ใบงาน 10.1 10.2
 
ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2
 
ใบงาน 7.1 7.3
ใบงาน 7.1 7.3ใบงาน 7.1 7.3
ใบงาน 7.1 7.3
 
ใบงาน 6.1 6.4
ใบงาน 6.1 6.4ใบงาน 6.1 6.4
ใบงาน 6.1 6.4
 
ใบงาน 2.1 2.3
ใบงาน 2.1 2.3ใบงาน 2.1 2.3
ใบงาน 2.1 2.3
 
ใบงาน 4.1 4.3
ใบงาน 4.1 4.3ใบงาน 4.1 4.3
ใบงาน 4.1 4.3
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
ใบงาน 2.1
ใบงาน 2.1ใบงาน 2.1
ใบงาน 2.1
 
ใบงาน 1.1
ใบงาน 1.1ใบงาน 1.1
ใบงาน 1.1
 
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
 
สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556
 
Onet เคมี M6
Onet เคมี M6Onet เคมี M6
Onet เคมี M6
 
บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุบทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
 
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
 

บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม

  • 1. บททีÉ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม  เนืÊอหาทีÉต้องเรียนในบททีÉ 10 10.1 อุตสาหกรรมแร่  ทองแดง  สังกะสีและแคดเมียม  ดีบุก  ทังสเตน  พลวง  เซอร์โคเนียม  แร่รัตนชาติ 10.2 อุตสาหกรรมเซรามิกส์  การเตรียมวัตถุดิบ  การขึÊนรูปผลิตภัณฑ์  การเผาและการเคลือบ  ผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ ผลิตภัณฑ์แก้ว ปูนซีเมนส์ 10.3 อุตสาหกรรมทีÉเกีÉยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์  การผลิตโซเดียมคลอไรด์  การผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์และแก๊สคลอรีน  การผลิตโซดาแอช  การผลิตสารฟอกขาว 10.4 อุตสาหกรรมปุ๋ย  ประเภทของปุ๋ย  ปุ๋ยไนโตรเจน  ปุ๋ยฟอสเฟต  ปุ๋ยโพแทส โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 1
  • 2. บททีÉ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม 10.1 อุตสาหกรรมแร่ โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 2  Ds  แร่ คือ ธาตุหรือสารประกอบทÉีเกิดขึÊนตามธรรมชาติ โดยกระบวนการทางธรณีวิทยาภายในโลกและทÉีผิวโลก มีองค์ประกอบเป็นช่วง มีโครงสร้างและองค์ประกอบเฉพาะตัว  สินแร่ คือ กลุ่มของแร่ต่าง ๆ ทÉีมีปริมาณมากพอในเชิงเศรษฐกิจ ซึÉงสามารถใช้เป็นวัตถุดิบในการหลอมเหลว หรือถลุง เพืÉอให้ได้โลหะ  แร่หลักชนิดต่าง ๆ จำแนกตามองค์ประกอบทางเคมี ได้ดังตาราง řŘ.ř ตาราง 10.1 แสดงแร่หลักชนิดต่าง ๆ ชนิด แร่ โลหะเดีÉยว คาร์บอเนต เฮไลด์ ออกไซด์ ฟอสเฟต ซิลิเกต ซัลไฟด์ ซัลเฟต เงิน ทองคำ บิสมัท ทองแดง แพลทินัม แพลเลเดียม CaCO3 ( แคลไซต์ หินปูน) MgCO3 (แมกนีไซต์) CaMg(CO3)2 (โดโลไมต์) PbCO3 (เซอรัส ไซต์) ZnCO3 (สมิทโซไนต์) CaF2 (ฟลูออไรต์) NaCl (เฮไลต์) KCl (ซิลไวต์) Na3AlF6 (ไครโอไลต์) Al2O3.2H2O (บอกไซต์) Al2O3 (คอรันดัม) Fe2O3 (ฮีมาไทต์) Fe3O4 (แมกนีไทต์) Cu2O (คิว ไพรต์) MnO2 (ไพโรลูไลต์) SnO2 (แคสซิเทอไรต์) ZnO (ซิงไคต์) Ca3(PO4)2 (หินฟอสเฟต) Ca5(PO4)3OH (ไฮดรอกซีแอพาไทต์) Be3Al2(Si6O18) (เบริล) ZrSiO4 (เซอร์คอน) NaAlSiO3 (แอลไบต์)3MgO.4SiO2.H2O (ทัลก์) Ag2S (อาร์เจนไทต์) CdS (กรนอกไคต์) Cu2S (คาลโคไซต์) Fe2S (ไพไรต์) HgS (ซินนา บาร์) PbS (กาลีนา) ZnS (สฟาสเลอไรต์) BaSO4 (แบไรต์) CaSO4 (แอนไฮไดรต์) PbSO4 (แองกลีไซต์) SrSO4 (เซเลสไทต์) MgSO4.7H2O (เอปโซไมต์) นอกจากนีÊอาจจำแนกแร่ตามประโยชน์ทางเศรษฐกิจได้ดังนีÊ  แร่ประกอบหิน หมายถึง แร่ทีÉเป็นส่วนประกอบของหิน เช่น หินแกรนิตประกอบด้วยแร่ควอตซ์ แร่เฟลด์สปาร์และแร่ไมกา เช่น หินปูนประกอบด้วยแร่แคลไซต์ซึÉงจะกระจายแทรกตัวอยใู่นเนืÊอหินและแยกออกมาใช้ประโยชน์ได้ยาก จึงต้องนำหินเหล่านัÊนมาใช้โดยตรง เช่น นำมาใช้ในกระบวนการผลิตปูนซีเมนต์ อุตสาหกรรมก่อสร้าง นำหินแกรนิตหรือหินอ่อนในรูปของแผ่นหินมาใช้สำหรับปูพืÊนหรือการก่อสร้าง
  • 3. ตารางทÉี 10.2 ตัวอย่างกลุ่มแร่เศรษฐกิจ กลุ่มแร่ ตัวอย่างแร่ แร่โลหะพืÊนฐาน แร่หนักและแร่หายาก แร่โลหะมีค่า แร่ในอุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้า แร่วัตถุดิบในอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ แร่ทีÉใช้ในอุตสาหกรรมก่อสร้าง แร่รัตนชาติ แร่ทีÉใช้เป็นเชืÊอเพลิง โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 3 แร่ทองแดง ตะกัวÉ สังกะสี พลวง ดีบุก ทังสเตน แร่เทนทาไลต์โคลัมไบต์ เซอร์คอน อิลเมไนต์ โมนาไซต์ ทองคำ ทองคำขาว เงิน แร่เหล็ก แมงกานีส นิกเกิล โครไมต์ โมลิบดีไนต์ ยิปซัม หินปูน หินดินดาน ดินมาร์ลหรือดินสอพอง หินอ่อน หินแกรนิต หินทราย หินกาบหรือหินชนวน เพชร คอรันดัม มรกต บุษราคัม โกเมน ถ่านหิน หินนÊำมัน นÊำมันดิบ แก๊สธรรมชาติ  แร่เศรษฐกิจ หมายถึง แร่ทีÉมีค่าทางเศรษฐกิจและมีปริมาณมากพอทีÉจะนำมาใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรม โดยอาจแบ่งเป็นกลุ่มได้ตามตาราง หรืออาจแบ่งเป็น Ś ประเภทใหญ่ ๆ คือ แร่โลหะและแร่อโลหะ ตัวอย่างแร่เศรษฐกิจทÉีสำคัญของไทย เช่น หินปูน ยิปซัม สังกะสี เหล็ก ดีบุก ตะกัวÉ หินอ่อน ทรายแก้ว เฟลด์มปาร์ ดินขาว ฟลูออไรต์ โพแทซและรัตนชาติ รวมทัÊงแร่อโลหะทÉีใช้เป็นเชืÊอเพลิง เช่น ถ่านหิน หินนÊำมันและแก๊สธรรมชาติ โดยประเทศไทยผลิตแร่ได้มากกว่า ŜŘ ชนิด ทัÊงการผลิตเพÉือส่งออกและเพÉือรองรับอุตสาหกรรมภายในประเทศ  ตัวอย่างแร่ทีÉมีความสำคัญ 1) ทองแดง แร่ทองแดงพบทÉี จ.เลย หนองคาย ขอนแก่น นครราชสีมา ตาก อุตรดิตถ์ แพร่ น่าน ลำปาง ลำพูน เพชรบูรณ์ ลพบุรี ฉะเชิงเทรา และกาญจนบุรี แต่ยังไม่มีการผลิต แร่ทองแดงส่วนใหญ่มีทองแดงเป็นส่วนประกอบปริมาณไม่มาก แร่ทองแดงทีÉสำคัญคือ แร่คาลโคโพไรต์ ( CuFeS2 ) แร่มาลาไคต์ แร่คาลโคไซต์ แร่คาลโคโพไรต์ แร่คิวไพรต์
  • 4. การถลุงทองแดง จาก แร่คาลโคโพไรต์ ( CuFeS2 ) แยกแร่ทีÉต้องการออกจากสิÉงเจือปน อาจใช้วิธีการลอยตัว เป็นต้น นำแร่มาเผาในอากาศ เรียกว่า ย่างแร่ โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 4 ไอร์ออน (II) ซัลไฟต์บางส่วนจะถูกออกซิไดส์ เป็นไอร์ออน (II) ออกไซด์ ดังสมการ 2CuFeS2(s) + śO2(g) ŚCuS(s) + ŚFeO(s) + ŚSO2(g) กำจัด FeO นำ FeO (ไอร์ออน (II) ออกไซด์) ไปเผารวมกับ SiO2 (ออกไซด์ของซิลิกอน) บนเตาถลุงอุณหภูมิประมาณ 1100 °C เพÉือกำจัด FeO ออก ดังสมการ FeO(s) + SiO2(s) FeSiO3(l) กาํจัดได้ง่ายเพราะเป็นของเหลว ส่วน CuS (คอปเปอร์ ( II) ซัลไฟด์) เมืÉออยู่ในอุณหภูมิสูงจะสลายตัวได้ Cu2S (คอปเปอร์ ( I) ซัลไฟด์) ในสถานะของเหลว เมืÉอแยก Cu2S ในอากาศ บางส่วนจะเปลีÉยน เป็น Cu2O (คอปเปอร์ (I) ออกไซด์) ดังสมการ ŚCu2S (s ) + śO2(g) ŚCu2O(s) + SO2(g) และ Cu2S กับ Cu2O จะทำปฏิกิริยากัน โดยมีซัลไฟด์ไอออนเป็นตัวรีดิวซ์ ดังสมการ ŚCu2O(s) + Cu2S (s ) 6Cu(l) + SO2(g) ได้ทองแดง (Cu) แต่ก็ยังมีสิÉงเจือปน ต้องนำไปทำให้บริสุทธิÍ ก่อน โดยทัวÉไปใช้วิธีแยกสารละลายด้วยกระแสไฟฟ้า
  • 5. การทำทองแดงให้บริสุทธิÍด้วยกระแสไฟฟ้า  โดยปกติทองแดงทÉีได้จากการถลุงสินแร่ จะมีความบริสุทธิÍไม่เกินร้อยละ 99 ทÉีเหลือเป็นสิÉงเจือปน ได้แก่ Fe , Ag , Pt ,Zn  ซึÉงทำให้ทองแดงมีการนำไฟฟ้าตํÉา  หลักการทำให้ทองแดงบริสุทธิÍถึงร้อยละ 99.95 โดยใช้หลักการเซลล์อิเล็กโตรไลต์ มีดังนีÊ  ใช้ ทองแดงไม่บริสุทธิÍเป็นแอโนด และทองแดงบริสุทธ์เป็นแคโทด จุ่มในสารละลาย CuSO4 กับ H2SO4  เมÉือผ่านกระแสไฟฟ้ากระแสตรงทÉีมีศักย์ไฟฟ้าเหมาะสมเข้าไปในเซลล์ ทองแดงจากแอโนด (ทองแดงไม่บริสุทธิÍ) จะให้อิเล็กตรอนกลายเป็น Cu2+ ดังสมการ Cu Cu2+ + 2e- และละลายลงไปในสารละลาย  ซึÉง Cu2+ ในสารละลายจะรับอิเล็กตรอนทÉีแคโทด กลายเป็นทองแดงบริสุทธิÍเกาะทÉีแคโทด ดังสมการ Cu2+ + 2e- Cu  ธาตุต่าง ๆ ทีÉเจือปนอยู่ เช่น Fe , Zn (เสียอิเล็กตรอนง่าย) จะถูกออกซิไดซ์เป็น Fe2+ และ Zn2+ ปนอยู่ในสารละลาย  ธาตุเจือปน เช่น Ag , Pt (เสียอิเล็กตรอนยาก) จะไม่แตกตัวเป็นไอออน จะตกตะกอนทีÉก้นภาชนะ และสามารถแยกออกมา เป็นโลหะแต่ละชนิดได้ ประโยชน์ของทองแดง 1) ทองแดงเป็นโลหะทีÉมีความสำคัญและใช้มากในอุตสาหกรรมการผลิตอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์ตู้เย็น และเครืÉองปรับอากาศ อุปกรณ์เกีÉยวกับรถยนต์ อาวุธ เปรียญกษาปณ์ ฯลฯ 2) เป็นส่วนประกอบสำคัญในโลหะผสมหลายชนิด เช่น ทองเหลือง บรอนซ์ โลหะผสมทองแดงนิกเกิลใช้ทำท่อในระบบ กลันÉ อุปกรณ์ภายในเรือเดินทะเล โลหะผสมทองแดง นิกเกิล และสังกะสี (เรียกว่าเงินนิกเกิลหรือเงินเยอรมัน ) ใช้ทำ เครืÉองใช้ เช่น ส้อม มีด เครืÉองมือแพทย์ 3) แร่ทองแดงทÉีมีลวดลายสวยงาม เช่น มาลาไคต์ อะซูไรต์ และคริโซคอลลา สามารถนำมาทำเครÉืองประดับได้อีกด้วย เหรียญกษาปณ์ ท่อทองแดง โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 5
  • 6. 2) สังกะสีและแคดเมียม โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 6  แร่สังกะสีทีÉพบมากทีÉสุดคือ แร่สฟาเลอไรด์ ( ZnS ) เมืÉอนำมาถลุงแล้วจะอยู่ในรูปของของเหลวไม่บริสุทธิÍ ในประเทศไทยพบแร่สังกะสีในหลายจังหวัด เช่น ลำปาง แพร่ แต่สำหรับทÉีตากเป็นแร่สังกะสีชนิดซิลิเกต คาร์บอเนตและออกไซด์ ซึÉงจะมีลำดับวิธีการถลุงแร่แตกต่างกันออกไป ปัจจุบันมีการใช้โลหะสังกะสีอย่างกว้างขวาง โดยใช้เป็นสารเคลือบเหล็กกล้า ใช้ผสมกับทองแดงเกิดเป็นทองเหลือง เพÉือใช้ขึÊนรูปหรือหล่อผลิตภัณฑ์ต่างๆ นอกจากนีÊสารประกอบออกไซด์ของสังกะสียังนำมาใช้ในอุตสาหกรรมยาง สี เซรามิกส์ ยา เครÉืองสำอาง  โลหะแคดเมียมใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมการผลิตเซลล์นิกเกิล-แคดเมียม ทำสีในอุตสาหกรรมพลาสติก เซรามิกส์ ทำโลหะผสม และใช้โลหะแคดเมียมเคลือบเหล็กกล้า ทองแดง และโลหะอÉืนๆเพÉือป้องกันการผุกร่อน 3) ดีบุก  แร่ดีบุกทีÉพบส่วนใหญ่ พบในรูปของ แร่แคสซิเทอร์ไรต์ (SnO2)  การถลุงแร่ดีบุก นำแร่ดีบุกผสมถ่านโค้กและหินปูน อัตราส่วน 20 : 4 : 5 นำใส่เตาถลุงทÉีมีไฟฟ้าหรือนÊำมันเตาให้ความร้อน เกิดปฏิกิริยาดังนีÊ ŚC(s) + O2(g) 2CO(g) SnO2(s) + 2 CO(g) Sn(l) + 2CO2(g) แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ทÉีเกิดขึÊน สามารถเปลÉียนกลับไปเป็นแก๊ส คาร์บอนมอนอกไซด์แล้วนำกลับมาใช้ใหม่ได้ สำหรับแร่ดีบุกบางชนิดทีÉมีสารประกอบ SiO ปนอยู่ ต้องจำกัดออก โดยปฏิกิริยาต่อไปนีÊ ทÉีสุดท้ายแล้วได้ผลิตภัณฑ์เป็นแคลเซียมซิลิเกต CaCO3(s) CaO(s) + CO2(s) CaO(s) + SiO2(s) CaSiO3(l) เมÉือกำจัด SiO ออกแล้ว ก็จะได้แร่ดีบุก ดีบุกทÉีผ่านการถลุงแล้วต้องมีการนำไปทำให้บริสุทธิÍอีกทีก่อน กากโลหะทีÉเป็นตะกรันทีÉมีดีบุกปนอยู่ ต้องมีการนำไปถลุงเอาดีบุก ออกอีกครัÊง คุณสมบัติของดีบุก 1) ทนต่อการกัดกร่อน 2) ไม่เป็นสนิม 3) ไม่เป็นพิษต่อร่างกาย 4) ผสมเป็นเนืÊอเดียวกับโลหะอÉืนได้ดี ประโยชน์ของดีบุก 1) ใช้เคลือบโลหะ ทำภาชนะบรรจุอาหาร 2) ทำโลหะผสม เช่น ดีบุก ผสม ทองแดง เป็น ทองสัมฤทธิÍ/ ทองบรอนซ์ ดีบุก ผสม ทองแดงและพลวง เป็น โลหะพิวเตอร์ ดีบุก ผสม ตะกัวÉ เป็น ตะกัวÉบัดกรี
  • 7. 4) ทังสเตน โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 7  ทังสเตนส่วนใหญ่พบร่วมกับแร่ดีบุก สินแร่ของโลหะทังสเตนทีÉพบในประเทศมี Ś ชนิด คือ วุลแฟรไมต์ (Fe,Mn)WO4 และซีไลต์ CaWO4  ทังสเตนเป็นโลหะสีเทาเงิน มีจุดหลอมเหลวและความหนาแน่นสูง เป็นตัวนำความร้อนและไฟฟ้าทีÉดี  เมืÉอผสมกับคาร์บอนจะมีความแข็งมาก  โลหะทังสเตนใช้ทำไส้และขัÊวหลอดไฟฟ้า ชิÊนส่วนบริเวณผิวสัมผัสของอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ทำฉากป้องกัน ความร้อนและรังสีในอุปกรณ์ต่างๆ ผสมกับเหล็กจะได้เหล็กกล้าทÉีมีความแข็งมาก สำหรับใช้ทำเกราะในยานพาหนะ อาวุธสงคราม ทำมีด มีดโกน ตะไบ ใบเลÉือย ผสมกับคาร์บอน นิกเกิลและโคบอลต์จะมีความแข็งแกร่งเป็นพิเศษ จึงใช้ทำ วัตถุสำหรับตัดเหล็กกล้า สารประกอบเรืองแสงของทังสเตนนำมาใช้เป็นสีเขียวและสีเหลืองในการย้อมไหม ตกแต่งแก้ว และเครÉืองปัÊนดินเผา  หนังสือธรณีวิทยาประเทศไทย (กรมทรัพยากรธรณี,2544) กล่าวว่า แร่พลวงส่วน ใหญ่ทีÉพบเป็นแร่พลวงซัลไฟด์ คือ แร่สติบไนต์ (stibnite สูตรเคมี Sb2S3) หรือทีÉ เรียกว่า “พลวงเงิน” และแร่พลวงไฮดรอกไซด์ คือแร่สติบิโคไนต์ (stibiconite สูตร เคมี Sb2O4H2O) หรือทีÉเรียกว่า “พลวงทอง” แร่พลวงเงิน รูปผลึกระบบออโทรอมบิก (orthorhombic system) มักพบเป็นแท่งเรียวคล้ายเข็ม เกาะรวมกันเป็น กระจุกโดยมีปลายข้างหนึÉงอยรู่วมกัน คล้ายรัศมีดาว หรือเป็นแผ่นแบบใบมีดซ้อนกัน หรืออาจจะอยใู่นลักษณะ เกาะกันเป็นก้อนก็ได้ สีภายนอกและสีผงละเอียดเป็นสีเดียวกัน คือ สีเทาตะกัวÉถึงสีดำ ทึบแสง วาวแบบโลหะ ความแข็ง แร่พลวงทอง เป็นแร่ทีÉแปรสภาพมาจากพลวงเงิน มักพบในลักษณะทีÉแร่ผ่านการผุมาแล้ว มีสีออกไปทางสีอ่อน นÊำตาลอ่อน หรือขาวคลÊำ ลักษณะคล้ายหินผุ แต่ยังคงมีรูปร่างของแร่เดิม 5) พลวง  การกำเนิดแร่พลวง แร่พลวงเกิดได้ทัÊงในหินชัÊน หินแปร หรือหินอัคนี โดยแหล่งแร่ มีอยใู่น 2 แบบ คือ 1) แบบสายแร่และแบบกระเปาะแร่ (cavity filling type) เนÉืองจากนÊำแร่พลวงมีอุณหภูมิการตกผลึกค่อนข้างตํÉา จะไหลแยกออกไปจากหินอัคนี ซึÉงเป็นหินต้นกำเนิด แทรกตามรอยหรือโพรง หรือเขตทÉีมีการชะล้างได้ง่าย (weak zone) ในหินต่างๆ ทีÉสัมผัสหรืออยู่ใกล้เคียงกับหินอัคนี นÊำแร่พลวงจะตกผลึกเป็นแร่พลวงเงิน ตามรอยแตกหรือโพรงหินนัÊน และเมÉือแร่พลวงเงินนีÊผุก็จะเกิดเป็นแร่พลวงทอง แหล่งแร่ส่วนใหญ่ของประเทศไทยและของโลกจะมีการกำเนิดแบบกระเปาะแร่ 2) ลานแร่พัด เกิดจากการผุพังของสายแร่หรือกระเปาะแร่ แร่ถูกพัดไปสะสมตัวในทÉีราบทÉีอยไู่ม่ไกลจากแหล่งต้นกำเนิดเดิม มากนัก แร่ทÉีพบมีทัÊงพลวงเงินและพลวงทอง
  • 8.  ประโยชน์ของแร่พลวง สินแร่พลวง ถลุงได้โลหะพลวง ใช้ในการทำโลหะผสม โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 8  โดยผสมกับโลหะตะกัวÉทำแผ่นกริด แบตเตอรÉี  ผสมตะกัวÉและดีบุกในการทำตะกัวÉตัวพิมพ์และโลหะบัดกรีบางชนิด  ใช้เป็นส่วนประกอบของกระสุนปืน  ใช้ในอุตสาหกรรมไม้ขีดไฟ ยาง ผ้าทนไฟ และในอุตสาหกรรมเครืÉองเคลือบ  นอกจากนีÊยังใช้ในการหุ้มสายโทรศัพท์ สายไฟขนาดใหญ่ ทำหมึกโรเนียว อุปกรณ์ทรานซิสเตอร์ หลอดยาสีฟัน สี และ ยารักษาโรค  แหล่งแร่พลวงของประเทศไทย  แร่พลวงเป็นแร่เศรษฐกิจทสÉีำคัญชนิดหนึÉงของประเทศไทยทÉีเริÉมมีการผลิตตัÊงแต่ พ.ศ. 2486 เป็นต้นมา โดยเริÉมมีการผลิตส่วนใหญ่ในภาคเหนือ และมีการผลิตอย่างจริงจัง ตัÊงแต่ พ.ศ. 2506 ทำให้แร่พลวงเริÉมมีบทบาท สำคัญต่ออุตสาหกรรมเหมืองแร่  แหล่งแร่พลวงทÉีสำคัญ ได้แก่ แหล่งแร่ในบริเวณอำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน อำเภอแจ้ห่ม และเสริมงาม จังหวัดลำปาง อำเภอลองและอำเภอวังชิÊน จังหวัดแพร่ อำเภอบ้านนาสารและเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี และแหล่งแร่พลวงทÉีพบใหม่ คือ ทÉีอำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี  นอกจากนีÊ ยังพบแหล่งแร่พลวงทÉีน่าสนใจจังหวัดต่างๆ คือ จังหวัดเชียงใหม่ พะเยา แม่ฮ่องสอน ตาก สุโขทัย กาญจนบุรี ราชบุรี เลย สตูล นครศรีธรรมราช ชุมพร กระบีÉ ระยอง และจันทบุรี 6) เซอร์โคเนียม  เซอร์โคเนียม (Zr) เป็นโลหะทีÉมีจุดหลอมเหลว 1852 .C จุดเดือด 4377 .C พบอยู่ในรูปของแร่เซอร์คอน (ZrSiO4) เกิดตามแหล่งแร่ดีบุก  การถลุงเซอร์โคเนียม นำแร่เซอร์คอนไปถลุงในเตาทีÉอุณหภูมิ 800 – 1000°C โดยใช้คาร์บอนเป็นตัวรีดิวซ์ จะได้โลหะเซอร์โคเนียมทÉีไม่บริสุทธิÍ นำโลหะไปเผาทีÉอุณหภูมิ 500 °C และพ่นแก๊สคลอรีนลงไปตลอดเวลา จะได้ไอของ ZrCI4 เมืÉอควบแน่นจะได้ผลึก ZrCI4 นำผลึก ZrCI4 ทำปฏิกิริยากับโลหะแมกนีเซียมทÉีหลอมเหลว ในเตาภายใต้บรรยากาศของแก๊สเฉÉือย จะได้Zr ดังสมการ ZrCI4 + Mg(l) Zr + 2MgCI2 แยก MgCI2 ออก โดยเผาในภาวะทีÉเป็นสุญญากาศทีÉ 900°C และนำโลหะเซอร์โคเนียมไปหลอมในเตาสุญญากาศ เพÉือให้ได้โลหะทÉีบริสุทธิÍขึÊน
  • 9.  ประโยชน์ของเซอร์โคเนียม 1) ใช้เป็นชิÊนส่วนของเครืÉองยนต์ไอพ่น และจรวด 2) ใช้ทำถ้วยกระเบืÊองทนไฟ 3) ทำอิฐทนไฟสำหรับเตาหลอมโลหะ 4) ทำฉนวนกันไฟฟ้าแรงสูง 5) ทำชิÊนส่วนของหัวเทียนรถยนต ์ 6) ทำอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์  ในการถลุงแร่จะเกิดกากแร่ซึÉงเป็นสารพิษเกิดขึÊนด้วย เช่น โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 9  กากแคดเมียม (Cd) ซึÉงเป็นโลหะทรานซิสชันÉสีขาว-ฟ้า เป็นธาตุมีพิษ ในธรรมชาติพบอยใู่นแร่สังกะสี  การย่างแร่ ทองแดง สังกะสี และพลวง จะได้แก๊ส SO2 ซึÉงเป็นพิษต่อสิÉงแวดล้อม 7) แร่รัตนชาติ  แร่รัตนชาติเป็น “อโลหะ” ทÉีมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นอย่างมาก เพราะเป็นสินค้าส่งออกทÉีทำรายได้ ให้อย่างมาก โดยเฉพาะเพชรพลอยทีÉแปรรูปเป็นอัญมณีแล้ว  สถาบันอัญมณีศาสตร์แห่งสหรัฐอเมริกาได้ให้ ความหมายของรัตนชาติหรืออัญมณีว่า“เป็นแร่และหรือสารประกอบ อินทรีย์ทีÉนำมาใช้เป็นเครืÉองประดับ”  มีสมบัติสำคัญคือ ř. ความสวยงาม Ś.ความคงทน ś.ความหายาก Ŝ.ความนิยม และ ŝ. ความสามารถในการพกพา  ส่วนสารประกอบทÉีเกิดจากสิÉงมีชีวิตและจัดเป็นรัตนชาติ ได้แก่ ř.ไข่มุก Ś.ปะการัง ś.อำพัน  นอกจากนีÊสถาบันดังกล่าว ยังแบ่ง อัญมณีออกเป็น Ś กลุ่มคือ ř.เพชร Ś.พลอยหรือหินสี  บ่อพลอยทีÉเป็นแหล่งผลิตรัตนชาติทีÉสำคัญและเก่าแก่ของไทยอยู่ทีÉจังหวัดจันทบุรี ตราด และกาญจนบุรี  ส่วนเพชรพบปนอยใู่นลานแร่ดีบุกทÉีจังหวัดภูเก็ตและพังงา แต่ปริมาณน้อยและคุณภาพตํÉามาก  แร่รัตนชาติ ทÉีมีชÉือเสียงของไทย ได้แก่ ทับทิมสยาม ไพลินหรือแซปไฟร์สีนÊำเงิน บุษราคัม  ทับทิมสยามและไพลินเป็นพลอยในตระกูลแร่ คอรันดัม มีส่วนประกอบหลักเป็น อะลูมิเนียมออกไซด์ โดย มี Al ร้อยละŝŚ.š และ O ร้อยละ Ŝş.ř โดยมวล  การทีÉพลอยตระกูลคอรันดัมมีสีแตกต่างกัน เนืÉองจากมีธาตุอืÉนเป็นมลทิน เช่น  ถ้ามี Cr จะทำให้เนืÊอพลอยมีสีชมพูจนถึงสีแดงเข้ม ซึÉงเรียกว่า “ทับทิม”  ถ้ามี Fe จะทำให้พลอยมีสีเขียวอ่อน สีเหลือง หรือสีนÊำตาล  ถ้ามีทัÊง Fe และ Ti ปนด้วยกัน จะทำให้พลอยมีสีนÊำเงินอ่อนถึงสีนÊำเงินเข้ม เรียก “ไพลิน”  ถ้ามีแร่รูไทล์ ปนอยู่จะทำให้พลอยมีลายเส้นเหลือบๆ หรือ รูปดาว เรียกว่า “พลอยสาแหรก หรือพลอยสตาร์”  การตรวจสอบเพชรและพลอยเพืÉอจำแนกชนิดหรือเพืÉอพิสูจน์ว่า เป็นของแท้หรือเทียม จะใช้เครืÉองมือและวิธีการเฉพาะ เพืÉอตรวจสอบสมบัติทีÉปรากฏ เช่น ความแข็ง ความถ่วงจำเพาะ รูปลักษณะของผลึกทีÉเกิดตามธรรมชาติ เป็นต้น ซึÉงเป็นสมบัติเฉพาะของรัตนชาติแต่ละชนิด  แร่รัตนชาติแต่ละชนิดมีความแข็งหรือความทนทานต่อการขูดขีดได้ไม่เท่ากัน นักธรณีวิทยาชาวเยอรมัน ชืÉอ เฟดริก โมส์ ได้จัดระดับความแข็งของแร่ตัÊงแต่อ่อนทÉีสุดจนถึงแข็งทÉีสุดไว้ řŘ ระดับ โดยเพชร เป็นแร่ทÉีมีความแข็งทีÉสุด และ โดยทัวÉไปแร่รัตนชาติจะมีความแข็งสูงกว่า Ş
  • 10. โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 10  เพชรเป็นอัญมณีทีÉมีความแข็งทีÉสุด ประกอบด้วยผลึกของธาตุคาร์บอน มีโครงสร้างเป็นร่างตาข่าย ไม่นำไฟฟ้า แต่นำความร้อนได้ดีทีÉสุด และดีกว่าทองแดง ŝ เท่า จึงถูกนำไปใช้ทำส่วนประกอบของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ปัจจุบันสามารถสังเคราะห์เพชรได้ โดยอัดแกรไฟต์ภายใต้ความดัน ŝŘ,ŘŘŘ-řŘŘ,ŘŘŘ บรรยากาศ ทีÉอุณหภูมิ ŚŘŘŘ oC โดยมีโครเมียม เหล็ก หรือแพลทินัมเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา เพชรทีÉได้จะมีความแข็ง ความถ่วงจำเพาะ ค่าดัชนีหักเหแสง และโครงสร้างผลึกเหมือนกับเพชรธรรมชาติ แต่การผลิตเพชรจะเสียค่าใช้จ่ายสูงมาก  ส่วน ทับทิม ไพลิน และบุษราคัม มีระดับความแข็ง ความถ่วงจำเพาะ และค่าดัชนีหักเหแสงเท่ากัน จึงจัดเป็นแร่ชนิด เดียวกัน แต่มีสีแตกต่างกันเนÉืองจากมีธาตุมลทินในเนืÊอพลอยแตกต่างกัน  ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีช่วยให้มีการเพิÉมคุณภาพของแร่ได้หลายวิธี เช่นการเจียระไน การเผา การอาบรังสี การย้อมเคลือบสี และการฉายแสงเลเซอร์ วิธีการเหล่านีÊช่วยให้อัญมณีมีความงดงามและมีคุณค่ามากขึÊน  การเจียระไน เป็นเทคนิคทÉีทำให้อัญมณีมีความแวววาวเป็นประกายและมีสีสันเด่นชัดขึÊน โดยใช้เครÉืองมือทำให้เป็น เหลีÉยม เพืÉอให้แสงหักเหสะท้อนกลับไปมาภายในผลึกและสะท้อนออกด้านหน้า รูปการเจียระไนเพชรพลอยแบบต่างๆ  การเผาพลอยหรือการหุงพลอย เป็นเทคนิคทÉีช่วยให้พลอยมีสีสันสวยงาม โดยใช้ความร้อนและอุณหภูมิทÉีเหมาะสม ทำให้ ธาตุต่างๆ ในเนืÊอพลอยจัดเรียงตัวใหม่ ทำให้พลอยใสขึÊนและมีสีเปลÉียนไปอย่างถาวรดังแสดงในตาราง
  • 11. การเผาพลอย โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 11  การเผาพลอยหรือการหุงพลอย คือ การทำให้พลอยมีสีสันสวยงามยิงÉขึÊน โดยการนำพลอยมาให้ความร้อนในช่วง อุณหภูมิและภาวะทÉีเหมาะสม จนธาตุต่างๆในเนืÊอพลอยใสขึÊนและมีสีเปลÉียนไปถาวร เช่น ชนิดของพลอย สีเดิมตามธรรมชาติ สีทีÉเปลีÉยนแปลงหลังการให้ความร้อน - ทับทิม - แซปไฟร์สีนÊำเงิน (ไพลิน) -แซปไฟร์สีขาว -เพทาย -โทแปซ -ควอตซ์ (แอเมทิสต์) การย้อมเคลือบสี แดงอมม่วง แดงอมนÊำตาล ชมพูอมม่วง นÊำเงิน ขาวใส ขาวขุ่นนÊำนม หรือขาวอมเหลือง นÊำตาล สีชา ขาวใส ม่วง แดงสดหรือชมพูสด นÊำเงินเข้มขึÊนหรือนÊำเงินสว่างขึÊน นÊำเงิน เขียว เหลือง หรือเหลืองนÊำทอง ใสไม่มีสี เหลืองนÊำทอง นÊำเงิน นÊำเงิน (ก่อนเผาจะอาบรังสีนิวตรอนให้ได้สี เหลือง นÊำตาล หรือเขียว) ใสไม่มีสี เหลืองนÊำทอง เขียว  คือการเผาพลอยรวมกับสารเคมีบางชนิด ทำให้พลอยมีสีสันสวยงามขึÊน สารเคมีทÉีใช้จะมีส่วนผสมของธาตุมลทินทÉีทำให้ พลอยชนิดนัÊนเกิดสีตามธรรมชาติ แต่จะแตกต่างกับการเผาพลอยตรงทÉี สีทÉีเกิดขึÊนสามารถอยไู่ด้เพียงชัวÉคราวเท่านัÊน การอาบรังสี คือการนำพลอยไปอาบรังสีแกมมาจากโคบอลต์-ŞŘ ทำให้สีเปลÉียนแปลง  ปัจจุบันมีการนิยมทำเพชรเทียมกันมากขึÊนเนÉืองจากเพชรธรรมชาติหายากและมีราคาแพง โดยเพชรเทียมทÉีได้รับความ นิยมสูงสุดคือ เพชรรัสเซีย หรือคิวบิกเซอร์โคเนีย เพชรเทียมมีการกระจายแสงสูงกว่าเพชรธรรมชาติจึงทำให้เป็น ประกายแวววาว และมีความถ่วงจำเพาะสูงกว่าเพชรธรรมชาติมาก  ในการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ มีการนำแผ่นฟิล์มเพชรบางๆซึÉงได้จากการทำเพชรสังเคราะห์ โดยการเผาแก๊สมีเทน หรืออะเซติลีนสลายพันธะได้อะตอมของคาร์บอนเกาะติดบนแผ่นฟิล์มซิลิคอน เป็นแผ่นเพชรช่วยถ่ายเทความร้อน ออกจากวงจรอิเล็กทรอนิกส์
  • 12. 10.2 อุตสาหกรรมเซรามิกส์ โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 12  สมัยก่อน เซรามิกส์ หมายถึง ศิลปะทÉีเกÉียวข้องกับเครÉืองปัÊนดินเผา เนÉืองจากคำว่า “เซรามิกส์ ” มีรากศัพท์มาจาก ภาษากรีกว่า “เครามอส” ซึÉงหมายถึงวัสดุทÉีผ่านการเผา  ปัจจุบัน เซรามิกส์ หมายถึง ผลิตภัณฑ์ทÉีทำจากวัตถุดิบในธรรมชาติ เช่น ดิน หิน ทราย และแร่ธาตุต่างๆ นำมาผสมกัน แล้วทำเป็นสิÉงประดิษฐ์ หลังจากนัÊนจึงนำไปเผาเพÉือเปลÉียนเนืÊอวัตถุให้แข็งแรง สามารถคงรูปอยไู่ด้  อุตสาหกรรมเซรามิกส์เป็นอุตสาหกรรมทÉีมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศ รวมทัÊงเป็นอุตสาหกรรมพืÊนฐาน รองรับอุตสาหกรรมอÉืนๆ อีกหลายอย่าง เช่น วัสดุทนไฟเป็นวัสดุพืÊนฐานของอุตสาหกรรมถลุงและผลิตโลหะ ซีเมนต์เป็นวัสดุสำคัญของงานการก่อสร้างและสถาปัตยกรรม เป็นต้น  กระบวนการผลิตเซรามิกส์มีขัÊนตอน ดังนีÊ 1. การเตรียมวัตถุดิบ 4. การเผาดิบ 2. การขึÊนรูป 5. การเคลือบ 3. การตากแห้ง 6. การเผาเคลือบ นอกจากนีÊ อาจมีการตกแต่งให้สวยงามโดยการเขียนลวดลายด้วยสีหรือการติดรูปลอก สามารถทำได้ทัÊงก่อนและหลังเคลือบ กระบวนการผลิตเซรามิกส์ มีขัÊนตอนทÉีสำคัญ ๆ ดังนÊี 1) การเตรียมวัตถุดิบ วัตถุดิบ อาจแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ วัตถุดิบหลัก และ วัตถุดิบอืÉน ๆ 1.1 วัตถุดิบหลัก เช่น ดิน เฟลด์สปาร์ ควอตซ์  ดิน  เป็นวัตถุดิบสำคัญทีÉใช้ในการผลิตเซรามิกส์หลายประเภท โดยเฉพาะทีÉใช้เป็นภาชนะรองรับอาหาร เครÉืองสุขภัณฑ์ กระเบืÊอง องค์ประกอบทÉีสำคัญของดิน คือ SiO2, Al2O3, Fe2O3 ,CaO, MgO, K2O และ Na2O ซึÉงดินจากทÉีต่างกันจะมีองค์ประกอบในสัดส่วนทÉีต่างกัน  แบ่งดินตามลักษณะทางกายภาพ จะแบ่งได้ดังนีÊ  ดินขาว เป็นวัตถุดิบทÉีสำคัญ ดินขาวบริสุทธิÍ มีสูตรเคมีเป็น Al2O3 (2SiO2.2H2O) ในประเทศไทยพบดินขาวในลักษณะทÉีเป็นสีขาวหรือสีอ่อนทัÊงในสภาพทÉียังไม่ได้เผาและหลังเผา เช่น ทÉีจังหวัดลำปาง อุตรดิตถ์ ปราจีนบุรี ระนอง สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช  ดินเหนียว มีสีขาวคลÊำจนถึงดำสนิท เนืÊอละเอียด เหนียวและแข็งแรงทนทานกว่าดินขาว พบมากทÉี ลำปาง เชียงใหม่ ปราจีนบุรี สุราษฎร์ธานี  เมÉือนำดินเหนียวผสมกับดินขาว จะทำให้เนืÊอดินแน่น และเนียนมากขึÊน สะดวกในการขึÊนรูป และทำเป็นผลิตภัณฑ์  เฟลด์สปาร์ (หินฟันม้า)  เป็นสารประกอบอะลูมิเนียมซิลิเกตของ ธาตุหมู่ I และ II ส่วนใหญ่มีองค์ประกอบคงทีÉ  ทำหน้าทÉีช่วยให้เกิดการหลอมเหลวทÉีอุณหภูมิตํÉา ส่งเสริมให้เกิดการเปลÉียนแปลงเป็นเนืÊอแก้ว ทำให้เกิดความ โปร่งใส  ตัวอย่างเช่น โซดาเฟลด์สปาร์ มี Na ในปริมาณมาก จะใช้เป็นส่วนประกอบในนÊำเคลือบและใช้ผสมในเนืÊอดิน โพแทชเฟลด์สปาร์ มี K ในปริมาณมาก จะใช้เป็นส่วนผสมในเนืÊอดินปัÊน  ควอตซ์ (หินเขีÊยวหนุมาน)  องค์ประกอบคือ ซิลิกา ส่วนมากใสไม่มีสี ถ้ามีสิÉงเจือปนจะให้สีต่างๆ ทำหน้าทÉีเป็นโครงสร้างของผลิตภัณฑ์เซ ช่วยให้เกิดความแข็งแรงไม่โค้งงอ ทำให้ผลิตภัณฑ์หดตัวน้อย
  • 13. 1.2 วัตถุดิบอÉืนๆ เพÉือทำให้ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพสูงขึÊน เช่น โดโลไมต์ สารประกอบออกไซด์ ดิกไคต์ เป็นต้น  แร่โดโลไมต์  แร่หรือหินตะกอนทีÉประกอบด้วย [CaMg(CO3)2] เป็นส่วนใหญ่  ลักษณะคล้ายหินปูน ผสมเล็กน้อยในเนืÊอดิน  ทำหน้าทลÉีดจุดหลอมเหลวของวัตถุดิบ และผสมในนÊำเคลือบ  สารประกอบออกไซด์  BeO Al2O3 ผสมในผลิตภัณฑ์ทีÉทนไฟสูง  Sio2 B2O3 ผสมเพÉือทำให้ผลิตภัณฑ์เป็นเนืÊอแก้ว  SnO2 ZnO ใช้เคลือบเพÉือทำให้ทึบแสง  ดิกไคต์  องค์ประกอบเหมือนดิน แต่มีโครงสร้างผลึกต่างกัน  ถ้า อะลูมินาร้อยละ ŚŠ-śŚ โดยมวล จะเป็นหินแข็ง นำมาแกะสลักเป็นรูปต่างๆ ไว้ประดับตกแต่ง อะลูมินาร้อยละ řř-ŚŠ โดยมวล ใช้ทำวัสดุทนไฟ ทำกระเบืÊองปูพืÊน อะลูมินาร้อยละตํÉากว่าข้างต้น ใช้ทำปูนซีเมนต์ขาว วัตถุดิบทุกชนิดทÉีใช้ผลิตเซรามิกส์ จะต้องทำให้บริสุทธิÍและบดให้มีความละเอียดตามต้องการ จากนัÊนจึงนํÊามาผสมกับนÊำ และสารอÉืนๆ ทำให้เนืÊอดินอยใู่นสภาพทÉีเหมาะสมในการขึÊนรูป 2) การขึนÊรูปผลิตภัณฑ์ การขึÊนรูปผลิตภัณฑ์เซรามิกส์มีหลายวิธีด้วยกัน ดังต่อไปนีÊ 2.1 การเทแบบ โดยผสมดินกับนÊำจนได้ทÉีแล้วเทลงในแบบซึÉงมีรูปร่างต่างๆ ปล่อยไว้จนแข็งตัว จากนัÊนจึงแกะแบบ และตกแต่งผลิตภัณฑ์ให้เรียบร้อย การขึÊนรูปด้วยวิธีนีÊ ใช้ในการผลิตแจกัน ขวด และเครÉืองสุขภัณฑ์ต่างๆ 2.2 การใช้แป้นหมุน จะปัÊนได้เฉพาะภาชนะทÉีมีลักษณะกลม ทรงกลมหรือทรงกระบอก เช่น การปัÊนไห โอ่ง อ่าง กระถาง แจกัน การปัÊนต้องใช้ความชำนาญเป็นพิเศษจึงจะได้เป็นรูปทรงตามต้องการ 2.3 การหลอมเหลว โดยหลอมเหลวเนืÊอผลิตภัณฑ์ด้วยความร้อนแล้วเทลงในแบบโลหะหรือแบบทราย จากนัÊนปล่อยให้เย็นตัวลง ผลิตภัณฑ์ทÉีได้จะมีเนืÊอแน่นมากและทนต่อการกัดกร่อนสูง 2.4 การอัดเนืÊอดินผ่านหัวแบบ เป็นวิธีการขึÊนรูปทÉีนิยมใช้ในระบบอุตสาหกรรม เช่น การทำผลิตภัณฑ์วัสดุทนไฟ กระเบืÊอง เป็นต้น 2.5 การอัดผงเนืÊอดินลงในแบบโลหะ เป็นวิธีการขึÊนรูปทÉีนิยมใช้ในระบบอุตสาหกรรมเช่นเดียวกัน ผลิตภัณฑ์ทÉีขึÊนรูปเสร็จแล้ว ควรเก็บในทÉีร่มให้เนืÊอดินแห้งอย่างช้าๆ แล้วนำมาตกแต่งให้ผิวเรียบ จากนัÊนจึงนำไปตากหรืออบทÉีอุณหภูมิประมาณ ŜŘ-ŞŘ องศาเซลเซียส 3) การเผาและเคลือบ  การเผาครัÊงแรก เรียกว่า เผาดิบ โดยเพิÉมอุณหภูมิให้สูงขึÊนอย่างช้าๆ เพÉือให้ผลิตภัณฑ์คงรูปไม่แตกชำรุด  ผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่หลังจากเผาดิบแล้ว ต้องเคลือบผิวเพืÉอความสวยงามคงทน ป้องกันรอยขีดข่วน  แต่บางชนิดไม่ต้องเคลือบ เช่น กระถางต้นไม้ อิฐ ไส้เครÉืองกรองนÊำ เป็นต้น  สารทีÉใช้เคลือบ เป็นสารผสมระหว่างซิลิเกตกับสารช่วยหลอมละลาย มีลักษณะเหมือนแก้วบางๆ ฉาบติดอยู่บนผิว ส่วนผสมของนÊำเคลือบ แบ่งตามสมบัติทางเคมีได้ ś กลุ่ม ดังนÊี กลุ่มทÉีř สารช่วยลดอุณหภูมิการหลอมละลายของนÊำเคลือบ เช่น ออกไซด์โลหะแอลคาไลน์และแอลคาไลน์เอิร์ท รวมทัÊงออกไซด์ของตะกัวÉ สังกะสี และออกไซด์ทÉีทำให้เกดิสี เช่น Na2O , Li2O , K2O , Cao , ZnO เป็นต้น กลุ่มทÉี Ś กลุ่มสารทÉีเป็นสารทนไฟและให้สี เช่น Al2O3 , Sb2O3 , Mn2O3 , Bi2O3 กลุ่มทÉี ś กลุ่มสารทÉีช่วยให้เนืÊอผลิตภัณฑ์ทึบแสง เช่น SiO2 , TiO2 , CeO2 , P2O5 เทคนิคและวิธีการเคลือบขึÊนอยกูั่บลักษณะและขนาดของผลิตภัณฑ์ เมÉือเผาเคลือบเสร็จแล้วควรปล่อยให้อุณหภูมิ ลดลงช้าๆ จนผลิตภัณฑ์เกือบเย็นแล้วจึงนำออกจากเตา โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 13
  • 14.  ผลิตภัณฑ์เซรามิก ตัวอย่างผลิตภัณฑ์เซรามิกส์บางชนิด ดังนีÊ  ผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ทีÉใช้เป็นภาชนะรองรับหรือปรุงอาหาร เช่น ถ้วย ชาม หม้อหุงต้ม โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 14  ผลิตภัณฑ์เครืÉองสุขภัณฑ์ เช่น โถส้ม อ่างล้างหน้า ทีÉวางสบู่  ผลิตภัณฑ์กระเบืÊอง เช่น กระเบืÊองปูพืÊน กระเบืÊองกรุฝาผนัง  ผลิตภัณฑ์ทีÉใช้งานด้านไฟฟ้า เช่น กล่องฟิวส์ ฐานและมือจับสะพานไฟ  วัสดุทนไฟ เช่น อิฐฉนวนไฟทนไฟ  ผลิตภัณฑ์แก้ว เช่น แก้ว กระจก การใช้ผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ ควรคำนึงถึงอันตรายทÉีอาจเกิดขึÊน จากสารตะกัวÉทÉีใช้เป็นตัวช่วยลดอุณหภูมิการหลอมละลาย และทำให้มีสีสดใส ถ้านÊำเคลือบยึดติดกับผิวเนืÊอดินปัÊนไม่ดี สารทÉีเคลือบอาจกะเทาะและมีสารตะกัวÉหลุดออกมาได้ เพราะฉะนัÊน การนำผลิตภัณฑ์ดังกล่าวไปใช้ใส่สารทÉีเป็นกรดหรือเป็นเบส จึงไม่สมควร เช่นการใส่อาหารทÉีเป็นกรดเบส ก็จะทำให้ภาชนะนัÊนถูก กร่อน และมีสารตะกัวÉปนหลุดออกมา เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค  ผลิตภัณฑ์แก้ว  แก้วได้ถูกนำมาใช้ประโยชน์หลายอย่าง เนÉืองจากแก้วมีสมบัติทÉีดีหลายประการ ทัÊงมีความโปร่งใส ทนต่อกรดเบส ไอนÊำ และแก๊สซึมผ่านได้ยาก แข็งแรงและทนต่อแรงดันได้  แก้วทำจากทรายแก้วหรือซิลิกา โซดาแอช หินปูน โดโลไมต์และเศษแก้วประมาณ30% โดยมวล สารทÉีเติมลงไปจะช่วย เพิÉมความแกร่งของเนืÊอแก้ว  เมÉือได้รับความร้อน สารประกอบคาร์บอนจะเปลÉียนไปเป็นสารประกอบออกไซด์ และหลอมละลายเป็นเนืÊอเดียวกัน เรียกว่านÊำแก้ว จากนัÊนลดอุณหภูมิ เพÉือให้แก้วมีความหนืดก่อนทำการขึÊนรูปเป็นผลิตภัณฑ์ทÉีต้องการ  จำแนกแก้วตามองค์ประกอบทางเคมีเช่น  แก้วโซดาไลม์ องค์ประกอบหลักเป็นซิลิกา โซเดียมออกไซด์ แคลเซียมออกไซด์ ไม่ทนต่อสภาพความเป็นกรดเบส แตกง่ายเมÉือรับความร้อน แสงขาวผ่านได้แต่ดูดกลืนอัลตราไวโอเลต เช่น แก้วนÊำ ขวดนÊำ กระจกแผ่น สามารถทำให้ แก้วมีสีต่างๆได้โดยเติมออกไซด์ของสารบางชนิดลงไป  แก้วโบโรซิลิเกต มีซิลิกาเป็นส่วนผสมปริมาณค่อนข้างสูง โซเดียมออกไซด์และแคลเซียมออกไซด์ในปริมาณทีÉลดลง เติมออกไซด์ของโบรอนลงไปเพÉือให้ทนต่อการเปลÉียนแปลงอุณหภูมิ ใช้ทำภาชนะสำหรับไมโครเวฟ เครÉืองแก้วใน ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์  แก้วคริสตัล มีออกไซด์ของตะกัวÉกับโพแทสเซียมเป็นส่วนผสม มีดัชนีหักเหสูงมาก เมอÉืแสงมากระทบจะเห็น ประกายแวววาว มีราคาแพงเนืÉองจากต้องใช้ทรายแก้วทีÉมีเหล็กเจือปนน้อยมาก ผลิตในปริมาณน้อยและใช้ฝีมือใน การเจียระไน  แก้วโอปอล มีการเติมสารบางชนิดเพÉือให้เกิดการตกผลึกหรือแยกชัÊนในเนืÊอแก้ว ทำให้มีความขุ่นและโปร่งแสง หลอมขึÊนรูปได้ง่าย ผลิตภัณฑ์ทÉีมีการใช้งานมากในปัจจุบันคือ กระจกแผ่น ใช้ในการตกแต่งอาคาร ทำเครÉืองใช้ ทำโดยดึงและรีดนÊำแก้ว ทÉีมีความหนืด เหมาะต่อการขึÊนรูปตามแนวราบ แล้วทำให้เย็นลงและผ่านไปยังเครÉืองขัด จะได้กระจกผิวเรียบ นำไปแปร รูปเพืÉอใช้ประโยชน์ตามลักษณะงานต่างๆ แก้วโบโรซิลิเกต แก้วคริสตัล แก้วโอปอล
  • 15. โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 15  ผลิตภัณฑ์ปูนซีเมนต์  ปูนซีเมนต์ หมายถึง ผงผลิตภัณฑ์ทÉีได้จากการบดปูนเม็ด ซึÉงเกิดจากการเผาส่วนผสมต่างๆ ได้แก่ แคลเซียมคาร์บอเนต ซิลิกา อะลูมินา และออกไซด์จากเหล็ก สัดส่วนของวัตถุดิบแตกต่างกันจะทำให้มีสมบัติแตกต่างกัน  วัตถุดิบเนืÊอปูน ร้อยละ ŠŘ โดยมวล เป็นหินปูน(มีแร่แคลไซด์) ดินสอพอง หรือ ดินมาร์ล หินอ่อน หินชอล์ก  วัตถุดิบเนืÊอดิน มีเนืÊอปูนอะลูมินา ซิลิกา หรือออกไซด์ของเหล็กปริมาณสูง ใช้ในกรณีทÉีส่วนผสมของเนืÊอปูนและ เนืÊอดินมีองค์ประกอบไม่เป็นไปตามกำหนด เช่น อะลูมินาตํÉาต้องเติมแร่บอกไซด์ ถ้ามีเหล็กตํÉาก็เติมแร่ทÉีมี เหล็กออกไซด์หรือเศษเหล็ก  สารเติมแต่ง เติมภายหลังการเผาเพืÉอปรับสมบัติบางประการ เช่น การเติบยิปซัมเพืÉอหน่วงเวลาให้ปูนทีÉผสมกับ นÊำแข็งตัวช้าลง  กระบวนการทÉีใช้ผลิตมีทัÊงแบบเผาเปียก และ เผาแห้ง ซÉึงขÊึนอยู่กับความชÊืนและชนิดของวัตถุดิบทÉีใช้  แบบเผาเปียก ใช้ในกรณีความชืÊนสูง เช่น มีดินดำ ดินขาว หรือ ดินเหนียวเป็นส่วนประกอบ กระบวนการผลิต นำวัตถุดิบผสมกันตามสัดส่วน บดให้ละเอียดแล้วนำมาตีรวมกับนÊำจนเป็นนÊำดิน สูบนÊำดินทÉีผ่าน กรรมวิธีปรับคุณภาพมาสู่เตาเผา จะได้เป็นปูนเม็ดเก็บไว้ เมืÉอนำปูนเม็ดผสมกับยิปซัมแล้วบดละเอียดจะได้ ปูนซีเมนต์ผงการผลิตแบบนีÊใช้พลังงานมากและต้นทุนสูงจึงไม่นิยม  แบบเผาแห้ง ใช้ในกรณีความชืÊนตํÉา เช่น มีหินปูน หรือ หินดินดานเป็นส่วนประกอบ กระบวนการผลิต นำวัตถุดิบทัÊงหมดมาบดผสมกันใน อัตราส่วนทÉีเหมาะสมแล้วนำไปเผาแบบฝุ่นแห้ง เมÉือนำปูนซีเมนต์มาผสมกับนÊำจะจับตัวแข็งและมีกำลังอัดสูง จึงใช้เป็นตัวประสานวัสดุชนิดเม็ด เช่น ทรายหยาบ กรวด และ หินให้เกาะตัวแน่นเป็นคอนกรีตได้ ปูนซีเมนต์อาจแบ่งได้เป็น Ś ประเภท ดังนีÊ 1) ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ ได้จากการบดปูนเม็ดกับ ยิปซัม แบ่งออกเป็น ŝ ประเภท ประเภททÉี ř ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ธรรมดา ใช้สำหรับงานการก่อสร้างตามปกติทัวÉไป ประเภททÉี Ś ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์สำหรับใช้ในการทำคอนกรีตหรือผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมทÉีเกิดความ ร้อนและทนซัลเฟตได้ปานกลาง ประเภททีÉ ś ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทเกิดแรงเร็วสูง ใช้ในงานคอนกรีตทีÉต้องการถอดแบบได้เร็ว หรืองานทีÉต้องการใช้เร็วเพืÉอแข่งกับเวลา ประเภททÉี Ŝ ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทเกิดความร้อนตํÉา ใช้ในงานคอนกรีตทÉีมีเนืÊอหนาๆ ประเภททีÉ ŝ ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภททนซัลเฟตได้สูง ใช้ในงานก่อสร้างบริเวณดินทีÉมีความเค็มปน อยู่เช่น ในทะเลหรือตามชายฝัÉง Ś. ปูนซีเมนต์ผสม มีแรงอัดตํÉาลงกว่าปูนซีเมนต์ธรรมดาเล็กน้อยเนÉืองจากมีการเติมทรายหรือหินปูนละเอียด ประมาณร้อยละ Śŝ ลงไป บดพร้อมกับปูนเม็ด เหมาะสำหรับใช้ในงานก่อสร้างทÉีไม่ต้องรับนÊำหนักมาก หรืองานคอนกรีตทÉีไม่มี การยืดหดมาก เช่น งานก่อ งานฉาบ เทพืÊน ทำกระเบืÊองมุงหลังคา หล่อท่อ เป็นต้น
  • 16. 10.3 อุตสาหกรรมทีÉเกีÉยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์  เกลือเป็นสารเคมีชนิดหนึÉง มีชÉือทางเคมีว่า “โซเดียมคลอไรด์” (NaCl) มี ลักษณะเป็นผลึกสีขาว รสเค็ม  เกลือเป็นอาหารธรรมชาติทÉีมีความสำคัญต่อมนุษย์ และสัตว์มาตัÊงแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบัน มนุษย์ต้องบริโภคเกลือ ประมาณวันละ 5-10 กรัม เพÉือนำไปช่วยรักษาสมดุลของนÊำในร่างกายให้เซลล์เนืÊอเยอÉืต่างๆ ทำงานอย่างปกติ  นอกจากนีÊเกลือยังสามารถนำไปใช้ประโยชน์ต่างๆ ได้มากมายเช่น ปรุงอาหาร ถนอมอาหาร ผสมกับนÊำแข็งเพÉือเพิÉมความ เย็น ใช้ในอุตสาหกรรมผลิตสารเคมีต่างๆ ได้แก่ โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต (NaHCO3) หรือโซดาทำขนม , โซเดียม คาร์บอเนต (NaCO3) หรือโซดาแอส ,โซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) หรือโซดาไฟ และ ไฮโดรคลอริก (HCl) หรือกรด เกลือ เป็นต้น  โซเดียมคลอไรด์ใช้ประโยชน์ใน  อุตสาหกรรมเคมี  อุตสาหกรรมอาหาร  การบริโภคในครัวเรือน  ประเภทของเกลือ การผลิตเกลือของประเทศไทย แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ เกลือสมุทร (เกลือทะเล ) และ เกลือสินเธาว์ (เกลือหิน) โดยแต่ละประเภทมีทÉีมาแตกต่างกัน ดังนีÊ 1) เกลือสมุทร (เกลือทะเล) (Sea Salt) คือ เกลือทÉีผลิตขึÊนโดยการนำนÊำทะเลขึÊนมาตากแดดให้นÊำระเหยไปเหลือแต่ ผลึกเกลือตกอยู่(Solar Evaporation System) เกลือประเภทนีÊมีการผลิตและการใช้มาตัÊงแต่สมัยโบราณและถือเป็น อาชีพเก่าแก่อาชีพ หนึÉงของโลกและของคนไทย โดยได้มีการกำหนดเป็นสินค้าเกษตรกรรมขัÊนต้นตาม พระราชบัญญัติธนาคารเพืÉอการ เกษตรและสหกรณ์การเกษตร พ.ศ. 2509 2) เกลือสินเธาว์ (เกลือหิน) (Rock Salt) คือ เกลือทÉีทำจากดินทÉีนÊำชะดินละลายแล้วแห้งปรากฎเป็นคราบเกลือติดอยู่ บนผิว ดิน เรียกว่า “ส่าดิน” เมÉือนÊำผิวดินหรือส่าดินมาละลายนÊำ แล้วต้มจะได้เกลือสินเธาว์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2512 ได้ มีการค้นพบเกลือหินทÉีอยใู่ต้ดินในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทำให้รูปแบบการผลิตเกลือสินเธาว์เปลÉียนแปลงไป เป็นการใช้เกลือหินแทน โดยใช้วิธีฉีดนÊำลงไปละลายเกลือในบ่อเกลือ หรือใช้วิธีสูบนÊำเกลือใต้ดินขึÊนมาตากแดด หรือโดยการต้มเพืÉอให้ได้ตะกอนเกลือ และหากใช้เครืÉองจักรทีÉทันสมัยสามารถผลิตได้ตลอดปี  ปัจจุบัน เกลือสินเธาว์ (เกลือหิน)ได้ถูกนำมาใช้ประโยชน์อย่างแพร่หลายและเป็นคู่แข่งกับเกลือสมุทร (เกลือทะเล) เพราะสามารถใช้ทดแทนกันได้ แต่เกลือสินเธาร์ไม่มีธาตุไอโอดีน (เกลือสมุทรมีไอโอดีนป้องกันโรคคอหอยพอกและ โรคเอ๋อ) การผลิตโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) 1) การผลิตเกลือสมุทร (เกลือทะเล) จากนํÊาทะเล โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 16
  • 17. 1) การผลิตเกลือสมุทร (เกลือทะเล) จากนํÊาทะเล (ต่อ)  เริÉมทำช่วงเดือน พฤศจิกายน – พฤษภาคม เรียก ฤดูทำนาเกลือ  วิธีการผลิต ระบายนÊำทะเลเข้าสู่บ่อเก็บนÊำ (วัง) เรียกว่า นÊำอ่อน เพÉือให้โคลนตมตกตะกอน เตรียมพืÊนทÉีนาทำนาเกลือให้เป็นชัÊนโดยลดหลันÉกันไปเพÉือสะดวกในการขังและระบายนÊำ โดยแบ่งเป็น นาตาก นาเชืÊอ นารองเชืÊอ นาประเทียบ และนาลูกวัง ระบายนÊำจากทะเลขึÊนมาตากไว้บนนาทÉีเตรียมไว้ (ใช้เวลาตากประมาณ 30 วัน) เกลือจะตกผลึก เมÉือนÊำทะเลโดนความร้อนและลม จะระเหยจนนÊำทะเลเหลือความถ่วงจำเพาะ 1.2 ให้ระบายสู่นาปลง เกลือ (NaCl) จะตกผลึกและมีปริมาณเพิÉมขึÊน (นÊำทะเลทÉีเหลือน้อยจะมีความเข้มข้น Mg2+, Cl-, SO4  ผลผลิตทีÉได้ 1) ได้ผลผลิต Ś.ŝ – Ş กิโลกรัม ต่อพืÊนทÉี ř ตารางเมตร 2) ได้กุ้ง หอย ปู ปลาทÉีติดมากับนÊำทะเล 3) CaSO4 ในนาเชืÊอ 2) การผลิตเกลือสินเธาว์ หรือ เกลือหิน  วัตถุดิบ  แหล่งเกลือบนผิวดิน  นÊำเกลือบาดาล  แร่เกลือหิน หรือ แร่เฮไลต์ (พบมากแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)  วิธีการผลิต ในประเทศไทยมีการผลิตเกลือสินเธาว์ 3 วิธี ดังนีÊ วิธีทีÉ 1 เทคโนโลยีแบบชาวบ้าน ผลกระทบของวิธีทีÉ 1 เทคโนโลยีแบบชาวบ้าน  เกิดการยุบตัวของดินและนÊำในแหล่งนÊำ รัÉวหายไปในโพรงเกลือ  เกิดการปนเปืÊอนของเกลือบนพืÊนดินและแหล่งนÊำ 2- เพิÉม จึงต้องระบายนÊำจากนาเชืÊอเข้าไปเพิÉมอีก เพÉือให้ความเข้มข้น Mg2+, Cl-, SO4 2- น้อยลง จะช่วยป้องกันไม่ให้ MgCl2 MgSO4 ตกผลึกปนกับ NaCl ) เก็บเกลือทีÉตกผลึก จะได้เกลือ NaCl (เกลือสมุทรหรือเกลือทะเล) นำไปใช้ประโยชน์ต่อไป อัดอากาศลงไปตามท่อ เพÉือดันนÊำเกลือทÉีละลายอยใู่นชัÊนเกลือหรือชัÊนโดมเกลือขึÊนมา นำนÊำเกลือทÉีได้ไปตากในนาเกลือ หรือต้มให้เกลือตกตะกอน โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 17
  • 18.  วิธีการผลิต ในประเทศไทยมีการผลิตเกลือสินเธาว์ 3 วิธี ดังนีÊ (ต่อ) วิธีทีÉ 2 การทำเหมืองละลายแร่ โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 18 อัดนÊำลงไปเหมืองละลายเกลือและสูบขึÊนมา แล้วนำไปตากในนาเกลือ หรือนำไปต้มด้วยวิธีลดความดัน ผลกระทบของวิธีทีÉ 2 การทำเหมืองละลายแร่  การสูบสารละลายเกลือทำให้เกิดปัญหาแผ่นดินทรุด ดังนัÊนต้องทำเหมืองละลายเกลือลึกจากผิวดินประมาณ 200 เมตร และนำเกลือออกมาจากพืÊนทÉีได้ประมาณร้อยละ 10-15 เท่านัÊน  เมÉือสูบนÊำเกลือออกมาแล้วต้องมีการอัดนÊำขมกลับลงไปในชัÊนนÊำเกลือใต้ดิน เพÉือป้องกันผลกระทบต่อ สิÉงแวดล้อม และมีการตรวจวัดรูปร่างของบ่อเกลือเป็นระยะ วิธีทีÉ 3 การทำเหมืองใต้ดิน ขุดอุโมงค์ในแนวนอนลงไปในชัÊนเกลือ แล้วทำการเจาะหรือระเบิดนÊำเกลือขึÊนมา จากนัÊนนำนÊำขมใส่กลับไปไว้ในอุโมงค์เช่นเดิม นÊำเกลือทÉีได้นำมาผ่านกระบวนการทำให้บริสุทธิÍ จากนัÊนนำนÊำเกลือบริสุทธิÍไปต้มเคÉียวจนได้ผลึกเกลือ แล้วนำไปอบแห้งและบรรจุถุง หมายเหตุ : ในเกลือสินเธาว์จะมีปริมาณไอโอดีนน้อย ดังนัÊนถ้าจะนำมาบริโภคควรเติม ไอโอไดด์หรือไอโอเดตลงไป เรียกว่าเกลืออนามัยหรือเกลือไอโอเดต (ไอโอดีนป้องกันโรคคอหอยพอกและโรคเอ๋อ) การผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH ) และแก๊สคลอรีน (Cl2)  เมÉือนำ NaCl ทÉีผลิตได้มาแยกด้วยวิธีการต่าง ๆ จะได้ผลิตภัณฑ์เป็น NaOH , H2 และ Cl2 ซึÉงสามารถนำไปใช้เป็น วัตถุดิบในอุตสาหกรรมต่าง ๆ มากมาย ซึÉงวิธีการผลิต NaOH ด้วยกระแสไฟฟ้า มี 3 วิธี (อาศัยหลักการอิเล็กโทรไลต์) ดังนีÊ 1) การผลิต NaOH และ Cl2 โดยใช้เซลล์ปรอท  ข้อเสีย คือ มีปรอท (Hg) อยใู่นนÊำทิÊง  ข้อดี คือ การใช้ปรอทช่วยป้องกันไม่ให้โลหะ Na ทÉีเกิดขึÊนทำปฏิกิริยากับนÊำทันที หรือป้องกันไม่ให้ ผลิตภัณฑ์บางชนิดทำปฏิกิริยากัน เช่น 2Na + 2 H2O 2NaOH + H2
  • 19. โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 19 2) การผลิต NaOH และ Cl2 โดยใช้เซลล์ไดอะเฟรม  มีลักษณะเป็นแผ่นกัÊน ซึÉงมีคุณสมบัติยอมให้ไอออนต่าง ๆ ไหลผ่านได้ แต่ไม่ยอมให้แก๊สไหลผ่าน  เซลล์นีÊมีการปรับความดันด้าน Anode มากกว่า Cathod ทำให้ Na+ และ Cl- เคลÉือนมาทาง Cathode ทัÊงหมด เป็นผลให้ได้ NaOH ทÉีไม่บริสุทธิÍ กล่าวคือ จะมี NaCl ปนออกมาด้วย Anode 2Cl- Cl2 + 2e- Cathode 2H2O + 2e- H2 + 2OH-Anode 3) การผลิต NaOH และ Cl2 โดยใช้เซลล์เยืÉอแลกเปลีÉยนไอออน  เซลล์ประเภทนีÊจะมีเยอÉืแลกเปลÉียนไอออน กล่าวคือ ยอมให้ไอออนเคลÉือนทÉีผ่านได้ แต่เป็นเฉพาะไอออน บวกเท่านัÊน (แต่เซลล์ไดอะเฟรม ยอมให้ทัÊงไอออนบวกและลบเคลÉือนทÉีผ่านได้) ดังนัÊน Cl- จึงไม่สามารถ เคลÉือนทÉีผ่านเยอÉืนีÊได้ ผลทÉีเกิดขึÊนคือ ได้ NaOH ทÉีบริสุทธิÍมาก 2Cl- Cl2 + 2e- Cathode 2H2O + 2e- H2 + 2OH-  การแยกสารละลาย NaCl ด้วยกระแสไฟฟ้า ได้ผลิตภัณฑ์ คือ H2 (g) , Cl2 (g) , NaOH (aq) นำไปใช้ประโยชน์ ดังนีÊ H2 (g) ทำ 1) เตรียมกรด HCl 2) เตรียม NH3 (g) 3)ใช้ในปฏิกิริยาการเติม H2 ในนÊำมันพืช Cl2 (g) ทำ 1) ฆ่าเชืÊอโรคในนÊำประปา 2) ฟอกสีในเยืÉอกระดาษ เส้นใยพืช 3) เป็นวัตถุดิบในการผลิตสารเคมี เช่น พลาสติก สารกำจัดแมลง สารฟอกขาว CCl4 4) รวมกับแก๊สไฮโดรเจน เป็นกรด HCl NaOH (aq) ทำ 1) สบู่ , ผงซักฟอก 2 ) ผงชูรส 3) ทำกระดาษ 4) ผลิตโซดาแอช
  • 20. การผลิตโซดาแอช (โซเดียมคาร์บอเนต , Na2CO3)  ชืÉอทางเคมีโซดาแอช : โซเดียมคาร์บอเนต (Na2CO3) กระบวนการผลิตโซดาแอช : กระบวนการ Solvey หรือ กระบวนการ Soda ammonia วัตถุดิบ : 1) โซเดียมคลอไรด์ (NaCl) 2) แคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) 3) แก๊สแอมโมเนีย (NH3)  ขัÊนตอนการผลิต ดังนีÊ นำ CO2 (g) ไปทำปฏิกิริยากับ NaCl (aq) เข้มข้น และ NH3 (g) ได้ NaHCO3 (s) และ NH4Cl (aq) CO2 (g) + NaCl (aq) + NH3 (g) NaHCO3 (s) + NH4Cl (aq) (ปุ๋ยไนโตรเจน)  ผลิตภัณฑ์ทีÉเกิดขึÊนแล้วนำกลับมาใช้ได้อีก : 1) CO2 (g) จากการเผา NaHCO3 (s) CaO (s) จากการเผา CaCO3 (s) และเมÉือ Ca(OH)Ś (aq) ทำปฏิกิริยากับ NH4Cl (aq) จะได้ NH3 (g) กลับมาใช้ในขัÊนตอนทÉี Ś อีกครัÊง และเกิด CaCl2(s) นำไปใช้เป็นใช้เป็นสารดูดความชืÊน แต่มีการนำไปใช้น้อย จึงเกิดปัญหาในการกำจัด 2) NaHCO3 (s) ทำผงฟู 3) NH4Cl (aq) ทำปุ๋ยเคมี  บางประเทศทีÉผลิต NaOH ได้มากเกินต้องการ อาจผลิตโซดาแอช โดยผ่าน CO2 (g) ลงใน NaOH (aq) โดยตรง ได้ NaHCO3 (s) เมืÉอเผาแล้วจะได้โซดาแอช  นอกจากการผลิตด้วยกระบวนการโซลเวย์ ยังได้จากแร่โซดาแอชในธรรมชาติ พบมากใน สหรัฐอเมริกา แคนาดา บราซิล อินเดีย รัสเซีย จีน นำ CaCO3 (s) ไปเผา ได้ CaO (s) และ CO2 (g) ดังสมการ CaCO3 (s) CaO (s) + CO2 (g) กรองแยก NaHCO3 (s) ออก แล้วนำไปเผา ได้ Na2CO3 (s) หรือโซดาแอช ดังสมการ Na2HCO3 (s) Na2CO3 (s) + H2O (l) + CO2 (g) เมÉือนำมาละลายนÊำ จะได้ Ca(OH)Ś (aq) โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 20
  • 21. การผลิตสารฟอกขาว โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 21  สารฟอกขาวเป็นสารประกอบประเภทไฮโปคลอไรต์ ใช้ในอุตสาหกรรมการฟอกย้อมเส้นด้าย เยอÉืกระดาษ และใช้เป็น สารฆ่าเชืÊอโรคในนÊำ  การผลิตสารฟอกขาวมีวิธีการดังนีÊ 1) การเตรียมแก๊สคลอรีน (Cl2) 2KMnO4 (s) + 16HCl (aq) 2KCl(aq) + 2MnCl2(aq) + 8H2O(l) + 5Cl2(g) 2) การผลิตสารฟอกขาว (NaOCl) 2NaOH (aq) + Cl2 (g) NaOCl (aq) + NaCl (aq) + H2O(l) หรือ Na2CO3(aq)(โซดาแอช) + Cl2(g) NaOCl(aq) + NaCl(aq) + CO2(g)  เมÉือหยดสารละลายในหลอดทดลองบนกระดาษลิตมัสทัÊงสีแดงและสีนÊำเงิน พบว่ากระดาษลิตมัสทัÊง Ś สีเปลÉียนเป็นสีขาว แสดงว่า สารละลาย NaOCl มีสมบัติในการฟอกจางสี สารนีÊมีคุณสมบัติในการกัดกร่อนสูง ถ้าใช้ปริมาณมากอาจกัด กร่อนสิÉงทÉีต้องการฟอกเสียหายได้  2Ca(OH)2 (aq) + Cl2(g) Ca(OCl)2 (s) + CaCl2(aq) + H2O(l) Ca(OCl)2 (s) มีสมบัติในการฟอกจางสีเช่นเดียวกับ NaOCl (aq) 10.4 อุตสาหกรรมปุ๋ย  การนำปุ๋ยมาใช้ในการเกษตรเป็นวิธีหนึÉงทÉีช่วยเพิÉมผลผลิตทางการเกษตรให้สูงขึÊน ซึÉงเป็นสิÉงจำเป็นต่อการพัฒนาประเทศ  ปุ๋ย หมายถึง สารทÉีใส่ลงในดินเพÉือให้ปลดปล่อยธาตุอาหารแก่พืช โดยเฉพาะธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และ โพแทสเซียม มี Ś ประเภทคือ 1) ปุ๋ยอินทรีย์  เป็นปุ๋ยธรรมชาติทÉีได้จากการเน่าเปÉือยผุพังของซากสิÉงมีชีวิต ได้แก่ ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืชสด ปุ๋ยอินทรีย์ ชีวภาพ และวัสดุเหลือใช้จากโรงงานอุตสาหกรรมบางชนิด  เมืÉอใส่ในดินซากสิÉงมีชีวิตจะค่อย ๆ สลายตัว และปล่อยธาตุอาหารออกมาให้พืช  แต่มีข้อเสียคือ มีธาตุอาหารน้อย รวมทัÊงมีปริมาณและสัดส่วนธาตุอาหารไม่แน่นอน 2) ปุ๋ยอนินทรีย์ หรือปุ๋ยเคมี หรือปุ๋ยวิทยาศาสตร์  เป็นปุ๋ยทÉีได้จากการผลิต หรือสังเคราะห์จากแร่ธาตุต่างๆ หรือเป็นผลพลอยได้จากโรงงานอุตสาหกรรมบางชนิด  ซึÉงจะมีธาตุอาหารหลักทÉีจำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช ได้แก่ ธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม สามารถปลดปล่อยให้แก่พืชได้ง่ายและเร็ว มี Ś ประเภทคือ 2.1 ปุ๋ยเดÉียวหรือแม่ปุ๋ย เป็นสารประกอบทÉีมีธาตุอาหารของพืชอยู่หนึÉงหรือสองธาตุ และมีปริมาณธาตุอาหารคงทÉี เช่น ปุ๋ยยูเรีย และปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต 2.2 ปุ๋ยผสม เป็นปุ๋ยทÉีได้จากการนำปุ๋ยเดÉียวแต่ละชนิดมาผสมกันเพÉือให้ได้สัดส่วนของธาตุอาหาร N P และ K ตามต้องการ เช่น ปุ๋ยสูตร řŘ : řŝ : ŚŘ ประกอบด้วย N řŘ ส่วน P řŝ ส่วน K ŚŘ ส่วน และมีตัวเติมอีก ŝŝ ส่วน ให้ครบ řŘŘ ส่วน (สูตรปุ๋ย จะเป็น N : P : K)  นอกจากนีÊ ปุ๋ยวิทยาศาสตร์บางชนิดอาจมีธาตุอาหารของพืชทÉีมีความสำคัญในลำดับรอง ซึÉงพืชต้องการในปริมาณ น้อย ได้แก่ ธาตุแคลเซียม กำมะถัน แมกนีเซียม เหล็ก สังกะสี แมงกานีส และทองแดง ผสมอยดู่้วย