SlideShare a Scribd company logo
1 of 106
Download to read offline
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่
เรื่องยาที่มีความเสี่ยงสูง กลุ่ม Cardiac Drug
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ
ผศ.นฤมล กิจจานนท์
ผู้รับผิดชอบ ณัฐมณี สมปิยโชค
กฤษณา พงษ์รัตน์
วิไลรักษ์ โรจนศักดิ์โสธร
จันทร์จิรา หลุดกระโทก
รัตนพรรณ คล้ายเข็ม
ขวัญฤทัย ต้นอินทร์
ระยะเวลาดาเนินโครงการ
4 สัปดาห์ (1 กรกฎาคม – 30 กรกฎาคม 2556 )
ความเป็นมา
ความคลาดเคลื่อนทางยา เป็นเหตุการณ์ที่สามารถป้องกัน
ได้ ซึ่งอาจจะเป็นสาเหตุหรือนาไปสู่การใช้ยาที่ไม่เหมาะสม หรือ
เกิดอันตรายแก่ผู้ป่วย ในขณะที่ยานั้นอยู่ในความรับผิดชอบของผู้
ให้บริการ ซึ่งอาจมีสาเหตุจากขาดความรู้ความรู้ในการให้ยา (หรือ
การบริหารยา) ซึ่งในปัจจุบัน หอผู้ป่วย ไอซียู มีการใช้ยาจานวนมาก
หลากหลายกลุ่ม ซึ่งส่วนใหญ่มักจะเป็นยาที่มีความเสี่ยงสูง (High
Alert Drug) หากบริหารยาคลาดเคลื่อน อาจเกิดอันตรายถึงแก่ชีวิต
ได้
The National Co-ordinating Council for Medication Error
Reporting and Prevention, USA
ให้ความหมายของ “ความคลาดเคลื่อนทางด้านยา”
คือ เหตุการณ์ใดๆที่สามารถป้องกันได้ ที่อาจเป็นสาเหตุ
หรือนา ไปสู่การใช้ยาที่ไม่เหมาะสมหรืออาจเป็นอันตราย
แก่ผู้ป่วย
อุบัติการณ์
จากการศึกษา และทบทวนอุบัติการณ์ในโรงพยาบาล A
พบว่า ความคลาดเคลื่อนทางยาส่วนใหญ่ที่พบบ่อย มักเกิดในกลุ่ม
ของพยาบาล ที่มีประสบการณ์ในการทางาน < 2 ปี (ดังแสดงใน
รูปภาพที่ 1) จากการนาเหตุการณ์มาวิเคราะห์หา root cause
analysis พบว่า เกิดจากพยาบาลขาดความรู้และเมื่อเกิดเหตุการณ์
ขึ้นมักจะสร้างแรงกดดันให้แก่พยาบาลผู้ปฏิบัติงาน ทาให้เกิด
ความเครียดและความเบื่อหน่ายในการทางาน
50%
34%
8%
8%
1-2
ปึ
2-3
ปี
3-4
ปี
> 4
ปี
รูปภาพที่ 1 แสดงการเกิดอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนทางยาเมื่อ
แยกตามประสบการณ์ทางานของพยาบาลโรงพยาบาล A ในปี 2555
ทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
J Nurs Manag และ Saintsing D ได้ทาการศึกษาเกี่ยวกับ
ข้อผิดพลาดของพยาบาลในระดับ Novice เมื่อต้องเผชิญกับการตัดสินใจ
ทางคลินิกในปีแรก ๆ ของอาชีพพยาบาล ตีพิมพ์ใน Remington College
of Nursing, Orlando, FL, USA 2011 Apr;19(3):354-9.
พบว่า การศึกษาล่าสุดระบุความจาเป็นของโรงเรียนพยาบาล
ในการผลิตผู้สาเร็จการศึกษาใหม่ 30,000 คน ในแต่ละปีเพื่อให้
ทันกับการขาดแคลนพยาบาล พยาบาล Novice อาจมีความเสี่ยง
ต่อข้อผิดพลาดในการทางานมากกว่าพยาบาลที่มีประสบการณ์
โดยข้อผิดพลาดที่พบบ่อย คือ ข้อผิดพลาดในการบริหารยา
Eric Camiré, MD, Eric Moyen, MD, Henry Thomas
Stelfox, MD PhD ได้ทาการศึกษาเกี่ยวกับความเคลื่อนทางยา และ
ตีพิมพ์ในวารสาร CMAJ April 28, 2009 vol. 180 no. 9 พบว่า
ร้อยละ 35 เป็นยากลุ่ม Cardiovascular
ร้อยละ 25 เป็นยากลุ่ม Sedative และ Analgesic
ร้อยละ 23 เป็นยากลุ่ม Anticoagulant
ร้อยละ 17 เป็นยากลุ่ม Anti-infective
รูปภาพที่ 2 แสดงการเกิดอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนทางยาเมื่อแยกตามกลุ่มยา
ของ Eric Camiré, Eric Moyen, Henry Thomas Stelfox, MD PhD
35%
25%
17%
23%
cardiovascular
sedative
anti-infective
anticoagulant
Joint Commission on Accreditation of Health Care
Organization (JCAHO)
กาหนดให้มีการหาสาเหตุที่แท้จริง (Root Cause Analysis, RCA) ของ
ความคลาดเคลื่อนทางยาด้วย ซึ่งอาจแบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้แก่
ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยาและการคัดลอกคาสั่งใช้ยา
(Prescribing and TranscribingError) ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา
(Dispensing Error) และความคลาดเคลื่อนในการให้ยา (Administration
Error)ซึ่งเป็นการแบ่งตามวิชาชีพที่รับผิดชอบในแต่ละส่วนของ
กระบวนการใช้ยา
การจัดแบ่งประเภทของความคลาดเคลื่อน
ทางยา National Co-ordinating Council of
Medication Error Reporting and Prevention (NCC
MERP)
ได้จัดแบ่งประเภทของความคลาดเคลื่อน โดยยึดที่ตัวผู้ป่วย
เป็นสาคัญ ซึ่งสมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล(ประเทศไทย) ก็
ได้นาการแบ่งประเภทตามระบบนี้มาใช้ในโรงพยาบาลที่เป็น
สมาชิกของสมาคมด้วย ได้แก่
กรณีไม่มีความคลาดเคลื่อน :
Category A หมายถึง ไม่มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้นเกิด แต่มีเหตุการณ์ซึ่งมีโอกาสที่ก่อให้เกิดความคลาดเคลื่อน
กรณีมีความคลาดเคลื่อน แต่ไม่เป็นอันตราย :
Category B หมายถึง มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้น แต่ไม่เป็นอันตรายต่อผู้ป่วยเนื่องจากความคลาดเคลื่อนไม่ไปถึง
ตัวผู้ป่วย
Category C หมายถึง มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้น แต่ไม่เป็นอันตรายต่อผู้ป่วย ถึงแม้ว่าความคลาดเคลื่อน นั้นจะ
ไปถึงตัวผู้ป่วยแล้ว
Category D หมายถึง มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้น แต่ไม่เป็นอันตรายต่อผู้ป่วยกับผู้ป่วย แต่ยังจาเป็นต้องมีการ
ติดตามผู้ป่วยเพิ่มเติม
กรณีมีความคลาดเคลื่อน และเป็นอันตราย :
Category E หมายถึง มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้น และส่งผลให้เกิดอันตรายต่อผู้ป่วยชั่วคราวรวมถึงจาเป็นต้องได้รับ
การรักษาหรือแก้ไขเพิ่มเติม
Category F หมายถึง มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้น และเป็นอันตรายต่อผู้ป่วยชั่วคราว รวมถึงจาเป็นต้องได้รับการ
รักษาในโรงพยาบาลหรือยืดเวลาในการรักษาในโรงพยาบาลนานขึ้น
Category G หมายถึง เกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วยส่งผลให้เกิดอันตรายถาวรแก่ผู้ป่วย
Category H หมายถึง เกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วย และเป็นอันตรายต่อผู้ป่วยจนเกือบ
ถึงแก่ชีวิต :
Category I หมายถึง เกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วยและเป็นสาเหตุของการเสียชีวิต
รูปภาพที่ 3 แสดงการเกิดอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนทางยา
เมื่อแยกตามประเภทของความคลาดเคลื่อน โรงพยาบาล A
คาจากัดความ
ยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
คือ กลุ่มยาที่มี โอกาสเสี่ยงสูง ที่จะเกิดอันตรายแก่ผู้ป่วย
เพราะมีดัชนีการรักษาแคบหรือมีผลข้างเคียงร้ายแรงต่ออวัยวะ
สาคัญ เช่น สมอง หัวใจ ไต ฯลฯ
พยาบาลใหม่ ( Novice nurse )
คือ พยาบาลที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรีที่เข้าปฏิบัติงาน
ตาแหน่งพยาบาลวิชาชีพ ที่มีประสบการณ์ ในการทางาน < 2 ปี
(อ้างใน สุดจิต ไตรประคอง, ชุลีกร แสนสบาย, อุราสงขลานครินทร์
เวชสาร.ผลของระบบพยาบาลพี่เลี้ยงต่อการปฏิบัติบทบาท และ
ความพึงพอใจ. สงขลานครินทร์เวชสาร;2551.)
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ผู้ป่วยปลอดภัยจากการได้รับยาที่มีความเสี่ยงสูงในกลุ่ม
Cardiac Drug
2. เพื่อเป็นการพัฒนาความรู้ ในการบริหารยาที่มีความเสี่ยงสูงในกลุ่ม
Cardiac Drug ให้กับกลุ่มพยาบาลที่มีประสบการณ์ ในการทางาน < 2 ปี
เป้าหมายและตัวชี้วัด
1. พยาบาลที่มีประสบการณ์ในการทางาน < 2 ปี ทุกคน สามารถทา
แบบทดสอบ post test ได้คะแนน > 80%
2.เพื่อให้ผู้ป่วยปลอดภัยจากการได้รับยาที่มีความเสี่ยงสูงในกลุ่ม
Cardiac Drug และอุบัติการณ์การเกิดความคลาดเคลื่อนทางยา
เท่ากับศูนย์
ขอบเขตการดาเนินงาน
◦ เก็บข้อมูลพยาบาลที่มีประสบการณ์ในการทางาน < 2 ปี
และปฏิบัติงานบนหอผู้ป่วยไอซียู จานวน 20 คน ใน
โรงพยาบาลเอกชน 5 แห่ง
วิธีดาเนินโครงการ
1. ประชุมกลุ่ม เลือกหัวข้อโครงการ จากการทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยที่
เกี่ยวข้อง วิเคราะห์อุบัติการณ์ และหาสาเหตุ
2. นาเสนอโครงการกับอาจารย์ที่ปรึกษา
3. รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลยา กลุ่มที่มีความสูงในกลุ่ม Cardiac drug ซึ่ง
รวบรวมทั้งหมด 10 ตัว ได้แก่
Adrenaline , Atropine, Dobutrex , Dopamin , Levophed , NTG
Adenosine , Cordarone , Digoxin และ KCL (ยาในกลุ่ม electrolyte)
อ้างอิงจากสมาคมโรคหัวใจ, โรงพยาบาลศิริราช, โรงพยาบาลมหาราชนคร
เชียงใหม่ โรงพยาบาลขอนแก่นและโรงพยาบาลน่าน
วิธีดาเนินโครงการ ( ต่อ )
4. ออกแบบสื่อการสอน โดยการนาความรู้เกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูงกลุ่ม
Cardiac drug จัดทา PowerPoint ลงเนื้อหาข้อมูลใน Computer ประจาหอ
ผู้ป่วย ไอซียู
5. ออกแบบและจัดทาแบบทดสอบ Pre-Post test จานวน 20 ข้อโดยออกแบบ
ข้อสอบอ้างอิงจากข้อมูลยา
6. จัดกลุ่มการเรียนการสอนพยาบาลที่มีประสบการณ์ ในการทางาน < 2 ปี
แต่ละโรงพยาบาล รวม 20 คน เวลาในการสอน 1 ชั่วโมง
7. ประเมินผลการสอน โดยให้ทาแบบทดสอบความรู้ก่อน-หลังเรียน
8. นาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์แปลผลการดาเนินงาน
9. สรุปผลการดาเนินงาน
10.นาเสนอโครงการ
กิจกรรมและแผนดาเนินงาน
หัวข้อการดาเนินงาน
ระยะเวลาดาเนินงาน
กรกฎาคม 2556 สิงหาคม 2556
1 ก.ค.
-8 ก.ค.
9 ก.ค.
-16 ก.ค.
17ก.ค.
-24ก.ค.
25 ก.ค.
-31 ก.ค.
1 ส.ค.
-7 ส.ค.
8 ส.ค.
-14 ส.ค.
15 ส.ค.
-21ส.ค.
22 ส.ค.
-28 ส.ค. ก.ย.
1. ทบทวน วิเคราะห์อุบัติการณ์ และหา
สาเหตุ ความคลาดเคลื่อนทางยา
2. ทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัย
ที่เกี่ยวข้อง
3. รวบรวมและวิเคราะข้อมูลยาที่จะ
ทาการศึกษา
4. จัดทาสื่อการสอน PowerPoint
5. จัดทาแบบทดสอบ Pre-Post test
6. กาหนดระยะเวลาในการดาเนินการสอน
7. สรุปผลการดาเนินโครงการ
8. นาเสนอโครงการ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
 พยาบาลที่มีประสบการณ์ ในการทางาน < 2 ปี มีความรู้ใน
การบริหารยาที่มีความเสี่ยงสูงในกลุ่ม Cardiac Drug
 เพื่อให้ผู้ป่วยปลอดภัยจากการได้รับยาที่มีความเสี่ยงสูงในกลุ่ม
Cardiac Drug
แนวทางบริหารยา HAD กลุ่ม Cardiac Drug
 Adrenaline
 Atropine
 Dobutrex
 Dopamin
 Levophed
 NTG
 Adenosine
 Cordarone
 Digoxin
 KCL (ยาในกลุ่ม electrolyte)
Adrenaline
รูปแบบของยา
Adrenaline injection 1 mg/mL หรือ 1:1000 (1 mL)
ชื่อยา
ระยะเวลาที่ยาเริ่ม
ออกฤทธ์ (onset)
ระยะเวลาที่ยา
ออกฤทธิ์สูงสุด (peak)
ระยะเวลาที่ยา
ออกฤทธิ์(duration)
Adrenaline
injection
1 mg/mL หรือ
1:1000 (1 mL)
SC: 3-10 นาที
IM: 3-10 นาที
IV: ทันที
SC: 20 นาที
IM: 20 นาที
IV: 2-5 นาที
SC: 20-30 นาที
IM: 20-30 นาที
IV: 5-10 นาที
ข้อบ่งใช้ (Indication)
1. Cardiopulmonary resuscitation (CPR)
2. Anaphylaxis
3. Hypotension
Adrenaline
ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง
• ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูง
• ระมัดระวังการใช้ในผู้ป่วยที่มีโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ โรคของหลอดเลือด
ส่วนปลาย (peripheral vascular disease)
อาการไม่พึงประสงค์ที่สาคัญ
• หัวใจเต้นเร็ว หัวใจเต้นผิดจังหวะ
• ความดันโลหิตสูง
• ปลายมือ ปลายเท้าเขียว
• หากมีการรั่วออกนอกหลอดเลือด อาจทาให้เกิดเนื้อเยื่อตายได้
Adrenaline
การจัดเก็บที่เหมาะสม
• เก็บแยกยาไว้ในที่เข้าถึงได้ยาก
• ทาสัญลักษณ์เตือนให้ระวัง
• Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา
• ความคงตัว ยานี้เมื่อผสมในสารละลายใดๆ จะคงตัวได้ 24 ชั่วโมง ทั้งที่
อุณหภูมิห้องหรือ ในตู้เย็น
• การเก็บยา เก็บแบบป้องกันแสงและอากาศที่อุณหภูมิ ไม่เกิน 25 OC
ห้ามเก็บในช่อง แช่แข็ง ไม่ และไม่ ควรใช้ยานี้ในกรณีที่ยาเปลี่ยนสีหรือ
ตกตะกอน
Adrenaline
 ขนาดและวิธีการบริหารยาทั่วไป
Adrenaline
การผสมและความคงตัวของยา
การเตรียมยา รวมถึงการผสมยา
• Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา
• สารน้าที่ใช้ได้ : D5W, D5S, NSS, LRS
• ความคงตัวหลังผสม : 24 ชั่วโมง
การบริหารยา
• Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา
• ถ้าให้ IV drip ควรใช้ Infusion pump
• ควรให้ทางเส้นเลือดใหญ่
Adrenaline
การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring)
• ในกรณี CPR ให้บันทึกVital signs ( Heart rate, BP) ทันที เมื่อผู้ป่วยเริ่มมีชีพจร
• ในกรณี Anaphylaxis ให้บันทึกVital signs ( Heart rate, BP) ทุก 10 นาที จนครบ
30 นาที
• ในกรณี Hypotension ที่มีการให้ยาแบบ IV drip ให้บันทึกVital signs ( Heart rate,
BP) ทุก ชั่วโมง ตลอดระยะเวลาที่มีการให้ยา
• หากพบว่ามี BP>160/90 mmHg หรือ HR > 120 ครั้ง/นาทีในผู้ใหญ่ และ BP >
120/80 mmHg หรือ HR > 180 ครั้ง/นาที ในเด็ก ให้แจ้งแพทย์ทันที
• ตรวจดูตาแหน่ง IV site ทุก 1 ชั่วโมง ตลอดระยะเวลาที่มีการให้ยา
Adrenaline
ข้อปฏิบัติทางการพยาบาล
• การบริหารยาแบบ intravenous infusion ต้องบริหารผ่านหลอดเลือดดาใหญ่โดยใช้
infusion pump
• หลีกเลี่ยงการฉีดยาเข้าหลอดเลือดแดงโดยตรงและการฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อบริเวณสะโพก
เนื่องจาก อาจทาให้หลอดเลือดตีบจนกล้ามเนื้อตายได้
• เริ่มให้ยาช้าๆ และปรับเพิ่มตามความจาเป็น โดยต้องติดตามการตอบสนองของผู้ป่วย เช่น
ระดับ ความดันเลือดและ cardiovascular parameter อื่นๆ การหยุดยาต้องค่อยๆ
ปรับ ลดลง การหยุดยา แบบทันทีทันใดอาจทาให้เกิด rebound hypotension
• เฝ้าดูอัตราการไหลของน้ายา และระวังอย่าให้น้ายารั่วจากหลอดเลือด อาจทาให้เกิด tissue
necrosis
การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์ หรือ ความคลาดเคลื่อนทางยา
• หากพบว่ามี BP>160/90 mmHg หรือ HR > 120 ครั้ง/นาทีในผู้ใหญ่ และ
BP >120/80 mmHg หรือ HR > 180 ครั้ง/นาที ในเด็ก ให้พิจารณาหยุดยาหรือ
ปรับลดขนาดยาลง
• หากพบรอยแดง บวม รอยคล้าตามเส้นเลือด บริเวณ IV site ให้เปลี่ยนตาแหน่งในการให้ยา
ใหม่
Atropine Sulphate injection
รูปแบบของยา
Atropine sulphate 0.6 mg/ml (1 ml/ampule)
ข้อบ่งใช้
ต้านพิษของสารฆ่าแมลงกลุ่ม organophosphates และ carbamates ที่เกิดจากการ
กระตุ้น muscarinic receptorต้านฤทธิ์ยาที่ทาให้การเต้นของหัวใจช้าลง ได้แก่ digitalis
หรือ beta blockers ต้านฤทธิ์สารที่เป็น cholinergic เช่น เห็ดบางชนิด
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
เป็นยาต้านฤทธิ์การทางานของระบบประสาท parasympathetic โดยเป็น competitive
inhibitor ของ acetylcholine มีผลยับยั้งฤทธิ์ของ acetylcholine ที่ muscarinic
receptor ลดการหลั่ง น้าลาย น้าเมือก สารคัดหลั่งในหลอดลม ต้านการหดเกร็งของหลอดลม ลด
การเคลื่อนไหวของลาไส้
Atropine Sulphate injection
ขนาดและวิธีใช้
กรณีภาวะเป็นพิษจากสารยาฆ่าแมลงกลุ่ม organophosphates และ carbamates
ผู้ใหญ่ 1-5 mg ทางเส้นเลือดดา เด็ก 0.05 mg/kg ทางเส้นเลือดดา ให้ซ้าทุก 5 ถึง 10
นาที จนเห็นฤทธิ์ atropine ชัดเจน ได้แก่ ปากแห้ง คอแห้ง หัวใจเต้นเร็ว ในรายที่ภาวะเป็นพิษ
รุนแรงอาจต้องใช้ atropine จานวนหลายกรัมในการแก้พิษ
กรณีหัวใจเต้นช้าจากยาประเภทอื่น ผู้ใหญ่ 0.5-1 mg ทางเส้นเลือดดา เด็ก 0.01-0.05
mg/kg โดย ไม่เกิน 0.5 mg ทาง เส้นเลือดดา ให้ซ้าได้ตามความจาเป็น การให้เกิน 3 mg
ถ้ายังไม่เห็นผลจากการรักษาควรหยุดให้ ยกเว้นในกรณีหัวใจเต้นช้าจากยา
organophosphates สามารถให้ในขนาดสูงกว่านี้
แนวทางการบริหารยา
- ให้ 1 mg ฉีดเข้าทางเส้นเลือดดาช้าๆ และให้ซ้าได้ 3-5 นาที หากยังไม่
ตอบสนอง แต่ไม่เกิน 3 mg
- กรณีหัวใจเต้นช้า อาจให้ขนาด 0.5-1 mg ซ้าได้ทุก 3-5 นาที ขนาดโดยรวมไม่
เกิน 3 mg หรือ 0.04mg/kg
Atropine Sulphate injection
ข้อห้ามใช้
 ต้อหิน เนื่องจาก atropine จะเพิ่มความดันในลูกตา
 ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทาให้หัวใจเต้นเร็ว และมีภาวะหัวใจล้มเหลว
 มีการอุดกั้นในทางเดินปัสสาวะจากการเกร็งตัวของ urinary sphincter
อาการไม่พึงประสงค์
 ปากแห้ง ตาพร่า รูม่านตาขยาย เพิ่มความดันในลูกตา ปัสสาวะไม่ออก ท้องผูก ทาให้
angina pectoris เลวลง
 ในผู้ใหญ่ที่ได้รับ atropine น้อยกว่า 0.5 mg ทางเส้นเลือดดาอย่างช้าๆ อาจทา
ให้หัวใจเต้นช้า
Atropine Sulphate injection
ข้อบ่งใช้ / ขนาดยา/วิธีใช้
For child : IV push : 0.02 mg/kg หรือ minimum dose 0.1 mg , maximum dose
0.5 mg
ET tube : 0.03 mg/kg หรือ 2-3 mg ผสมใน NSS 10 ml
ข้อห้ามใช้ : myasthenia gravis , narrow –angle glaucoma
อาการไม่พึงประสงค์ที่สาคัญ : ปากแห้ง ตาพร่า รูม่านตาขยายและการปรับภาพเสีย ปัสสาวะคั่ง ชีพจรเต้นเร็ว
การเตรียมยา
 สารที่ใช้เจือจาง : ไม่ต้องเจือจาง
 ห้ามผสมกับ : Adrenaline ,Ampicillin, Chloramphenicol, Heparin,Warfarin
 การบริหารยา : IV push ; อัตราการฉีดยา 0.6 mg ใน 1 นาที
การติดตามผล
 Monitor : ทุก 5 นาทีจนควบคุมอาการทางคลินิกได้ โดยติดตาม Heart rate , BP,
Mental status
 Critical point (ให้รายงานแพทย์) : Heart rate > 60/ min ในกรณีข้อบ่งใช้ bradycardia ,
asystolic Heart rate > 120/ min ในกรณีข้อบ่งใช้ Antidote
Dobutamine
ชื่อยา
ระยะเวลาที่ยาเริ่ม
ออกฤทธ์ (onset)
ระยะเวลาที่ยา
ออกฤทธิ์สูงสุด
(peak)
ระยะเวลาที่ยา
ออกฤทธิ์
(duration)
Dobutamine injection
250 mg/20 mL (12.5
mg/mL)
1-2 นาที 10-20 นาที ไม่ระบุ
รูปแบบของยา
Dobutamine injection 250 mg/20 mL (12.5 mg/mL)
ข้อบ่งใช้ (Indication)
• เพิ่มการบีบตัวของหัวใจ ในผู้ป่วยที่มีการบีบตัวของหัวใจไม่ดี
ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง
• ถ้าผู้ป่วยเกิดภาวะ hypovolemia ต้องแก้ไขให้เป็นปกติก่อนเริ่มให้ยา
• ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่เป็น idiopathic hypertrophic subaortic stenosis
• ระมัดระวังการใช้ในผู้ป่วยที่มีภาวะ myocardial infarction, severe
coronary artery disease, cardiac arrhythmia
Dobutamine
อาการไม่พึงประสงค์ที่สาคัญ
• หัวใจเต้นผิดจังหวะ
• เจ็บแน่นหน้าอก
• คลื่นไส้ อาเจียน
• อาการแพ้ยา เช่นผื่น หอบเหนื่อย หายใจลาบาก
• หากมีการรั่วออกนอกหลอดเลือด อาจทาให้เกิดเนื้อเยื่อตายได้
การจัดเก็บที่เหมาะสม
• เก็บแยกยาไว้ในที่เข้าถึงได้ยาก
• ทาสัญลักษณ์เตือนให้ระวัง
• Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา
• ระวังสับสนกับ Dopamine
Dobutamine
การสั่งใช้ยา รวมถึงขนาดยาที่ใช้บ่อยในแต่ละข้อบ่งใช้
• Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา
• ระวังสับสนกับ DoPAmine
• ห้ามใช้คาย่อในการเขียนชื่อยา
• การสั่งยาแบบ Dilution ให้ระบุความเข้มข้นเป็น mg/mL เช่น 2
mg/mL ไม่ควรเขียน 2 :1
• ขนาดยาเพื่อให้ cardiac output เพิ่มขึ้นตามต้องการจะอยู่ในช่วง
2.5 ถึง 20 ไมโครกรัม/ กิโลกรัม /นาที
• ขนาดยาสูงสุด (MAX dose ) 40 ไมโครกรัม/กิโลกรัม /นาที IV
Dobutamine
การเตรียมยา รวมถึงการผสมยา
• Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา
• ระวังสับสนกับ Dopamine
• ต้องเจือจางยาฉีดในสารน้าที่เข้ากันได้ ได้แก่ D5W , D5S/2 , D5S, D10W, NSS , LRS
• ความเข้มข้นสูงสุด (Maximum concentration) : 5mg/1mL
• ห้ามเติมยาฉีด Dobutamine ลงในยาฉีด Sodium bicarbonate หรือสารละลายอื่นๆที่มี
ความ เป็นด่างสูง เนื่องจากอาจเกิดการไม่เข้ากันของสารละลาย
• ไม่ควรให้ Dobutamineร่วมกับสารละลายที่มีส่วนประกอบของ sodium bisulfite หรือ
ethanol
• ความคงตัวหลังผสม : เมื่อผสมสารน้าแล้วต้องใช้ภายใน 24 ชั่วโมง สารละลายอาจเปลี่ยนเป็นสี
ชมพูซึ่ง เกิดจากการ oxidation ของยาแต่จะไม่ทาให้สูญเสียความแรงของยา
การบริหารยา
• Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา
• ระวังสับสนกับ Dopamine
• ควรใช้ Infusion pump
Dobutamine
การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring)
• บันทึก BP, HR ทุก 1 ชั่วโมงขณะให้ยา
• หากพบว่ามี BP>160/90 mmHg หรือ HR > 120 ครั้ง/นาทีใน
ผู้ใหญ่ และ BP > 120/80 mmHg หรือ HR > 180 ครั้ง/นาที ใน
เด็ก ให้แจ้งแพทย์ทันที หรือตามแพทย์สั่ง
• ตรวจสอบ infusion pump เสมอ อย่างน้อยทุก 1 ชั่วโมง
• ตรวจดูตาแหน่ง IV site ทุก 1 ชั่วโมง ตลอดระยะเวลาที่มีการให้ยา
การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์หรือ ความคลาดเคลื่อนทางยา
• หากพบว่าผู้ป่วยมี HR หรือ BP มากกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้ ให้พิจารณาหยุด
ยาหรือปรับลด ขนาดยาลง
• หากพบว่าผู้ป่วยมีผื่น หอบเหนื่อย แน่นหน้าอก ให้หยุดยาทันที
• หากพบรอยแดง บวม รอยคล้าตามเส้นเลือด บริเวณ IV site ให้เปลี่ยน
ตาแหน่งในการให้ยาใหม่
Dopamine
ชื่อยา
ภาพยา
ระยะเวลาที่ยาเริ่ม
ออกฤทธ์ (onset)
ระยะเวลาที่ยา
ออกฤทธิ์สูงสุด
(peak)
ระยะเวลาที่ยา
ออกฤทธิ์
(duration)
Dopmin injection
200 mg/ 5mL
(40 mg/mL) 1-2 นาที < 5 นาที < 10 นาที
Inopin
(Dopamine)
injection 250 mg/
10mL (25 mg/mL)
1-2 นาที < 5 นาที < 10 นาที
รูปแบบของยา
1. Dopmin injection 200 mg/ 5mL (40 mg/mL)
2. Inopin (Dopamine) injection 250 mg/ 10mL (25 mg/mL)
Dopamine
ข้อบ่งใช้ (Indication)
1. Low cardiac output
2. Hypotension
3. Poor perfusion of vital organs
อาการไม่พึงประสงค์ที่สาคัญ
• หัวใจเต้นเร็ว หัวใจเต้นผิดจังหวะ
• ความดันโลหิตสูง
• ปลายมือ ปลายเท้าเขียว
• หากมีการรั่วออกนอกหลอดเลือด อาจทาให้เกิดเนื้อเยื่อตายได้
Dopamine
ขนาดและวิธีการบริหารยาโดยทั่วไป
 เด็ก : 1 – 20 mcg/kg/min ขนาดสูงสุด 50 mcg/kg/min
ผู้ใหญ่ : 1 – 5 mcg/kg/min อาจให้ได้ถึง 20 mcg/kg/min (maximum: 50
mcg/kg/min)
ขนาดต่า : 2-5 mcg/kg/min เพิ่ม renal blood flow, urine
output
ขนาดกลาง : 5-15 mcg/kg/min เพิ่ม cardiac output
ขนาดสูง : > 20 mcg/kg/min เพิ่ม total peripheral
resistance, pulmonary pressure ( Maximum
dose : 50 mg/kg/min )
- อาจเพิ่มได้ 1 – 4 mcg/kg/min ในช่วง 10 ถึง 30 นาที จนกระทั่งมีการ
ตอบสนอง
- หากขนาดที่ใช้สูงกว่า 20-30 mcg/kg/min ควรคานึงถึงการใช้ adrenaline หรือ
norepinephrine
- ในกรณีที่ต้องใช้ขนาดยาเกิน 50 mcg/kg/min ต้องตรวจสอบ urine output
บ่อยๆ หาก urine flow ลดลงควรพิจารณาปรับลดขนาดที่ใช้ลง
Dopamine
การผสม ความคงตัวของยา และความเข้ากันได้
• Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา
• ระวังสับสนกับ DoBUtamine
• สารน้าที่เข้ากันได้ ได้แก่ D5W,D5S, NSS, D5S/2
• ห้ามให้ Sodium bicarbonate หรือสารละลายที่เป็นด่างทางสายเดียวกัน เพราะทาให้
Dopamine หมด ฤทธิ์ได้
• ความเข้มข้นสูงสุด (Maximum concentration) : 3.2 mg/mL
• ยาที่ผสมแล้วใช้ได้ภายใน 24 ชั่วโมง แต่ถ้าสารละลายเปลี่ยนสีจากสีเหลืองอ่อนๆเป็นสีเข้มขึ้น
หรือ เปลี่ยนเป็นสีชมพูต้องทิ้งทันที
การบริหารยา
• Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา
• ควรให้ทางเส้นเลือดใหญ่ (central vein) ยกเว้นในผู้ป่วยที่ไม่สามารถให้ทาง central line ได้จึง
ต้องให้ ทาง peripheral line
• ควรใช้ Infusion pump
• อัตราเร็วสูงสุดในการให้ยา (Max rate) 20 mcg/Kg/min IV
• ห้ามหยุดยากระทันหันเพราะความดันจะตกทันที ควรค่อยๆลดขนาดยาลง หรือลด rate of
infusion ก่อนหยุดยา
Dopamine
การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring)
• บันทึก BP, HR ทุก 1 ชั่วโมงขณะให้ยา
• หากพบว่ามี BP>160/90 mmHg หรือ HR > 120 ครั้ง/นาทีในผู้ใหญ่ และ BP >
120/80 mmHg หรือ HR > 180 ครั้ง/นาที ในเด็ก ให้แจ้งแพทย์ทันที หรือตามแพทย์สั่ง
• ตรวจสอบ infusion pump เสมอ อย่างน้อยทุก 1 ชั่วโมง
• ตรวจดูตาแหน่ง IV site ทุก 1 ชั่วโมง ตลอดระยะเวลาที่มีการให้ยา
การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์หรือ ความคลาดเคลื่อนทางยา
• หากพบว่าผู้ป่วยมี HR หรือ BP มากกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้ข้างต้น ให้พิจารณาหยุดยาหรือปรับ
ลดขนาดยาลง
• หากพบว่าผู้ป่วยมีปลายมือ ปลายเท้าเขียว ให้พิจารณาปรับลดขนาดยาลง
• หากพบรอยแดง บวม รอยคล้าตามเส้นเลือด บริเวณ IV site ให้เปลี่ยนตาแหน่งในการให้ยาใหม่
Norepinephrine (Levophed)
ขนาดและวิธีการบริหารยาโดยทั่วไป
การให้ยาแบบ continuous I.V. infusion
เด็ก : ขนาดเริ่มต้น 0.05 – 0.1 mcg/kg/min เพิ่มขนาดจนได้ผลที่ต้องการ; maximum
dose 2 mcg/kg/min
ผู้ใหญ่ : ขนาดเริ่มต้น 0.5 – 1.0 mcg/min เพิ่มขนาดจนได้ผลที่ต้องการ; ขนาดยาที่ใช้ โดยทั่วไปอยู่
ในช่วง 8 – 30 mcg/min
Hypotension, shock and cardiopulmonary resuscitation
ผู้ใหญ่ : ขนาดเริ่มต้น 8 – 12 mcg/min (maximum dose : 30 mcg/min)
เด็ก : ขนาดเริ่มต้น 0.1 mcg/kg/minแล้วค่อยๆ เพิ่มอัตราการหยดยาได้ถึง 2 mcg/kg/min
Upper GI Hemorrhage
8 mg ใน NSS 250 mL ทาง intraperitoneal หรือ 8 mg ใน NSS 100 mL ทาง
nasogastric tube ทุกชั่วโมง เป็นเวลา 6–8 ชั่วโมง จากนั้นให้ทุก 2 ชั่วโมง เป็นเวลา 4–6 ชั่วโมง
รูปแบบของยา
Levophed® injection
Norepinephrine base 1 mg/mL (4 mL)
Norepinephrine (Levophed)
อัตราการให้ยาคานวณจากสูตร
การผสม ความคงตัวของยา และความเข้ากันได้
• เจือจางยาด้วย D5W หรือ D5S ปริมาตร 100 mL ไม่แนะนาให้เจือจางใน
NSS เดี่ยวๆ เพื่อ ป้องกัน การสูญเสียความแรงของยาจากปฏิกิริยา oxidation
• ห้ามให้ในสาย I.V. เดียวกันกับเลือดและพลาสมา หรือสารละลายที่เป็นด่าง เช่น
sodium bicarbonate
• สารละลายที่เจือจางแล้วจะมีความคงตัว 24 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิห้อง โดยเก็บให้พ้น
แสง
• ห้ามใช้สารละลายที่ขุ่นหรือเปลี่ยนเป็นสีชมพู สีเหลืองเข้ม หรือสีน้าตาล
Norepinephrine (Levophed)
ข้อปฏิบัติทางการพยาบาล
1. บริหารยาเข้าทางหลอดเลือดดา โดยใช้ infusion pump เพื่อให้สามารถควบคุม การใช้ยาได้ดี
2. เริ่มให้ยาอย่างช้าๆและปรับเพิ่มตามความจาเป็น โดยต้องติดตามดูการตอบสนองของผู้ป่วย
เช่น ระดับความดันโลหิต และ cardiovascular parameter อื่นๆ การหยุด ยาต้องค่อยๆ
ปรับลดลง ห้าม หยุดยาทันที เพื่อป้องกันภาวะความดันเลือดต่า
3. ควรให้ยาเข้าหลอดเลือดดาใหญ่ตรง antecubital vein ที่ข้อศอกด้านในหรือให้ยาทางหลอด
เลือดดา femoral ที่หน้าขา ไม่ควรให้ยาโดยวิธี catheter tie-in เพราะจะทาให้เกิดยาคั่ง
เฉพาะที่
MONITORING
▪ ระวังการรั่วซึมของยาออกนอกหลอดเลือด เพราะจะทาให้เกิดเนื้อตาย และหากต้องใช้เป็น
เวลานาน ควรเปลี่ยนแปลงบริเวณที่แทงเข็มเข้าหลอดเลือดเป็นระยะ เพื่อลดการเกิดภาวะหลอด
เลือดหดตัวในบริเวณที่แทงเข็ม
▪ ตรวจวัดความดันเลือด และชีพจรทุก 2 นาที เมื่อเริ่มให้ยาและวัดทุก 5 นาทีเมื่อความดันเลือด
อยู่ในระดับคงที่ที่ต้องการ (ประมาณ 80-100 mmHg systolic) หลังจากนั้นวัดทุก 15 นาที
Nitroglycerin injection
รูปแบบของยา
Nitroglycerin inj. 10 mg/10mL
Nitroglycerin inj. 50 mg/10mL
ไนโตรกลีเซอรีนเป็นยาบรรเทาปวดจากอาการเจ็บหน้าอก ที่เกิดจาก กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
(angina) มันออกฤทธิ์ขยายหลอดเลือดทั้งหลอดเลือดที่ถูกลิ่มเลือดอุดกั้นอยู่ และหลอดเลือดแดงและ
หลอดเลือดดาอื่นทั่วร่างกาย ทาให้ลดความดันเลือดได้ และเกิดผลดีต่อระบบไหลเวียนเลือดด้วย
ข้อบ่งใช้
■ ผู้ป่วยที่ไมตอบสนองต่อ sublingual nitroglycerin และ beta blockers
■ ป้องกนการเกิดAngina
■ acute Angina pectoris
■ โรคหัวใจล้มเหลวหรือหัวใจขาดเลือดที่มีcomplication
■ ความดันโลหิตสูงระหว่างการผ่าตัด
■ induction และ maintenance ความดันโลหิตให้ต่าระหว่างการผ่าตัด
Nitroglycerin injection
ข้อห้ามใช้ไนโตรกลีเซอรีน
1. ในผู้ป่วยที่มีความดันซีสโตลิกต่ากว่า 90 mm Hg หรือต่าลงกว่าของเดิมเกิน
30 mmหรือมีชีพจรช้ากว่า 50 ครั้งต่อนาที หรือเร็วกว่า 100 ครั้งต่อนาที
2. ถ้าสงสัยว่าจะมี RV infarction จาก inferior wall MI หากจะให้ไน
โตรกลีเซอรีนต้องทาด้วยความระมัดระวังอย่างยิ่งเพราะผู้ป่วยกลุ่ม นี้ต้องการให้
น้าเกลือปริมาณที่สูงหัวใจจึงจะทางานดี
3. ห้ามให้ไนเตรทในผู้ป่วยที่เพิ่งได้รับการรักษาภาวะอวัยวะเพศชายไม่แข็งตัว ด้วย
ยากลุ่ม phosphodiesterase inhibitor เช่นยา viagra ใน 24
ชั่วโมงที่ผ่านมา หรือนานกว่านั้นหากเป็นยาชนิดออกฤทธิ์นาน
Nitroglycerin injection
ควรให้ไนโตรกลีเซอรีนเข้าทางหลอดเลือดดา ในผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจขาด
เลือดชนิด STEMI และมีภาวะดังต่อไปนี้ร่วมด้วย
- กล้ามเนื้อหัวใจด้านซ้ายล้มเหลว LV failure
- มีอาการเจ็บแน่นหน้าอกต่อเนื่อง
- มีความดันเลือดสูง
- มีภาวะปอดคั่งน้า
- ในผู้ป่วยที่เกิดกล้ามเนื้อขาดเลือดซ้า recurrent ischemia
ควรให้ไนโตรกลีเซอรีน ทันทีใน 24 – 48 ชั่วโมงแรก โดยควรใช้แบบให้ยา
เข้าทางเส้นเลือดเพื่อให้ง่ายต่อการปรับขนาด
Nitroglycerin injection
การผสมยา NTG 1amp มียา 50 mg / 10 cc( 1cc = 5 mg )
NTG 1:1 = NTG 20 cc (100 mg) + 5 DW 100 cc
NTG 1:2 = NTG 10 cc (50 mg) + 5 DW 100 cc
NTG 1:5 = NTG 4 cc (20 mg) + 5 DW 100 cc
NTG 1:10 = NTG 2 cc (10 mg) + 5 DW 100 cc
หรืออาจใช้ Sodium chloride เจือจางได้ และต้องใช้ขวดแก้ว เพื่อหลีกเลี่ยงการดูดซับ
ยาโดยบรรจุภัณฑ์พลาสติก ยาที่ผสมแล้วมีความคงตัว 48 ชั่วโมงที่อุณหภูมิห้อง หรือ 7 วันเมื่อ
เก็บในตู้เย็น
ขนาด: เริ่มที่ขนาด 5 mcg/min โดยให้ผ่านทาง infusion pump สามารถ
เพิ่มได้ทีละ 5 mcg/min ทุก 3 - 5 นาที ถ้าจาเป็น จนถึงขนาด 20
mcg/min ถ้ายังไม่ตอบสนองที่ขนาด 20 mcg/min ให้เพิ่ม เป็นทีละ
10 mcg/min ทุก 3 - 5 นาที จนถึงขนาด 200 mcg/min และการ
ป้องกันการเกิด Methemoglobinemia หรือพิษยานั้น ห้ามให้ยาใน
อัตราเร็วเกิน 40 mcg/min
Nitroglycerin injection
ข้อห้ามใช้ไนโตรกลีเซอรีน
 ในผู้ป่วยที่มีความดันซีสโตลิกต่ากว่า 90 mm Hg หรือต่าลงกว่า
ของเดิมเกิน 30 mm .Hg
 หรือมีชีพจรช้ากว่า 50 ครั้งต่อนาที หรือเร็วกว่า 100 ครั้งต่อนาที
 ถ้าสงสัยว่าจะมี RV infarction จาก inferior wall MI หากจะ
ให้ไนโตรกลีเซอรีนต้องทาด้วยความระมัดระวังอย่างยิ่งเพราะผู้ป่วยกลุ่ม
นี้ต้องการให้น้าเกลือปริมาณที่สูงหัวใจจึงจะทางานดี
Nitroglycerin injection
แนวทางการบริหารยา
1. การให้ยาต้องฉีดแบบ IV Infusion เท่านั้น
2. Dilution ที่ใช้อาจจะเป็น 5% Dextrose Inj. B.P. หรือ 0.9% NSS โดยสารละลายจะต้อง
อยู่ในภาชนะที่เป็นแก้วเท่านั้น เพราะภาชนะที่เป็นพลาสติกจะดูดสารละลายยาเข้าไปได้
3. ไม่ควรให้ยากับผู้ป่วยที่เป็นโรคโลหิตจาง หรือผู้ป่วยบาดเจ็บหรือมีเลือดออกในสมองเพราะยาอาจไปเพิ่ม
ความดันในกระโหลกศีรษะได้,
4. ไม่ควรให้ยากับผู้ป่วยที่เป็นต้อหินเพราะยาอาจไปเพิ่มความดันของลูกตาได้,
5. ไม่ควรให้ยาร่วมกับแอลกอฮอล์เพราะอาจทาให้ความดันโลหิตลดต่าลงได้
บทบาทของพยาบาล
Monitor Blood pressure, Heart rate, PCWP ไม่ควรผสมสารละลายยา
Nitroglycerin Injection กับยาตัวอื่นๆ ต้องระวังกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการของความดันโลหิตต่า เช่นเป็น
ลม วิงเวียน อ่อนเพลีย โดยเฉพาะความดันโลหิตต่าเมื่อเปลี่ยนอิริยาบทอันเนื่องมาจากได้รับยาเกินขนาด ต้อง
consult แพทย์ เพื่อลดขนาดยาลง
Adenosine
เป็น ในการเปลี่ยนแปลง
เป็น (ใช้ใน ที่มี
อาการคงที่ ในกรณี ที่อาการไม่คงที่ให้เตรียมทา
มีครึ่งชีวิตน้อยกว่า 10 วินาที ยามีกลไกในการกระตุ้นการเปิดของ +
และยับยั้ง - 2+ ยา จะไม่ขจัด
อย่างเช่น หรือ
การใช้ยาร่วมกับ เช่น
จะทาให้ยาออกฤทธิ์ได้ลดลง ส่วนการใช้ร่วมกับ
เช่น จะทาให้ยาออกฤทธิ์ได้มากขึ้น
รูปแบบของยา
Adenosine 3 mg / ml , 2 ml vial
(Adenocor® ) [ 6 mg / 2 ml vial ]
Adenosine
คาแนะนาในการฉีด
1. เปิด IV ใกล้ ๆ heart เช่นบริเวณข้อพับแขน
2. เตรียมต่อ 3-way ซึ่งใช้ syringe 20 ml ที่ใส่
saline ไว้คอย flush ตามยาที่ฉีดอย่างรวดเร็ว
3. ติด monitor EKG
4. ยกแขนข้างนั้นขึ้นสูง ฉีดครั้งแรกที่ 6 mg อย่าเร็ว
ในเวลา 1-3วินาที ถ้าไม่ตอบสนอง เพิ่มยา เป็น
12 mg หากไม่ตอบสนองอีกให้ขนาด 12 mg
ซ้าได้อีก 1 ครั้ง
Adenosine
Drug interaction
- ใช้ร่วมกับ theophylline, caffeine จะทาให้ยาออกฤทธิ์ได้ลดลง
- ใช้ร่วมกับ dipyridamole (persantin,posanin) จะทาให้ยา
ออกฤทธิ์ได้มากขึ้น
การพยาบาล :
1. On EKG monitor และติดตามลักษณะการเต้นของหัวใจ ความดันโลหิต
2. ยามีค่าครึ่งชีวิตสั้นมาก ดังนั้นการเตรียมยาควรใช้ความรวดเร็ว
3. สังเกตอาการที่เกิดจากผลข้างเคียงของยา ได้แก่ ปวดศีรษะ มึนงง วิงเวียน
คลื่นไส้อาเจียน ใจสั่น ตามัว หายใจไม่สะดวก ความดันโลหิตต่าเป็นต้น ถ้า
(critical point) BP < 90/60 mmHg ให้รายงานแพทย์
Cordarone injection
รูปแบบของยา
Amiodarone injection 150mg/3ml
ข้อบ่งใช้
Ventricular arrhythmias รักษา life-threatening recurrent
ventricular fibrillation(VF) หรือ hemodynamically unstable
ventricular tachycardia (VT) ที่ไม่ตอบสนองการรักษาด้วยวิธีอื่น
Cordarone injection
การเตรียมยาและความคงตัว :
เจือจางยาในสารละลาย 5% dextrose ขึ้นอยู่กับความ
ต้องการปริมาณยา
การให้ยา :
IV infusion 20 นาที ถึง 2 ชั่วโมง สามารถให้ยาอีก 2-3 ครั้ง ภายใน 24
ชั่วโมง อัตราการให้ยาควรปรับให้เหมาะสมซึ่งขึ้นกับผลการรักษา ผลการรักษาจะเกิดขึ้น
ภายในนาทีแรกๆ และจะค่อยๆลดลง ดังนั้นควรให้ยาอย่างช้าๆ เพื่อครอบคลุมถึงระดับยา
ที่ลดลงด้วย Intravenous injection จะฉีดเข้าเส้นเลือดอย่างช้าๆภายในเวลา
อย่างน้อย 3 นาที ไม่ควรฉีดยาซ้าภายใน 15 นาที หลังการฉีดยาครั้งแรก ห้ามผสมสารอื่น
ในกระบอกฉีดยาอันเดียวกัน
ข้อห้ามใช้:
Hypersensitivity to amiodarone, iodine, severe
sinus-node dysfunction, bradycardia cause syncope
Cordarone injection
Children:
Arrhythmias: Loading dose 5 mg/kg over 30 min, Maintenance dose
2-20 mg/kg/day by continuous infusion
Adult:
BreakthroughVF orVT : 150 mg supplemental doses in 100 ml
D5W over 10 min
PulselessVF orVT : IV push: initial 300 mg in 20-30 ml NSS or D5W,
supplemental dose of 150 mg followed by infusion of 1 mg/min for
6 hr then 0.5 mg/min (Max daily dose 2.1 gm) เมื่อเปลี่ยนจากยา
ฉีดเป็นยากินให้ทาตาม guideline นี้
<1 week IV infusion: 800-1600 mg/day
1-3 week IV infusion: 600-800 mg/day
>3 week IV infusion: 400 mg/day
Cordarone injection
สารน้าที่เข้ากันได้:
ยาผสมได้ใน D5W เท่านั้น การผสมใน NSS อาจตกตะกอน หลังผสมเก็บได้ 5
วันในตู้เย็น และ 24 ชั่วโมงในอุณหภูมิห้อง ห้ามผสมใน สารละลายที่เป็นด่าง เช่น
NaHCO3
การบริหารยา
- กรณีที่ใช้ความเข้มข้นมากกว่า 2 mg/ml ต้องให้ผ่านทาง central venous
catheter กรณีใช้ความเข้มข้นน้อยกว่า 2 mg/ml ให้ใช้ infusion pump
ไม่ว่าจะทาง central line หรือ peripheral line
- ไม่แนะนาให้ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดาโดยตรง เนื่องจากมีความเสี่ยงเกี่ยวกับการ
ไหลเวียนและความดันของโลหิต เช่น ความดันโลหิตต่าอย่างรุนแรง ระบบการ
ไหลเวียนโลหิตล้มเหลว ถ้าเป็นไปได้ควรให้ยาโดย IV infusion อย่างช้าๆ
- การฉีดยาเข้าหลอดเลือดดาโดยตรง ควรกระทาเฉพาะในกรณีฉุกเฉินเท่านั้น และควร
ใช้เฉพาะในหน่วยที่มีการดูแลการทางานของหัวใจเป็นพิเศษ ซึ่งมีการเฝ้าดูแลและ
ตรวจคลื่นหัวใจอย่างต่อเนื่อง
Cordarone injection
อาการไม่พึงประสงค์หรือความเป็นพิษจากการใช้ยา:
- ความดันโลหิตต่า
- ผิวไวต่อแสง ตาไวต่อแสง การมองเห็นผิดปกติ
- หัวใจเต้นผิดจังหวะ, cardiac arrest
- คลื่นไส้ อาเจียน
- Hypo/hyperthyroidism
- เดินเซมึนงงชาบริเวณนิ้วและเท้าแขน/ขาอ่อนแรง
Digoxin injection
ขนาดของยา
Digoxin inj 0.5mg/ 2 ml/ ampule
ชื่อยา
ระยะเวลาที่ยาเริ่ม
ออกฤทธ์ (onset)
ระยะเวลาที่ยา
ออกฤทธิ์สูงสุด
(peak)
ระยะเวลาที่ยา
ออกฤทธิ์(duration)
Lanoxin injection
0.25 mg/mL
(2 mL)
5-30 นาที 1-5 ชั่วโมง 2-4 วัน
ข้อบ่งใช้ (Indication)
1. Congestive Heart Failure
2. Reduce ventricular rate
Digoxin injection
ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง
• ระวังการใช้ในผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตาย
• ระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคไตรุนแรง
• ระวังการใช้ในผู้ป่วยที่มี K+ ต่า (ต่ากว่า 3.5
mEq/L)
อาการไม่พึงประสงค์ที่สาคัญ
• Digitalis Intoxication
• หัวใจเต้นช้า หัวใจเต้นผิดจังหวะ
• คลื่นไส้ อาเจียน
• มองเห็นภาพเป็นสีเหลืองหรือเขียว
Digoxin injection
การบริหารยา
• Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา
• ดูระดับ K+ ก่อนให้ยา Digoxin ถ้า K+ ต่ากว่า 3.5 mEq/L ต้อง
แจ้งแพทย์เพื่อยืนยัน
• ตรวจชีพจรและลงบันทึกก่อนให้ยา ในผู้ใหญ่ถ้าชีพจรต่ากว่า 60 ครั้ง/นาที
ในเด็กชีพจรเต้นช้า ผิดปกติเมื่อเทียบตามอายุ ให้แจ้งแพทย์เพื่อยืนยัน
ก่อนให้ยา
o เด็ก < 1ปี HR ต่ากว่า 100 ครั้ง/นาที
o เด็ก 1-6 ปี HR ต่ากว่า 80 ครั้ง/นาที
o เด็ก > 6 ปี HR ต่ากว่า 60 ครั้ง/นาที
• ชนิดฉีด IV ฉีดช้าๆ เป็นเวลา 5 นาที หรือมากกว่า
Digoxin injection
การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring)
• กรณี Digoxin ฉีด ควรมีการ monitor EKG ขณะฉีดยาและหลังฉีดยา 1
ชั่วโมง กรณี Digoxin ฉีด ให้บันทึก HR ทุก 15 นาที ติดต่อกัน 2 ครั้ง ต่อไปทุก 30
นาที ติดต่อกัน 3 ครั้ง ต่อไปทุก 1 ชั่วโมง จนครบ 5 ชั่วโมง ถ้าผิดปกติให้แจ้งแพทย์
• กรณีที่เป็นผู้ป่วยในให้ซักถามและสังเกตอาการของภาวะ Digitalis
Intoxication ทุกวัน เช่น อาการคลื่นไส้ อาเจียน มองเห็นแสงสีเขียวเหลือง
• ควรตรวจระดับ K+ สัปดาห์ละครั้ง กรณีเป็นผู้ป่วยใน
• ถ้าสงสัยว่าเกิด Digitalis Intoxication ให้ส่งตรวจวัดระดับยาในเลือดทันที
(therapeutic level อยู่ที่ 0.8-2 ng/mL) ถ้าเกิน 2 ng/mL ต้องไม่ให้ยาต่อ
และแจ้งแพทย์ทันที
Digoxin injection
การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์หรือ ความคลาดเคลื่อนทางยา
• เมื่อเกิดภาวะ Digitalis Intoxication ให้ติด monitor
EKG ทันที
• หากได้รับยาโดยการรับประทาน ภายใน 6-8 ชั่วโมง พิจารณาให้
Activated charcoal ขนาด 1 mg/kg เพื่อช่วยดูดซับยา
ที่หลงเหลือในทางเดินอาหาร
Potassium chloride
รูปแบบของยา
(Potassium Chloride injection) 10 ml Contains
KCl 1.5 gm or 20 mEq
ข้อบ่งใช้ (Indication)
ภาวะ Hypokalemia ที่ไม่สามารถให้ K+ ทดแทนโดยการกินได้หรือ ในกรณีที่ K+ ใน
เลือดลดลงอย่างรวดเร็ว ต่ากว่า 2.5 mEq/L และมีความเสี่ยงสูงจากการเต้นของหัวใจอย่างผิดปกติ
(cardiac arrhythmia)
Potassium chloride
ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง
• ห้ามให้ IV push หรือ bolus
• ระมัดระวังในการใช้กับผู้ป่วยที่มีภาวะไตวายหรือมีปัสสาวะออกน้อย
อาการไม่พึงประสงค์ที่สาคัญ
• อาการผู้ป่วยที่มี K+ สูง คลื่นไส้ ใจสั่น หัวใจเต้นช้า กล้ามเนื้ออ่อนแรง อึดอัด แน่น
หน้าอก ชาตามปลายมือปลายเท้า
• หากมีการรั่วออกนอกหลอดเลือด อาจทาให้เกิดเนื้อเยื่อตายได้
การเตรียมยา รวมถึงการผสมยา
• Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา
• ต้องเจือจางกับสารน้าก่อนให้ผู้ป่วยเสมอ (20-40 mEq/L) และควรสั่งสารน้าควบคู่
กันเสมอ
• ต้องเจือจางและพลิกกลับไปมาให้เข้ากันดีกับสารน้าก่อนให้ผู้ป่วยเสมอ ห้ามผสม K+
ลงไปในถุงหรือขวดสารน้าที่กาลังแขวนให้ผู้ป่วยอยู่
Potassium chloride
การบริหารยา
• Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา
• ห้ามให้ IV push หรือ bolus
• ห้ามให้ IV ที่ผสม K+ ในการ loading
• ควรให้ยาผ่าน Infusion pump
peripheral line : Maximum concentration 80 mEq/L ; Max
rate of admin : 10 mEq/hour
central line : Maximum concentration 150 mEq/L และ ในผู้ป่วย
ที่มีการจากัดน้าอย่างมาก (central line) 200 mEq/L ;
Max rate of admin : 40 mEq/hour
Potassium chloride
การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring)
• ถ้าให้ในอัตราเร็ว 10-20 mEq/hr ต้องวัด HR , BP อย่างน้อย ทุก 1 ชั่วโมง พร้อม
ติดตาม EKG
• ถ้าให้ 40-60 mEq/L ในอัตราเร็ว 8-12 ชั่วโมง ให้วัด HR และ BP ทุก 4-6 ชั่วโมง
• หากพบว่าผู้ป่วย BP ไม่อยู่ระหว่าง 160/110 และ 90/60 mmHg หรือ HR ไม่อยู่
ระหว่าง 60-100 ครั้ง/นาที ให้รีบรายงานแพทย์
• มีการตรวจติดตามค่า K+ เป็นระยะ ตามความรุนแรงของผู้ป่วย
• ซักถามและติดตามอาการของ K+ สูง ได้แก่ คลื่นไส้ ใจสั่น หัวใจเต้นช้า กล้ามเนื้ออ่อนแรง
อึดอัด แน่นหน้าอก ชาตามปลายมือปลายเท้าทุกวัน ในช่วงที่ผู้ป่วยได้รับ K+ อยู่
• ตรวจสอบ infusion pump เสมอ อย่างน้อย ทุก 4 ชั่วโมง
Potassium chloride
การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์หรือ ความคลาดเคลื่อนทางยา
• หากพบว่าผู้ป่วยมีอาการของ K+ สูง ได้แก่ คลื่นไส้ ใจสั่น หัวใจเต้นช้า กล้ามเนื้ออ่อนแรง อึดอัด แน่น
หน้าอก ชาตามปลายมือปลายเท้า หรือ HR และ BP ไม่อยู่ในเกณฑ์ข้างต้น ให้หยุดการให้ K+ ไว้
ก่อนและให้ตรวจวัดระดับ K+ในเลือดทันที
• หากพบว่าผู้ป่วยมีค่า K+ สูงมากกว่า 5 mEq/L ให้หยุดการให้ K+ ทันที ทาการตรวจคลื่นไฟฟ้า
หัวใจ เพื่อดูว่ามีลักษณะที่เข้าได้กับภาวะ hyperkalemia เช่นพบลักษณะของ T wave สูง
(tall peak T) หรือไม่ หากพบว่า EKG มีลักษณะผิดปกติ ให้ติด monitor EKG
• พิจารณาให้การรักษาภาวะ hyperkalemia ตามอาการและความรุนแรง โดยพิจารณารักษาดังนี้
การรักษาที่ออกฤทธิ์ทันที ภายใน 1-3 นาที คือการให้ 10% calcium gluconate 10 ml IV
push ช้าๆ เพื่อไปต้านฤทธิ์ของ K+ ที่เยื่อหุ้มเซลล์ ระหว่างการฉีด 10% calcium gluconate
ควรมีการ monitor EKG ด้วยทุกครั้ง ในกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการรุนแรง เช่นมีหัวใจเต้นผิดจังหวะ
พิจารณาให้ 10% calcium gluconate ซ้าได้อีก
Potassium chloride
การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์หรือ ความคลาดเคลื่อนทางยา
• การรักษาที่ออกฤทธิ์เร็วปานกลาง ภายในเวลา 10-30 นาที โดยทาให้ potassium
ในเลือดถูกดึงเข้า เซลล์ คือการให้ 50% glucose 40-50 ml+ regular insulin (RI)
5-10 unit IV push การรักษาด้วย วิธีนี้ให้มีการติดตามระดับ Capillary blood
glucose ร่วมด้วย
• การรักษาที่ออกฤทธิ์ช้า เป็นการรักษาเพื่อเร่งการขับถ่าย K+ ออกจากร่างกาย โดยใช้ยาที่มี
คุณสมบัติเป็น Cation exchange resin ได้แก่ kayexalate หรือ kalimate
30-60 g สวนเก็บทางทวารหนัก ซึ่งจะออกฤทธิ์ภายในเวลา 30 นาที หรือหากให้รับประทาน จะ
ออกฤทธิ์ภายใน 2 ชั่วโมง โดย kayexalate นั้นจะต้องละลายใน sorbitol ทุกครั้ง
• ในกรณีที่ผู้ป่วยมีการทางานของไตบกพร่องหรือไม่สามารถแก้ไขภาวะ hyperkalemia ได้ด้วยวิธี
ดังกล่าวข้างต้น ให้ปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโรคไต พิจารณาทาการล้างไต (dialysis)
• ตรวจติดตามค่า K+ เป็นระยะทุก 4-6 ชั่วโมงภายหลังได้รับการรักษา
• หากพบรอยแดง บวม รอยคล้าตามเส้นเลือด บริเวณ IV site ให้เปลี่ยนตาแหน่งในการให้ยาใหม่
คาถาม Pre-test Post-test
คาถาม Pre-test Post-test
1. ข้อใด ไม่ถูกต้อง ในการบริหารยา Adrenaline
A. ระมัดระวังการใช้ในผู้ป่วยที่มีโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ โรคของหลอดเลือดส่วน
ปลาย (peripheral vascular disease)
B. การบริหารยาแบบ intravenous infusion ต้องบริหารผ่านหลอดเลือดดา
ใหญ่โดยใช้ infusion pump
C. ยานี้เมื่อผสมในสารละลายใดๆ จะคงตัวได้ 48 ชั่วโมง ทั้งที่อุณหภูมิห้องหรือ ใน
ตู้เย็น
D. ตรวจดูตาแหน่ง IV site ทุก 1 ชั่วโมง ตลอดระยะเวลาที่มีการให้ยา
เฉลย ข้อ C
เหตุผล : ยานี้เมื่อผสมในสารละลายใดๆ จะคงตัวได้ 24 ชั่วโมง ทั้งที่อุณหภูมิห้อง หรือ ในตู้เย็น
คาถาม Pre-test Post-test
2. ข้อใดต่อไปนี้ คืออาการไม่พึงประสงค์จากการได้รับยา Adrenaline
A. หัวใจเต้นเร็ว หัวใจเต้นผิดจังหวะ
B. ปลายมือ ปลายเท้าเขียว
C. ความดันโลหิตสูง
D. ถูกทุกข้อ
เฉลย ข้อ D
เหตุผล : อาการไม่พึงประสงค์ หัวใจเต้นเร็ว หัวใจเต้นผิดจังหวะ ความดันโลหิตสูง ปลายมือ ปลายเท้า
เขียว หากมีการรั่วออกนอกหลอดเลือด อาจทาให้เกิด เนื้อเยื่อตายได้ หากพบว่ามี
BP>160/90 mmHg หรือ HR > 120 ครั้ง/นาทีในผู้ใหญ่ ให้พิจารณาหยุดยาหรือปรับ
ลดขนาดยาลงหากพบรอยแดง บวม รอยคล้าตามเส้นเลือด บริเวณ IV site ให้เปลี่ยน
ตาแหน่งในการให้ยาใหม่
คาถาม Pre-test Post-test
3. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการบริหารยา DOBUTAMINE
A. ห้ามให้ IV PUSH
B. ห้ามให้ SODIUM BICARBONATE หรือสารละลายที่เป็นด่าง
ทางสายเดียวกัน
C. ถ้าผู้ป่วยเกิดภาวะ hypovolemia ต้องแก้ไขให้เป็นปกติก่อนเริ่มให้ยา
D. ถูกทุกข้อ
เฉลย ข้อ D
เหตุผล : ห้ามเติมยาฉีด dobutamine ลงในยาฉีด Sodium bicarbonate หรือสารละลายอื่นๆที่มีความ เป็น
ด่างสูง เนื่องจากอาจเกิดการไม่เข้ากันของสารละลาย ต้องเจือจางยาฉีดในสารน้าที่เข้ากันได้ ได้แก่ D5W ,
D5S/2 , D5S, D10W, NSS , LRS บริหารยาแบบ I.V. infusion ผ่านหลอดเลือดดาใหญ่โดยใช้
infusion pump ห้ามให้ IV PUSH อย่างเด็ดขาด
คาถาม Pre-test Post-test
4. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับยา Dobutamin
A เพิ่มการบีบตัวของหัวใจ ในผู้ป่วยที่มีการบีบตัวของหัวใจไม่ดี
B ถ้าผู้ป่วยเกิดภาวะ hypovolemia ต้องแก้ไขให้เป็นปกติก่อนเริ่มให้ยา
C การสั่งยาแบบ Dilution ให้ระบุความเข้มข้น เช่น Dobutamin 2 : 1
D เมื่อผสมสารน้าแล้วต้องใช้ภายใน 24 ชั่วโมง สารละลายอาจเปลี่ยนเป็นสีชมพู
ซึ่งเกิดจากการ oxidation ของยาแต่จะไม่ทาให้สูญเสียความแรงของยา
เฉลย ข้อ C
เหตุผล การบริหารยาเมื่อมีการสั่งยาแบบ Dilution ให้ระบุความเข้มข้น เป็น
mg/mL
เช่น Dobutamin 200 mg ในสารละลาย 100 ml = 2 mg/mL
ไม่เขียนคาย่อ 2:1 เพื่อป้องกันการเกิดความคลาดเคลื่อนทางยา
คาถาม Pre-test Post-test
5. แพทย์สั่งให้ยา DOPAMINE (2: 1) IV DRIP 10 CC/ hr หากต้องการผสมยาสาหรับ
drip ต้องดูดยากี่ cc กาหนดให้ผสมยาใน 5% DW 100 ml
( DOPAMINE 1 amp มียา 250 MG / 10 ml)
A. 4 CC
B. 8 CC
C. 10 CC
D. 12 CC
เฉลย ข้อ B
เหตุผล : แพทย์สั่งให้ยา DOPAMINE (2: 1) IV DRIP 10 CC/ hr
2: 1 หมายความว่า DOPAMINE 2 mg : 5% DW 1 ml
หากต้องการผสมยาใน 5% DW 100 ml 2 mg X 100 ml / 1 ml = 200 mg
DOPAMINE 1 amp มียา 250 MG / 10 ml ถ้าต้องการดูดยา 200 mg = 8 ml
คาถาม Pre-test Post-test
6. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการบริหารยา DOPAMINE
A. ควรเลือกให้ยาทางเส้นเลือดใหญ่ (central vein) ก่อน ยกเว้นในผู้ป่วยที่ไม่มี
central line สามารถให้ทาง peripheral line ได้
B. ระหว่าที่ drip ยา หากพบว่าผู้ป่วย BP สูง ควรรีบหยุดยาทันที
C. ระหว่าง drip ยา อาจเกิดภาวะหัวใจเต้นเร็ว หัวใจเต้นผิดจังหวะได้
D. หากพบรอยแดง บวม รอยคล้าตามเส้นเลือด บริเวณ IV site ให้เปลี่ยน
ตาแหน่งในการให้ยาใหม่
เฉลย ข้อ B
เหตุผล : ห้ามหยุดยากะทันหัน เพราะความดันจะตกทันที ควรค่อยๆลดขนาดยาลง หรือลด rate of infusion ก่อน
หยุดยา
คาถาม Pre-test Post-test
7. เพื่อป้องกัน การสูญเสียความแรงของยาจากปฏิกิริยา oxidation ไม่ควรผสม
Levophed กับสารละลายชนิดใด
A. NSS
B. 5% D/W
C. 5% D/NSS
D. Sterile water
เฉลย ข้อ A
เหตุผล : ควรเจือจางยาด้วย D5W หรือ D5S ปริมาตร 100 ml ไม่แนะนาให้เจือจางใน
NSS เดี่ยวๆ เพื่อป้องกัน การสูญเสียความแรงของยาจากปฏิกิริยา oxidation
คาถาม Pre-test Post-test
8. ข้อใดต่อไปนี้ ถูกต้อง ในการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยา Levophed
A. พยาบาล ก. บริหารยาเข้าทางหลอดเลือดดา โดยใช้ infusion pump
เพื่อให้สามารถควบคุม การใช้ยาได้ดี
B. พยาบาล ข. เมื่อผู้ป่วย BP ดีขึ้น ค่อยๆ ปรับลดยาลง ไม่หยุดยาทันที เพื่อป้องกัน
ภาวะความดันเลือดต่ากะทันหัน
C. พยาบาล ค. เปลี่ยนบริเวณที่แทงเข็มเข้าหลอดเลือดเป็นระยะ เพื่อลดการเกิดภาวะ
หลอดเลือดหดตัวในบริเวณที่แทงเข็มให้ยา
D. ถูกทุกข้อ
เฉลย ข้อ D
เหตุผล: บริหารยาเข้าทางหลอดเลือดดา โดยใช้ infusion pump เพื่อให้สามารถควบคุม การใช้ยาได้ดี เริ่มให้ยาอย่าง
ช้าๆและปรับเพิ่มตามความจาเป็น โดยต้องติดตามดูการตอบสนองของผู้ป่วย เช่น ระดับความดันโลหิต และ
cardiovascular parameter อื่นๆ การหยุดยาต้องค่อยๆ ปรับลดลง ห้าม หยุดยาทันที เพื่อป้องกันภาวะ
ความดันเลือดต่า ระวังการรั่วซึมของยาออกนอกหลอดเลือด เพราะจะทาให้เกิดเนื้อตาย และหากต้องใช้เป็น
เวลานาน ควรเปลี่ยนแปลงบริเวณที่แทงเข็มเข้าหลอดเลือดเป็นระยะ เพื่อลดการเกิดภาวะหลอดเลือดหดตัวใน
บริเวณที่แทงเข็ม
คาถาม Pre-test Post-test
9. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่อาการแสดง จากการได้รับยา Atropine เกินขนาด
A. ตาพร่ามัว รูม่านตาขยาย
B. Bradycardia
C. ความดันโลหิตสูง
D. ความดันในลูกตาเพิ่ม
เฉลย ข้อ B
เหตุผล : Atropine เป็นยาต้านฤทธิ์การทางานของระบบประสาท parasympathetic
โดยเป็น competitive inhibitor ของ acetylcholine มีผลยับยั้งฤทธิ์ของ acetylcholine
ที่ muscarinic receptor ลดการหลั่ง น้าลาย น้าเมือก สารคัดหลั่งในหลอดลม ต้านการหดเกร็งของหลอดลม
ลดการเคลื่อนไหวของลาไส้ ทาให้หัวใจเต้นเร็วขึ้น แรงบีบตัวมากขึ้น อาการพิษ : ตาพร่า ม่านตาขยาย ปากแห้ง ปัสสาวะ
คั่ง หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง อุณหภูมิในร่างกายสูงขึ้น ข้อห้ามใช้ ในผู้ป่วยต้อหิน เนื่องจาก Atropine จะเพิ่มความ
ดันในลูกตา
คาถาม Pre-test Post-test
10. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการบริหารยา Atropine
A. ให้ Atropine 1 mg ฉีดเข้าทางเส้นเลือดดาช้าๆ และให้ซ้าได้ 3-5
นาที หากยังไม่ตอบสนอง แต่ไม่เกิน 3 mg
B. Atropine ใช้เป็น Antidote ในคนไข้ที่ได้รับสารเคมีพวกยาฆ่า
แมลงได้แก่ Carbamate, Organophosphate
C. บริหารยาโดยการให้ทาง IV เท่านั้น
D. ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง (myasthenia gravis)
เฉลย ข้อ C
เหตุผล :Atropine รักษาภาวะหัวใจเต้นช้าผิดจังหวะ (Sinus bradycardia) ขนาด 0.5 - 1 mg IV
ซ้าได้ทุก 3-5 นาที ขนาดโดยรวมไม่เกิน 3 mg หรือไม่เกิน 0.04 mg/kg ให้ทาง Endotracheal tube
ขนาด 1-2 mg เจือจางใน sterile water หรือ NSS 10 ข้อควรระวัง: ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่แพ้ยานี้, ห้ามใช้
ในผู้ป่วย narrow-angle glaucoma, ผู้ป่วยที่มีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง (myasthenia gravis)
ระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคตับหรือโรคไต
คาถาม Pre-test Post-test
11. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ถูกต้องเกี่ยวการใช้ Nitroglycerin injection
A. ใช้รักษาภาวะ pulmonary congestion หรือมีภาวะหัวใจล้มเหลว
B. ระมัดระวังในการใช้กับผู้ป่วยที่สงสัยว่าจะมี RV infarction จาก inferior wall MI
C. สามารถผสมยาใน บรรจุภัณฑ์พลาสติก (PVC)ได้โดยไม่สูญเสียความคงตัวของยา
D. ไม่ควรให้ยา ในผู้ป่วยบาดเจ็บหรือมีเลือดออกในสมองเพราะยาอาจไปเพิ่มความดันใน
กะโหลกศีรษะได้
เฉลย ข้อ C
เหตุผล: การผสมยาและความคงตัว สามารถใช้ 5%DW หรือ NSS เป็นตัวผสม และต้องใช้
ขวดแก้ว เพื่อหลีกเลี่ยงการดูดซับยาโดยบรรจุภัณฑ์พลาสติก (PVC) ภาชนะบรรจุเป็นแก้วและ
polyethylene, polyolefin ไม่ค่อยมีปัญหา incompatible
คาถาม Pre-test Post-test
12.ควรให้ Nitroglycerin injection ในผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดชนิด STEMI
ที่มี complication ใดร่วมด้วย
A. กล้ามเนื้อหัวใจด้านซ้ายล้มเหลว LV failure
B. มีอาการเจ็บแน่นหน้าอกต่อเนื่อง
C. ในผู้ป่วยที่เกิดกล้ามเนื้อขาดเลือดซ้า recurrent ischemia
D. ถูกทุกข้อ
เฉลย ข้อ D
เหตุผล: ควรให้ไนโตรกลีเซอรีนเข้าทางเส้นเลือด ในผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดชนิด STEMI
และและมีภาวะดังต่อไปนี้ร่วมด้วย กล้ามเนื้อหัวใจด้านซ้ายล้มเหลว LV failure , มีอาการเจ็บแน่นหน้าอก
ต่อเนื่อง, มีความดันเลือดสูง, ในผู้ป่วยที่เกิดกล้ามเนื้อขาดเลือดซ้า recurrent ischemia, มีภาวะ
pulmonary congestion ควรให้ไนโตรกลีเซอรีน ทันทีใน 24 – 48 ชั่วโมงแรก โดยควรใช้แบบให้ยาเข้า
ทางเส้นเลือดเพื่อให้ง่ายต่อการปรับขนาด
คาถาม Pre-test Post-test
13. ข้อใดต่อไปนี้ ถูกต้อง ในการให้ Adenosine
A. พยาบาล ก. ให้ยาแบบ IV Rapid Bolus ใช้ syringe 20 ml ที่ใส่ saline ไว้
คอย flush ตามยาที่ฉีดอย่างรวดเร็ว
B. พยาบาล ข. เปิด IV ให้ยาบริเวณหลังเท้า เพื่อลดอาการแขนบวมจากการให้ยา
C.พยาบาล ค. เจือจางยาด้วย D5W หรือ D5S ปริมาตร 100 ml และ drip ให้
ผู้ป่วย โดยใช้ infusion pump
D. ถูกทุกข้อ
เฉลย ข้อ A
เหตุผล: คาแนะนาในการฉีด ให้เปิด IV ใกล้ ๆ heart เช่นบริเวณข้อพับแขนเตรียมต่อ 3-way
ซึ่งใช้ syringe 20 ml ที่ใส่ saline ไว้คอย flush ตามยาที่ฉีดอย่างรวดเร็ว ติด monitor EKG ยก
แขนข้างนั้นขึ้นสูง ฉีดครั้งแรกที่ 6 mg อย่าเร็วในเวลา 1-3วินาที ถ้าไม่ตอบสนอง เพิ่มยา เป็น 12 mg หากไม่
ตอบสนองอีกให้ขนาด 12 mg ซ้าได้อีก 1 ครั้ง
คาถาม Pre-test Post-test
14. ข้อใด กล่าวไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับยา Adenosine
A. เป็น drug of choice ในการเปลี่ยนแปลง paroxysmal supraventricular
tachycardia(SVT) เป็น sinus rhythm
B. Adenosine มีครึ่งชีวิตน้อยกว่า 10 วินาที การให้ยาควรให้ยาเร็วที่สุด
C. ยามีกลไกในการกระตุ้นการเปิดของ K+ channel และยับยั้ง cAMP-induced
Ca2+ influx
D. ยา adenosine สามารถขจัด arrhythmia อย่างเช่น atrial flutter, atrial
Fibrillati , atrial หรือ ventricular tachycardia ได้
เฉลย ข้อ D
เหตุผล เป็น ในการเปลี่ยนแปลง
เป็น (ใช้ใน ที่มีอาการคงที่ ในกรณี
ที่อาการไม่คงที่ให้เตรียมทา มีครึ่งชีวิตน้อยกว่า 10 วินาที ยามี
กลไกในการกระตุ้นการเปิดของ + และยับยั้ง - 2+ ยา จะ
ไม่ขจัด อย่างเช่น หรือ
คาถาม Pre-test Post-test
15. ข้อใดกล่าวถึงการบริหารยา Cordarone ได้ถูกต้อง
A สามารถผสมได้ใน D5W เท่านั้น การผสมใน NSS อาจตกตะกอน
B . หลังผสมยาสามารถเก็บยาได้ 48 ชั่วโมงในอุณหภูมิห้อง
C . สามารถผสมใน สารละลายที่เป็นด่าง เช่น NaHCO3 ได้ โดยไม่ตกตะกอน
D. ในภาวะ Cardiac arrest ( VT/Pulseless VT) การให้ยาครั้งแรก คือ dose 150 mg
และ 300 mg ตามลาดับ
เฉลย ข้อ A
Cordarone ต้องผสมได้ใน D5W เท่านั้น การผสมใน NSS ทาให้ยาตกตะกอน . หลัง
ผสมยาสามารถเก็บยาได้ 24 ชั่วโมงในอุณหภูมิห้อง ห้ามผสมใน สารละลายที่เป็นด่าง เช่น
NaHCO3เนื่องจากตกตะกอน และในภาวะ Cardiac arrest ( VT/Pulseless VT)
การให้ยาครั้งแรก คือ dose 150 mg และ 300 mg ตามลาดับ
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf

More Related Content

What's hot

การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองการพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองChutchavarn Wongsaree
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)Weerawan Ueng-aram
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลpiyarat wongnai
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกPatamaporn Seajoho
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Aphisit Aunbusdumberdor
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำNickson Butsriwong
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...Utai Sukviwatsirikul
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalfreelance
 
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาลการอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาลChutchavarn Wongsaree
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงUtai Sukviwatsirikul
 
Drug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentDrug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentAuMi Pharmaza
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Chutchavarn Wongsaree
 

What's hot (20)

การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองการพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
 
Berodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solutionBerodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solution
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
 
Thai nihss
Thai nihssThai nihss
Thai nihss
 
Ppt. HAD
Ppt. HADPpt. HAD
Ppt. HAD
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาลการอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
 
Drug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentDrug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation present
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
 

Similar to โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf

tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf60941
 
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...MedicineAndHealth
 
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558Utai Sukviwatsirikul
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfKrongdai Unhasuta
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfKrongdai Unhasuta
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfKrongdai Unhasuta
 
Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency preventiontaem
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลงนายสามารถ เฮียงสุข
 
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookUtai Sukviwatsirikul
 
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.docWed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.docjiratiyarapong
 
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”เทพไซเบอร์ฯ ร้านค้าดอทคอม
 
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียคู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557 แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557 Utai Sukviwatsirikul
 
Clinical Pharmacokinetic of thenophylline
Clinical Pharmacokinetic of thenophyllineClinical Pharmacokinetic of thenophylline
Clinical Pharmacokinetic of thenophyllineNat Nafz
 

Similar to โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf (20)

Triage
TriageTriage
Triage
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
 
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
 
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
 
Epilepsy
EpilepsyEpilepsy
Epilepsy
 
Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency prevention
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
 
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.docWed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
 
01 recent advance 2
01 recent advance 201 recent advance 2
01 recent advance 2
 
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
 
8
88
8
 
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...
 
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียคู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557 แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557
 
Clinical Pharmacokinetic of thenophylline
Clinical Pharmacokinetic of thenophyllineClinical Pharmacokinetic of thenophylline
Clinical Pharmacokinetic of thenophylline
 
Had12may2014 2
Had12may2014  2Had12may2014  2
Had12may2014 2
 

โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf

  • 2. อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ผศ.นฤมล กิจจานนท์ ผู้รับผิดชอบ ณัฐมณี สมปิยโชค กฤษณา พงษ์รัตน์ วิไลรักษ์ โรจนศักดิ์โสธร จันทร์จิรา หลุดกระโทก รัตนพรรณ คล้ายเข็ม ขวัญฤทัย ต้นอินทร์
  • 3. ระยะเวลาดาเนินโครงการ 4 สัปดาห์ (1 กรกฎาคม – 30 กรกฎาคม 2556 )
  • 4. ความเป็นมา ความคลาดเคลื่อนทางยา เป็นเหตุการณ์ที่สามารถป้องกัน ได้ ซึ่งอาจจะเป็นสาเหตุหรือนาไปสู่การใช้ยาที่ไม่เหมาะสม หรือ เกิดอันตรายแก่ผู้ป่วย ในขณะที่ยานั้นอยู่ในความรับผิดชอบของผู้ ให้บริการ ซึ่งอาจมีสาเหตุจากขาดความรู้ความรู้ในการให้ยา (หรือ การบริหารยา) ซึ่งในปัจจุบัน หอผู้ป่วย ไอซียู มีการใช้ยาจานวนมาก หลากหลายกลุ่ม ซึ่งส่วนใหญ่มักจะเป็นยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drug) หากบริหารยาคลาดเคลื่อน อาจเกิดอันตรายถึงแก่ชีวิต ได้
  • 5. The National Co-ordinating Council for Medication Error Reporting and Prevention, USA ให้ความหมายของ “ความคลาดเคลื่อนทางด้านยา” คือ เหตุการณ์ใดๆที่สามารถป้องกันได้ ที่อาจเป็นสาเหตุ หรือนา ไปสู่การใช้ยาที่ไม่เหมาะสมหรืออาจเป็นอันตราย แก่ผู้ป่วย
  • 6. อุบัติการณ์ จากการศึกษา และทบทวนอุบัติการณ์ในโรงพยาบาล A พบว่า ความคลาดเคลื่อนทางยาส่วนใหญ่ที่พบบ่อย มักเกิดในกลุ่ม ของพยาบาล ที่มีประสบการณ์ในการทางาน < 2 ปี (ดังแสดงใน รูปภาพที่ 1) จากการนาเหตุการณ์มาวิเคราะห์หา root cause analysis พบว่า เกิดจากพยาบาลขาดความรู้และเมื่อเกิดเหตุการณ์ ขึ้นมักจะสร้างแรงกดดันให้แก่พยาบาลผู้ปฏิบัติงาน ทาให้เกิด ความเครียดและความเบื่อหน่ายในการทางาน
  • 7. 50% 34% 8% 8% 1-2 ปึ 2-3 ปี 3-4 ปี > 4 ปี รูปภาพที่ 1 แสดงการเกิดอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนทางยาเมื่อ แยกตามประสบการณ์ทางานของพยาบาลโรงพยาบาล A ในปี 2555
  • 8. ทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง J Nurs Manag และ Saintsing D ได้ทาการศึกษาเกี่ยวกับ ข้อผิดพลาดของพยาบาลในระดับ Novice เมื่อต้องเผชิญกับการตัดสินใจ ทางคลินิกในปีแรก ๆ ของอาชีพพยาบาล ตีพิมพ์ใน Remington College of Nursing, Orlando, FL, USA 2011 Apr;19(3):354-9. พบว่า การศึกษาล่าสุดระบุความจาเป็นของโรงเรียนพยาบาล ในการผลิตผู้สาเร็จการศึกษาใหม่ 30,000 คน ในแต่ละปีเพื่อให้ ทันกับการขาดแคลนพยาบาล พยาบาล Novice อาจมีความเสี่ยง ต่อข้อผิดพลาดในการทางานมากกว่าพยาบาลที่มีประสบการณ์ โดยข้อผิดพลาดที่พบบ่อย คือ ข้อผิดพลาดในการบริหารยา
  • 9. Eric Camiré, MD, Eric Moyen, MD, Henry Thomas Stelfox, MD PhD ได้ทาการศึกษาเกี่ยวกับความเคลื่อนทางยา และ ตีพิมพ์ในวารสาร CMAJ April 28, 2009 vol. 180 no. 9 พบว่า ร้อยละ 35 เป็นยากลุ่ม Cardiovascular ร้อยละ 25 เป็นยากลุ่ม Sedative และ Analgesic ร้อยละ 23 เป็นยากลุ่ม Anticoagulant ร้อยละ 17 เป็นยากลุ่ม Anti-infective
  • 11. Joint Commission on Accreditation of Health Care Organization (JCAHO) กาหนดให้มีการหาสาเหตุที่แท้จริง (Root Cause Analysis, RCA) ของ ความคลาดเคลื่อนทางยาด้วย ซึ่งอาจแบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยาและการคัดลอกคาสั่งใช้ยา (Prescribing and TranscribingError) ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา (Dispensing Error) และความคลาดเคลื่อนในการให้ยา (Administration Error)ซึ่งเป็นการแบ่งตามวิชาชีพที่รับผิดชอบในแต่ละส่วนของ กระบวนการใช้ยา
  • 12. การจัดแบ่งประเภทของความคลาดเคลื่อน ทางยา National Co-ordinating Council of Medication Error Reporting and Prevention (NCC MERP) ได้จัดแบ่งประเภทของความคลาดเคลื่อน โดยยึดที่ตัวผู้ป่วย เป็นสาคัญ ซึ่งสมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล(ประเทศไทย) ก็ ได้นาการแบ่งประเภทตามระบบนี้มาใช้ในโรงพยาบาลที่เป็น สมาชิกของสมาคมด้วย ได้แก่
  • 13. กรณีไม่มีความคลาดเคลื่อน : Category A หมายถึง ไม่มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้นเกิด แต่มีเหตุการณ์ซึ่งมีโอกาสที่ก่อให้เกิดความคลาดเคลื่อน กรณีมีความคลาดเคลื่อน แต่ไม่เป็นอันตราย : Category B หมายถึง มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้น แต่ไม่เป็นอันตรายต่อผู้ป่วยเนื่องจากความคลาดเคลื่อนไม่ไปถึง ตัวผู้ป่วย Category C หมายถึง มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้น แต่ไม่เป็นอันตรายต่อผู้ป่วย ถึงแม้ว่าความคลาดเคลื่อน นั้นจะ ไปถึงตัวผู้ป่วยแล้ว Category D หมายถึง มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้น แต่ไม่เป็นอันตรายต่อผู้ป่วยกับผู้ป่วย แต่ยังจาเป็นต้องมีการ ติดตามผู้ป่วยเพิ่มเติม กรณีมีความคลาดเคลื่อน และเป็นอันตราย : Category E หมายถึง มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้น และส่งผลให้เกิดอันตรายต่อผู้ป่วยชั่วคราวรวมถึงจาเป็นต้องได้รับ การรักษาหรือแก้ไขเพิ่มเติม Category F หมายถึง มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้น และเป็นอันตรายต่อผู้ป่วยชั่วคราว รวมถึงจาเป็นต้องได้รับการ รักษาในโรงพยาบาลหรือยืดเวลาในการรักษาในโรงพยาบาลนานขึ้น Category G หมายถึง เกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วยส่งผลให้เกิดอันตรายถาวรแก่ผู้ป่วย Category H หมายถึง เกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วย และเป็นอันตรายต่อผู้ป่วยจนเกือบ ถึงแก่ชีวิต : Category I หมายถึง เกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วยและเป็นสาเหตุของการเสียชีวิต
  • 15. คาจากัดความ ยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs) คือ กลุ่มยาที่มี โอกาสเสี่ยงสูง ที่จะเกิดอันตรายแก่ผู้ป่วย เพราะมีดัชนีการรักษาแคบหรือมีผลข้างเคียงร้ายแรงต่ออวัยวะ สาคัญ เช่น สมอง หัวใจ ไต ฯลฯ พยาบาลใหม่ ( Novice nurse ) คือ พยาบาลที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรีที่เข้าปฏิบัติงาน ตาแหน่งพยาบาลวิชาชีพ ที่มีประสบการณ์ ในการทางาน < 2 ปี (อ้างใน สุดจิต ไตรประคอง, ชุลีกร แสนสบาย, อุราสงขลานครินทร์ เวชสาร.ผลของระบบพยาบาลพี่เลี้ยงต่อการปฏิบัติบทบาท และ ความพึงพอใจ. สงขลานครินทร์เวชสาร;2551.)
  • 16. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้ป่วยปลอดภัยจากการได้รับยาที่มีความเสี่ยงสูงในกลุ่ม Cardiac Drug 2. เพื่อเป็นการพัฒนาความรู้ ในการบริหารยาที่มีความเสี่ยงสูงในกลุ่ม Cardiac Drug ให้กับกลุ่มพยาบาลที่มีประสบการณ์ ในการทางาน < 2 ปี เป้าหมายและตัวชี้วัด 1. พยาบาลที่มีประสบการณ์ในการทางาน < 2 ปี ทุกคน สามารถทา แบบทดสอบ post test ได้คะแนน > 80% 2.เพื่อให้ผู้ป่วยปลอดภัยจากการได้รับยาที่มีความเสี่ยงสูงในกลุ่ม Cardiac Drug และอุบัติการณ์การเกิดความคลาดเคลื่อนทางยา เท่ากับศูนย์
  • 17. ขอบเขตการดาเนินงาน ◦ เก็บข้อมูลพยาบาลที่มีประสบการณ์ในการทางาน < 2 ปี และปฏิบัติงานบนหอผู้ป่วยไอซียู จานวน 20 คน ใน โรงพยาบาลเอกชน 5 แห่ง
  • 18. วิธีดาเนินโครงการ 1. ประชุมกลุ่ม เลือกหัวข้อโครงการ จากการทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยที่ เกี่ยวข้อง วิเคราะห์อุบัติการณ์ และหาสาเหตุ 2. นาเสนอโครงการกับอาจารย์ที่ปรึกษา 3. รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลยา กลุ่มที่มีความสูงในกลุ่ม Cardiac drug ซึ่ง รวบรวมทั้งหมด 10 ตัว ได้แก่ Adrenaline , Atropine, Dobutrex , Dopamin , Levophed , NTG Adenosine , Cordarone , Digoxin และ KCL (ยาในกลุ่ม electrolyte) อ้างอิงจากสมาคมโรคหัวใจ, โรงพยาบาลศิริราช, โรงพยาบาลมหาราชนคร เชียงใหม่ โรงพยาบาลขอนแก่นและโรงพยาบาลน่าน
  • 19. วิธีดาเนินโครงการ ( ต่อ ) 4. ออกแบบสื่อการสอน โดยการนาความรู้เกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูงกลุ่ม Cardiac drug จัดทา PowerPoint ลงเนื้อหาข้อมูลใน Computer ประจาหอ ผู้ป่วย ไอซียู 5. ออกแบบและจัดทาแบบทดสอบ Pre-Post test จานวน 20 ข้อโดยออกแบบ ข้อสอบอ้างอิงจากข้อมูลยา 6. จัดกลุ่มการเรียนการสอนพยาบาลที่มีประสบการณ์ ในการทางาน < 2 ปี แต่ละโรงพยาบาล รวม 20 คน เวลาในการสอน 1 ชั่วโมง 7. ประเมินผลการสอน โดยให้ทาแบบทดสอบความรู้ก่อน-หลังเรียน 8. นาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์แปลผลการดาเนินงาน 9. สรุปผลการดาเนินงาน 10.นาเสนอโครงการ
  • 20. กิจกรรมและแผนดาเนินงาน หัวข้อการดาเนินงาน ระยะเวลาดาเนินงาน กรกฎาคม 2556 สิงหาคม 2556 1 ก.ค. -8 ก.ค. 9 ก.ค. -16 ก.ค. 17ก.ค. -24ก.ค. 25 ก.ค. -31 ก.ค. 1 ส.ค. -7 ส.ค. 8 ส.ค. -14 ส.ค. 15 ส.ค. -21ส.ค. 22 ส.ค. -28 ส.ค. ก.ย. 1. ทบทวน วิเคราะห์อุบัติการณ์ และหา สาเหตุ ความคลาดเคลื่อนทางยา 2. ทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง 3. รวบรวมและวิเคราะข้อมูลยาที่จะ ทาการศึกษา 4. จัดทาสื่อการสอน PowerPoint 5. จัดทาแบบทดสอบ Pre-Post test 6. กาหนดระยะเวลาในการดาเนินการสอน 7. สรุปผลการดาเนินโครงการ 8. นาเสนอโครงการ
  • 21. ผลที่คาดว่าจะได้รับ  พยาบาลที่มีประสบการณ์ ในการทางาน < 2 ปี มีความรู้ใน การบริหารยาที่มีความเสี่ยงสูงในกลุ่ม Cardiac Drug  เพื่อให้ผู้ป่วยปลอดภัยจากการได้รับยาที่มีความเสี่ยงสูงในกลุ่ม Cardiac Drug
  • 22. แนวทางบริหารยา HAD กลุ่ม Cardiac Drug  Adrenaline  Atropine  Dobutrex  Dopamin  Levophed  NTG  Adenosine  Cordarone  Digoxin  KCL (ยาในกลุ่ม electrolyte)
  • 23. Adrenaline รูปแบบของยา Adrenaline injection 1 mg/mL หรือ 1:1000 (1 mL) ชื่อยา ระยะเวลาที่ยาเริ่ม ออกฤทธ์ (onset) ระยะเวลาที่ยา ออกฤทธิ์สูงสุด (peak) ระยะเวลาที่ยา ออกฤทธิ์(duration) Adrenaline injection 1 mg/mL หรือ 1:1000 (1 mL) SC: 3-10 นาที IM: 3-10 นาที IV: ทันที SC: 20 นาที IM: 20 นาที IV: 2-5 นาที SC: 20-30 นาที IM: 20-30 นาที IV: 5-10 นาที ข้อบ่งใช้ (Indication) 1. Cardiopulmonary resuscitation (CPR) 2. Anaphylaxis 3. Hypotension
  • 24. Adrenaline ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง • ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูง • ระมัดระวังการใช้ในผู้ป่วยที่มีโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ โรคของหลอดเลือด ส่วนปลาย (peripheral vascular disease) อาการไม่พึงประสงค์ที่สาคัญ • หัวใจเต้นเร็ว หัวใจเต้นผิดจังหวะ • ความดันโลหิตสูง • ปลายมือ ปลายเท้าเขียว • หากมีการรั่วออกนอกหลอดเลือด อาจทาให้เกิดเนื้อเยื่อตายได้
  • 25. Adrenaline การจัดเก็บที่เหมาะสม • เก็บแยกยาไว้ในที่เข้าถึงได้ยาก • ทาสัญลักษณ์เตือนให้ระวัง • Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา • ความคงตัว ยานี้เมื่อผสมในสารละลายใดๆ จะคงตัวได้ 24 ชั่วโมง ทั้งที่ อุณหภูมิห้องหรือ ในตู้เย็น • การเก็บยา เก็บแบบป้องกันแสงและอากาศที่อุณหภูมิ ไม่เกิน 25 OC ห้ามเก็บในช่อง แช่แข็ง ไม่ และไม่ ควรใช้ยานี้ในกรณีที่ยาเปลี่ยนสีหรือ ตกตะกอน
  • 27. Adrenaline การผสมและความคงตัวของยา การเตรียมยา รวมถึงการผสมยา • Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา • สารน้าที่ใช้ได้ : D5W, D5S, NSS, LRS • ความคงตัวหลังผสม : 24 ชั่วโมง การบริหารยา • Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา • ถ้าให้ IV drip ควรใช้ Infusion pump • ควรให้ทางเส้นเลือดใหญ่
  • 28. Adrenaline การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring) • ในกรณี CPR ให้บันทึกVital signs ( Heart rate, BP) ทันที เมื่อผู้ป่วยเริ่มมีชีพจร • ในกรณี Anaphylaxis ให้บันทึกVital signs ( Heart rate, BP) ทุก 10 นาที จนครบ 30 นาที • ในกรณี Hypotension ที่มีการให้ยาแบบ IV drip ให้บันทึกVital signs ( Heart rate, BP) ทุก ชั่วโมง ตลอดระยะเวลาที่มีการให้ยา • หากพบว่ามี BP>160/90 mmHg หรือ HR > 120 ครั้ง/นาทีในผู้ใหญ่ และ BP > 120/80 mmHg หรือ HR > 180 ครั้ง/นาที ในเด็ก ให้แจ้งแพทย์ทันที • ตรวจดูตาแหน่ง IV site ทุก 1 ชั่วโมง ตลอดระยะเวลาที่มีการให้ยา
  • 29. Adrenaline ข้อปฏิบัติทางการพยาบาล • การบริหารยาแบบ intravenous infusion ต้องบริหารผ่านหลอดเลือดดาใหญ่โดยใช้ infusion pump • หลีกเลี่ยงการฉีดยาเข้าหลอดเลือดแดงโดยตรงและการฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อบริเวณสะโพก เนื่องจาก อาจทาให้หลอดเลือดตีบจนกล้ามเนื้อตายได้ • เริ่มให้ยาช้าๆ และปรับเพิ่มตามความจาเป็น โดยต้องติดตามการตอบสนองของผู้ป่วย เช่น ระดับ ความดันเลือดและ cardiovascular parameter อื่นๆ การหยุดยาต้องค่อยๆ ปรับ ลดลง การหยุดยา แบบทันทีทันใดอาจทาให้เกิด rebound hypotension • เฝ้าดูอัตราการไหลของน้ายา และระวังอย่าให้น้ายารั่วจากหลอดเลือด อาจทาให้เกิด tissue necrosis การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์ หรือ ความคลาดเคลื่อนทางยา • หากพบว่ามี BP>160/90 mmHg หรือ HR > 120 ครั้ง/นาทีในผู้ใหญ่ และ BP >120/80 mmHg หรือ HR > 180 ครั้ง/นาที ในเด็ก ให้พิจารณาหยุดยาหรือ ปรับลดขนาดยาลง • หากพบรอยแดง บวม รอยคล้าตามเส้นเลือด บริเวณ IV site ให้เปลี่ยนตาแหน่งในการให้ยา ใหม่
  • 30. Atropine Sulphate injection รูปแบบของยา Atropine sulphate 0.6 mg/ml (1 ml/ampule) ข้อบ่งใช้ ต้านพิษของสารฆ่าแมลงกลุ่ม organophosphates และ carbamates ที่เกิดจากการ กระตุ้น muscarinic receptorต้านฤทธิ์ยาที่ทาให้การเต้นของหัวใจช้าลง ได้แก่ digitalis หรือ beta blockers ต้านฤทธิ์สารที่เป็น cholinergic เช่น เห็ดบางชนิด ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา เป็นยาต้านฤทธิ์การทางานของระบบประสาท parasympathetic โดยเป็น competitive inhibitor ของ acetylcholine มีผลยับยั้งฤทธิ์ของ acetylcholine ที่ muscarinic receptor ลดการหลั่ง น้าลาย น้าเมือก สารคัดหลั่งในหลอดลม ต้านการหดเกร็งของหลอดลม ลด การเคลื่อนไหวของลาไส้
  • 31. Atropine Sulphate injection ขนาดและวิธีใช้ กรณีภาวะเป็นพิษจากสารยาฆ่าแมลงกลุ่ม organophosphates และ carbamates ผู้ใหญ่ 1-5 mg ทางเส้นเลือดดา เด็ก 0.05 mg/kg ทางเส้นเลือดดา ให้ซ้าทุก 5 ถึง 10 นาที จนเห็นฤทธิ์ atropine ชัดเจน ได้แก่ ปากแห้ง คอแห้ง หัวใจเต้นเร็ว ในรายที่ภาวะเป็นพิษ รุนแรงอาจต้องใช้ atropine จานวนหลายกรัมในการแก้พิษ กรณีหัวใจเต้นช้าจากยาประเภทอื่น ผู้ใหญ่ 0.5-1 mg ทางเส้นเลือดดา เด็ก 0.01-0.05 mg/kg โดย ไม่เกิน 0.5 mg ทาง เส้นเลือดดา ให้ซ้าได้ตามความจาเป็น การให้เกิน 3 mg ถ้ายังไม่เห็นผลจากการรักษาควรหยุดให้ ยกเว้นในกรณีหัวใจเต้นช้าจากยา organophosphates สามารถให้ในขนาดสูงกว่านี้ แนวทางการบริหารยา - ให้ 1 mg ฉีดเข้าทางเส้นเลือดดาช้าๆ และให้ซ้าได้ 3-5 นาที หากยังไม่ ตอบสนอง แต่ไม่เกิน 3 mg - กรณีหัวใจเต้นช้า อาจให้ขนาด 0.5-1 mg ซ้าได้ทุก 3-5 นาที ขนาดโดยรวมไม่ เกิน 3 mg หรือ 0.04mg/kg
  • 32. Atropine Sulphate injection ข้อห้ามใช้  ต้อหิน เนื่องจาก atropine จะเพิ่มความดันในลูกตา  ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทาให้หัวใจเต้นเร็ว และมีภาวะหัวใจล้มเหลว  มีการอุดกั้นในทางเดินปัสสาวะจากการเกร็งตัวของ urinary sphincter อาการไม่พึงประสงค์  ปากแห้ง ตาพร่า รูม่านตาขยาย เพิ่มความดันในลูกตา ปัสสาวะไม่ออก ท้องผูก ทาให้ angina pectoris เลวลง  ในผู้ใหญ่ที่ได้รับ atropine น้อยกว่า 0.5 mg ทางเส้นเลือดดาอย่างช้าๆ อาจทา ให้หัวใจเต้นช้า
  • 33. Atropine Sulphate injection ข้อบ่งใช้ / ขนาดยา/วิธีใช้ For child : IV push : 0.02 mg/kg หรือ minimum dose 0.1 mg , maximum dose 0.5 mg ET tube : 0.03 mg/kg หรือ 2-3 mg ผสมใน NSS 10 ml ข้อห้ามใช้ : myasthenia gravis , narrow –angle glaucoma อาการไม่พึงประสงค์ที่สาคัญ : ปากแห้ง ตาพร่า รูม่านตาขยายและการปรับภาพเสีย ปัสสาวะคั่ง ชีพจรเต้นเร็ว การเตรียมยา  สารที่ใช้เจือจาง : ไม่ต้องเจือจาง  ห้ามผสมกับ : Adrenaline ,Ampicillin, Chloramphenicol, Heparin,Warfarin  การบริหารยา : IV push ; อัตราการฉีดยา 0.6 mg ใน 1 นาที การติดตามผล  Monitor : ทุก 5 นาทีจนควบคุมอาการทางคลินิกได้ โดยติดตาม Heart rate , BP, Mental status  Critical point (ให้รายงานแพทย์) : Heart rate > 60/ min ในกรณีข้อบ่งใช้ bradycardia , asystolic Heart rate > 120/ min ในกรณีข้อบ่งใช้ Antidote
  • 34. Dobutamine ชื่อยา ระยะเวลาที่ยาเริ่ม ออกฤทธ์ (onset) ระยะเวลาที่ยา ออกฤทธิ์สูงสุด (peak) ระยะเวลาที่ยา ออกฤทธิ์ (duration) Dobutamine injection 250 mg/20 mL (12.5 mg/mL) 1-2 นาที 10-20 นาที ไม่ระบุ รูปแบบของยา Dobutamine injection 250 mg/20 mL (12.5 mg/mL) ข้อบ่งใช้ (Indication) • เพิ่มการบีบตัวของหัวใจ ในผู้ป่วยที่มีการบีบตัวของหัวใจไม่ดี ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง • ถ้าผู้ป่วยเกิดภาวะ hypovolemia ต้องแก้ไขให้เป็นปกติก่อนเริ่มให้ยา • ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่เป็น idiopathic hypertrophic subaortic stenosis • ระมัดระวังการใช้ในผู้ป่วยที่มีภาวะ myocardial infarction, severe coronary artery disease, cardiac arrhythmia
  • 35. Dobutamine อาการไม่พึงประสงค์ที่สาคัญ • หัวใจเต้นผิดจังหวะ • เจ็บแน่นหน้าอก • คลื่นไส้ อาเจียน • อาการแพ้ยา เช่นผื่น หอบเหนื่อย หายใจลาบาก • หากมีการรั่วออกนอกหลอดเลือด อาจทาให้เกิดเนื้อเยื่อตายได้ การจัดเก็บที่เหมาะสม • เก็บแยกยาไว้ในที่เข้าถึงได้ยาก • ทาสัญลักษณ์เตือนให้ระวัง • Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา • ระวังสับสนกับ Dopamine
  • 36. Dobutamine การสั่งใช้ยา รวมถึงขนาดยาที่ใช้บ่อยในแต่ละข้อบ่งใช้ • Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา • ระวังสับสนกับ DoPAmine • ห้ามใช้คาย่อในการเขียนชื่อยา • การสั่งยาแบบ Dilution ให้ระบุความเข้มข้นเป็น mg/mL เช่น 2 mg/mL ไม่ควรเขียน 2 :1 • ขนาดยาเพื่อให้ cardiac output เพิ่มขึ้นตามต้องการจะอยู่ในช่วง 2.5 ถึง 20 ไมโครกรัม/ กิโลกรัม /นาที • ขนาดยาสูงสุด (MAX dose ) 40 ไมโครกรัม/กิโลกรัม /นาที IV
  • 37. Dobutamine การเตรียมยา รวมถึงการผสมยา • Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา • ระวังสับสนกับ Dopamine • ต้องเจือจางยาฉีดในสารน้าที่เข้ากันได้ ได้แก่ D5W , D5S/2 , D5S, D10W, NSS , LRS • ความเข้มข้นสูงสุด (Maximum concentration) : 5mg/1mL • ห้ามเติมยาฉีด Dobutamine ลงในยาฉีด Sodium bicarbonate หรือสารละลายอื่นๆที่มี ความ เป็นด่างสูง เนื่องจากอาจเกิดการไม่เข้ากันของสารละลาย • ไม่ควรให้ Dobutamineร่วมกับสารละลายที่มีส่วนประกอบของ sodium bisulfite หรือ ethanol • ความคงตัวหลังผสม : เมื่อผสมสารน้าแล้วต้องใช้ภายใน 24 ชั่วโมง สารละลายอาจเปลี่ยนเป็นสี ชมพูซึ่ง เกิดจากการ oxidation ของยาแต่จะไม่ทาให้สูญเสียความแรงของยา การบริหารยา • Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา • ระวังสับสนกับ Dopamine • ควรใช้ Infusion pump
  • 38. Dobutamine การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring) • บันทึก BP, HR ทุก 1 ชั่วโมงขณะให้ยา • หากพบว่ามี BP>160/90 mmHg หรือ HR > 120 ครั้ง/นาทีใน ผู้ใหญ่ และ BP > 120/80 mmHg หรือ HR > 180 ครั้ง/นาที ใน เด็ก ให้แจ้งแพทย์ทันที หรือตามแพทย์สั่ง • ตรวจสอบ infusion pump เสมอ อย่างน้อยทุก 1 ชั่วโมง • ตรวจดูตาแหน่ง IV site ทุก 1 ชั่วโมง ตลอดระยะเวลาที่มีการให้ยา การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์หรือ ความคลาดเคลื่อนทางยา • หากพบว่าผู้ป่วยมี HR หรือ BP มากกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้ ให้พิจารณาหยุด ยาหรือปรับลด ขนาดยาลง • หากพบว่าผู้ป่วยมีผื่น หอบเหนื่อย แน่นหน้าอก ให้หยุดยาทันที • หากพบรอยแดง บวม รอยคล้าตามเส้นเลือด บริเวณ IV site ให้เปลี่ยน ตาแหน่งในการให้ยาใหม่
  • 39. Dopamine ชื่อยา ภาพยา ระยะเวลาที่ยาเริ่ม ออกฤทธ์ (onset) ระยะเวลาที่ยา ออกฤทธิ์สูงสุด (peak) ระยะเวลาที่ยา ออกฤทธิ์ (duration) Dopmin injection 200 mg/ 5mL (40 mg/mL) 1-2 นาที < 5 นาที < 10 นาที Inopin (Dopamine) injection 250 mg/ 10mL (25 mg/mL) 1-2 นาที < 5 นาที < 10 นาที รูปแบบของยา 1. Dopmin injection 200 mg/ 5mL (40 mg/mL) 2. Inopin (Dopamine) injection 250 mg/ 10mL (25 mg/mL)
  • 40. Dopamine ข้อบ่งใช้ (Indication) 1. Low cardiac output 2. Hypotension 3. Poor perfusion of vital organs อาการไม่พึงประสงค์ที่สาคัญ • หัวใจเต้นเร็ว หัวใจเต้นผิดจังหวะ • ความดันโลหิตสูง • ปลายมือ ปลายเท้าเขียว • หากมีการรั่วออกนอกหลอดเลือด อาจทาให้เกิดเนื้อเยื่อตายได้
  • 41. Dopamine ขนาดและวิธีการบริหารยาโดยทั่วไป  เด็ก : 1 – 20 mcg/kg/min ขนาดสูงสุด 50 mcg/kg/min ผู้ใหญ่ : 1 – 5 mcg/kg/min อาจให้ได้ถึง 20 mcg/kg/min (maximum: 50 mcg/kg/min) ขนาดต่า : 2-5 mcg/kg/min เพิ่ม renal blood flow, urine output ขนาดกลาง : 5-15 mcg/kg/min เพิ่ม cardiac output ขนาดสูง : > 20 mcg/kg/min เพิ่ม total peripheral resistance, pulmonary pressure ( Maximum dose : 50 mg/kg/min ) - อาจเพิ่มได้ 1 – 4 mcg/kg/min ในช่วง 10 ถึง 30 นาที จนกระทั่งมีการ ตอบสนอง - หากขนาดที่ใช้สูงกว่า 20-30 mcg/kg/min ควรคานึงถึงการใช้ adrenaline หรือ norepinephrine - ในกรณีที่ต้องใช้ขนาดยาเกิน 50 mcg/kg/min ต้องตรวจสอบ urine output บ่อยๆ หาก urine flow ลดลงควรพิจารณาปรับลดขนาดที่ใช้ลง
  • 42. Dopamine การผสม ความคงตัวของยา และความเข้ากันได้ • Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา • ระวังสับสนกับ DoBUtamine • สารน้าที่เข้ากันได้ ได้แก่ D5W,D5S, NSS, D5S/2 • ห้ามให้ Sodium bicarbonate หรือสารละลายที่เป็นด่างทางสายเดียวกัน เพราะทาให้ Dopamine หมด ฤทธิ์ได้ • ความเข้มข้นสูงสุด (Maximum concentration) : 3.2 mg/mL • ยาที่ผสมแล้วใช้ได้ภายใน 24 ชั่วโมง แต่ถ้าสารละลายเปลี่ยนสีจากสีเหลืองอ่อนๆเป็นสีเข้มขึ้น หรือ เปลี่ยนเป็นสีชมพูต้องทิ้งทันที การบริหารยา • Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา • ควรให้ทางเส้นเลือดใหญ่ (central vein) ยกเว้นในผู้ป่วยที่ไม่สามารถให้ทาง central line ได้จึง ต้องให้ ทาง peripheral line • ควรใช้ Infusion pump • อัตราเร็วสูงสุดในการให้ยา (Max rate) 20 mcg/Kg/min IV • ห้ามหยุดยากระทันหันเพราะความดันจะตกทันที ควรค่อยๆลดขนาดยาลง หรือลด rate of infusion ก่อนหยุดยา
  • 43. Dopamine การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring) • บันทึก BP, HR ทุก 1 ชั่วโมงขณะให้ยา • หากพบว่ามี BP>160/90 mmHg หรือ HR > 120 ครั้ง/นาทีในผู้ใหญ่ และ BP > 120/80 mmHg หรือ HR > 180 ครั้ง/นาที ในเด็ก ให้แจ้งแพทย์ทันที หรือตามแพทย์สั่ง • ตรวจสอบ infusion pump เสมอ อย่างน้อยทุก 1 ชั่วโมง • ตรวจดูตาแหน่ง IV site ทุก 1 ชั่วโมง ตลอดระยะเวลาที่มีการให้ยา การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์หรือ ความคลาดเคลื่อนทางยา • หากพบว่าผู้ป่วยมี HR หรือ BP มากกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้ข้างต้น ให้พิจารณาหยุดยาหรือปรับ ลดขนาดยาลง • หากพบว่าผู้ป่วยมีปลายมือ ปลายเท้าเขียว ให้พิจารณาปรับลดขนาดยาลง • หากพบรอยแดง บวม รอยคล้าตามเส้นเลือด บริเวณ IV site ให้เปลี่ยนตาแหน่งในการให้ยาใหม่
  • 44. Norepinephrine (Levophed) ขนาดและวิธีการบริหารยาโดยทั่วไป การให้ยาแบบ continuous I.V. infusion เด็ก : ขนาดเริ่มต้น 0.05 – 0.1 mcg/kg/min เพิ่มขนาดจนได้ผลที่ต้องการ; maximum dose 2 mcg/kg/min ผู้ใหญ่ : ขนาดเริ่มต้น 0.5 – 1.0 mcg/min เพิ่มขนาดจนได้ผลที่ต้องการ; ขนาดยาที่ใช้ โดยทั่วไปอยู่ ในช่วง 8 – 30 mcg/min Hypotension, shock and cardiopulmonary resuscitation ผู้ใหญ่ : ขนาดเริ่มต้น 8 – 12 mcg/min (maximum dose : 30 mcg/min) เด็ก : ขนาดเริ่มต้น 0.1 mcg/kg/minแล้วค่อยๆ เพิ่มอัตราการหยดยาได้ถึง 2 mcg/kg/min Upper GI Hemorrhage 8 mg ใน NSS 250 mL ทาง intraperitoneal หรือ 8 mg ใน NSS 100 mL ทาง nasogastric tube ทุกชั่วโมง เป็นเวลา 6–8 ชั่วโมง จากนั้นให้ทุก 2 ชั่วโมง เป็นเวลา 4–6 ชั่วโมง รูปแบบของยา Levophed® injection Norepinephrine base 1 mg/mL (4 mL)
  • 45. Norepinephrine (Levophed) อัตราการให้ยาคานวณจากสูตร การผสม ความคงตัวของยา และความเข้ากันได้ • เจือจางยาด้วย D5W หรือ D5S ปริมาตร 100 mL ไม่แนะนาให้เจือจางใน NSS เดี่ยวๆ เพื่อ ป้องกัน การสูญเสียความแรงของยาจากปฏิกิริยา oxidation • ห้ามให้ในสาย I.V. เดียวกันกับเลือดและพลาสมา หรือสารละลายที่เป็นด่าง เช่น sodium bicarbonate • สารละลายที่เจือจางแล้วจะมีความคงตัว 24 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิห้อง โดยเก็บให้พ้น แสง • ห้ามใช้สารละลายที่ขุ่นหรือเปลี่ยนเป็นสีชมพู สีเหลืองเข้ม หรือสีน้าตาล
  • 46. Norepinephrine (Levophed) ข้อปฏิบัติทางการพยาบาล 1. บริหารยาเข้าทางหลอดเลือดดา โดยใช้ infusion pump เพื่อให้สามารถควบคุม การใช้ยาได้ดี 2. เริ่มให้ยาอย่างช้าๆและปรับเพิ่มตามความจาเป็น โดยต้องติดตามดูการตอบสนองของผู้ป่วย เช่น ระดับความดันโลหิต และ cardiovascular parameter อื่นๆ การหยุด ยาต้องค่อยๆ ปรับลดลง ห้าม หยุดยาทันที เพื่อป้องกันภาวะความดันเลือดต่า 3. ควรให้ยาเข้าหลอดเลือดดาใหญ่ตรง antecubital vein ที่ข้อศอกด้านในหรือให้ยาทางหลอด เลือดดา femoral ที่หน้าขา ไม่ควรให้ยาโดยวิธี catheter tie-in เพราะจะทาให้เกิดยาคั่ง เฉพาะที่ MONITORING ▪ ระวังการรั่วซึมของยาออกนอกหลอดเลือด เพราะจะทาให้เกิดเนื้อตาย และหากต้องใช้เป็น เวลานาน ควรเปลี่ยนแปลงบริเวณที่แทงเข็มเข้าหลอดเลือดเป็นระยะ เพื่อลดการเกิดภาวะหลอด เลือดหดตัวในบริเวณที่แทงเข็ม ▪ ตรวจวัดความดันเลือด และชีพจรทุก 2 นาที เมื่อเริ่มให้ยาและวัดทุก 5 นาทีเมื่อความดันเลือด อยู่ในระดับคงที่ที่ต้องการ (ประมาณ 80-100 mmHg systolic) หลังจากนั้นวัดทุก 15 นาที
  • 47. Nitroglycerin injection รูปแบบของยา Nitroglycerin inj. 10 mg/10mL Nitroglycerin inj. 50 mg/10mL ไนโตรกลีเซอรีนเป็นยาบรรเทาปวดจากอาการเจ็บหน้าอก ที่เกิดจาก กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด (angina) มันออกฤทธิ์ขยายหลอดเลือดทั้งหลอดเลือดที่ถูกลิ่มเลือดอุดกั้นอยู่ และหลอดเลือดแดงและ หลอดเลือดดาอื่นทั่วร่างกาย ทาให้ลดความดันเลือดได้ และเกิดผลดีต่อระบบไหลเวียนเลือดด้วย ข้อบ่งใช้ ■ ผู้ป่วยที่ไมตอบสนองต่อ sublingual nitroglycerin และ beta blockers ■ ป้องกนการเกิดAngina ■ acute Angina pectoris ■ โรคหัวใจล้มเหลวหรือหัวใจขาดเลือดที่มีcomplication ■ ความดันโลหิตสูงระหว่างการผ่าตัด ■ induction และ maintenance ความดันโลหิตให้ต่าระหว่างการผ่าตัด
  • 48. Nitroglycerin injection ข้อห้ามใช้ไนโตรกลีเซอรีน 1. ในผู้ป่วยที่มีความดันซีสโตลิกต่ากว่า 90 mm Hg หรือต่าลงกว่าของเดิมเกิน 30 mmหรือมีชีพจรช้ากว่า 50 ครั้งต่อนาที หรือเร็วกว่า 100 ครั้งต่อนาที 2. ถ้าสงสัยว่าจะมี RV infarction จาก inferior wall MI หากจะให้ไน โตรกลีเซอรีนต้องทาด้วยความระมัดระวังอย่างยิ่งเพราะผู้ป่วยกลุ่ม นี้ต้องการให้ น้าเกลือปริมาณที่สูงหัวใจจึงจะทางานดี 3. ห้ามให้ไนเตรทในผู้ป่วยที่เพิ่งได้รับการรักษาภาวะอวัยวะเพศชายไม่แข็งตัว ด้วย ยากลุ่ม phosphodiesterase inhibitor เช่นยา viagra ใน 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา หรือนานกว่านั้นหากเป็นยาชนิดออกฤทธิ์นาน
  • 49. Nitroglycerin injection ควรให้ไนโตรกลีเซอรีนเข้าทางหลอดเลือดดา ในผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจขาด เลือดชนิด STEMI และมีภาวะดังต่อไปนี้ร่วมด้วย - กล้ามเนื้อหัวใจด้านซ้ายล้มเหลว LV failure - มีอาการเจ็บแน่นหน้าอกต่อเนื่อง - มีความดันเลือดสูง - มีภาวะปอดคั่งน้า - ในผู้ป่วยที่เกิดกล้ามเนื้อขาดเลือดซ้า recurrent ischemia ควรให้ไนโตรกลีเซอรีน ทันทีใน 24 – 48 ชั่วโมงแรก โดยควรใช้แบบให้ยา เข้าทางเส้นเลือดเพื่อให้ง่ายต่อการปรับขนาด
  • 50. Nitroglycerin injection การผสมยา NTG 1amp มียา 50 mg / 10 cc( 1cc = 5 mg ) NTG 1:1 = NTG 20 cc (100 mg) + 5 DW 100 cc NTG 1:2 = NTG 10 cc (50 mg) + 5 DW 100 cc NTG 1:5 = NTG 4 cc (20 mg) + 5 DW 100 cc NTG 1:10 = NTG 2 cc (10 mg) + 5 DW 100 cc หรืออาจใช้ Sodium chloride เจือจางได้ และต้องใช้ขวดแก้ว เพื่อหลีกเลี่ยงการดูดซับ ยาโดยบรรจุภัณฑ์พลาสติก ยาที่ผสมแล้วมีความคงตัว 48 ชั่วโมงที่อุณหภูมิห้อง หรือ 7 วันเมื่อ เก็บในตู้เย็น ขนาด: เริ่มที่ขนาด 5 mcg/min โดยให้ผ่านทาง infusion pump สามารถ เพิ่มได้ทีละ 5 mcg/min ทุก 3 - 5 นาที ถ้าจาเป็น จนถึงขนาด 20 mcg/min ถ้ายังไม่ตอบสนองที่ขนาด 20 mcg/min ให้เพิ่ม เป็นทีละ 10 mcg/min ทุก 3 - 5 นาที จนถึงขนาด 200 mcg/min และการ ป้องกันการเกิด Methemoglobinemia หรือพิษยานั้น ห้ามให้ยาใน อัตราเร็วเกิน 40 mcg/min
  • 51. Nitroglycerin injection ข้อห้ามใช้ไนโตรกลีเซอรีน  ในผู้ป่วยที่มีความดันซีสโตลิกต่ากว่า 90 mm Hg หรือต่าลงกว่า ของเดิมเกิน 30 mm .Hg  หรือมีชีพจรช้ากว่า 50 ครั้งต่อนาที หรือเร็วกว่า 100 ครั้งต่อนาที  ถ้าสงสัยว่าจะมี RV infarction จาก inferior wall MI หากจะ ให้ไนโตรกลีเซอรีนต้องทาด้วยความระมัดระวังอย่างยิ่งเพราะผู้ป่วยกลุ่ม นี้ต้องการให้น้าเกลือปริมาณที่สูงหัวใจจึงจะทางานดี
  • 52. Nitroglycerin injection แนวทางการบริหารยา 1. การให้ยาต้องฉีดแบบ IV Infusion เท่านั้น 2. Dilution ที่ใช้อาจจะเป็น 5% Dextrose Inj. B.P. หรือ 0.9% NSS โดยสารละลายจะต้อง อยู่ในภาชนะที่เป็นแก้วเท่านั้น เพราะภาชนะที่เป็นพลาสติกจะดูดสารละลายยาเข้าไปได้ 3. ไม่ควรให้ยากับผู้ป่วยที่เป็นโรคโลหิตจาง หรือผู้ป่วยบาดเจ็บหรือมีเลือดออกในสมองเพราะยาอาจไปเพิ่ม ความดันในกระโหลกศีรษะได้, 4. ไม่ควรให้ยากับผู้ป่วยที่เป็นต้อหินเพราะยาอาจไปเพิ่มความดันของลูกตาได้, 5. ไม่ควรให้ยาร่วมกับแอลกอฮอล์เพราะอาจทาให้ความดันโลหิตลดต่าลงได้ บทบาทของพยาบาล Monitor Blood pressure, Heart rate, PCWP ไม่ควรผสมสารละลายยา Nitroglycerin Injection กับยาตัวอื่นๆ ต้องระวังกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการของความดันโลหิตต่า เช่นเป็น ลม วิงเวียน อ่อนเพลีย โดยเฉพาะความดันโลหิตต่าเมื่อเปลี่ยนอิริยาบทอันเนื่องมาจากได้รับยาเกินขนาด ต้อง consult แพทย์ เพื่อลดขนาดยาลง
  • 53. Adenosine เป็น ในการเปลี่ยนแปลง เป็น (ใช้ใน ที่มี อาการคงที่ ในกรณี ที่อาการไม่คงที่ให้เตรียมทา มีครึ่งชีวิตน้อยกว่า 10 วินาที ยามีกลไกในการกระตุ้นการเปิดของ + และยับยั้ง - 2+ ยา จะไม่ขจัด อย่างเช่น หรือ การใช้ยาร่วมกับ เช่น จะทาให้ยาออกฤทธิ์ได้ลดลง ส่วนการใช้ร่วมกับ เช่น จะทาให้ยาออกฤทธิ์ได้มากขึ้น รูปแบบของยา Adenosine 3 mg / ml , 2 ml vial (Adenocor® ) [ 6 mg / 2 ml vial ]
  • 54. Adenosine คาแนะนาในการฉีด 1. เปิด IV ใกล้ ๆ heart เช่นบริเวณข้อพับแขน 2. เตรียมต่อ 3-way ซึ่งใช้ syringe 20 ml ที่ใส่ saline ไว้คอย flush ตามยาที่ฉีดอย่างรวดเร็ว 3. ติด monitor EKG 4. ยกแขนข้างนั้นขึ้นสูง ฉีดครั้งแรกที่ 6 mg อย่าเร็ว ในเวลา 1-3วินาที ถ้าไม่ตอบสนอง เพิ่มยา เป็น 12 mg หากไม่ตอบสนองอีกให้ขนาด 12 mg ซ้าได้อีก 1 ครั้ง
  • 55. Adenosine Drug interaction - ใช้ร่วมกับ theophylline, caffeine จะทาให้ยาออกฤทธิ์ได้ลดลง - ใช้ร่วมกับ dipyridamole (persantin,posanin) จะทาให้ยา ออกฤทธิ์ได้มากขึ้น การพยาบาล : 1. On EKG monitor และติดตามลักษณะการเต้นของหัวใจ ความดันโลหิต 2. ยามีค่าครึ่งชีวิตสั้นมาก ดังนั้นการเตรียมยาควรใช้ความรวดเร็ว 3. สังเกตอาการที่เกิดจากผลข้างเคียงของยา ได้แก่ ปวดศีรษะ มึนงง วิงเวียน คลื่นไส้อาเจียน ใจสั่น ตามัว หายใจไม่สะดวก ความดันโลหิตต่าเป็นต้น ถ้า (critical point) BP < 90/60 mmHg ให้รายงานแพทย์
  • 56. Cordarone injection รูปแบบของยา Amiodarone injection 150mg/3ml ข้อบ่งใช้ Ventricular arrhythmias รักษา life-threatening recurrent ventricular fibrillation(VF) หรือ hemodynamically unstable ventricular tachycardia (VT) ที่ไม่ตอบสนองการรักษาด้วยวิธีอื่น
  • 57. Cordarone injection การเตรียมยาและความคงตัว : เจือจางยาในสารละลาย 5% dextrose ขึ้นอยู่กับความ ต้องการปริมาณยา การให้ยา : IV infusion 20 นาที ถึง 2 ชั่วโมง สามารถให้ยาอีก 2-3 ครั้ง ภายใน 24 ชั่วโมง อัตราการให้ยาควรปรับให้เหมาะสมซึ่งขึ้นกับผลการรักษา ผลการรักษาจะเกิดขึ้น ภายในนาทีแรกๆ และจะค่อยๆลดลง ดังนั้นควรให้ยาอย่างช้าๆ เพื่อครอบคลุมถึงระดับยา ที่ลดลงด้วย Intravenous injection จะฉีดเข้าเส้นเลือดอย่างช้าๆภายในเวลา อย่างน้อย 3 นาที ไม่ควรฉีดยาซ้าภายใน 15 นาที หลังการฉีดยาครั้งแรก ห้ามผสมสารอื่น ในกระบอกฉีดยาอันเดียวกัน ข้อห้ามใช้: Hypersensitivity to amiodarone, iodine, severe sinus-node dysfunction, bradycardia cause syncope
  • 58. Cordarone injection Children: Arrhythmias: Loading dose 5 mg/kg over 30 min, Maintenance dose 2-20 mg/kg/day by continuous infusion Adult: BreakthroughVF orVT : 150 mg supplemental doses in 100 ml D5W over 10 min PulselessVF orVT : IV push: initial 300 mg in 20-30 ml NSS or D5W, supplemental dose of 150 mg followed by infusion of 1 mg/min for 6 hr then 0.5 mg/min (Max daily dose 2.1 gm) เมื่อเปลี่ยนจากยา ฉีดเป็นยากินให้ทาตาม guideline นี้ <1 week IV infusion: 800-1600 mg/day 1-3 week IV infusion: 600-800 mg/day >3 week IV infusion: 400 mg/day
  • 59. Cordarone injection สารน้าที่เข้ากันได้: ยาผสมได้ใน D5W เท่านั้น การผสมใน NSS อาจตกตะกอน หลังผสมเก็บได้ 5 วันในตู้เย็น และ 24 ชั่วโมงในอุณหภูมิห้อง ห้ามผสมใน สารละลายที่เป็นด่าง เช่น NaHCO3 การบริหารยา - กรณีที่ใช้ความเข้มข้นมากกว่า 2 mg/ml ต้องให้ผ่านทาง central venous catheter กรณีใช้ความเข้มข้นน้อยกว่า 2 mg/ml ให้ใช้ infusion pump ไม่ว่าจะทาง central line หรือ peripheral line - ไม่แนะนาให้ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดาโดยตรง เนื่องจากมีความเสี่ยงเกี่ยวกับการ ไหลเวียนและความดันของโลหิต เช่น ความดันโลหิตต่าอย่างรุนแรง ระบบการ ไหลเวียนโลหิตล้มเหลว ถ้าเป็นไปได้ควรให้ยาโดย IV infusion อย่างช้าๆ - การฉีดยาเข้าหลอดเลือดดาโดยตรง ควรกระทาเฉพาะในกรณีฉุกเฉินเท่านั้น และควร ใช้เฉพาะในหน่วยที่มีการดูแลการทางานของหัวใจเป็นพิเศษ ซึ่งมีการเฝ้าดูแลและ ตรวจคลื่นหัวใจอย่างต่อเนื่อง
  • 60. Cordarone injection อาการไม่พึงประสงค์หรือความเป็นพิษจากการใช้ยา: - ความดันโลหิตต่า - ผิวไวต่อแสง ตาไวต่อแสง การมองเห็นผิดปกติ - หัวใจเต้นผิดจังหวะ, cardiac arrest - คลื่นไส้ อาเจียน - Hypo/hyperthyroidism - เดินเซมึนงงชาบริเวณนิ้วและเท้าแขน/ขาอ่อนแรง
  • 61. Digoxin injection ขนาดของยา Digoxin inj 0.5mg/ 2 ml/ ampule ชื่อยา ระยะเวลาที่ยาเริ่ม ออกฤทธ์ (onset) ระยะเวลาที่ยา ออกฤทธิ์สูงสุด (peak) ระยะเวลาที่ยา ออกฤทธิ์(duration) Lanoxin injection 0.25 mg/mL (2 mL) 5-30 นาที 1-5 ชั่วโมง 2-4 วัน ข้อบ่งใช้ (Indication) 1. Congestive Heart Failure 2. Reduce ventricular rate
  • 62. Digoxin injection ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง • ระวังการใช้ในผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตาย • ระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคไตรุนแรง • ระวังการใช้ในผู้ป่วยที่มี K+ ต่า (ต่ากว่า 3.5 mEq/L) อาการไม่พึงประสงค์ที่สาคัญ • Digitalis Intoxication • หัวใจเต้นช้า หัวใจเต้นผิดจังหวะ • คลื่นไส้ อาเจียน • มองเห็นภาพเป็นสีเหลืองหรือเขียว
  • 63. Digoxin injection การบริหารยา • Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา • ดูระดับ K+ ก่อนให้ยา Digoxin ถ้า K+ ต่ากว่า 3.5 mEq/L ต้อง แจ้งแพทย์เพื่อยืนยัน • ตรวจชีพจรและลงบันทึกก่อนให้ยา ในผู้ใหญ่ถ้าชีพจรต่ากว่า 60 ครั้ง/นาที ในเด็กชีพจรเต้นช้า ผิดปกติเมื่อเทียบตามอายุ ให้แจ้งแพทย์เพื่อยืนยัน ก่อนให้ยา o เด็ก < 1ปี HR ต่ากว่า 100 ครั้ง/นาที o เด็ก 1-6 ปี HR ต่ากว่า 80 ครั้ง/นาที o เด็ก > 6 ปี HR ต่ากว่า 60 ครั้ง/นาที • ชนิดฉีด IV ฉีดช้าๆ เป็นเวลา 5 นาที หรือมากกว่า
  • 64. Digoxin injection การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring) • กรณี Digoxin ฉีด ควรมีการ monitor EKG ขณะฉีดยาและหลังฉีดยา 1 ชั่วโมง กรณี Digoxin ฉีด ให้บันทึก HR ทุก 15 นาที ติดต่อกัน 2 ครั้ง ต่อไปทุก 30 นาที ติดต่อกัน 3 ครั้ง ต่อไปทุก 1 ชั่วโมง จนครบ 5 ชั่วโมง ถ้าผิดปกติให้แจ้งแพทย์ • กรณีที่เป็นผู้ป่วยในให้ซักถามและสังเกตอาการของภาวะ Digitalis Intoxication ทุกวัน เช่น อาการคลื่นไส้ อาเจียน มองเห็นแสงสีเขียวเหลือง • ควรตรวจระดับ K+ สัปดาห์ละครั้ง กรณีเป็นผู้ป่วยใน • ถ้าสงสัยว่าเกิด Digitalis Intoxication ให้ส่งตรวจวัดระดับยาในเลือดทันที (therapeutic level อยู่ที่ 0.8-2 ng/mL) ถ้าเกิน 2 ng/mL ต้องไม่ให้ยาต่อ และแจ้งแพทย์ทันที
  • 65. Digoxin injection การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์หรือ ความคลาดเคลื่อนทางยา • เมื่อเกิดภาวะ Digitalis Intoxication ให้ติด monitor EKG ทันที • หากได้รับยาโดยการรับประทาน ภายใน 6-8 ชั่วโมง พิจารณาให้ Activated charcoal ขนาด 1 mg/kg เพื่อช่วยดูดซับยา ที่หลงเหลือในทางเดินอาหาร
  • 66. Potassium chloride รูปแบบของยา (Potassium Chloride injection) 10 ml Contains KCl 1.5 gm or 20 mEq ข้อบ่งใช้ (Indication) ภาวะ Hypokalemia ที่ไม่สามารถให้ K+ ทดแทนโดยการกินได้หรือ ในกรณีที่ K+ ใน เลือดลดลงอย่างรวดเร็ว ต่ากว่า 2.5 mEq/L และมีความเสี่ยงสูงจากการเต้นของหัวใจอย่างผิดปกติ (cardiac arrhythmia)
  • 67. Potassium chloride ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง • ห้ามให้ IV push หรือ bolus • ระมัดระวังในการใช้กับผู้ป่วยที่มีภาวะไตวายหรือมีปัสสาวะออกน้อย อาการไม่พึงประสงค์ที่สาคัญ • อาการผู้ป่วยที่มี K+ สูง คลื่นไส้ ใจสั่น หัวใจเต้นช้า กล้ามเนื้ออ่อนแรง อึดอัด แน่น หน้าอก ชาตามปลายมือปลายเท้า • หากมีการรั่วออกนอกหลอดเลือด อาจทาให้เกิดเนื้อเยื่อตายได้ การเตรียมยา รวมถึงการผสมยา • Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา • ต้องเจือจางกับสารน้าก่อนให้ผู้ป่วยเสมอ (20-40 mEq/L) และควรสั่งสารน้าควบคู่ กันเสมอ • ต้องเจือจางและพลิกกลับไปมาให้เข้ากันดีกับสารน้าก่อนให้ผู้ป่วยเสมอ ห้ามผสม K+ ลงไปในถุงหรือขวดสารน้าที่กาลังแขวนให้ผู้ป่วยอยู่
  • 68. Potassium chloride การบริหารยา • Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาดยา • ห้ามให้ IV push หรือ bolus • ห้ามให้ IV ที่ผสม K+ ในการ loading • ควรให้ยาผ่าน Infusion pump peripheral line : Maximum concentration 80 mEq/L ; Max rate of admin : 10 mEq/hour central line : Maximum concentration 150 mEq/L และ ในผู้ป่วย ที่มีการจากัดน้าอย่างมาก (central line) 200 mEq/L ; Max rate of admin : 40 mEq/hour
  • 69. Potassium chloride การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring) • ถ้าให้ในอัตราเร็ว 10-20 mEq/hr ต้องวัด HR , BP อย่างน้อย ทุก 1 ชั่วโมง พร้อม ติดตาม EKG • ถ้าให้ 40-60 mEq/L ในอัตราเร็ว 8-12 ชั่วโมง ให้วัด HR และ BP ทุก 4-6 ชั่วโมง • หากพบว่าผู้ป่วย BP ไม่อยู่ระหว่าง 160/110 และ 90/60 mmHg หรือ HR ไม่อยู่ ระหว่าง 60-100 ครั้ง/นาที ให้รีบรายงานแพทย์ • มีการตรวจติดตามค่า K+ เป็นระยะ ตามความรุนแรงของผู้ป่วย • ซักถามและติดตามอาการของ K+ สูง ได้แก่ คลื่นไส้ ใจสั่น หัวใจเต้นช้า กล้ามเนื้ออ่อนแรง อึดอัด แน่นหน้าอก ชาตามปลายมือปลายเท้าทุกวัน ในช่วงที่ผู้ป่วยได้รับ K+ อยู่ • ตรวจสอบ infusion pump เสมอ อย่างน้อย ทุก 4 ชั่วโมง
  • 70. Potassium chloride การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์หรือ ความคลาดเคลื่อนทางยา • หากพบว่าผู้ป่วยมีอาการของ K+ สูง ได้แก่ คลื่นไส้ ใจสั่น หัวใจเต้นช้า กล้ามเนื้ออ่อนแรง อึดอัด แน่น หน้าอก ชาตามปลายมือปลายเท้า หรือ HR และ BP ไม่อยู่ในเกณฑ์ข้างต้น ให้หยุดการให้ K+ ไว้ ก่อนและให้ตรวจวัดระดับ K+ในเลือดทันที • หากพบว่าผู้ป่วยมีค่า K+ สูงมากกว่า 5 mEq/L ให้หยุดการให้ K+ ทันที ทาการตรวจคลื่นไฟฟ้า หัวใจ เพื่อดูว่ามีลักษณะที่เข้าได้กับภาวะ hyperkalemia เช่นพบลักษณะของ T wave สูง (tall peak T) หรือไม่ หากพบว่า EKG มีลักษณะผิดปกติ ให้ติด monitor EKG • พิจารณาให้การรักษาภาวะ hyperkalemia ตามอาการและความรุนแรง โดยพิจารณารักษาดังนี้ การรักษาที่ออกฤทธิ์ทันที ภายใน 1-3 นาที คือการให้ 10% calcium gluconate 10 ml IV push ช้าๆ เพื่อไปต้านฤทธิ์ของ K+ ที่เยื่อหุ้มเซลล์ ระหว่างการฉีด 10% calcium gluconate ควรมีการ monitor EKG ด้วยทุกครั้ง ในกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการรุนแรง เช่นมีหัวใจเต้นผิดจังหวะ พิจารณาให้ 10% calcium gluconate ซ้าได้อีก
  • 71. Potassium chloride การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์หรือ ความคลาดเคลื่อนทางยา • การรักษาที่ออกฤทธิ์เร็วปานกลาง ภายในเวลา 10-30 นาที โดยทาให้ potassium ในเลือดถูกดึงเข้า เซลล์ คือการให้ 50% glucose 40-50 ml+ regular insulin (RI) 5-10 unit IV push การรักษาด้วย วิธีนี้ให้มีการติดตามระดับ Capillary blood glucose ร่วมด้วย • การรักษาที่ออกฤทธิ์ช้า เป็นการรักษาเพื่อเร่งการขับถ่าย K+ ออกจากร่างกาย โดยใช้ยาที่มี คุณสมบัติเป็น Cation exchange resin ได้แก่ kayexalate หรือ kalimate 30-60 g สวนเก็บทางทวารหนัก ซึ่งจะออกฤทธิ์ภายในเวลา 30 นาที หรือหากให้รับประทาน จะ ออกฤทธิ์ภายใน 2 ชั่วโมง โดย kayexalate นั้นจะต้องละลายใน sorbitol ทุกครั้ง • ในกรณีที่ผู้ป่วยมีการทางานของไตบกพร่องหรือไม่สามารถแก้ไขภาวะ hyperkalemia ได้ด้วยวิธี ดังกล่าวข้างต้น ให้ปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโรคไต พิจารณาทาการล้างไต (dialysis) • ตรวจติดตามค่า K+ เป็นระยะทุก 4-6 ชั่วโมงภายหลังได้รับการรักษา • หากพบรอยแดง บวม รอยคล้าตามเส้นเลือด บริเวณ IV site ให้เปลี่ยนตาแหน่งในการให้ยาใหม่
  • 73. คาถาม Pre-test Post-test 1. ข้อใด ไม่ถูกต้อง ในการบริหารยา Adrenaline A. ระมัดระวังการใช้ในผู้ป่วยที่มีโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ โรคของหลอดเลือดส่วน ปลาย (peripheral vascular disease) B. การบริหารยาแบบ intravenous infusion ต้องบริหารผ่านหลอดเลือดดา ใหญ่โดยใช้ infusion pump C. ยานี้เมื่อผสมในสารละลายใดๆ จะคงตัวได้ 48 ชั่วโมง ทั้งที่อุณหภูมิห้องหรือ ใน ตู้เย็น D. ตรวจดูตาแหน่ง IV site ทุก 1 ชั่วโมง ตลอดระยะเวลาที่มีการให้ยา เฉลย ข้อ C เหตุผล : ยานี้เมื่อผสมในสารละลายใดๆ จะคงตัวได้ 24 ชั่วโมง ทั้งที่อุณหภูมิห้อง หรือ ในตู้เย็น
  • 74. คาถาม Pre-test Post-test 2. ข้อใดต่อไปนี้ คืออาการไม่พึงประสงค์จากการได้รับยา Adrenaline A. หัวใจเต้นเร็ว หัวใจเต้นผิดจังหวะ B. ปลายมือ ปลายเท้าเขียว C. ความดันโลหิตสูง D. ถูกทุกข้อ เฉลย ข้อ D เหตุผล : อาการไม่พึงประสงค์ หัวใจเต้นเร็ว หัวใจเต้นผิดจังหวะ ความดันโลหิตสูง ปลายมือ ปลายเท้า เขียว หากมีการรั่วออกนอกหลอดเลือด อาจทาให้เกิด เนื้อเยื่อตายได้ หากพบว่ามี BP>160/90 mmHg หรือ HR > 120 ครั้ง/นาทีในผู้ใหญ่ ให้พิจารณาหยุดยาหรือปรับ ลดขนาดยาลงหากพบรอยแดง บวม รอยคล้าตามเส้นเลือด บริเวณ IV site ให้เปลี่ยน ตาแหน่งในการให้ยาใหม่
  • 75. คาถาม Pre-test Post-test 3. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการบริหารยา DOBUTAMINE A. ห้ามให้ IV PUSH B. ห้ามให้ SODIUM BICARBONATE หรือสารละลายที่เป็นด่าง ทางสายเดียวกัน C. ถ้าผู้ป่วยเกิดภาวะ hypovolemia ต้องแก้ไขให้เป็นปกติก่อนเริ่มให้ยา D. ถูกทุกข้อ เฉลย ข้อ D เหตุผล : ห้ามเติมยาฉีด dobutamine ลงในยาฉีด Sodium bicarbonate หรือสารละลายอื่นๆที่มีความ เป็น ด่างสูง เนื่องจากอาจเกิดการไม่เข้ากันของสารละลาย ต้องเจือจางยาฉีดในสารน้าที่เข้ากันได้ ได้แก่ D5W , D5S/2 , D5S, D10W, NSS , LRS บริหารยาแบบ I.V. infusion ผ่านหลอดเลือดดาใหญ่โดยใช้ infusion pump ห้ามให้ IV PUSH อย่างเด็ดขาด
  • 76. คาถาม Pre-test Post-test 4. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับยา Dobutamin A เพิ่มการบีบตัวของหัวใจ ในผู้ป่วยที่มีการบีบตัวของหัวใจไม่ดี B ถ้าผู้ป่วยเกิดภาวะ hypovolemia ต้องแก้ไขให้เป็นปกติก่อนเริ่มให้ยา C การสั่งยาแบบ Dilution ให้ระบุความเข้มข้น เช่น Dobutamin 2 : 1 D เมื่อผสมสารน้าแล้วต้องใช้ภายใน 24 ชั่วโมง สารละลายอาจเปลี่ยนเป็นสีชมพู ซึ่งเกิดจากการ oxidation ของยาแต่จะไม่ทาให้สูญเสียความแรงของยา เฉลย ข้อ C เหตุผล การบริหารยาเมื่อมีการสั่งยาแบบ Dilution ให้ระบุความเข้มข้น เป็น mg/mL เช่น Dobutamin 200 mg ในสารละลาย 100 ml = 2 mg/mL ไม่เขียนคาย่อ 2:1 เพื่อป้องกันการเกิดความคลาดเคลื่อนทางยา
  • 77. คาถาม Pre-test Post-test 5. แพทย์สั่งให้ยา DOPAMINE (2: 1) IV DRIP 10 CC/ hr หากต้องการผสมยาสาหรับ drip ต้องดูดยากี่ cc กาหนดให้ผสมยาใน 5% DW 100 ml ( DOPAMINE 1 amp มียา 250 MG / 10 ml) A. 4 CC B. 8 CC C. 10 CC D. 12 CC เฉลย ข้อ B เหตุผล : แพทย์สั่งให้ยา DOPAMINE (2: 1) IV DRIP 10 CC/ hr 2: 1 หมายความว่า DOPAMINE 2 mg : 5% DW 1 ml หากต้องการผสมยาใน 5% DW 100 ml 2 mg X 100 ml / 1 ml = 200 mg DOPAMINE 1 amp มียา 250 MG / 10 ml ถ้าต้องการดูดยา 200 mg = 8 ml
  • 78. คาถาม Pre-test Post-test 6. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการบริหารยา DOPAMINE A. ควรเลือกให้ยาทางเส้นเลือดใหญ่ (central vein) ก่อน ยกเว้นในผู้ป่วยที่ไม่มี central line สามารถให้ทาง peripheral line ได้ B. ระหว่าที่ drip ยา หากพบว่าผู้ป่วย BP สูง ควรรีบหยุดยาทันที C. ระหว่าง drip ยา อาจเกิดภาวะหัวใจเต้นเร็ว หัวใจเต้นผิดจังหวะได้ D. หากพบรอยแดง บวม รอยคล้าตามเส้นเลือด บริเวณ IV site ให้เปลี่ยน ตาแหน่งในการให้ยาใหม่ เฉลย ข้อ B เหตุผล : ห้ามหยุดยากะทันหัน เพราะความดันจะตกทันที ควรค่อยๆลดขนาดยาลง หรือลด rate of infusion ก่อน หยุดยา
  • 79. คาถาม Pre-test Post-test 7. เพื่อป้องกัน การสูญเสียความแรงของยาจากปฏิกิริยา oxidation ไม่ควรผสม Levophed กับสารละลายชนิดใด A. NSS B. 5% D/W C. 5% D/NSS D. Sterile water เฉลย ข้อ A เหตุผล : ควรเจือจางยาด้วย D5W หรือ D5S ปริมาตร 100 ml ไม่แนะนาให้เจือจางใน NSS เดี่ยวๆ เพื่อป้องกัน การสูญเสียความแรงของยาจากปฏิกิริยา oxidation
  • 80. คาถาม Pre-test Post-test 8. ข้อใดต่อไปนี้ ถูกต้อง ในการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยา Levophed A. พยาบาล ก. บริหารยาเข้าทางหลอดเลือดดา โดยใช้ infusion pump เพื่อให้สามารถควบคุม การใช้ยาได้ดี B. พยาบาล ข. เมื่อผู้ป่วย BP ดีขึ้น ค่อยๆ ปรับลดยาลง ไม่หยุดยาทันที เพื่อป้องกัน ภาวะความดันเลือดต่ากะทันหัน C. พยาบาล ค. เปลี่ยนบริเวณที่แทงเข็มเข้าหลอดเลือดเป็นระยะ เพื่อลดการเกิดภาวะ หลอดเลือดหดตัวในบริเวณที่แทงเข็มให้ยา D. ถูกทุกข้อ เฉลย ข้อ D เหตุผล: บริหารยาเข้าทางหลอดเลือดดา โดยใช้ infusion pump เพื่อให้สามารถควบคุม การใช้ยาได้ดี เริ่มให้ยาอย่าง ช้าๆและปรับเพิ่มตามความจาเป็น โดยต้องติดตามดูการตอบสนองของผู้ป่วย เช่น ระดับความดันโลหิต และ cardiovascular parameter อื่นๆ การหยุดยาต้องค่อยๆ ปรับลดลง ห้าม หยุดยาทันที เพื่อป้องกันภาวะ ความดันเลือดต่า ระวังการรั่วซึมของยาออกนอกหลอดเลือด เพราะจะทาให้เกิดเนื้อตาย และหากต้องใช้เป็น เวลานาน ควรเปลี่ยนแปลงบริเวณที่แทงเข็มเข้าหลอดเลือดเป็นระยะ เพื่อลดการเกิดภาวะหลอดเลือดหดตัวใน บริเวณที่แทงเข็ม
  • 81. คาถาม Pre-test Post-test 9. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่อาการแสดง จากการได้รับยา Atropine เกินขนาด A. ตาพร่ามัว รูม่านตาขยาย B. Bradycardia C. ความดันโลหิตสูง D. ความดันในลูกตาเพิ่ม เฉลย ข้อ B เหตุผล : Atropine เป็นยาต้านฤทธิ์การทางานของระบบประสาท parasympathetic โดยเป็น competitive inhibitor ของ acetylcholine มีผลยับยั้งฤทธิ์ของ acetylcholine ที่ muscarinic receptor ลดการหลั่ง น้าลาย น้าเมือก สารคัดหลั่งในหลอดลม ต้านการหดเกร็งของหลอดลม ลดการเคลื่อนไหวของลาไส้ ทาให้หัวใจเต้นเร็วขึ้น แรงบีบตัวมากขึ้น อาการพิษ : ตาพร่า ม่านตาขยาย ปากแห้ง ปัสสาวะ คั่ง หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง อุณหภูมิในร่างกายสูงขึ้น ข้อห้ามใช้ ในผู้ป่วยต้อหิน เนื่องจาก Atropine จะเพิ่มความ ดันในลูกตา
  • 82. คาถาม Pre-test Post-test 10. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการบริหารยา Atropine A. ให้ Atropine 1 mg ฉีดเข้าทางเส้นเลือดดาช้าๆ และให้ซ้าได้ 3-5 นาที หากยังไม่ตอบสนอง แต่ไม่เกิน 3 mg B. Atropine ใช้เป็น Antidote ในคนไข้ที่ได้รับสารเคมีพวกยาฆ่า แมลงได้แก่ Carbamate, Organophosphate C. บริหารยาโดยการให้ทาง IV เท่านั้น D. ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง (myasthenia gravis) เฉลย ข้อ C เหตุผล :Atropine รักษาภาวะหัวใจเต้นช้าผิดจังหวะ (Sinus bradycardia) ขนาด 0.5 - 1 mg IV ซ้าได้ทุก 3-5 นาที ขนาดโดยรวมไม่เกิน 3 mg หรือไม่เกิน 0.04 mg/kg ให้ทาง Endotracheal tube ขนาด 1-2 mg เจือจางใน sterile water หรือ NSS 10 ข้อควรระวัง: ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่แพ้ยานี้, ห้ามใช้ ในผู้ป่วย narrow-angle glaucoma, ผู้ป่วยที่มีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง (myasthenia gravis) ระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคตับหรือโรคไต
  • 83. คาถาม Pre-test Post-test 11. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ถูกต้องเกี่ยวการใช้ Nitroglycerin injection A. ใช้รักษาภาวะ pulmonary congestion หรือมีภาวะหัวใจล้มเหลว B. ระมัดระวังในการใช้กับผู้ป่วยที่สงสัยว่าจะมี RV infarction จาก inferior wall MI C. สามารถผสมยาใน บรรจุภัณฑ์พลาสติก (PVC)ได้โดยไม่สูญเสียความคงตัวของยา D. ไม่ควรให้ยา ในผู้ป่วยบาดเจ็บหรือมีเลือดออกในสมองเพราะยาอาจไปเพิ่มความดันใน กะโหลกศีรษะได้ เฉลย ข้อ C เหตุผล: การผสมยาและความคงตัว สามารถใช้ 5%DW หรือ NSS เป็นตัวผสม และต้องใช้ ขวดแก้ว เพื่อหลีกเลี่ยงการดูดซับยาโดยบรรจุภัณฑ์พลาสติก (PVC) ภาชนะบรรจุเป็นแก้วและ polyethylene, polyolefin ไม่ค่อยมีปัญหา incompatible
  • 84. คาถาม Pre-test Post-test 12.ควรให้ Nitroglycerin injection ในผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดชนิด STEMI ที่มี complication ใดร่วมด้วย A. กล้ามเนื้อหัวใจด้านซ้ายล้มเหลว LV failure B. มีอาการเจ็บแน่นหน้าอกต่อเนื่อง C. ในผู้ป่วยที่เกิดกล้ามเนื้อขาดเลือดซ้า recurrent ischemia D. ถูกทุกข้อ เฉลย ข้อ D เหตุผล: ควรให้ไนโตรกลีเซอรีนเข้าทางเส้นเลือด ในผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดชนิด STEMI และและมีภาวะดังต่อไปนี้ร่วมด้วย กล้ามเนื้อหัวใจด้านซ้ายล้มเหลว LV failure , มีอาการเจ็บแน่นหน้าอก ต่อเนื่อง, มีความดันเลือดสูง, ในผู้ป่วยที่เกิดกล้ามเนื้อขาดเลือดซ้า recurrent ischemia, มีภาวะ pulmonary congestion ควรให้ไนโตรกลีเซอรีน ทันทีใน 24 – 48 ชั่วโมงแรก โดยควรใช้แบบให้ยาเข้า ทางเส้นเลือดเพื่อให้ง่ายต่อการปรับขนาด
  • 85. คาถาม Pre-test Post-test 13. ข้อใดต่อไปนี้ ถูกต้อง ในการให้ Adenosine A. พยาบาล ก. ให้ยาแบบ IV Rapid Bolus ใช้ syringe 20 ml ที่ใส่ saline ไว้ คอย flush ตามยาที่ฉีดอย่างรวดเร็ว B. พยาบาล ข. เปิด IV ให้ยาบริเวณหลังเท้า เพื่อลดอาการแขนบวมจากการให้ยา C.พยาบาล ค. เจือจางยาด้วย D5W หรือ D5S ปริมาตร 100 ml และ drip ให้ ผู้ป่วย โดยใช้ infusion pump D. ถูกทุกข้อ เฉลย ข้อ A เหตุผล: คาแนะนาในการฉีด ให้เปิด IV ใกล้ ๆ heart เช่นบริเวณข้อพับแขนเตรียมต่อ 3-way ซึ่งใช้ syringe 20 ml ที่ใส่ saline ไว้คอย flush ตามยาที่ฉีดอย่างรวดเร็ว ติด monitor EKG ยก แขนข้างนั้นขึ้นสูง ฉีดครั้งแรกที่ 6 mg อย่าเร็วในเวลา 1-3วินาที ถ้าไม่ตอบสนอง เพิ่มยา เป็น 12 mg หากไม่ ตอบสนองอีกให้ขนาด 12 mg ซ้าได้อีก 1 ครั้ง
  • 86. คาถาม Pre-test Post-test 14. ข้อใด กล่าวไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับยา Adenosine A. เป็น drug of choice ในการเปลี่ยนแปลง paroxysmal supraventricular tachycardia(SVT) เป็น sinus rhythm B. Adenosine มีครึ่งชีวิตน้อยกว่า 10 วินาที การให้ยาควรให้ยาเร็วที่สุด C. ยามีกลไกในการกระตุ้นการเปิดของ K+ channel และยับยั้ง cAMP-induced Ca2+ influx D. ยา adenosine สามารถขจัด arrhythmia อย่างเช่น atrial flutter, atrial Fibrillati , atrial หรือ ventricular tachycardia ได้ เฉลย ข้อ D เหตุผล เป็น ในการเปลี่ยนแปลง เป็น (ใช้ใน ที่มีอาการคงที่ ในกรณี ที่อาการไม่คงที่ให้เตรียมทา มีครึ่งชีวิตน้อยกว่า 10 วินาที ยามี กลไกในการกระตุ้นการเปิดของ + และยับยั้ง - 2+ ยา จะ ไม่ขจัด อย่างเช่น หรือ
  • 87. คาถาม Pre-test Post-test 15. ข้อใดกล่าวถึงการบริหารยา Cordarone ได้ถูกต้อง A สามารถผสมได้ใน D5W เท่านั้น การผสมใน NSS อาจตกตะกอน B . หลังผสมยาสามารถเก็บยาได้ 48 ชั่วโมงในอุณหภูมิห้อง C . สามารถผสมใน สารละลายที่เป็นด่าง เช่น NaHCO3 ได้ โดยไม่ตกตะกอน D. ในภาวะ Cardiac arrest ( VT/Pulseless VT) การให้ยาครั้งแรก คือ dose 150 mg และ 300 mg ตามลาดับ เฉลย ข้อ A Cordarone ต้องผสมได้ใน D5W เท่านั้น การผสมใน NSS ทาให้ยาตกตะกอน . หลัง ผสมยาสามารถเก็บยาได้ 24 ชั่วโมงในอุณหภูมิห้อง ห้ามผสมใน สารละลายที่เป็นด่าง เช่น NaHCO3เนื่องจากตกตะกอน และในภาวะ Cardiac arrest ( VT/Pulseless VT) การให้ยาครั้งแรก คือ dose 150 mg และ 300 mg ตามลาดับ