SlideShare a Scribd company logo
1 of 101
Download to read offline
SIAM CAST IRON WORKS                                             S.O.P.
                                          CO., LTD.                                                 DS73012
                                  มาตรฐานการเขียนแบบทางวิศวกรรม
1.ขนาดและรูปแบบกระดาษเขียนแบบ (Sizes and layout of drawing sheets)
    มาตรฐานขนาดและรูปแบบกระดาษเขียนแบบจะยึดตามมาตรฐาน ISO 5457:1999(E)
1.1 ขนาด(Sizes)
    ตองเลือกใชกระดาษขนาดเล็กที่สุดจากขนาดกระดาษมาตรฐานเพื่อขนาดกระดาษที่ใชเขียนแบบตนฉบับ(original drawing)
    โดยแบบที่เขียนบนกระดาษที่เขียนบนกระดาษที่เลือกใชตองยังคงไดรายละเอียดและความชัดเจน
    ขนาดกระดาษที่ใชเขียนแบบจะใชขนาดกระดาษมาตรฐาน ISO-A series(ดู ISO 216) ซึ่งแสดงในตารางที่1.1-1
           ตารางที่1.1-1 ขนาดกระดาษกอนตัด,ขนาดกระดาษหลังตัดและพื้นที่เขียนแบบ
                                            กระดาษหลังตัด      พื้นที่เขียนแบบ     กระดาษกอนตัด
               ชื่อกระดาษ          รูป       a1           b1    a2        b2        a3        b3
                                             1)           1)   ±0.5      ±0.5       ±2        ±2
                   A0               1        841      1189     821       1159      880      1230
                   A1               1        594      841      574       811       625      880
                   A2               1        420      594      400       564       450      625
                   A3               1        297      420      277       390       330      450
                   A4               2        210      297      180       277       240      330
         Note - - ขนาดกระดาษที่ใหญกวา A0, ดู ISO 216.
         1) คา tolerances, ดู ISO 216.




               รูปที่ 1.1-1 ขนาด A3 ถึง A0                                    รูปที่ 1.1-2 ขนาด A4
               ขนาดในหนวย มิลลิเมตร(mm)                                      ขนาดในหนวย มิลลิเมตร(mm)
               ชื่อกระดาษ(designation) จะตองระบุไวในขอบลางมุมดานขวามือ (ดูรูปที่ 1.2-2)
   หมายเหตุ : 1. กระดาษกอนตัด (untrimmed sheet,U)
               2. กระดาษหลังตัด (trimmed sheet,T) ขนาดกระดาษหลังตัดจะเปนขนาดกระดาษเขียนแบบมาตรฐานสําหรับใชงาน

                                                1 / 101                 TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS                                             S.O.P.
                                       CO., LTD.                                                 DS73012
1.2 ขอกําหนดการใชกระดาษเขียนแบบ
   เพื่อความชัดเจนและเหมาะสมของงานเขียนแบบกําหนดใหมาตรฐานการใชกระดาษเขียนแบบดังนี้
          ตาราง 1.2-1
                                                ขอกําหนดการใช
                  Part
                                    A4       B4        A3       A2         A1          Yes    ขนาดแนะนําใชงาน
           Assembly Drawing        O.K.      Yes      O.K.     O.K.       O.K.
                  Body             O.K.       -       Yes      O.K.       O.K.         O.K.   ขนาดอื่นๆที่ใชงานได
                 Bonnet            O.K.       -       Yes      O.K.       O.K.
                  Dics             O.K.       -       Yes      O.K.       O.K.           -    ขนาดหามใชงาน
           Part ขนาดใหญอื่นๆ      O.K.       -       Yes      O.K.       O.K.
           Part ขนาดเล็กอื่นๆ      Yes        -       O.K.     O.K.       O.K.




                                            2 / 101                   TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS                                               S.O.P.
                                         CO., LTD.                                                   DS73012
1.3 ขอบและกรอบ (Borders and frame)
   ขอบแบบ(border) คือสวนที่ถูกลอมรอบดวยขอบของกระดาษและกรอบพื้นที่เขียนแบบซึ่งตองมีในแบบทุกขนาด ขอบดานซาย
   จะตองมีความกวาง 20 mm.โดยวัดระยะจากขอบของกระดาษถึงเสนกรอบพื้นที่เขียนแบบ เพื่อใหมีพื้นที่สําหรับเก็บแบบเขา
   แฟม สวนขอบดานอื่นๆจะมีความกวางเปน 10 mm.ดูรูปที่ 1.3-1

   กรอบพื้นที่เขียนแบบจะตองเขียนดวยเสนเต็ม ขนาดความหนาเสน 0.7 mm.




                                            รูปที่ 1.3-1 ขอบแบบ(Border)



1.3.1 เครื่องหมายแกนกลาง (Centring marks)
   เพื่อใหงายตอการระบุตําแหนงของแบบเมื่อทําการถอดแบบหรือทําไมโครฟลม(microfilmed) จะตองทําเครื่องหมายแกนกลาง
   เครื่องหมายทั้ง 4 จะเขียนแสดงที่ปลายของแกนสมมาตรทั้ง 2 ของกระดาษเขียนแบบ(Trimmed sheet)ดวยคาพิกัด
   ความเผื่อ(tolerance) ±1 รูปแบบเครื่องหมายแกนกลางจะไมบังคับแตแนะนําวาควรแสดงในรูปแบบของเสนเต็มดวยคาความ
   หนาเสน 0.7 mm. โดยลากเปนเสนตรงความยาว 10 mm.จากขอบอางอิงกริด(grid reference border) ผานกรอบพื้นที่เขียนแบบ
   ตรงไปในแนวเดียวกับแกนสมมาตรกระดาษเขียนแบบดูรูปที่ 1.3.2-1 ขนาดกระดาษที่ใหญกวา A0 ตองเพิ่มเครื่องหมายแกน
   กลางที่จุดกึ่งกลางของแตละสวนที่ทํา ไมโครฟลม
                                                




                                               3 / 101                    TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS                                             S.O.P.
                                             CO., LTD.                                                  DS73012
1.3.2 ระบบอางอิงกริด(Grid reference system)
   กระดาษเขียนแบบตองแบงเปนสวนๆ(fields)เพื่อใหงายตอการการระบุตําแหนงของรายละเอียด,การเพิ่มเติม,การแกไข ฯลฯ
   บนแบบ(ดูรูปที่ 1.3.2-1)
   ในแตละพื้นที่(fields)ที่ถูกแบง จะระบุพิกัดอางอิงดวยตัวอักษรพิมพใหญ(ยกเวนตัวอักษร I และ O)เรียงจากบนลงลางและ
   จากตัวเลขเรียงจากซายไปขวา โดยอางอิงจากทั้งสองดานของกระดาษ สําหรับกระดาษขนาด A4 ระบุเฉพาะดานบนและดาน
   ขวาเทานั้นตัวอักษรใชขนาดความสูงขนาด3.5 mm. ขนาดชวงพิกัดฉากยาว 50 mm มี่จุดเริ่มตนที่แกนสมมาตร(centring mark)
   ของกระดาษเขียนแบบ จํานวนชวงของการแบงขึ้นกับขนาดกระดาษเขียนแบบ (ดูตารางที่ 1.3.2-1) ผลตางที่เกิดขึ้นจากการ
   แบงชวงพิกดจะถูกรวมไวกบชวงที่อยูติดกับมุม
              ั                 ั




          รูปที่ 1.3.2-1 ระบบอางอิงกริดและเครื่องหมายแกนกลาง (Grid reference system and centring marks)

          ตารางที่ 1.3.2-1 จํานวนชวงพิกัดฉาก
              Designation         A0        A1       A2        A3        A4
               ดานยาว            24        16       12         8         6
               ดานสั้น           16        12       8          6         4




                                                 4 / 101                  TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS                                             S.O.P.
                                          CO., LTD.                                                  DS73012
1.3.3 เครื่องหมายแนวตัด(Trimming marking)
   เพื่อความสะดวกการตัดกระดาษดวยมือหรือตัดอัตโนมัติ จะตองมีเครื่องหมายแสดงแนวตัดที่มุมทั้ง 4 ของขอบกระดาษเขียน
   แบบ รูปแบบของเครื่องหมายจะมีลักษณะเปนสี่เหลี่มสองรูปซอนกันโดยมีขนาด 10mm x 5mm ดูรูปที่ 1.3.3-1




                                      รูปที่ 1.3.3-1 เครื่องหมายแนวตัด(Trimming marks)




                                               5 / 101                   TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS                                              S.O.P.
                                            CO., LTD.                                                  DS73012
2. ตารางรายการแบบ(Title blocks)
ตารางรายการแบบตามมาตรฐาน ISO 7200-1984(E)

2.1 ขอกําหนดทั่วไป(General requirement)
   แบบหรือเอกสารที่เกี่ยวของตองมีตารางรายแบบซึ่งตองสอดคลองกับขอกําหนดการทําไมโครกอปป (ดู ISO 6428)

2.2 ตําแหนง(Position)
   ตําแหนงของตารางรายการแบบ(Title blocks) จะตองเปนไปตามขอกําหนดของมาตรฐาน ISO 5457 ดังนี้
   กระดาษขนาด A0 ถึง A3 จะตองแสดงไวที่บริเวณมุมลางขวาของพื้นที่เขียนแบบ การวางในรูปแบบนี้อนุญาติใหใชกับกระดาษ
   ในรูปแบบแนวนอน(landscape)เทานั้น (ดูรูปที่ 1.1-1)
   กระดาษขนาด A4 จะตองแสดงไวที่บริเวณดานกวางลางของพื้นที่เขียนแบบ การวางในรูปแบบนี้อนุญาติใหใชกับกระดาษ
   ในรูปแบบแนวตั้ง(Portrait)เทานั้น (ดูรูปที่ 1.1-2)
   ทิศทางของการวางตารางรายการแบบจะตองมีทิศทางเดียวกับทิศทางการอานแบบ

2.3 ขอมูลที่แสดงในตารางรายการแบบ
  เพื่อใหสามารถจัดหมวดหมูแบบใหเปนระเบียบได ขอมูลที่แสดงในตารางรายการแบบจะถูกแบงกลุมแลวแยกแสดงตามสวน
  ตางๆของตารางรายการแบบดังนี้
    2.3.1) สวนที่เปนขอมูลประจําตัวแบบ( Identification zone )
    2.3.2) สวนที่เปนขอมูลเพิ่มเติม ( Additional information) ซึ่งมีต้งแต 1 สวนขึ้นไป
                                                                        ั
            ขอมูลสวนนี้อาจมีตําแหนงอยูเหนือ และ/หรือ อยูดานลางซายของสวนขอมูลประจําตัวแบบ

2.3.1 ขอมูลประจําตัวแบบ ( Identification zone )
   ขอมูลประจําตัวแบบ จะตองประกอบไปดวยขอมูลพื้นฐานดังตอไปนี้
    -          เลขทะเบียนหรือหมายเลขประจําตัวแบบ(the registration or Identification number)
    -          ชื่อเรียกแบบ (the title of the drawing)
    -          ชื่อตามกฎหมายของเจาของแบบ (the name of the legal owner of the drawing)
      สวนขอมูลประจําตัวแบบตองมีตําแหนงอยูบริเวณมุมขวาลางของตารางรายการแบบและวางในทิศทางมุมมองที่ถูกตอง
      เสนกรอบตารางรายการแสดงแบบที่เปนสวนขอมูลประจําตัวแบบตองแสดงใหเดนชัดดวยเสนเต็มหนา เชนเดียวกับกรอบพื้น
      ที่เขียนแบบ
      เพื่อใหใหสวนขอมูลประจําตัวแบบสามารถอานไดจากดานหนาของแบบที่ถูกพับเพื่อนําไปใชงาน ความยาวสูงสุดของตาราง
      รายการแบบตองสอดคลองกับขอกําหนดที่สัมพันธกนใน ISO 5457 โดยความยาวสูงสุดของตารางรายการแบบจะตองยาว
                                                       ั
      ไมเกิน170 มิลลิเมตร

   หมายเหตุ มาตรฐานในอนาคตจะเกี่ยวของกับวิธีการพับแบบ


                                                  6 / 101                 TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS                                                          S.O.P.
                                                CO., LTD.                                                               DS73012
ตัวอยาง ของการจัดวางรายการพื้นฐาน                  ,      และ        แสดงในรูป 2.3.1-1,2.3.1-2 และ 2.3.1-3
         รายการ        ,       และ                 เปนรายการบังคับ(mendatory)ตองมีในรายการแสดงแบบ




                                                             รูปที่ 2.3.1-1




                                                             รูปที่ 2.3.1-2




                                                             รูปที่ 2.3.1-3

2.3.1.1 เลขทะเบียนหรือหมายเลขประจําตัวแบบที่กําหนดโดยเจาของแบบตองแสดงที่ตําแหนงมุมลางขวาของสวนขอมูล
       ประจําตัวแบบ

หมายเหตุ สัญญารับเหมาชวงหรือขอกําหนดของผูเกี่ยวของอาจทําใหแบบมีหมายเลขประจําตัวแบบมากกวาหนึ่งหมายเลข ซึ่งหมายเลขประจํา
           ตัวแบบตัวแรกกําหนดโดยเจาของแบบและหมายเลขประจําตัวแบบอื่นหนึ่งกําหนดโดยผูรับเหมาชวงหรือโดยผูเกี่ยวของอื่นๆ ในกรณีนี้
           ตองมีวิธีที่เหมาะสมแยกระหวางหมายเลขที่แตกตางกัน และตองไมมีการเขียนหมายเลขพิเศษเติมเขาไปในชองหมายเลขของเจาของ
           แบบ แตถาหมายเลขแบบตนฉบับไมมีความเกี่ยวของใหลบทิ้งไป


                                                        7 / 101                      TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS                                                    S.O.P.
                                              CO., LTD.                                                         DS73012
2.3.1.2 ชื่อของแบบ(title) ตองบอกใหทราบถึงหนาที่ของตัวแบบ(ตัวอยางเชน หนาที่ของชิ้นงานในแบบหรือลักษณะการประกอบ
         ของชิ้นงานในแบบ)
2.3.1.3 ชื่อทางกฎหมายของเจาของแบบ(หางราน,บริษัท,กิจการ, ฯลฯ) อาจเปนชื่อทางการของเจาของแบบ,ชื่อยอทางการคา
        หรือเครื่องหมายสัญลักษณทางการคา
        ถาชองของชื่อทางกฎหมายนี้มีพ้นที่เพียงพอควรเพิ่มเครื่องหมายแสดงลิขสิทธิ์ของเจาของแบบเขาไปดวย อีกทางหนึ่ง
                                       ื
        อาจจะแสดงที่อื่นในตารางรายการแบบ หรือ แสดงบนแบบที่บริเวณนอกกรอบเขียนแบบ ตัวอยางเชน แสดงในพื้นที่ดาน
        ขอบเขาแฟม(กรอบดานซายมือของแบบ)

2.3.2 ขอมูลเพิ่มเติม ( Additional information)
  ในสวนที่เปนขอมูลเพิ่มเติ่มอาจแบงเปนรายการไดดังนี้
   2.3.2.1) รายการดานการบงชี้ ( indicative items)
   2.3.2.2) รายการดานเทคนิค (technical items)
   2.3.2.3) รายการดานเกี่ยวกับการบริหารจัดการแบบ(Administrative items)

2.3.2.1 รายการดานการบงชี้ ( indicative items) เปนรายการที่มีความจําปนที่ตอการอานแบบ เพื่อไมใหการอานแบบหรือตี
         ความแบบผิดพลาด รายการเหลานี้ไดแก
    - สัญลักษณแสดงวิธีการเขียนภาพฉาย(projection method)บนแบบ (แบบมุมมองที่ 1หรือ แบบมุมมองที่ 3 , ดู ISO 128)
    - มาตราสวนหลักของแบบ(the main scale of the drawing)
    - หนวยวัด(dimensional unit) ของการกําหนดขนาดเชิงเสน ในกรณีที่เปนหนวยอื่นที่ไมใชหนวยมิลลิเมตร
   รายการเหลานี้จะเปนรายการบังคับ(mandatory)ตองมีในตารางรายการแบบ ถาแบบไมสามารถอานใหเขาใจไดเมื่อไมมี
   ขอมูลเพิ่มเติมนี้เหลานี้

2.3.2.2 รายการดานเทคนิค (technical items) จะเกี่ยวของกับวิธีการเฉพาะหรือขอตกลงสําหรับแบบที่ใชงาน
    - วิธีการระบุลักษณะผิว(surface texture) (ดู ISO 1302)
    - วิธีการระบุ geometrical tolerances (ตัวอยางดูใน ISO 1101)
    - คาพิกัดเผื่อทั่วไป(general toleraces) สําหรับใชงานในกรณีที่ไมมีคาพิกดเผื่อกําหนด(specific tolerance)ระบุมาพรอม
                                                                              ั
      กับตัวเลขบอกขนาด (ดู ISO 2768)
    - มาตรฐานอื่นๆที่เกี่ยวของในสวนนี้




                                                    8 / 101                     TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS                                                  S.O.P.
                                            CO., LTD.                                                      DS73012
2.3.2.3 รายการดานที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการแบบ(Administrative items) จะขึ้นอยูกับวิธีการที่ใชบริหารจัดการแบบโดย
         อาจจะประกอบดวยรายการตางๆดังตอไปนี้
    - ขนาดกระดาษเขียนแบบ
    - วันที่ที่เริ่มใชงานแบบ (issue date)
    - สัญลักษณการแกไขแบบ(revision symbol)
      (ระบุในชองตารางรายการสําหรับเลขทะเบียนหรือหมายเลขประจําตัวแบบ                )
    - วันที่และรายละเอียดยอของการแกไขแบบซึ่งอางอิงกับสัญลักษณการแกไข
      รายการนี้อาจแสดงไวนอกตารางรายการแบบโดยอาจแยกมาแสดงมาเปนตารางหรืออาจแสดงแยกในเอกสารตางหาก
    - ขอมูลการที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการแบบอื่นๆ เชน รายมือชื่อของผูรับผิดชอบ
2.4 แบบที่มีหลายแผน(Multiple sheet drawing)
  แบบที่มีหลายแผนใชหมายเลขทะเบียนหรือหมายเลขประจําตัวแบบเดียวกันตองระบุตัวเลขแสดงลําดับแผน (sequential
  sheet number) และตองแสดงจํานวนแผนทั้งหมดของแบบลงในแบบแผนที่ 1 ตัวอยางเชน

                             "Sheet No. n/p"
                        เมื่อ
                        n คือ หมายเลขแผนของแบบ
                        p คือ จํานวนแผนทั้งหมดของแบบ

 เมื่อแสดงตารางรายการแบบในแผนที่ 1 แลวอาจจะใชตารางแสดงรายการอยางยอกับแบบทุกแผนที่เหลือ โดยแสดงอยางยอ
 ในสวนที่เปนขอมูลประจําตัวแบบ( Identification zone ) เทานั้น




                                                  9 / 101                    TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS                                                    S.O.P.
                                              CO., LTD.                                                        DS73012
3.มาตราสวน(Scales)

3.1 มาตรฐานมาตราสวนจะอางอิงตาม ISO 5455-1979(E)

3.2 นิยาม(Definitions)
มาตราสวน : คือ อัตราสวนของขนาดเชิงเสนขององคประกอบ ของชิ้นงานที่เขียนแสดงในแบบตนฉบับ กับขนาดเชิงเสนจริงของ
         องคประกอบเดียวกันของตัวชิ้นงานจริง
Scale : Ratio of the linear dimension of an element of an object as represented in the original drawing to the rea
         linear dimension of the same element of the object itself.

มาตราสวนเทาของจริง : คือ มาตราสวนที่มีอัตราสวนเปน 1 : 1
Full size : A scale with the ratio 1 : 1

มาตราสวนขยาย : คือ มาตราสวนที่มีอัตราสวนมากกวา 1 : 1 และอัตราสวนที่มากกวา 1 : 1 นี้จะเรียกวาอัตราสวนขยาย
enlargment scale : A scale where the ratio is larger than 1 : 1. It is said to be larger as its ratio increases.

มาตราสวนยอ : คือ มาตราสวนที่มีอตราสวนนอยกวา 1 : 1 และอัตราสวนที่นอยกวา 1 : 1 นี้จะเรียกวาอัตราสวนยอ
                                  ั                                          
reduction scale : A scale where the ratio is smaller than 1 : 1. It is said to be smaller as its ratio decreases.

3.3 รูปแบบการระบุมาตราสวน(Designation)
  การระบุมาตราสวนของแบบที่สมบรูณจะตองประกอบดวยคําวา "SCALE" (หรือคําที่มีความหมายเดียวกันของภาษาที่ใช ในแบบ)
  ตามดวยการระบุอัตราสวนดังนี้
     - SCALE 1 : 1 สําหรับมาตราสวนเทาของจริง
     - SCALE X : 1 สําหรับมาตราสวนขยาย
     - SCALE 1 : X สําหรับมาตราสวนยอ
  ถาไมมีโอกาสเกิดการเขาใจผิด คําวา "SCALE" อาจละเวนไมแสดงก็ได


3.4 การระบุมาตราสวน(Inscription)
3.4.1 การระบุมาตราสวนที่ใชในแบบตองเขียนลงในตารางรายการของแบบ
3.4.2 เมื่อมีความจําเปนตองใชมาตราสวนมากกวา 1 มาตราสวนในแบบ มาตรสวนที่จะเขียนแสดงลงในตารางรายการแบบ
       ตองเปนมาตราสวนหลักเทานั้น มาตราสวนอื่นๆใหแสดงใกลกับหมายเลขอางอิงรายการชิ้นสวน(item reference
       number of part)ที่เกี่ยวของหรือใกลกับตัวอักษรอางอิงภาพขยาย(detail view)หรือภาพตัด(Section view)




                                                    10 / 101                    TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS                                                       S.O.P.
                                                 CO., LTD.                                                            DS73012
3.5 มาตราสวนแนะนํา(Recommended scales)
3.5.1 มาตราสวนแนะนําสําหรับใชในแบบทางเทคนิค(technical drawings) กําหนดในตารางดังตอไปนี้
             ตารางที่ 3.5-1 มาตราสวนแนะนํา
                 ประเภทมาตราสวน                                        มาตราสวนแนะนํา
                                                       50 : 1                  20 : 1                  10 : 1
                   มาตราสวนขยาย
                                                       5:1                     2:1
                มาตราสวนเทาของจริง                                                                    1:1
                                                       1:2                     1:5                     1 : 10
                                                      1 : 20                  1 : 50                  1 : 100
                    มาตราสวนยอ
                                                      1 : 200                 1 : 500                1 : 1 000
                                                     1 : 2 000               1 : 5 000               1 : 10 000
หมายเหตุ ในกรณีพิเศษที่ตองใชขนาดมาตราสวนขยายที่ใหญกวาหรือมาตราสวนยอที่เล็กกวามาตราสวนแนะนําที่แสดงใน
           ตาราง ชวงที่แนะนําของมาตราสวนอาจขยายเพิ่มไดในทิศทางใดทิศทางหนึ่ง คือหาคามาตราสวนที่ตองการจาก
           มาตราสวนแนะนําในตาราง โดยการคูณคาเศษของมาตราสวนขยาย หรือคาสวนมาตราสวนยอดวย10 ยกกําลัง
           เลขจํานวนเต็ม
           ในกรณีที่ไมสามารถใชมาตราสวนแนะนําไดเนื่องมาจากเหตุผลเกี่ยวกับหนาที่การทํางาน อาจใชมาตราสวนที่อยู
           ระหวางมาตราสวนแนะนําได


3.5.2 การเลือกมาตราสวนที่ใชในแบบจะใชหลัก 2 ขอดังตอไปนี้
         ก) เลือกใชมาตราสวนโดยยึดขนาดของกระดาษเขียนแบบและขนาดของชิ้นงานจริงที่ทําแบบเปนสําคัญ
             ขนาดกระดาษเขียนแบบและขนาดของชิ้นงานจะเปนตัวกําหนดขนาดมาตราสวนที่ใชในแบบ
         ข) เลือกใชมาตราสวนโดยยึดลักษณะชิ้นงานที่แสดงหรือจุดประสงคของแบบเปนสําคัญ
             ขนาดมาตราสวนที่ใชในแบบโดยยึดหลักในขอนี้จะขึ้นกับความซับซอนของชิ้นงานที่แสดงหรือจุดประสงคของแบบ
            มาตราสวนและขนาดของชิ้นงานจะเปนตัวกําหนดขนาดของแบบ
      อยางไรก็ตาม มาตราสวนที่เลือกใชในแบบทุกกรณีจะตองใหญพอที่จะทําใหแบบมีความชัดเจนและงายตอการอานแบบ
3.5.3 รายละเอียดของแบบที่มีขนาดเล็กมากสําหรับการใหขนาดในภาพหลักของแบบ จะตองแยกแสดงดวยภาพขยาย(detail
     view)หรือภาพตัด(Section view)ในบริเวณที่ใกลกับภาพหลักของแบบดวยมาตราสวนที่ใหญกวา

3.6 แบบมาตราสวนขยายขนาดใหญ(Large scale drawings)
     แบบของชิ้นงานขนาดเล็กที่ใชมาตราสวนขยายขนาดใหญ ควรเขียนภาพขนาดเทาของจริงเพิ่มเขาไปดวยเพื่อใหเปนขอมูล
    ซึ่งในกรณีนี้ภาพขนาดเทาจริงอาจเขียนแสดงอยางงายโดยเขียนแสดงเพียงเสนรอบรูปของชิ้นงานเทานั้น




                                                         11 / 101                        TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS                                                S.O.P.
                                           CO., LTD.                                                    DS73012
4.เสน(Lines)
4.1 มาตรฐานเสนจะอางอิงตาม
    1.1) ISO 128-20:1996(E)        Basic conventions for lines
    1.2) ISO 128-24:1996(E)        Lines on mechanical engineering drawings
    1.3) BS304 : Part 1 : 1984 Recommendations for general principles
    1.4) มอก. 210-2520             วิธีเขียนแบบทั่วไปทางเครื่องกล
4.2 ความหนาของเสน(Line widths or thickness of line)
  เสนทุกชนิดที่ใชในแบบจะตองมีความหนาของเทากับคาใดคาหนึ่งของเสนคาความหนาเสนดังตอไปนี้ ขึ้นอยูกับชนิดและขนาด
  ของแบบ โดยอนุกรมคาความหนาของเสนจะเพิ่มขึ้นในอัตราสวน 1 : 2 (≈ 1 : 1 .4 ) หรืออีกนัยหนึ่งคือคาความหนาของ
  เสนจะเพิ่มขึ้นตามอนุกรมกาวหนาเรขาคณิตของ 2 เชน ตัวอยางเชน เสนที่บางสุดคือ 0.13 mm ความหนาของเสนตอไปจะ
  เปน 0.13 2 ≈ 0.18 mm




 - อัตราสวนคาความเสนของเสนหนาพิเศษตอเสนหนาตอเสนบางจะมีคาเปน 4 : 2 : 1
 - ความหนาเสนตองมีขนาดสม่ําเสมอเทากันตลอดทั้งเสน

4.3 ระยะหางระหวางเสน (Spacing)
    ระยะหางต่ําสุดของเสนตรงสองเสนที่ขนานกันตองไมนอยกวา 0.7 mm เวนเสียแตขัดแยงกับหลักที่แสดงในมาตรฐาน
    ระหวางชาติอื่นๆ




                                                 12 / 101                  TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS                                                  S.O.P.
                                            CO., LTD.                                                       DS73012
4.4 ประเภทของเสนและการใชงาน (Types of line and their application)
     เสนที่ใชในงานเขียนแบบตองเปนเสนที่แสดงในตารางที่ 4.4-1 เทานั้น ตัวอยางการใชงานแสดงในรูปที่ 10
                               ตารางที่4.4-1 ประเภทของเสนเขียนแบบ
                    เสน                            คําอธิบาย                                  การใชงาน
                                                   เสนเต็มหนา      A1 เสนรอบรูปที่มองเห็น(visible outline)
                                                (Continuous thick ) A2 เสนขอบรูปที่มองเห็น(visible edge)
                                               or (Continuous wide) A3 เสนสุดความยาวเกลียว
                                                                        (Limit of length of full depth thread)
                                                                    A4 เสนยอดเกลียว (Crests of crew threads)
                                                                    A5 เสนกรอบพื้นที่เขียนแบบ (Frame)
                                                   เสนเต็มบาง      B1 เสนแสดงรอยตอที่เปนขอบโคง, เสนแนวโคง
                                                 (Continuous thin)       (Imaginary lines of intersection)
                                           or (Continuous narrow) B2 เสนใหขนาด (dimension line)
                                                                    B3 เสนชวยใหขนาด(Extension line)
                                                                    B4 เสนชี้ (leader line)
                                                                    B5 เสนแสดงลายตัด(hatching)
                                                                    B6 เสนแสดงรูปรางหนาตัด(ขอบรูป)
                                                                          (Outlines of revolved sections)
                                                                    B7 แสดงเปนเสนศูนยสั้น(short cetre line)
                                                                    B8 เสนโคนเกลียว(Root of screw threads)
                                                                    B9 เสนทะแยงมุมสําหรับแสดงพื้นที่ราบ
                                                                         (Diagonals for the indication of flat surfaces)
                                                                    B10 เสนแนวดัดโคง(พับ)บนที่วางและบนชิ้นงานที่จะถูก
                                                                            แปรรูป
                                                                           (Bending lines on blanks and processed parts)
                                                                    B11 แสดงรายละเอียดซ้ําๆ
                                                                           (indication of repetitive details)
                                                                    B12 เสนชวยแสดงตําแหนงของผิวเอียง
                                                                           (Interpretation lines of tapered features)
                                                                    B13 จุดเริ่มตนระบุและเครื่องหมายขอบเขต
                                                                           (Origin and terminations of dimension lines)
                                                                    B14 เสนฉาย(Projection lines)
                                                                    B 15 เสนกริด(grid lines)



                                                  13 / 101                   TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS                                                   S.O.P.
                                            CO., LTD.                                                       DS73012
                               ตารางที่4.4-1 ประเภทของเสนเขียนแบบ (ตอ)
                  เสน                             คําอธิบาย                                   การใชงาน
                                                  เสนมือเปลา       *C1 เสนแสดงการจํากัดรูปของภาพยอหรือภาพเฉพาะสวนตัด
                                            (freehand continuous)         ทั้งกรณีที่เปนภาพตัดและภาคตัด(Cuts and Section)ถา
                                                                          เสนแสดงการจํากัดรูปไมใช เสนสมมาตร (Symmetry line
                                                                          หรือเสนแกนกลาง (Centre line )
                                                เสนตรงซิกแซก        § D1 เสนแสดงการจํากัดรูปของภาพยอหรือภาพเฉพาะสวน-
                                               ( Continuous thin        ตัด ทั้งกรณีที่เปนภาพตัดและภาคตัด(Cuts and Section)
                                              straight with zigzags)     ถาเสนแสดงการจํากัดรูปไมใช เสนสมมาตร (Symmetry
                                                                         line)หรือเสนแกนกลาง (Centre line )
                                                  เสนประหนา         E1 แสดงบริเวณที่ใหทํา surface treatment เชน การทํา
                                               (Dashed thick)            heat treatment
                                                  เสนประบาง         F1 เสนรอบรูปที่มองไมเห็น(Hidden outlines)
                                                 (Dashed thin)       F2 ขอบรูปที่มองไมเห็น(Hidden edges)
                                                 เสนลูกโซบาง       G1 เสนศูนยกลาง (centre lines)
                                                   (Chain thin)      G2 เสนสมมาตร (Lines of symmetry)
                                           หรือเสนศูนยกลางเล็ก G3 เสนแสดงแนวการหมุนของชิ้นงาน(Trajetectory)
                                                                     G4 เสนพิทซและวงกลมพิทซ(Pitch circles)
                                             เสนลูกโซบางหักมุม H1 เสนแสดงระนาบตัด (Cutting planes)
                                          (Chain thin, thick at end
                                           and changes of direct)


                                               เสนลูกโซหนา      J1 แสดง(ขอบเขต)พื้นที่ที่ตองการทํา surface treatment
                                               (Chain thick)          เชน heat treatment, carburizing hardening
                                          เสนลูกโซบางสองจุด K1 แสดงรูปรางชิ้นงานที่อยูติดกันหรือถัดไป
                                       (Chain thin double dashed) K2 เสนแสดงตําแหนงรูปรางชิ้นงานเคลื่อนที่ได
                                                                  K3 แสดงแนว Centroid
                                                                  K4 แสดงสวนที่อยูดานหนาของระนาบตัด
                                                                  K5 เสนรอบรูปเริ่มตนของชิ้นงานกอนการขึ้นรูป
                                                                  K6 เสนรอบรูปของชิ้นงานเมื่อทําสําเร็จภายในชิ้นงาน
                                                                  K7 เสนแสดงสวนของชิ้นงานที่ตองทําเพิ่ม
                                                                  K8 กรอบของสวน/พื้นที่ ที่บอกรายละเอียด
                                                                  K9 Projected tolerance zone
หมายเหตุ * เสน C1 เหมาะสําหรับใชในแบบที่เขียนดวยมือ, § เสน D1 เหมาะสําหรับใชในแบบที่เขียนดวยเครื่องคอมพิวเตอร
            ในแบบแตละแผนควรจะเลือกใชเสนประเภทเดียวทั้งแบบ คือเลือกใชเสน C1 หรือ D1 อยางใดอยางหนึ่งเทานั้น


                                                   14 / 101                  TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS                       S.O.P.
      CO., LTD.                           DS73012




    15 / 101   TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS                                                 S.O.P.
                                            CO., LTD.                                                     DS73012
4.5 กลุมของเสนและความหนาเสน(Line groups and Line widths)
    ตาม ISO 128-24 แบบทางวิศวกรรมเครื่องกลปกติจะใชเสนที่มีขนาดความหนา 2 คา โดยมีอัตราสวนคาความหนาเสน
    ระหวางเสนหนาตอเสนบางตองมีคาเปน 2 : 1 แตเพื่อความเหมาะสมในการใชงานยิ่งขึ้นจะเพิ่มคาความหนาที่อยูระหวาง
                                    
    เสนหนาและเสนบางเขาไปอีกหนึ่งคา โดยใชเปนคาความหนาเสนของเสนประบาง (มาตรฐานความหนาเสนชุดที่ 1 ของ
    มอก. 210-2520 )
                       ตารางที่ 4.5-1 ขนาดกลุมเสนและความหนาที่ใชเขียนแบบ
                                                                                 กลุมเสนและความหนาของเสน
                 ชนิดเสน                              คําอธิบาย
                                                                         1.0         0.7        0.5    0.35         0.25
                                                    เสนเต็มหนา
                                                                         1.0         0.7        0.5    0.35         0.25
                                                 (Continuous thick)
                                                      เสนเต็มบาง
                                                                         0.5         0.35      0.25    0.18         0.13
                                                  (Continuous thin)
                                                    เสนมือเปลา
                                                                         0.5         0.35      0.25    0.18         0.13
                                              (freehand continuous)

                                                   เสนตรงซิกแซก           0.5      0.35       0.25      0.18      0.13

                                                     เสนประหนา
                                                                           1.0       0.7       0.5       0.35      0.25
                                                  (Dashed thick)
                                                     เสนประบาง
                                                                           0.7       0.5       0.35      0.25      0.18
                                                   (Dashed thin)
                                                    เสนลูกโซบาง
                                                                           0.5      0.35       0.25      0.18      0.13
                                                    (Chain thin )
                                                เสนลูกโซบางหักมุม
                                               (Chain thin, thick at end
                                                                           0.5      0.35       0.25      0.18      0.13
                                                and changes of direct)


                                                    เสนลูกโซหนา
                                                                           1.0       0.7       0.5       0.35      0.25
                                                     (Chain thick)
                                                เสนลูกโซบางสองจุด
                                                                           0.5      0.35       0.25      0.18      0.13
                                             (Chain thin double dashed)
 กลุมของเสนความหนาเสนจะตองเลือกตามชนิด,ขนาดและมาตราสวน และตามขอขอกําหนดของการทําไมโครกอปป
 และ/หรือ วิธีการเขียนแบบอื่นๆ




                                                  16 / 101                  TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS                                                S.O.P.
                                                 CO., LTD.                                                    DS73012
4.6 จุดตัดของเสน(Junction)
    เสน E,F,G,J และ K ในตารางที่ 4.5-1 ตองมีจุดตัดหรือจุดชนของเสนที่เสนขีด(dash) ดังแสดงในรูปที่4.6-1 ถึง 4.6-6




                            รูปที่ 4.6-1                                         รูปที่ 4.6-2




                            รูปที่ 4.6-3                                         รูปที่ 4.6-4




                            รูปที่ 4.6-5                                         รูปที่ 4.6-6




                                                   17 / 101                    TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS                                                    S.O.P.
                                                  CO., LTD.                                                        DS73012
4.7เสนชี้และเสนอางอิง (leader lines and reference lines)
    มาตรฐานการใชเสนชี้และเสนอางอิงจะอางอิงตาม ISO 128-22
    เสนชี้ (Leader line) คือเสนเต็มบางที่ลากเชื่อมตอระหวาง featureของแบบกับอักขระ(alphanumeric) และ/หรือ ขอความ
              ตางๆ( notes, item reference, ขอกําหนดทางเทคนิค ฯลฯ)ในรูปแบบที่ชัดเจนไมกํากวม
    เสนอางอิง (Reference line) คือเสนเต็มบางที่ลากเชื่อมตอจากเสนชี้ในแนวนอนหรือแนวตั้ง และ/หรือ มีคําสั่งเพิ่มเติม
               (additional instructions) แสดงบนเสนหรือที่เสน




                                                       รูปที่ 4.7-1
การแสดงเสนชี้(Presentation of leader lines)
     เสนชี้จะเขียนดวยเสนเต็มบางและเขียนทํามุมกับเสนในแบบที่สัมพันธกนกับเสนชี้ และ/หรือ กับกรอบพื้นที่กระดาษเขียน
                                                                                  ั
แบบและตองไมขนานกับเสนใกลเคียง เชน เสนลายตัด โดยมุมระหวางเสนชี้และเสนที่เกี่ยวของกันตอง >15° ( ดูตัวอยางที่ให
ในรูป 4.7-2 ถึง4.7-14 )
     เสนชี้อาจเขียนดวยเสนหักงอ (ดูรูปที่ 4.7-6 ) และเสนชี้ตั้งแต 2 เสนขึ้นไปอาจเขียนรวมกัน(ดูรูป 4.7-3,4.7-6,4.7-8,4.7-9
และ4.7-12) โดยที่เสนชี้เหลานี้ตอง ไมตัดกับเสนชี้,เสนอางอิง,หรือสิ่งระบุอื่นๆ เชน สัญลักษณตางๆ คาตัวเลขบอกขนาด
      เสนชี้ตองไมลากผานจุดตัดของเสนอื่นๆ และตองหลีกเลี่ยงการใชเสนชี้ที่ยาวมากๆ

เสนชี้ตองแสดงเครื่องหมายปลายเสนดานซึ่งสัมผัสกับ feature ของแบบดังนี้
 - ดวยหัวลูกศรแบบปดระบายทึบหรือหัวลูกศรเปด(ที่มุมหัวลูกศร 15° ) ถาปลายเสนชี้ที่เสนรอบรูปหรือเสนขอบของแบบ
  หัวลูกศรยังเขียนแสดงไดที่จุดตัดของเสนรอบรูปหรือเสนขอบกับเสนอื่น ยกตัวอยางเชน เสนสมมาตร(ดูรูปที่4.7-2 ถึง 4.7-8)
 หมายเหตุ ในการใชเสนชี้ระบุใหกับเสนขนานกันหลายเสนสามารถใชขีดเอียงแทนหัวลูกศรได(ดูรปที่ 4.7-9)
                                                                                            ู

 - ดวยจุด(d = 5x ความหนาเสน) ถาปลายเสนชี้ภายในเสนรอบรูป (ดูรูปที่4.7-10 ถึง 4.7-12)

 - ไมมีจดหรือหัวลูกศรถาปลายเสนชี้บนเสนอื่น เชน เสนบอกขนาด, เสนสมมาตร (ดูรูปที่4.7-13 ถึง 4.7-14)
         ุ




                             รูปที่ 4.7-2                                            รูปที่ 4.7-3


                                                      18 / 101                     TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS                       S.O.P.
                     CO., LTD.                           DS73012




รูปที่ 4.7-4                    รูปที่ 4.7-5




รูปที่ 4.7-6                    รูปที่ 4.7-7




รูปที่ 4.7-8                    รูปที่ 4.7-9




รูปที่ 4.7-10                   รูปที่ 4.7-11




รูปที่ 4.7-12                   รูปที่ 4.7-13




รูปที่ 4.7-14


                   19 / 101   TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS                                                  S.O.P.
                                                CO., LTD.                                                      DS73012
การแสดงเสนอางอิง(Presentation of reference lines)
         เสนอางอิงจะเขียนดวยเสนเต็มบาง โดยอาจถูกเขียนเพิ่มใหกับเสนชี้แตละเสนในทิศใดทิศหนึ่งของทิศที่ใชอานคาในแบบ
   เสนอางอิงจะเขียนดวยวิธีการใดวิธีการหนึ่งดังนี้คือ
    - กําหนดความยาวเสนที่แนนอน คือใชความยาวเสนที่ 20 x ความหนาเสนของเสนอางอิง (ดูรูป 4.7-16 และ 4.7-17)
    - เขียนเสนอางอิงดวยความยาวที่ปรับตามความยาวของคําสั่ง(instructions)ที่ระบุ (ดูตัวอยางในรูปที่ 4.7-15 และ 4.7-17)




                              รูปที่ 4.7-15                                       รูปที่ 4.7-16




                        รูปที่ 4.7-17                                           รูปที่ 4.7-18
   ในกรณีเฉพาะของการใชงานตองเขียนเสนอางอิง(ดูตัวอยางที่ใหในรูปที่ 4.7-16)

   อยางไรก็ตามเสนอางอิงอาจไมตองแสดง ถาเสนชี้ถูกเขียนในทิศของการอานแบบทิศทางใดทางทิศหนึ่ง และคําสั่งที่ระบุถก    ู
   เขียนในทิศทางเดียวกัน(ดูรูปที่ 4.7-19) และ ในกรณีอื่นๆทุกกรณีที่ไมสามารถใชเสนอางอิง(ดูรูปที่ 4.7-10,4.7-20,4.7-21)




              รูปที่ 4.7-19                              รูปที่ 4.7-20                                     รูปที่ 4.7-21




                                                   20 / 101                    TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS                                                         S.O.P.
                                               CO., LTD.                                                             DS73012
การระบุคําสั่ง(Indication of instructions)
คําสั่งที่เปนของเสนชี้ตองถูกระบุในลักษณะดังตอไปนี้
    - โดยทั่วไปๆจะระบุ เหนือเสนอางอิง (ดูรูปที่ 4.7-15,4.7-18,4.7-22)
    - กึ่งกลางหลังเสนชี้หรือเสนอางอิง (ดูรูปที่ 4.7-17,4.7-19)
    - รอบๆ,ภายใน หรือหลังสัญลักษณ ใหถูกตองตรงตามกับขอกําหนดของมาตรฐานระหวางชาติ

     พิจารณาตามขอกําหนดสําหรับการทํา ไมโครกอปป ใน ISO 6428 คําสั่ง(Instructions)จะตองเขียนบนหรือใตเสนอางอิงที่
   ระยะหางเปน 2 เทาของความหนาเสนอิงและเสนอางอิงตองไมเขียนภายในเสนอางอิงหรือสัมผัสกับเสนอางอิง




                                                    รูปที่ 4.7-22

     ชิ้นงานที่มีหลายชั้นเฉพาะหรือประกอบจากชิ้นสวนหลายชิ้นสวน ถูกกําหนดดวยเสนดวยเสนชี้เพียงเสนเดียว ลําดับของการ
   ระบุคําสั่งตองตรงกับลําดับของชั้นหรือชิ้นงาน(ดูตัวอยาที่ใหในรูป4.7-23)




                                                    รูปที่ 4.7-23



   หมายเหตุ ในการใชเสนชี้ระบุคาตางๆใหกับวงกลมหรือสวนของวงกลม แนวของเสนชี้ตองผานจุดศูนยกลาง(BS 308 Part2:1985 หนา 17)
                                




                                                      21 / 101                      TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS                                                S.O.P.
                                           CO., LTD.                                                    DS73012
5.ตัวอักษร(Lettering)
5.1 มาตรฐานตัวอักษรจะอางอิงตาม
   5.1.1) มาตรฐานตัวอักษรภาษาอังกฤษจะยึดตาม ISO 3098 :1997(E)
   5.1.2) มาตรฐานตัวอักษรภาษาไทยจะยึดตาม มอก. 210-2520
5.2 มาตรฐานตัวอักษรภาษาอังกฤษ
5.2.1 รูปแบบของตัวอักษรภาษาอังกฤษ (Type of lettering)
มาตรฐาน ISO 3098:1997(E) กําหนดรูปแบบของตัวอักษรที่ใชในงานเขียนแบบดังตอไปนี้
    - ตัวอักษรแบบ A ตัวตรง (lettering type A, Vertical ( V ) )                          ขนาดตางของตัวอักรระบุในตาราง
    - ตัวอักษรแบบ A ตัวเอียง (lettering type A, Sloped ( S ) )                          ที่ 5.2.3-1

   - ตัวอักษรแบบ B ตัวตรง (lettering type B, Vertical ( V ) )                           ขนาดตางของตัวอักรระบุในตาราง
   - ตัวอักษรแบบ B ตัวเอียง (lettering type B, Sloped ( S ) ) (นิยมใชงาน)              ที่ 5.2.3-2

    - ตัวอักษรแบบ CA ตัวตรง (lettering type A, Vertical ( V ) )
    - ตัวอักษรแบบ CA ตัวเอียง (lettering type A, Sloped ( S ) )                      แบบตัวอักษรที่ใชใน CAD
    - ตัวอักษรแบบ CB ตัวตรง (lettering type B, Vertical ( V ) ) (นิยมใชงาน)         (ISO 3098-5)
    - ตัวอักษรแบบ CB ตัวเอียง (lettering type B, Sloped ( S ) )
    ในการเขียนแบบโดยทั่วไปจะนิยมใชงาน (preferred application) ตัวอักษรแบบ B ตัวตรง ตัวอักษรแบบ A จะมีขนาดความ
กวางแคบกวาและบางกวาแบบ B จึงเหมาะใชในแบบที่มีเนื้อที่จํากัด
    ตัวอักษรแบบเอียงจะเหมาะสําหรับการเขียนแบบดวยมือ ดูรายละเอียดไดใน ISO 3098:1997(E)
5.2.2 ขนาดความสูงมาตรฐาน (Range of nominal sizes)
ขนาดความสูงตัวอักษรที่ใชในงานเขียนแบบตามมาตรฐาน ISO 3098 (หนวยมิลลิเมตร)




 ขนาดตัวหนังสือจะโตขึ้นเปนลําดับตามผลคูณของ 2 (เชน1 . 8 × 2 ≈ 2 . 5            ) ตามมาตรฐานการขยายลําดับขนาด
 ของกระดาษ (ดู ISO 216)
 ขนาดความหนาของเสนที่ใชเขียนตัวอักษรจะตองสอดคลองกับมาตรฐานความหนาเสนที่ใชเขียนแบบโดยที่ความหนาเสนนี้
 จะตองใชกับทั้งตัวอักษรพิมพใหญ(upper-case letters)และและตัวอักษรพิมพเล็ก(lower-case letters)



                                                 22 / 101                    TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS                                                    S.O.P.
                                             CO., LTD.                                                         DS73012
5.2.3 ขนาดตางๆของตัวอักษร
 ขนาดตางๆของตัวอักษรจะถูกกําหนดจากความสูง (h) ของเสนบรรทัด(outline contour)ของตัวอักษรพิมพใหญ (ดูรูป5.2.3-1
ตาราง 5.2.3-1 และ ตาราง 5.2.3-2)




                                                 รูป 5.2.3-1




                          รูป 5.2.3-2                                                         รูป 5.2.3-3
  เมื่อ   h     คือ    ความสูงของตัวอักษรพิมพใหญ ( Lettering height )
          c1    คือ    ความสูงของตัวอักษรพิมพเล็ก ( Height of lower - case letters (x-height) )
          c2    คือ    สวนลางของตัวอักษรพิมพเล็ก ( Tail of lower - case letters)
          c3    คือ    สวนบนของตัวอักษรพิมพเล็ก ( Stem of lower - case letters )
           f    คือ   พื้นที่สวนเครื่องหมาย diacritical ของตัวพิมพใหญ(Area of diacritical marks(upper-case letters))
          a     คือ    ชองไฟระหวางตัวอักษร ( Spacing between characters )
          b1    คือ    ระยะหางนอยสุดระหวางเสนบรรทัดลาง 1) ( Spacing between baselines 1) )
          b2    คือ    ระยะหางนอยสุดระหวางเสนบรรทัดลาง 2)( Spacing between baselines 2) )
          b3    คือ    ระยะหางนอยสุดระหวางเสนบรรทัดลาง 3)( Spacing between baselines3) )
          e     คือ ระยะหางระหวางคํา ( Spacing between words )
          d     คือ ความหนาเสน ( Line width or Thickness of line )



                                                   23 / 101                    TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS                                                               S.O.P.
                                              CO., LTD.                                                                    DS73012
                  ตาราง 5.2.3-1 ขนาดตางๆของตัวอักษรชนิด A
                     Multiple
   Characteristic                                           Dimensions
                        of h
        h            (14/14)h 1.8        2.5      3.5        5       7                                   10         14         20
        c1           (10/14)h 1.3        1.8      2.5      3.5       5                                    7         10         14
        c2            (4/14)h 0.52       0.72       1      1.4       2                                   2.8        4          5.6
        c3            (4/14)h 0.52       0.72       1      1.4       2                                   2.8        4          5.6
         f            (5/14)h 0.65       0.9      1.25     1.75     2.5                                  3.5        5           7
        a             (2/14)h 0.26       0.36     0.5      0.7       1                                   1.4        2          2.8
           1)
       b1            (25/14)h 3.25       4.5      6.25     8.75    12.5                                 17.5        25         35
       b2 2)         (21/14)h 2.73       3.78     5.25     7.35    10.5                                 14.7        21        29.4
           3)
       b3            (17/14)h 2.21       3.06     4.25     5.95     8.5                                 11.9        17        23.8
        e             (6/14)h 0.78       1.08     1.5      2.1       3                                   4.2        6          8.4
                                    4)       4)                4)
        d             (1/14)h 0.13      0.18      0.25 0.35         0.5                                 0.7 4)      1         1.4 4)
1) รูปแบบตัวอักษร : ตัวพิมพใหญและตัวอักษรพิมพเล็กที่มีการใชเครื่องหมาย diacritical marks ดูรูปที่ 5.2.3-1
2) รูปแบบตัวอักษร : ตัวพิมพใหญและตัวอักษรพิมพเล็กที่มีการไมใชเครื่องหมาย diacritical marks ดูรูปที่ 5.2.3-2
3) รูปแบบตัวอักษร : ตัวพิมพใหญเทานั้น ดูรูปที่ 5.2.3-3
4) คาโดยประมาณ ; คาของขนาด c1 ถึง e คํานวณจากคาโดยประมาณของ d
                  ตาราง 5.2.3-2 ขนาดตางๆของตัวอักษรชนิด B
                     Multiple
   Characteristic                                           Dimensions
                        of h
        h            (10/10)h 1.8        2.5       3.5      5        7                                    10        14         20
                                                      4)
        c1            (7/10)h 1.26       1.75     2.5      3.5      5 4)                                  7        10 4)       14
        c2            (3/10)h 0.54       0.75     1.05     1.5      2.1                                   3        4.2         6
        c3            (3/10)h 0.54       0.75     1.05     1.5      2.1                                   3        4.2         6
         f            (4/10)h 0.72         1       1.4      2       2.8                                   4        5.6         8
        a             (2/10)h 0.36       0.5       0.7      1       1.4                                   2        2.8         4
           1)
       b1            (19/10)h 3.42       4.75     6.65     9.5     13.3                                   19       26.6        38
       b2 2)         (15/10)h 2.7        3.75     5.25     7.5     10.5                                   15        21         30
           3)
       b3            (13/10)h 2.34       3.25     4.55     6.5      9.1                                   13       18.2        26
        e             (6/10)h 1.08       1.5       2.1      3       4.2                                   6        8.4         12
        d             (1/10)h 0.18       0.25     0.35     0.5      0.7                                   1        1.4         2
1) รูปแบบตัวอักษร : ตัวพิมพใหญและตัวอักษรพิมพเล็กที่มีการใชเครื่องหมาย diacritical marks ดูรูปที่ 5.2.3-1
2) รูปแบบตัวอักษร : ตัวพิมพใหญและตัวอักษรพิมพเล็กที่มีการไมใชเครื่องหมาย diacritical marks ดูรูปที่ 5.2.3-2
3) รูปแบบตัวอักษร : ตัวพิมพใหญเทานั้น ดูรูปที่ 5.2.3-3
4) คาโดยประมาณ

                                                       24 / 101                       TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS                                              S.O.P.
             CO., LTD.                                                  DS73012
ตัวอักษรแบบ A ตัวตรง (lettering type A, Vertical ( V ) )
ตัวอักษรลาติน (Lantin charactor)




                  25 / 101                   TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS                                              S.O.P.
             CO., LTD.                                                  DS73012
 ตัวอักษรแบบ B ตัวตรง (lettering type B, Vertical ( V ) )
ตัวอักษรลาติน (Lantin charactor)




                  26 / 101                   TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS                                              S.O.P.
             CO., LTD.                                                  DS73012
 ตัวอักษรแบบ B ตัวตรง (lettering type B, Vertical ( V ) )
ตัวอักษรกรีก (Greek charactor)




                  27 / 101                   TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS                                                    S.O.P.
                                              CO., LTD.                                                         DS73012
5.2.4 การเอียงของตัวอักษร (Lettering angle)
   ตัวอักษรควรเขียนตัวตรง หรือ เขียนเอียงไปดานขวาดวยมุม 75° กับแนวนอน (ดูรูป 5.2.4-1)




                                                  รูป 5.2.4-1

5.2.5 การขีดเสนใตและเสนบนตักษรหรือบริเวณที่มีตัวอักษร (Underlined and overlined text or text fields)
     เมื่อตัวอักษรหรือบริเวณที่มีตัวอักษรถูกขีดเสนใตหรือเสนบนควรจะเวนเสนทุกที่เมื่อตัวอักษรแบบตัวพิมพเล็กมีสวนลาง หรือ
                                                                                                                  
   เมื่อตัวอักษรแบบตัวพิมพใหญหรือตัวพิมพเล็กมีเครื่องหมาย diacritical ถาเสนใตหรือเสนบนมีระยะหางไมเหมาะสมจะตอง
   ขยายระยะหางของเสนใตหรือเสนบนกับเสนบรรทัดลาง( Baselines )




                                                         รูปที่ 5.2.5-1




                                                         รูปที่ 5.2.5-2




                                                    28 / 101                    TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS                                              S.O.P.
                                          CO., LTD.                                                   DS73012
5.3 มาตรฐานตัวอักษรภาษาไทย
5.3.1 รูปแบบของตัวอักษรภาษาไทย
           ตาม มอก. 210-2520 กําหนดรูปแบบของตัวอักษรที่ใชในงานเขียนแบบไว 2 ชนิด คือ ตัวอักษรแบบบรรทัดตัวตัวอักษร
   (Letter plate ) มีขนาดความหนาของเสนเทากับ 1 ใน 10 (หรือ 1 ใน 14 ) เทาของความสูงของตัวอักษร และตัวอักษรแบบแผน-
   อักษรลอก มีขนาดความหนาของเสนตามความเหมาะสม เพื่อความสวยงามของตัวอักษรแตละแบบ มีหลายขนาดดังใน
   ตารางที่ 5.3.1-1 และตาราง 5.3.1-2
                              ตารางที่ 5.3.1-1 ตัวอยางขนาดของตัวอักษรแบบบรรทัดตัวหนังอักษร




                             ตารางที่ 5.3.1-2 ตัวอยางขนาดของตัวอักษรแบบแผนอักษรลอก




                                               29 / 101                  TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS                                            S.O.P.
                                         CO., LTD.                                                DS73012
5.3.2 รูปแบบของตัวอักษรมาตรฐานภาษาไทย
      เนื่องจาก มอก.210-2520 ไมกําหนดรูปแบบมาตรฐานของตัวอักษรไวแนนอน เพื่อความเปนมาตรฐานเดียวกันขององคกร
   จึงขอกําหนดรูปแบบตัวอักษรภาษาไทยไว 2 แบบ โดยยึดรูปแบบของตัวอักษรตามรูปแบบของตัวอักษรที่ไดจากรองบรรทัดชวย
   เขียน และบรรทัดตัวอักษรที่นยมใชกันในงานเขียนแบบดังนี้
                              ิ
    - รูปแบบตัวอักษรชนิดหัวกลมตัวตรงแบบรองชวยเขียน
    - รูปแบบตัวอักษรชนิดหัวกลมตัวตรงแบบบรรทัดชวยเขียน
                                รูปแบบตัวอักษรชนิดหัวกลมตัวตรงแบบรองชวยเขียน




                            รูปแบบตัวอักษรชนิดหัวกลมตัวตรงแบบบรรทัดชวยเขียน




                                              30 / 101                TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS                                                 S.O.P.
                                            CO., LTD.                                                      DS73012
5.3.3 ขนาดความสูงนอยสุดของตัวอักษรและตัวเลขในงานเขียนแบบ
ตารางที่ 5.3.3-1 แสดงคาความสูงต่ําสุดแนะนําสําหรับตัวอักษรตัวพิมพใหญ ซึ่งเปนคาที่ไดจากประสบการณ และเปรียบเทียบ
กับ มาตรฐานการเขียนแบบของประเทศอังกฤษ BS 308 : Part 1: 1984
                                 ตารางที่ 5.3.3-1 ขนาดความสูงตัวอักษร
                                                     ขนาดกระดาษ                     ความสูงตัวอักษร
                           การใชงาน
                                                       เขียนแบบ         นอยสุด (mm) ขนาดแนะนํา (mm)
                     ตัวเลขบอกขนาด และ                     A4                    2                  2.5
                   ตัวหนังสืออื่นๆที่ใชในแบบ            A3,A2                  2.5                  3
                                                         A1,A0                  3.5                  -
               หมายเลขแบบ(Drawing number)                A4,A3                  2.5                 2.5
                      Title และ Subtitle                 A4,A3                   3                   -

                              ตารางที่ 5.3.3-2 ขนาดความสูงตัวอักษรตาม BS 308 : Part 1: 1984
                                                                             Minimum character height
                        Application                 Drawing sheet size
                                                                                         (mm)
                                                    A0, A1, A2 and A3                      7
                   Drawing numbers, etc.
                                                            A4                             5
                                                            A0                            3.5
                   Dimensions and notes
                                                    A1, A2, A3 and A4                     2.5




                                                  31 / 101                  TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS                                                  S.O.P.
                                           CO., LTD.                                                      DS73012
6.วิธีการเขียนภาพฉาย (Projection methods)
6.1 วิธีการเขียนภาพฉายจะอางอิงตาม
     - มาตรฐาน ISO 5456-2 : 1996-06-15 First edition

6.2 การกําหนดภาพ (Designation of view )




      รูป 6.2-1กรณีเปนภาพไอโซเมตริก ( Isometric )                     รูป 6.2-2 กรณีเปนภาพอ็อพบริค ( Oblique )
                             ตารางที่ 6.2-1
                              ทิศทางของการมอง
                                                                   การกําหนดภาพ
                        ภาพในทิศทาง           ภาพ
                              a             ดานหนา                      A
                                     b             ดานบน                B ( E )1)
                                     c             ดานซาย                 C
                                     d             ดานขวา                  D
                                     e             ดานลาง                 E
                                     f             ดานหลัง                 F
          ภาพที่ใหรายละเอียดชัดเจนที่สุดของชิ้นงานโดยปกติจะถูกเลือกเปนภาพหลัก(ภาพดานหนา)ในการนําเสนอ นั้นคือภาพ A
   ตามทิศทางการมอง a ( ดู รูปที่ 6.2-1, 6.2-2 และตารางที่ 6.2-1)โดยทั่วไปจะแสดงวัตถุตามหนาที่การทํางานหรือตามการผลิต
   หรือตามตําแหนงการติดตั้ง
   ตําแหนงของภาพดานอื่นที่สัมพันธกับภาพหลักในแบบจะขึ้นกับวิธีการฉายภาพที่เลือกใช (มุมมองที่ 1, มุมมองที่ 3, มุมมองตาม
   ลูกศรชี้อางอิง ) ซึ่งในทางปฏิบัติไมจําเปนตองใชทั้ง 6 ภาพ
   เมื่อมีภาพดานอื่นๆ(ภาพตัด,ภาคตัด) นอกจากภาพหลักมีความจําเปนที่ตองแสดง จะตองเลือกภาพโดย
    - จํากัดจํานวนภาพดานอื่นๆ, ภาพตัด(cuts)และภาคตัด(section)ที่จําเปนใหนอยที่สุดและเพียงพอตอการแสดงรายละเอียด
      ทั้งหมดของชิ้นงานโดยไมมีขอสงสัย
    - หลีกเลี่ยงการซ้ําซอนที่ไมจําเปนของรายละเอียด

                                                 32 / 101                     TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS                                               S.O.P.
                                          CO., LTD.                                                    DS73012
6.3 การเกิดภาพฉาย
ภาพฉาย มีการเกิดอยู 2 ลักษณะ คือ
6.3.1 ภาพฉายเกิดในลักษณะการเกิดเงา
เมื่อมีแสงมากระทบวัตถุแลวเงาของวัตถุจะไปปรากฏที่ฉากรับภาพ การเกิดภาพฉายแบบนี้ใชกับภาพฉายแบบมุมมองที่ 1




                             รูปที่ 6.3.1-1 วิธีการฉายภาพในลักษณะการเกิดเงา
6.3.2 ภาพฉายเกิดในลักษณะการมองเห็นวัตถุ
เมื่อมีแสงมากระทบวัตถุแลวภาพของวัตถุจะสะทอนเขาตาเราจึงทําใหเกิดการมองเห็น โดยภาพที่ปรากฎนั้นมีตาเปนฉากรับ
ภาพนั่นเอง การเกิดภาพฉายลักษณะนี้จะเหมือนมีฉากใสมากั้นสายตาไวนั้นเองการเกิดภาพฉายแบบนี้ใชกับภาพฉายแบบ
มุมมองที่ 3




                             รูปที่ 6.3.2-1 วิธีการฉายภาพในลักษณะการมองเห็น




                                                33 / 101                  TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
SIAM CAST IRON WORKS                                                  S.O.P.
                                           CO., LTD.                                                      DS73012
6.4 การกําหนดมุมมอง
  มุมมองที่ใชในการกําหนดวิธการฉายภาพสําหรับงานเขียนแบบ ใชหลักการแบงมุมภายในของวงกลม( 360° ) ออกเปน
                            ี
4 สวนเทากันเรียกวา ครอด-แร็นท( Quadrant ) และตั้งเปนชื่อมุมมองมาตรฐานตามชื่อของครอด-แร็นทแตละสวนคือ




                              รูปที่ 6.4-1 การแบงมุมภายในของวงกลมออกเปน ครอด-แร็นท( Quadrant )




                                รูปที่ 6.4-2 การแบงมุมมองภาพ
   เพื่อหลีกเลี่ยงความสับสนในการเขียนภาพฉาย มุมมองที่เหมาะสมสําหรับใชในการเขียนแบบภาพฉายจะตองเปนมุมมองที่ใชวิธี
   การฉายภาพทุกดานของชิ้นงานเพียงแบบใดแบบหนึ่งเทานั้น ระหวางการฉายภาพในลักษณะการเกิดเงา หรือ การฉายภาพใน
   ลักษณะการมองเห็นวัตถุ
    ดังนั้นมุมมองที่เหมาะสมไดแกมุมมองที่ 1 ( First angle) ซึ่งใชวิธีการฉายภาพในลักษณะการเกิดเงา และมุมมองที่ 3 ( Third
    angle) ซึ่งใชวิธีการฉายภาพในลักษณะการมองเห็นวัตถุ




                                                 34 / 101                   TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ

More Related Content

What's hot

วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ศุภชัย พุทธรักษ์
 
บทที่7 ภาพฉายมุมที่1,3
บทที่7 ภาพฉายมุมที่1,3บทที่7 ภาพฉายมุมที่1,3
บทที่7 ภาพฉายมุมที่1,3Si Seng
 
หนังสืองานวิศวกรรมครบวงจรด้วยโปรแกรม SketchUp
หนังสืองานวิศวกรรมครบวงจรด้วยโปรแกรม SketchUpหนังสืองานวิศวกรรมครบวงจรด้วยโปรแกรม SketchUp
หนังสืองานวิศวกรรมครบวงจรด้วยโปรแกรม SketchUpSKETCHUP HOME
 
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
1 การเขียนแบบเบื้อนต้นTolaha Diri
 
การเขียนภาพแผ่นคลี่
การเขียนภาพแผ่นคลี่การเขียนภาพแผ่นคลี่
การเขียนภาพแผ่นคลี่prasong singthom
 
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรมคู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรมPiyaboon Nilkaew
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรamnesiacbend
 
Solidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐานSolidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐานNut Veron
 
การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์
การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์
การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์Narasak Sripakdee
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติAon Narinchoti
 
ใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดkanjana2536
 
Wpกำหนดการสอน is1 พ.ค
Wpกำหนดการสอน is1 พ.คWpกำหนดการสอน is1 พ.ค
Wpกำหนดการสอน is1 พ.คkrupornpana55
 

What's hot (20)

วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
บทที่7 ภาพฉายมุมที่1,3
บทที่7 ภาพฉายมุมที่1,3บทที่7 ภาพฉายมุมที่1,3
บทที่7 ภาพฉายมุมที่1,3
 
3 2
3 23 2
3 2
 
5 1
5 15 1
5 1
 
1 3
1 31 3
1 3
 
แบบฝึกหัดภาพฉาย
แบบฝึกหัดภาพฉายแบบฝึกหัดภาพฉาย
แบบฝึกหัดภาพฉาย
 
หนังสืองานวิศวกรรมครบวงจรด้วยโปรแกรม SketchUp
หนังสืองานวิศวกรรมครบวงจรด้วยโปรแกรม SketchUpหนังสืองานวิศวกรรมครบวงจรด้วยโปรแกรม SketchUp
หนังสืองานวิศวกรรมครบวงจรด้วยโปรแกรม SketchUp
 
2 3
2 32 3
2 3
 
6 3
6 36 3
6 3
 
1.แบบฝึกหัดลิมิต
1.แบบฝึกหัดลิมิต1.แบบฝึกหัดลิมิต
1.แบบฝึกหัดลิมิต
 
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
 
การเขียนภาพแผ่นคลี่
การเขียนภาพแผ่นคลี่การเขียนภาพแผ่นคลี่
การเขียนภาพแผ่นคลี่
 
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรมคู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรม
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
Solidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐานSolidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐาน
 
การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์
การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์
การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
3 3
3 33 3
3 3
 
ใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดใบงาน1จุด
ใบงาน1จุด
 
Wpกำหนดการสอน is1 พ.ค
Wpกำหนดการสอน is1 พ.คWpกำหนดการสอน is1 พ.ค
Wpกำหนดการสอน is1 พ.ค
 

Viewers also liked

เรื่องที่ 1 เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเขียนแบบ
เรื่องที่ 1 เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเขียนแบบเรื่องที่ 1 เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเขียนแบบ
เรื่องที่ 1 เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเขียนแบบkruood
 
Connections in steel structures
Connections in steel structuresConnections in steel structures
Connections in steel structuresRizwan Khurram
 
Steel connections
Steel connectionsSteel connections
Steel connectionsbabunaveen
 
The innovated bike to travel 24 countries from malaysia to london
The innovated bike to travel 24 countries from malaysia to londonThe innovated bike to travel 24 countries from malaysia to london
The innovated bike to travel 24 countries from malaysia to londonTimothy Wooi
 
กระบวนการทำงานแบบ EASY BIM (ฺBuilding Information Modeling) ด้วยโปรแกรม Sketc...
กระบวนการทำงานแบบ EASY BIM (ฺBuilding Information Modeling) ด้วยโปรแกรม Sketc...กระบวนการทำงานแบบ EASY BIM (ฺBuilding Information Modeling) ด้วยโปรแกรม Sketc...
กระบวนการทำงานแบบ EASY BIM (ฺBuilding Information Modeling) ด้วยโปรแกรม Sketc...SKETCHUP HOME
 
Honda cbr600 f history of the marque uk models
Honda cbr600 f history of the marque   uk modelsHonda cbr600 f history of the marque   uk models
Honda cbr600 f history of the marque uk modelsnathjza
 
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้างแจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้างchupol bamrungchok
 
Honda cbr600 f evolution of the engine
Honda cbr600 f evolution of the engine   Honda cbr600 f evolution of the engine
Honda cbr600 f evolution of the engine nathjza
 
ตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
ตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
ตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพSKETCHUP HOME
 
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUpคู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUpSKETCHUP HOME
 
Profile builder เบื้องต้น
Profile builder เบื้องต้นProfile builder เบื้องต้น
Profile builder เบื้องต้นchupol bamrungchok
 
การทำ Component ให้เคลื่อนที่ได้ด้วยคำสั่ง Dynamic component
การทำ Component ให้เคลื่อนที่ได้ด้วยคำสั่ง Dynamic componentการทำ Component ให้เคลื่อนที่ได้ด้วยคำสั่ง Dynamic component
การทำ Component ให้เคลื่อนที่ได้ด้วยคำสั่ง Dynamic componentSKETCHUP HOME
 
การพัฒรากระบวนการ BIM หรือ Building Information Modeling ที่ยั้งยืนในประเทศไทย
การพัฒรากระบวนการ BIM หรือ Building Information Modeling ที่ยั้งยืนในประเทศไทยการพัฒรากระบวนการ BIM หรือ Building Information Modeling ที่ยั้งยืนในประเทศไทย
การพัฒรากระบวนการ BIM หรือ Building Information Modeling ที่ยั้งยืนในประเทศไทยSKETCHUP HOME
 
Fm model by SketchUp
Fm model by SketchUpFm model by SketchUp
Fm model by SketchUpSKETCHUP HOME
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นtechno UCH
 
หนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพ
หนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพหนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพ
หนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพSKETCHUP HOME
 
คู่มือกระบวนการหลักด้านกระบวนการผลิตน้ำประปา เล่ม 2
คู่มือกระบวนการหลักด้านกระบวนการผลิตน้ำประปา เล่ม 2คู่มือกระบวนการหลักด้านกระบวนการผลิตน้ำประปา เล่ม 2
คู่มือกระบวนการหลักด้านกระบวนการผลิตน้ำประปา เล่ม 2Peerapong Veluwanaruk
 

Viewers also liked (20)

เรื่องที่ 1 เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเขียนแบบ
เรื่องที่ 1 เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเขียนแบบเรื่องที่ 1 เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเขียนแบบ
เรื่องที่ 1 เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเขียนแบบ
 
detailing for steel construction
detailing for steel constructiondetailing for steel construction
detailing for steel construction
 
STEEL CONSTRUCTION
STEEL CONSTRUCTIONSTEEL CONSTRUCTION
STEEL CONSTRUCTION
 
Connections in steel structures
Connections in steel structuresConnections in steel structures
Connections in steel structures
 
Steel connections
Steel connectionsSteel connections
Steel connections
 
The innovated bike to travel 24 countries from malaysia to london
The innovated bike to travel 24 countries from malaysia to londonThe innovated bike to travel 24 countries from malaysia to london
The innovated bike to travel 24 countries from malaysia to london
 
กระบวนการทำงานแบบ EASY BIM (ฺBuilding Information Modeling) ด้วยโปรแกรม Sketc...
กระบวนการทำงานแบบ EASY BIM (ฺBuilding Information Modeling) ด้วยโปรแกรม Sketc...กระบวนการทำงานแบบ EASY BIM (ฺBuilding Information Modeling) ด้วยโปรแกรม Sketc...
กระบวนการทำงานแบบ EASY BIM (ฺBuilding Information Modeling) ด้วยโปรแกรม Sketc...
 
Honda cbr600 f history of the marque uk models
Honda cbr600 f history of the marque   uk modelsHonda cbr600 f history of the marque   uk models
Honda cbr600 f history of the marque uk models
 
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้างแจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
 
Honda cbr600 f evolution of the engine
Honda cbr600 f evolution of the engine   Honda cbr600 f evolution of the engine
Honda cbr600 f evolution of the engine
 
ตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
ตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
ตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
 
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUpคู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
 
Profile builder เบื้องต้น
Profile builder เบื้องต้นProfile builder เบื้องต้น
Profile builder เบื้องต้น
 
การทำ Component ให้เคลื่อนที่ได้ด้วยคำสั่ง Dynamic component
การทำ Component ให้เคลื่อนที่ได้ด้วยคำสั่ง Dynamic componentการทำ Component ให้เคลื่อนที่ได้ด้วยคำสั่ง Dynamic component
การทำ Component ให้เคลื่อนที่ได้ด้วยคำสั่ง Dynamic component
 
การพัฒรากระบวนการ BIM หรือ Building Information Modeling ที่ยั้งยืนในประเทศไทย
การพัฒรากระบวนการ BIM หรือ Building Information Modeling ที่ยั้งยืนในประเทศไทยการพัฒรากระบวนการ BIM หรือ Building Information Modeling ที่ยั้งยืนในประเทศไทย
การพัฒรากระบวนการ BIM หรือ Building Information Modeling ที่ยั้งยืนในประเทศไทย
 
Fm model by SketchUp
Fm model by SketchUpFm model by SketchUp
Fm model by SketchUp
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
 
หนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพ
หนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพหนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพ
หนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพ
 
welding
weldingwelding
welding
 
คู่มือกระบวนการหลักด้านกระบวนการผลิตน้ำประปา เล่ม 2
คู่มือกระบวนการหลักด้านกระบวนการผลิตน้ำประปา เล่ม 2คู่มือกระบวนการหลักด้านกระบวนการผลิตน้ำประปา เล่ม 2
คู่มือกระบวนการหลักด้านกระบวนการผลิตน้ำประปา เล่ม 2
 

มาตรฐานการเขียนแบบ

  • 1. SIAM CAST IRON WORKS S.O.P. CO., LTD. DS73012 มาตรฐานการเขียนแบบทางวิศวกรรม 1.ขนาดและรูปแบบกระดาษเขียนแบบ (Sizes and layout of drawing sheets) มาตรฐานขนาดและรูปแบบกระดาษเขียนแบบจะยึดตามมาตรฐาน ISO 5457:1999(E) 1.1 ขนาด(Sizes) ตองเลือกใชกระดาษขนาดเล็กที่สุดจากขนาดกระดาษมาตรฐานเพื่อขนาดกระดาษที่ใชเขียนแบบตนฉบับ(original drawing) โดยแบบที่เขียนบนกระดาษที่เขียนบนกระดาษที่เลือกใชตองยังคงไดรายละเอียดและความชัดเจน ขนาดกระดาษที่ใชเขียนแบบจะใชขนาดกระดาษมาตรฐาน ISO-A series(ดู ISO 216) ซึ่งแสดงในตารางที่1.1-1 ตารางที่1.1-1 ขนาดกระดาษกอนตัด,ขนาดกระดาษหลังตัดและพื้นที่เขียนแบบ กระดาษหลังตัด พื้นที่เขียนแบบ กระดาษกอนตัด ชื่อกระดาษ รูป a1 b1 a2 b2 a3 b3 1) 1) ±0.5 ±0.5 ±2 ±2 A0 1 841 1189 821 1159 880 1230 A1 1 594 841 574 811 625 880 A2 1 420 594 400 564 450 625 A3 1 297 420 277 390 330 450 A4 2 210 297 180 277 240 330 Note - - ขนาดกระดาษที่ใหญกวา A0, ดู ISO 216. 1) คา tolerances, ดู ISO 216. รูปที่ 1.1-1 ขนาด A3 ถึง A0 รูปที่ 1.1-2 ขนาด A4 ขนาดในหนวย มิลลิเมตร(mm) ขนาดในหนวย มิลลิเมตร(mm) ชื่อกระดาษ(designation) จะตองระบุไวในขอบลางมุมดานขวามือ (ดูรูปที่ 1.2-2) หมายเหตุ : 1. กระดาษกอนตัด (untrimmed sheet,U) 2. กระดาษหลังตัด (trimmed sheet,T) ขนาดกระดาษหลังตัดจะเปนขนาดกระดาษเขียนแบบมาตรฐานสําหรับใชงาน 1 / 101 TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
  • 2. SIAM CAST IRON WORKS S.O.P. CO., LTD. DS73012 1.2 ขอกําหนดการใชกระดาษเขียนแบบ เพื่อความชัดเจนและเหมาะสมของงานเขียนแบบกําหนดใหมาตรฐานการใชกระดาษเขียนแบบดังนี้ ตาราง 1.2-1 ขอกําหนดการใช Part A4 B4 A3 A2 A1 Yes ขนาดแนะนําใชงาน Assembly Drawing O.K. Yes O.K. O.K. O.K. Body O.K. - Yes O.K. O.K. O.K. ขนาดอื่นๆที่ใชงานได Bonnet O.K. - Yes O.K. O.K. Dics O.K. - Yes O.K. O.K. - ขนาดหามใชงาน Part ขนาดใหญอื่นๆ O.K. - Yes O.K. O.K. Part ขนาดเล็กอื่นๆ Yes - O.K. O.K. O.K. 2 / 101 TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
  • 3. SIAM CAST IRON WORKS S.O.P. CO., LTD. DS73012 1.3 ขอบและกรอบ (Borders and frame) ขอบแบบ(border) คือสวนที่ถูกลอมรอบดวยขอบของกระดาษและกรอบพื้นที่เขียนแบบซึ่งตองมีในแบบทุกขนาด ขอบดานซาย จะตองมีความกวาง 20 mm.โดยวัดระยะจากขอบของกระดาษถึงเสนกรอบพื้นที่เขียนแบบ เพื่อใหมีพื้นที่สําหรับเก็บแบบเขา แฟม สวนขอบดานอื่นๆจะมีความกวางเปน 10 mm.ดูรูปที่ 1.3-1 กรอบพื้นที่เขียนแบบจะตองเขียนดวยเสนเต็ม ขนาดความหนาเสน 0.7 mm. รูปที่ 1.3-1 ขอบแบบ(Border) 1.3.1 เครื่องหมายแกนกลาง (Centring marks) เพื่อใหงายตอการระบุตําแหนงของแบบเมื่อทําการถอดแบบหรือทําไมโครฟลม(microfilmed) จะตองทําเครื่องหมายแกนกลาง เครื่องหมายทั้ง 4 จะเขียนแสดงที่ปลายของแกนสมมาตรทั้ง 2 ของกระดาษเขียนแบบ(Trimmed sheet)ดวยคาพิกัด ความเผื่อ(tolerance) ±1 รูปแบบเครื่องหมายแกนกลางจะไมบังคับแตแนะนําวาควรแสดงในรูปแบบของเสนเต็มดวยคาความ หนาเสน 0.7 mm. โดยลากเปนเสนตรงความยาว 10 mm.จากขอบอางอิงกริด(grid reference border) ผานกรอบพื้นที่เขียนแบบ ตรงไปในแนวเดียวกับแกนสมมาตรกระดาษเขียนแบบดูรูปที่ 1.3.2-1 ขนาดกระดาษที่ใหญกวา A0 ตองเพิ่มเครื่องหมายแกน กลางที่จุดกึ่งกลางของแตละสวนที่ทํา ไมโครฟลม  3 / 101 TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
  • 4. SIAM CAST IRON WORKS S.O.P. CO., LTD. DS73012 1.3.2 ระบบอางอิงกริด(Grid reference system) กระดาษเขียนแบบตองแบงเปนสวนๆ(fields)เพื่อใหงายตอการการระบุตําแหนงของรายละเอียด,การเพิ่มเติม,การแกไข ฯลฯ บนแบบ(ดูรูปที่ 1.3.2-1) ในแตละพื้นที่(fields)ที่ถูกแบง จะระบุพิกัดอางอิงดวยตัวอักษรพิมพใหญ(ยกเวนตัวอักษร I และ O)เรียงจากบนลงลางและ จากตัวเลขเรียงจากซายไปขวา โดยอางอิงจากทั้งสองดานของกระดาษ สําหรับกระดาษขนาด A4 ระบุเฉพาะดานบนและดาน ขวาเทานั้นตัวอักษรใชขนาดความสูงขนาด3.5 mm. ขนาดชวงพิกัดฉากยาว 50 mm มี่จุดเริ่มตนที่แกนสมมาตร(centring mark) ของกระดาษเขียนแบบ จํานวนชวงของการแบงขึ้นกับขนาดกระดาษเขียนแบบ (ดูตารางที่ 1.3.2-1) ผลตางที่เกิดขึ้นจากการ แบงชวงพิกดจะถูกรวมไวกบชวงที่อยูติดกับมุม ั ั รูปที่ 1.3.2-1 ระบบอางอิงกริดและเครื่องหมายแกนกลาง (Grid reference system and centring marks) ตารางที่ 1.3.2-1 จํานวนชวงพิกัดฉาก Designation A0 A1 A2 A3 A4 ดานยาว 24 16 12 8 6 ดานสั้น 16 12 8 6 4 4 / 101 TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
  • 5. SIAM CAST IRON WORKS S.O.P. CO., LTD. DS73012 1.3.3 เครื่องหมายแนวตัด(Trimming marking) เพื่อความสะดวกการตัดกระดาษดวยมือหรือตัดอัตโนมัติ จะตองมีเครื่องหมายแสดงแนวตัดที่มุมทั้ง 4 ของขอบกระดาษเขียน แบบ รูปแบบของเครื่องหมายจะมีลักษณะเปนสี่เหลี่มสองรูปซอนกันโดยมีขนาด 10mm x 5mm ดูรูปที่ 1.3.3-1 รูปที่ 1.3.3-1 เครื่องหมายแนวตัด(Trimming marks) 5 / 101 TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
  • 6. SIAM CAST IRON WORKS S.O.P. CO., LTD. DS73012 2. ตารางรายการแบบ(Title blocks) ตารางรายการแบบตามมาตรฐาน ISO 7200-1984(E) 2.1 ขอกําหนดทั่วไป(General requirement) แบบหรือเอกสารที่เกี่ยวของตองมีตารางรายแบบซึ่งตองสอดคลองกับขอกําหนดการทําไมโครกอปป (ดู ISO 6428) 2.2 ตําแหนง(Position) ตําแหนงของตารางรายการแบบ(Title blocks) จะตองเปนไปตามขอกําหนดของมาตรฐาน ISO 5457 ดังนี้ กระดาษขนาด A0 ถึง A3 จะตองแสดงไวที่บริเวณมุมลางขวาของพื้นที่เขียนแบบ การวางในรูปแบบนี้อนุญาติใหใชกับกระดาษ ในรูปแบบแนวนอน(landscape)เทานั้น (ดูรูปที่ 1.1-1) กระดาษขนาด A4 จะตองแสดงไวที่บริเวณดานกวางลางของพื้นที่เขียนแบบ การวางในรูปแบบนี้อนุญาติใหใชกับกระดาษ ในรูปแบบแนวตั้ง(Portrait)เทานั้น (ดูรูปที่ 1.1-2) ทิศทางของการวางตารางรายการแบบจะตองมีทิศทางเดียวกับทิศทางการอานแบบ 2.3 ขอมูลที่แสดงในตารางรายการแบบ เพื่อใหสามารถจัดหมวดหมูแบบใหเปนระเบียบได ขอมูลที่แสดงในตารางรายการแบบจะถูกแบงกลุมแลวแยกแสดงตามสวน ตางๆของตารางรายการแบบดังนี้ 2.3.1) สวนที่เปนขอมูลประจําตัวแบบ( Identification zone ) 2.3.2) สวนที่เปนขอมูลเพิ่มเติม ( Additional information) ซึ่งมีต้งแต 1 สวนขึ้นไป ั ขอมูลสวนนี้อาจมีตําแหนงอยูเหนือ และ/หรือ อยูดานลางซายของสวนขอมูลประจําตัวแบบ 2.3.1 ขอมูลประจําตัวแบบ ( Identification zone ) ขอมูลประจําตัวแบบ จะตองประกอบไปดวยขอมูลพื้นฐานดังตอไปนี้ - เลขทะเบียนหรือหมายเลขประจําตัวแบบ(the registration or Identification number) - ชื่อเรียกแบบ (the title of the drawing) - ชื่อตามกฎหมายของเจาของแบบ (the name of the legal owner of the drawing) สวนขอมูลประจําตัวแบบตองมีตําแหนงอยูบริเวณมุมขวาลางของตารางรายการแบบและวางในทิศทางมุมมองที่ถูกตอง เสนกรอบตารางรายการแสดงแบบที่เปนสวนขอมูลประจําตัวแบบตองแสดงใหเดนชัดดวยเสนเต็มหนา เชนเดียวกับกรอบพื้น ที่เขียนแบบ เพื่อใหใหสวนขอมูลประจําตัวแบบสามารถอานไดจากดานหนาของแบบที่ถูกพับเพื่อนําไปใชงาน ความยาวสูงสุดของตาราง รายการแบบตองสอดคลองกับขอกําหนดที่สัมพันธกนใน ISO 5457 โดยความยาวสูงสุดของตารางรายการแบบจะตองยาว ั ไมเกิน170 มิลลิเมตร หมายเหตุ มาตรฐานในอนาคตจะเกี่ยวของกับวิธีการพับแบบ 6 / 101 TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
  • 7. SIAM CAST IRON WORKS S.O.P. CO., LTD. DS73012 ตัวอยาง ของการจัดวางรายการพื้นฐาน , และ แสดงในรูป 2.3.1-1,2.3.1-2 และ 2.3.1-3 รายการ , และ เปนรายการบังคับ(mendatory)ตองมีในรายการแสดงแบบ รูปที่ 2.3.1-1 รูปที่ 2.3.1-2 รูปที่ 2.3.1-3 2.3.1.1 เลขทะเบียนหรือหมายเลขประจําตัวแบบที่กําหนดโดยเจาของแบบตองแสดงที่ตําแหนงมุมลางขวาของสวนขอมูล ประจําตัวแบบ หมายเหตุ สัญญารับเหมาชวงหรือขอกําหนดของผูเกี่ยวของอาจทําใหแบบมีหมายเลขประจําตัวแบบมากกวาหนึ่งหมายเลข ซึ่งหมายเลขประจํา ตัวแบบตัวแรกกําหนดโดยเจาของแบบและหมายเลขประจําตัวแบบอื่นหนึ่งกําหนดโดยผูรับเหมาชวงหรือโดยผูเกี่ยวของอื่นๆ ในกรณีนี้ ตองมีวิธีที่เหมาะสมแยกระหวางหมายเลขที่แตกตางกัน และตองไมมีการเขียนหมายเลขพิเศษเติมเขาไปในชองหมายเลขของเจาของ แบบ แตถาหมายเลขแบบตนฉบับไมมีความเกี่ยวของใหลบทิ้งไป 7 / 101 TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
  • 8. SIAM CAST IRON WORKS S.O.P. CO., LTD. DS73012 2.3.1.2 ชื่อของแบบ(title) ตองบอกใหทราบถึงหนาที่ของตัวแบบ(ตัวอยางเชน หนาที่ของชิ้นงานในแบบหรือลักษณะการประกอบ ของชิ้นงานในแบบ) 2.3.1.3 ชื่อทางกฎหมายของเจาของแบบ(หางราน,บริษัท,กิจการ, ฯลฯ) อาจเปนชื่อทางการของเจาของแบบ,ชื่อยอทางการคา หรือเครื่องหมายสัญลักษณทางการคา ถาชองของชื่อทางกฎหมายนี้มีพ้นที่เพียงพอควรเพิ่มเครื่องหมายแสดงลิขสิทธิ์ของเจาของแบบเขาไปดวย อีกทางหนึ่ง ื อาจจะแสดงที่อื่นในตารางรายการแบบ หรือ แสดงบนแบบที่บริเวณนอกกรอบเขียนแบบ ตัวอยางเชน แสดงในพื้นที่ดาน ขอบเขาแฟม(กรอบดานซายมือของแบบ) 2.3.2 ขอมูลเพิ่มเติม ( Additional information) ในสวนที่เปนขอมูลเพิ่มเติ่มอาจแบงเปนรายการไดดังนี้ 2.3.2.1) รายการดานการบงชี้ ( indicative items) 2.3.2.2) รายการดานเทคนิค (technical items) 2.3.2.3) รายการดานเกี่ยวกับการบริหารจัดการแบบ(Administrative items) 2.3.2.1 รายการดานการบงชี้ ( indicative items) เปนรายการที่มีความจําปนที่ตอการอานแบบ เพื่อไมใหการอานแบบหรือตี ความแบบผิดพลาด รายการเหลานี้ไดแก - สัญลักษณแสดงวิธีการเขียนภาพฉาย(projection method)บนแบบ (แบบมุมมองที่ 1หรือ แบบมุมมองที่ 3 , ดู ISO 128) - มาตราสวนหลักของแบบ(the main scale of the drawing) - หนวยวัด(dimensional unit) ของการกําหนดขนาดเชิงเสน ในกรณีที่เปนหนวยอื่นที่ไมใชหนวยมิลลิเมตร รายการเหลานี้จะเปนรายการบังคับ(mandatory)ตองมีในตารางรายการแบบ ถาแบบไมสามารถอานใหเขาใจไดเมื่อไมมี ขอมูลเพิ่มเติมนี้เหลานี้ 2.3.2.2 รายการดานเทคนิค (technical items) จะเกี่ยวของกับวิธีการเฉพาะหรือขอตกลงสําหรับแบบที่ใชงาน - วิธีการระบุลักษณะผิว(surface texture) (ดู ISO 1302) - วิธีการระบุ geometrical tolerances (ตัวอยางดูใน ISO 1101) - คาพิกัดเผื่อทั่วไป(general toleraces) สําหรับใชงานในกรณีที่ไมมีคาพิกดเผื่อกําหนด(specific tolerance)ระบุมาพรอม ั กับตัวเลขบอกขนาด (ดู ISO 2768) - มาตรฐานอื่นๆที่เกี่ยวของในสวนนี้ 8 / 101 TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
  • 9. SIAM CAST IRON WORKS S.O.P. CO., LTD. DS73012 2.3.2.3 รายการดานที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการแบบ(Administrative items) จะขึ้นอยูกับวิธีการที่ใชบริหารจัดการแบบโดย อาจจะประกอบดวยรายการตางๆดังตอไปนี้ - ขนาดกระดาษเขียนแบบ - วันที่ที่เริ่มใชงานแบบ (issue date) - สัญลักษณการแกไขแบบ(revision symbol) (ระบุในชองตารางรายการสําหรับเลขทะเบียนหรือหมายเลขประจําตัวแบบ ) - วันที่และรายละเอียดยอของการแกไขแบบซึ่งอางอิงกับสัญลักษณการแกไข รายการนี้อาจแสดงไวนอกตารางรายการแบบโดยอาจแยกมาแสดงมาเปนตารางหรืออาจแสดงแยกในเอกสารตางหาก - ขอมูลการที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการแบบอื่นๆ เชน รายมือชื่อของผูรับผิดชอบ 2.4 แบบที่มีหลายแผน(Multiple sheet drawing) แบบที่มีหลายแผนใชหมายเลขทะเบียนหรือหมายเลขประจําตัวแบบเดียวกันตองระบุตัวเลขแสดงลําดับแผน (sequential sheet number) และตองแสดงจํานวนแผนทั้งหมดของแบบลงในแบบแผนที่ 1 ตัวอยางเชน "Sheet No. n/p" เมื่อ n คือ หมายเลขแผนของแบบ p คือ จํานวนแผนทั้งหมดของแบบ เมื่อแสดงตารางรายการแบบในแผนที่ 1 แลวอาจจะใชตารางแสดงรายการอยางยอกับแบบทุกแผนที่เหลือ โดยแสดงอยางยอ ในสวนที่เปนขอมูลประจําตัวแบบ( Identification zone ) เทานั้น 9 / 101 TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
  • 10. SIAM CAST IRON WORKS S.O.P. CO., LTD. DS73012 3.มาตราสวน(Scales) 3.1 มาตรฐานมาตราสวนจะอางอิงตาม ISO 5455-1979(E) 3.2 นิยาม(Definitions) มาตราสวน : คือ อัตราสวนของขนาดเชิงเสนขององคประกอบ ของชิ้นงานที่เขียนแสดงในแบบตนฉบับ กับขนาดเชิงเสนจริงของ องคประกอบเดียวกันของตัวชิ้นงานจริง Scale : Ratio of the linear dimension of an element of an object as represented in the original drawing to the rea linear dimension of the same element of the object itself. มาตราสวนเทาของจริง : คือ มาตราสวนที่มีอัตราสวนเปน 1 : 1 Full size : A scale with the ratio 1 : 1 มาตราสวนขยาย : คือ มาตราสวนที่มีอัตราสวนมากกวา 1 : 1 และอัตราสวนที่มากกวา 1 : 1 นี้จะเรียกวาอัตราสวนขยาย enlargment scale : A scale where the ratio is larger than 1 : 1. It is said to be larger as its ratio increases. มาตราสวนยอ : คือ มาตราสวนที่มีอตราสวนนอยกวา 1 : 1 และอัตราสวนที่นอยกวา 1 : 1 นี้จะเรียกวาอัตราสวนยอ ั  reduction scale : A scale where the ratio is smaller than 1 : 1. It is said to be smaller as its ratio decreases. 3.3 รูปแบบการระบุมาตราสวน(Designation) การระบุมาตราสวนของแบบที่สมบรูณจะตองประกอบดวยคําวา "SCALE" (หรือคําที่มีความหมายเดียวกันของภาษาที่ใช ในแบบ) ตามดวยการระบุอัตราสวนดังนี้ - SCALE 1 : 1 สําหรับมาตราสวนเทาของจริง - SCALE X : 1 สําหรับมาตราสวนขยาย - SCALE 1 : X สําหรับมาตราสวนยอ ถาไมมีโอกาสเกิดการเขาใจผิด คําวา "SCALE" อาจละเวนไมแสดงก็ได 3.4 การระบุมาตราสวน(Inscription) 3.4.1 การระบุมาตราสวนที่ใชในแบบตองเขียนลงในตารางรายการของแบบ 3.4.2 เมื่อมีความจําเปนตองใชมาตราสวนมากกวา 1 มาตราสวนในแบบ มาตรสวนที่จะเขียนแสดงลงในตารางรายการแบบ ตองเปนมาตราสวนหลักเทานั้น มาตราสวนอื่นๆใหแสดงใกลกับหมายเลขอางอิงรายการชิ้นสวน(item reference number of part)ที่เกี่ยวของหรือใกลกับตัวอักษรอางอิงภาพขยาย(detail view)หรือภาพตัด(Section view) 10 / 101 TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
  • 11. SIAM CAST IRON WORKS S.O.P. CO., LTD. DS73012 3.5 มาตราสวนแนะนํา(Recommended scales) 3.5.1 มาตราสวนแนะนําสําหรับใชในแบบทางเทคนิค(technical drawings) กําหนดในตารางดังตอไปนี้ ตารางที่ 3.5-1 มาตราสวนแนะนํา ประเภทมาตราสวน มาตราสวนแนะนํา 50 : 1 20 : 1 10 : 1 มาตราสวนขยาย 5:1 2:1 มาตราสวนเทาของจริง 1:1 1:2 1:5 1 : 10 1 : 20 1 : 50 1 : 100 มาตราสวนยอ 1 : 200 1 : 500 1 : 1 000 1 : 2 000 1 : 5 000 1 : 10 000 หมายเหตุ ในกรณีพิเศษที่ตองใชขนาดมาตราสวนขยายที่ใหญกวาหรือมาตราสวนยอที่เล็กกวามาตราสวนแนะนําที่แสดงใน ตาราง ชวงที่แนะนําของมาตราสวนอาจขยายเพิ่มไดในทิศทางใดทิศทางหนึ่ง คือหาคามาตราสวนที่ตองการจาก มาตราสวนแนะนําในตาราง โดยการคูณคาเศษของมาตราสวนขยาย หรือคาสวนมาตราสวนยอดวย10 ยกกําลัง เลขจํานวนเต็ม ในกรณีที่ไมสามารถใชมาตราสวนแนะนําไดเนื่องมาจากเหตุผลเกี่ยวกับหนาที่การทํางาน อาจใชมาตราสวนที่อยู ระหวางมาตราสวนแนะนําได 3.5.2 การเลือกมาตราสวนที่ใชในแบบจะใชหลัก 2 ขอดังตอไปนี้ ก) เลือกใชมาตราสวนโดยยึดขนาดของกระดาษเขียนแบบและขนาดของชิ้นงานจริงที่ทําแบบเปนสําคัญ ขนาดกระดาษเขียนแบบและขนาดของชิ้นงานจะเปนตัวกําหนดขนาดมาตราสวนที่ใชในแบบ ข) เลือกใชมาตราสวนโดยยึดลักษณะชิ้นงานที่แสดงหรือจุดประสงคของแบบเปนสําคัญ ขนาดมาตราสวนที่ใชในแบบโดยยึดหลักในขอนี้จะขึ้นกับความซับซอนของชิ้นงานที่แสดงหรือจุดประสงคของแบบ มาตราสวนและขนาดของชิ้นงานจะเปนตัวกําหนดขนาดของแบบ อยางไรก็ตาม มาตราสวนที่เลือกใชในแบบทุกกรณีจะตองใหญพอที่จะทําใหแบบมีความชัดเจนและงายตอการอานแบบ 3.5.3 รายละเอียดของแบบที่มีขนาดเล็กมากสําหรับการใหขนาดในภาพหลักของแบบ จะตองแยกแสดงดวยภาพขยาย(detail view)หรือภาพตัด(Section view)ในบริเวณที่ใกลกับภาพหลักของแบบดวยมาตราสวนที่ใหญกวา 3.6 แบบมาตราสวนขยายขนาดใหญ(Large scale drawings) แบบของชิ้นงานขนาดเล็กที่ใชมาตราสวนขยายขนาดใหญ ควรเขียนภาพขนาดเทาของจริงเพิ่มเขาไปดวยเพื่อใหเปนขอมูล ซึ่งในกรณีนี้ภาพขนาดเทาจริงอาจเขียนแสดงอยางงายโดยเขียนแสดงเพียงเสนรอบรูปของชิ้นงานเทานั้น 11 / 101 TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
  • 12. SIAM CAST IRON WORKS S.O.P. CO., LTD. DS73012 4.เสน(Lines) 4.1 มาตรฐานเสนจะอางอิงตาม 1.1) ISO 128-20:1996(E) Basic conventions for lines 1.2) ISO 128-24:1996(E) Lines on mechanical engineering drawings 1.3) BS304 : Part 1 : 1984 Recommendations for general principles 1.4) มอก. 210-2520 วิธีเขียนแบบทั่วไปทางเครื่องกล 4.2 ความหนาของเสน(Line widths or thickness of line) เสนทุกชนิดที่ใชในแบบจะตองมีความหนาของเทากับคาใดคาหนึ่งของเสนคาความหนาเสนดังตอไปนี้ ขึ้นอยูกับชนิดและขนาด ของแบบ โดยอนุกรมคาความหนาของเสนจะเพิ่มขึ้นในอัตราสวน 1 : 2 (≈ 1 : 1 .4 ) หรืออีกนัยหนึ่งคือคาความหนาของ เสนจะเพิ่มขึ้นตามอนุกรมกาวหนาเรขาคณิตของ 2 เชน ตัวอยางเชน เสนที่บางสุดคือ 0.13 mm ความหนาของเสนตอไปจะ เปน 0.13 2 ≈ 0.18 mm - อัตราสวนคาความเสนของเสนหนาพิเศษตอเสนหนาตอเสนบางจะมีคาเปน 4 : 2 : 1 - ความหนาเสนตองมีขนาดสม่ําเสมอเทากันตลอดทั้งเสน 4.3 ระยะหางระหวางเสน (Spacing) ระยะหางต่ําสุดของเสนตรงสองเสนที่ขนานกันตองไมนอยกวา 0.7 mm เวนเสียแตขัดแยงกับหลักที่แสดงในมาตรฐาน ระหวางชาติอื่นๆ 12 / 101 TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
  • 13. SIAM CAST IRON WORKS S.O.P. CO., LTD. DS73012 4.4 ประเภทของเสนและการใชงาน (Types of line and their application) เสนที่ใชในงานเขียนแบบตองเปนเสนที่แสดงในตารางที่ 4.4-1 เทานั้น ตัวอยางการใชงานแสดงในรูปที่ 10 ตารางที่4.4-1 ประเภทของเสนเขียนแบบ เสน คําอธิบาย การใชงาน เสนเต็มหนา A1 เสนรอบรูปที่มองเห็น(visible outline) (Continuous thick ) A2 เสนขอบรูปที่มองเห็น(visible edge) or (Continuous wide) A3 เสนสุดความยาวเกลียว (Limit of length of full depth thread) A4 เสนยอดเกลียว (Crests of crew threads) A5 เสนกรอบพื้นที่เขียนแบบ (Frame) เสนเต็มบาง B1 เสนแสดงรอยตอที่เปนขอบโคง, เสนแนวโคง (Continuous thin) (Imaginary lines of intersection) or (Continuous narrow) B2 เสนใหขนาด (dimension line) B3 เสนชวยใหขนาด(Extension line) B4 เสนชี้ (leader line) B5 เสนแสดงลายตัด(hatching) B6 เสนแสดงรูปรางหนาตัด(ขอบรูป) (Outlines of revolved sections) B7 แสดงเปนเสนศูนยสั้น(short cetre line) B8 เสนโคนเกลียว(Root of screw threads) B9 เสนทะแยงมุมสําหรับแสดงพื้นที่ราบ (Diagonals for the indication of flat surfaces) B10 เสนแนวดัดโคง(พับ)บนที่วางและบนชิ้นงานที่จะถูก แปรรูป (Bending lines on blanks and processed parts) B11 แสดงรายละเอียดซ้ําๆ (indication of repetitive details) B12 เสนชวยแสดงตําแหนงของผิวเอียง (Interpretation lines of tapered features) B13 จุดเริ่มตนระบุและเครื่องหมายขอบเขต (Origin and terminations of dimension lines) B14 เสนฉาย(Projection lines) B 15 เสนกริด(grid lines) 13 / 101 TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
  • 14. SIAM CAST IRON WORKS S.O.P. CO., LTD. DS73012 ตารางที่4.4-1 ประเภทของเสนเขียนแบบ (ตอ) เสน คําอธิบาย การใชงาน เสนมือเปลา *C1 เสนแสดงการจํากัดรูปของภาพยอหรือภาพเฉพาะสวนตัด (freehand continuous) ทั้งกรณีที่เปนภาพตัดและภาคตัด(Cuts and Section)ถา เสนแสดงการจํากัดรูปไมใช เสนสมมาตร (Symmetry line หรือเสนแกนกลาง (Centre line ) เสนตรงซิกแซก § D1 เสนแสดงการจํากัดรูปของภาพยอหรือภาพเฉพาะสวน- ( Continuous thin ตัด ทั้งกรณีที่เปนภาพตัดและภาคตัด(Cuts and Section) straight with zigzags) ถาเสนแสดงการจํากัดรูปไมใช เสนสมมาตร (Symmetry line)หรือเสนแกนกลาง (Centre line ) เสนประหนา E1 แสดงบริเวณที่ใหทํา surface treatment เชน การทํา (Dashed thick) heat treatment เสนประบาง F1 เสนรอบรูปที่มองไมเห็น(Hidden outlines) (Dashed thin) F2 ขอบรูปที่มองไมเห็น(Hidden edges) เสนลูกโซบาง G1 เสนศูนยกลาง (centre lines) (Chain thin) G2 เสนสมมาตร (Lines of symmetry) หรือเสนศูนยกลางเล็ก G3 เสนแสดงแนวการหมุนของชิ้นงาน(Trajetectory) G4 เสนพิทซและวงกลมพิทซ(Pitch circles) เสนลูกโซบางหักมุม H1 เสนแสดงระนาบตัด (Cutting planes) (Chain thin, thick at end and changes of direct) เสนลูกโซหนา J1 แสดง(ขอบเขต)พื้นที่ที่ตองการทํา surface treatment (Chain thick) เชน heat treatment, carburizing hardening เสนลูกโซบางสองจุด K1 แสดงรูปรางชิ้นงานที่อยูติดกันหรือถัดไป (Chain thin double dashed) K2 เสนแสดงตําแหนงรูปรางชิ้นงานเคลื่อนที่ได K3 แสดงแนว Centroid K4 แสดงสวนที่อยูดานหนาของระนาบตัด K5 เสนรอบรูปเริ่มตนของชิ้นงานกอนการขึ้นรูป K6 เสนรอบรูปของชิ้นงานเมื่อทําสําเร็จภายในชิ้นงาน K7 เสนแสดงสวนของชิ้นงานที่ตองทําเพิ่ม K8 กรอบของสวน/พื้นที่ ที่บอกรายละเอียด K9 Projected tolerance zone หมายเหตุ * เสน C1 เหมาะสําหรับใชในแบบที่เขียนดวยมือ, § เสน D1 เหมาะสําหรับใชในแบบที่เขียนดวยเครื่องคอมพิวเตอร ในแบบแตละแผนควรจะเลือกใชเสนประเภทเดียวทั้งแบบ คือเลือกใชเสน C1 หรือ D1 อยางใดอยางหนึ่งเทานั้น 14 / 101 TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
  • 15. SIAM CAST IRON WORKS S.O.P. CO., LTD. DS73012 15 / 101 TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
  • 16. SIAM CAST IRON WORKS S.O.P. CO., LTD. DS73012 4.5 กลุมของเสนและความหนาเสน(Line groups and Line widths) ตาม ISO 128-24 แบบทางวิศวกรรมเครื่องกลปกติจะใชเสนที่มีขนาดความหนา 2 คา โดยมีอัตราสวนคาความหนาเสน ระหวางเสนหนาตอเสนบางตองมีคาเปน 2 : 1 แตเพื่อความเหมาะสมในการใชงานยิ่งขึ้นจะเพิ่มคาความหนาที่อยูระหวาง  เสนหนาและเสนบางเขาไปอีกหนึ่งคา โดยใชเปนคาความหนาเสนของเสนประบาง (มาตรฐานความหนาเสนชุดที่ 1 ของ มอก. 210-2520 ) ตารางที่ 4.5-1 ขนาดกลุมเสนและความหนาที่ใชเขียนแบบ กลุมเสนและความหนาของเสน ชนิดเสน คําอธิบาย 1.0 0.7 0.5 0.35 0.25 เสนเต็มหนา 1.0 0.7 0.5 0.35 0.25 (Continuous thick) เสนเต็มบาง 0.5 0.35 0.25 0.18 0.13 (Continuous thin) เสนมือเปลา 0.5 0.35 0.25 0.18 0.13 (freehand continuous) เสนตรงซิกแซก 0.5 0.35 0.25 0.18 0.13 เสนประหนา 1.0 0.7 0.5 0.35 0.25 (Dashed thick) เสนประบาง 0.7 0.5 0.35 0.25 0.18 (Dashed thin) เสนลูกโซบาง 0.5 0.35 0.25 0.18 0.13 (Chain thin ) เสนลูกโซบางหักมุม (Chain thin, thick at end 0.5 0.35 0.25 0.18 0.13 and changes of direct) เสนลูกโซหนา 1.0 0.7 0.5 0.35 0.25 (Chain thick) เสนลูกโซบางสองจุด 0.5 0.35 0.25 0.18 0.13 (Chain thin double dashed) กลุมของเสนความหนาเสนจะตองเลือกตามชนิด,ขนาดและมาตราสวน และตามขอขอกําหนดของการทําไมโครกอปป และ/หรือ วิธีการเขียนแบบอื่นๆ 16 / 101 TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
  • 17. SIAM CAST IRON WORKS S.O.P. CO., LTD. DS73012 4.6 จุดตัดของเสน(Junction) เสน E,F,G,J และ K ในตารางที่ 4.5-1 ตองมีจุดตัดหรือจุดชนของเสนที่เสนขีด(dash) ดังแสดงในรูปที่4.6-1 ถึง 4.6-6 รูปที่ 4.6-1 รูปที่ 4.6-2 รูปที่ 4.6-3 รูปที่ 4.6-4 รูปที่ 4.6-5 รูปที่ 4.6-6 17 / 101 TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
  • 18. SIAM CAST IRON WORKS S.O.P. CO., LTD. DS73012 4.7เสนชี้และเสนอางอิง (leader lines and reference lines) มาตรฐานการใชเสนชี้และเสนอางอิงจะอางอิงตาม ISO 128-22 เสนชี้ (Leader line) คือเสนเต็มบางที่ลากเชื่อมตอระหวาง featureของแบบกับอักขระ(alphanumeric) และ/หรือ ขอความ ตางๆ( notes, item reference, ขอกําหนดทางเทคนิค ฯลฯ)ในรูปแบบที่ชัดเจนไมกํากวม เสนอางอิง (Reference line) คือเสนเต็มบางที่ลากเชื่อมตอจากเสนชี้ในแนวนอนหรือแนวตั้ง และ/หรือ มีคําสั่งเพิ่มเติม (additional instructions) แสดงบนเสนหรือที่เสน รูปที่ 4.7-1 การแสดงเสนชี้(Presentation of leader lines) เสนชี้จะเขียนดวยเสนเต็มบางและเขียนทํามุมกับเสนในแบบที่สัมพันธกนกับเสนชี้ และ/หรือ กับกรอบพื้นที่กระดาษเขียน ั แบบและตองไมขนานกับเสนใกลเคียง เชน เสนลายตัด โดยมุมระหวางเสนชี้และเสนที่เกี่ยวของกันตอง >15° ( ดูตัวอยางที่ให ในรูป 4.7-2 ถึง4.7-14 ) เสนชี้อาจเขียนดวยเสนหักงอ (ดูรูปที่ 4.7-6 ) และเสนชี้ตั้งแต 2 เสนขึ้นไปอาจเขียนรวมกัน(ดูรูป 4.7-3,4.7-6,4.7-8,4.7-9 และ4.7-12) โดยที่เสนชี้เหลานี้ตอง ไมตัดกับเสนชี้,เสนอางอิง,หรือสิ่งระบุอื่นๆ เชน สัญลักษณตางๆ คาตัวเลขบอกขนาด เสนชี้ตองไมลากผานจุดตัดของเสนอื่นๆ และตองหลีกเลี่ยงการใชเสนชี้ที่ยาวมากๆ เสนชี้ตองแสดงเครื่องหมายปลายเสนดานซึ่งสัมผัสกับ feature ของแบบดังนี้ - ดวยหัวลูกศรแบบปดระบายทึบหรือหัวลูกศรเปด(ที่มุมหัวลูกศร 15° ) ถาปลายเสนชี้ที่เสนรอบรูปหรือเสนขอบของแบบ หัวลูกศรยังเขียนแสดงไดที่จุดตัดของเสนรอบรูปหรือเสนขอบกับเสนอื่น ยกตัวอยางเชน เสนสมมาตร(ดูรูปที่4.7-2 ถึง 4.7-8) หมายเหตุ ในการใชเสนชี้ระบุใหกับเสนขนานกันหลายเสนสามารถใชขีดเอียงแทนหัวลูกศรได(ดูรปที่ 4.7-9) ู - ดวยจุด(d = 5x ความหนาเสน) ถาปลายเสนชี้ภายในเสนรอบรูป (ดูรูปที่4.7-10 ถึง 4.7-12) - ไมมีจดหรือหัวลูกศรถาปลายเสนชี้บนเสนอื่น เชน เสนบอกขนาด, เสนสมมาตร (ดูรูปที่4.7-13 ถึง 4.7-14) ุ รูปที่ 4.7-2 รูปที่ 4.7-3 18 / 101 TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
  • 19. SIAM CAST IRON WORKS S.O.P. CO., LTD. DS73012 รูปที่ 4.7-4 รูปที่ 4.7-5 รูปที่ 4.7-6 รูปที่ 4.7-7 รูปที่ 4.7-8 รูปที่ 4.7-9 รูปที่ 4.7-10 รูปที่ 4.7-11 รูปที่ 4.7-12 รูปที่ 4.7-13 รูปที่ 4.7-14 19 / 101 TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
  • 20. SIAM CAST IRON WORKS S.O.P. CO., LTD. DS73012 การแสดงเสนอางอิง(Presentation of reference lines) เสนอางอิงจะเขียนดวยเสนเต็มบาง โดยอาจถูกเขียนเพิ่มใหกับเสนชี้แตละเสนในทิศใดทิศหนึ่งของทิศที่ใชอานคาในแบบ เสนอางอิงจะเขียนดวยวิธีการใดวิธีการหนึ่งดังนี้คือ - กําหนดความยาวเสนที่แนนอน คือใชความยาวเสนที่ 20 x ความหนาเสนของเสนอางอิง (ดูรูป 4.7-16 และ 4.7-17) - เขียนเสนอางอิงดวยความยาวที่ปรับตามความยาวของคําสั่ง(instructions)ที่ระบุ (ดูตัวอยางในรูปที่ 4.7-15 และ 4.7-17) รูปที่ 4.7-15 รูปที่ 4.7-16 รูปที่ 4.7-17 รูปที่ 4.7-18 ในกรณีเฉพาะของการใชงานตองเขียนเสนอางอิง(ดูตัวอยางที่ใหในรูปที่ 4.7-16) อยางไรก็ตามเสนอางอิงอาจไมตองแสดง ถาเสนชี้ถูกเขียนในทิศของการอานแบบทิศทางใดทางทิศหนึ่ง และคําสั่งที่ระบุถก ู เขียนในทิศทางเดียวกัน(ดูรูปที่ 4.7-19) และ ในกรณีอื่นๆทุกกรณีที่ไมสามารถใชเสนอางอิง(ดูรูปที่ 4.7-10,4.7-20,4.7-21) รูปที่ 4.7-19 รูปที่ 4.7-20 รูปที่ 4.7-21 20 / 101 TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
  • 21. SIAM CAST IRON WORKS S.O.P. CO., LTD. DS73012 การระบุคําสั่ง(Indication of instructions) คําสั่งที่เปนของเสนชี้ตองถูกระบุในลักษณะดังตอไปนี้ - โดยทั่วไปๆจะระบุ เหนือเสนอางอิง (ดูรูปที่ 4.7-15,4.7-18,4.7-22) - กึ่งกลางหลังเสนชี้หรือเสนอางอิง (ดูรูปที่ 4.7-17,4.7-19) - รอบๆ,ภายใน หรือหลังสัญลักษณ ใหถูกตองตรงตามกับขอกําหนดของมาตรฐานระหวางชาติ พิจารณาตามขอกําหนดสําหรับการทํา ไมโครกอปป ใน ISO 6428 คําสั่ง(Instructions)จะตองเขียนบนหรือใตเสนอางอิงที่ ระยะหางเปน 2 เทาของความหนาเสนอิงและเสนอางอิงตองไมเขียนภายในเสนอางอิงหรือสัมผัสกับเสนอางอิง รูปที่ 4.7-22 ชิ้นงานที่มีหลายชั้นเฉพาะหรือประกอบจากชิ้นสวนหลายชิ้นสวน ถูกกําหนดดวยเสนดวยเสนชี้เพียงเสนเดียว ลําดับของการ ระบุคําสั่งตองตรงกับลําดับของชั้นหรือชิ้นงาน(ดูตัวอยาที่ใหในรูป4.7-23) รูปที่ 4.7-23 หมายเหตุ ในการใชเสนชี้ระบุคาตางๆใหกับวงกลมหรือสวนของวงกลม แนวของเสนชี้ตองผานจุดศูนยกลาง(BS 308 Part2:1985 หนา 17)  21 / 101 TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
  • 22. SIAM CAST IRON WORKS S.O.P. CO., LTD. DS73012 5.ตัวอักษร(Lettering) 5.1 มาตรฐานตัวอักษรจะอางอิงตาม 5.1.1) มาตรฐานตัวอักษรภาษาอังกฤษจะยึดตาม ISO 3098 :1997(E) 5.1.2) มาตรฐานตัวอักษรภาษาไทยจะยึดตาม มอก. 210-2520 5.2 มาตรฐานตัวอักษรภาษาอังกฤษ 5.2.1 รูปแบบของตัวอักษรภาษาอังกฤษ (Type of lettering) มาตรฐาน ISO 3098:1997(E) กําหนดรูปแบบของตัวอักษรที่ใชในงานเขียนแบบดังตอไปนี้ - ตัวอักษรแบบ A ตัวตรง (lettering type A, Vertical ( V ) ) ขนาดตางของตัวอักรระบุในตาราง - ตัวอักษรแบบ A ตัวเอียง (lettering type A, Sloped ( S ) ) ที่ 5.2.3-1 - ตัวอักษรแบบ B ตัวตรง (lettering type B, Vertical ( V ) ) ขนาดตางของตัวอักรระบุในตาราง - ตัวอักษรแบบ B ตัวเอียง (lettering type B, Sloped ( S ) ) (นิยมใชงาน) ที่ 5.2.3-2 - ตัวอักษรแบบ CA ตัวตรง (lettering type A, Vertical ( V ) ) - ตัวอักษรแบบ CA ตัวเอียง (lettering type A, Sloped ( S ) ) แบบตัวอักษรที่ใชใน CAD - ตัวอักษรแบบ CB ตัวตรง (lettering type B, Vertical ( V ) ) (นิยมใชงาน) (ISO 3098-5) - ตัวอักษรแบบ CB ตัวเอียง (lettering type B, Sloped ( S ) ) ในการเขียนแบบโดยทั่วไปจะนิยมใชงาน (preferred application) ตัวอักษรแบบ B ตัวตรง ตัวอักษรแบบ A จะมีขนาดความ กวางแคบกวาและบางกวาแบบ B จึงเหมาะใชในแบบที่มีเนื้อที่จํากัด ตัวอักษรแบบเอียงจะเหมาะสําหรับการเขียนแบบดวยมือ ดูรายละเอียดไดใน ISO 3098:1997(E) 5.2.2 ขนาดความสูงมาตรฐาน (Range of nominal sizes) ขนาดความสูงตัวอักษรที่ใชในงานเขียนแบบตามมาตรฐาน ISO 3098 (หนวยมิลลิเมตร) ขนาดตัวหนังสือจะโตขึ้นเปนลําดับตามผลคูณของ 2 (เชน1 . 8 × 2 ≈ 2 . 5 ) ตามมาตรฐานการขยายลําดับขนาด ของกระดาษ (ดู ISO 216) ขนาดความหนาของเสนที่ใชเขียนตัวอักษรจะตองสอดคลองกับมาตรฐานความหนาเสนที่ใชเขียนแบบโดยที่ความหนาเสนนี้ จะตองใชกับทั้งตัวอักษรพิมพใหญ(upper-case letters)และและตัวอักษรพิมพเล็ก(lower-case letters) 22 / 101 TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
  • 23. SIAM CAST IRON WORKS S.O.P. CO., LTD. DS73012 5.2.3 ขนาดตางๆของตัวอักษร ขนาดตางๆของตัวอักษรจะถูกกําหนดจากความสูง (h) ของเสนบรรทัด(outline contour)ของตัวอักษรพิมพใหญ (ดูรูป5.2.3-1 ตาราง 5.2.3-1 และ ตาราง 5.2.3-2) รูป 5.2.3-1 รูป 5.2.3-2 รูป 5.2.3-3 เมื่อ h คือ ความสูงของตัวอักษรพิมพใหญ ( Lettering height ) c1 คือ ความสูงของตัวอักษรพิมพเล็ก ( Height of lower - case letters (x-height) ) c2 คือ สวนลางของตัวอักษรพิมพเล็ก ( Tail of lower - case letters) c3 คือ สวนบนของตัวอักษรพิมพเล็ก ( Stem of lower - case letters ) f คือ พื้นที่สวนเครื่องหมาย diacritical ของตัวพิมพใหญ(Area of diacritical marks(upper-case letters)) a คือ ชองไฟระหวางตัวอักษร ( Spacing between characters ) b1 คือ ระยะหางนอยสุดระหวางเสนบรรทัดลาง 1) ( Spacing between baselines 1) ) b2 คือ ระยะหางนอยสุดระหวางเสนบรรทัดลาง 2)( Spacing between baselines 2) ) b3 คือ ระยะหางนอยสุดระหวางเสนบรรทัดลาง 3)( Spacing between baselines3) ) e คือ ระยะหางระหวางคํา ( Spacing between words ) d คือ ความหนาเสน ( Line width or Thickness of line ) 23 / 101 TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
  • 24. SIAM CAST IRON WORKS S.O.P. CO., LTD. DS73012 ตาราง 5.2.3-1 ขนาดตางๆของตัวอักษรชนิด A Multiple Characteristic Dimensions of h h (14/14)h 1.8 2.5 3.5 5 7 10 14 20 c1 (10/14)h 1.3 1.8 2.5 3.5 5 7 10 14 c2 (4/14)h 0.52 0.72 1 1.4 2 2.8 4 5.6 c3 (4/14)h 0.52 0.72 1 1.4 2 2.8 4 5.6 f (5/14)h 0.65 0.9 1.25 1.75 2.5 3.5 5 7 a (2/14)h 0.26 0.36 0.5 0.7 1 1.4 2 2.8 1) b1 (25/14)h 3.25 4.5 6.25 8.75 12.5 17.5 25 35 b2 2) (21/14)h 2.73 3.78 5.25 7.35 10.5 14.7 21 29.4 3) b3 (17/14)h 2.21 3.06 4.25 5.95 8.5 11.9 17 23.8 e (6/14)h 0.78 1.08 1.5 2.1 3 4.2 6 8.4 4) 4) 4) d (1/14)h 0.13 0.18 0.25 0.35 0.5 0.7 4) 1 1.4 4) 1) รูปแบบตัวอักษร : ตัวพิมพใหญและตัวอักษรพิมพเล็กที่มีการใชเครื่องหมาย diacritical marks ดูรูปที่ 5.2.3-1 2) รูปแบบตัวอักษร : ตัวพิมพใหญและตัวอักษรพิมพเล็กที่มีการไมใชเครื่องหมาย diacritical marks ดูรูปที่ 5.2.3-2 3) รูปแบบตัวอักษร : ตัวพิมพใหญเทานั้น ดูรูปที่ 5.2.3-3 4) คาโดยประมาณ ; คาของขนาด c1 ถึง e คํานวณจากคาโดยประมาณของ d ตาราง 5.2.3-2 ขนาดตางๆของตัวอักษรชนิด B Multiple Characteristic Dimensions of h h (10/10)h 1.8 2.5 3.5 5 7 10 14 20 4) c1 (7/10)h 1.26 1.75 2.5 3.5 5 4) 7 10 4) 14 c2 (3/10)h 0.54 0.75 1.05 1.5 2.1 3 4.2 6 c3 (3/10)h 0.54 0.75 1.05 1.5 2.1 3 4.2 6 f (4/10)h 0.72 1 1.4 2 2.8 4 5.6 8 a (2/10)h 0.36 0.5 0.7 1 1.4 2 2.8 4 1) b1 (19/10)h 3.42 4.75 6.65 9.5 13.3 19 26.6 38 b2 2) (15/10)h 2.7 3.75 5.25 7.5 10.5 15 21 30 3) b3 (13/10)h 2.34 3.25 4.55 6.5 9.1 13 18.2 26 e (6/10)h 1.08 1.5 2.1 3 4.2 6 8.4 12 d (1/10)h 0.18 0.25 0.35 0.5 0.7 1 1.4 2 1) รูปแบบตัวอักษร : ตัวพิมพใหญและตัวอักษรพิมพเล็กที่มีการใชเครื่องหมาย diacritical marks ดูรูปที่ 5.2.3-1 2) รูปแบบตัวอักษร : ตัวพิมพใหญและตัวอักษรพิมพเล็กที่มีการไมใชเครื่องหมาย diacritical marks ดูรูปที่ 5.2.3-2 3) รูปแบบตัวอักษร : ตัวพิมพใหญเทานั้น ดูรูปที่ 5.2.3-3 4) คาโดยประมาณ 24 / 101 TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
  • 25. SIAM CAST IRON WORKS S.O.P. CO., LTD. DS73012 ตัวอักษรแบบ A ตัวตรง (lettering type A, Vertical ( V ) ) ตัวอักษรลาติน (Lantin charactor) 25 / 101 TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
  • 26. SIAM CAST IRON WORKS S.O.P. CO., LTD. DS73012 ตัวอักษรแบบ B ตัวตรง (lettering type B, Vertical ( V ) ) ตัวอักษรลาติน (Lantin charactor) 26 / 101 TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
  • 27. SIAM CAST IRON WORKS S.O.P. CO., LTD. DS73012 ตัวอักษรแบบ B ตัวตรง (lettering type B, Vertical ( V ) ) ตัวอักษรกรีก (Greek charactor) 27 / 101 TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
  • 28. SIAM CAST IRON WORKS S.O.P. CO., LTD. DS73012 5.2.4 การเอียงของตัวอักษร (Lettering angle) ตัวอักษรควรเขียนตัวตรง หรือ เขียนเอียงไปดานขวาดวยมุม 75° กับแนวนอน (ดูรูป 5.2.4-1) รูป 5.2.4-1 5.2.5 การขีดเสนใตและเสนบนตักษรหรือบริเวณที่มีตัวอักษร (Underlined and overlined text or text fields) เมื่อตัวอักษรหรือบริเวณที่มีตัวอักษรถูกขีดเสนใตหรือเสนบนควรจะเวนเสนทุกที่เมื่อตัวอักษรแบบตัวพิมพเล็กมีสวนลาง หรือ  เมื่อตัวอักษรแบบตัวพิมพใหญหรือตัวพิมพเล็กมีเครื่องหมาย diacritical ถาเสนใตหรือเสนบนมีระยะหางไมเหมาะสมจะตอง ขยายระยะหางของเสนใตหรือเสนบนกับเสนบรรทัดลาง( Baselines ) รูปที่ 5.2.5-1 รูปที่ 5.2.5-2 28 / 101 TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
  • 29. SIAM CAST IRON WORKS S.O.P. CO., LTD. DS73012 5.3 มาตรฐานตัวอักษรภาษาไทย 5.3.1 รูปแบบของตัวอักษรภาษาไทย ตาม มอก. 210-2520 กําหนดรูปแบบของตัวอักษรที่ใชในงานเขียนแบบไว 2 ชนิด คือ ตัวอักษรแบบบรรทัดตัวตัวอักษร (Letter plate ) มีขนาดความหนาของเสนเทากับ 1 ใน 10 (หรือ 1 ใน 14 ) เทาของความสูงของตัวอักษร และตัวอักษรแบบแผน- อักษรลอก มีขนาดความหนาของเสนตามความเหมาะสม เพื่อความสวยงามของตัวอักษรแตละแบบ มีหลายขนาดดังใน ตารางที่ 5.3.1-1 และตาราง 5.3.1-2 ตารางที่ 5.3.1-1 ตัวอยางขนาดของตัวอักษรแบบบรรทัดตัวหนังอักษร ตารางที่ 5.3.1-2 ตัวอยางขนาดของตัวอักษรแบบแผนอักษรลอก 29 / 101 TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
  • 30. SIAM CAST IRON WORKS S.O.P. CO., LTD. DS73012 5.3.2 รูปแบบของตัวอักษรมาตรฐานภาษาไทย เนื่องจาก มอก.210-2520 ไมกําหนดรูปแบบมาตรฐานของตัวอักษรไวแนนอน เพื่อความเปนมาตรฐานเดียวกันขององคกร จึงขอกําหนดรูปแบบตัวอักษรภาษาไทยไว 2 แบบ โดยยึดรูปแบบของตัวอักษรตามรูปแบบของตัวอักษรที่ไดจากรองบรรทัดชวย เขียน และบรรทัดตัวอักษรที่นยมใชกันในงานเขียนแบบดังนี้ ิ - รูปแบบตัวอักษรชนิดหัวกลมตัวตรงแบบรองชวยเขียน - รูปแบบตัวอักษรชนิดหัวกลมตัวตรงแบบบรรทัดชวยเขียน รูปแบบตัวอักษรชนิดหัวกลมตัวตรงแบบรองชวยเขียน รูปแบบตัวอักษรชนิดหัวกลมตัวตรงแบบบรรทัดชวยเขียน 30 / 101 TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
  • 31. SIAM CAST IRON WORKS S.O.P. CO., LTD. DS73012 5.3.3 ขนาดความสูงนอยสุดของตัวอักษรและตัวเลขในงานเขียนแบบ ตารางที่ 5.3.3-1 แสดงคาความสูงต่ําสุดแนะนําสําหรับตัวอักษรตัวพิมพใหญ ซึ่งเปนคาที่ไดจากประสบการณ และเปรียบเทียบ กับ มาตรฐานการเขียนแบบของประเทศอังกฤษ BS 308 : Part 1: 1984 ตารางที่ 5.3.3-1 ขนาดความสูงตัวอักษร ขนาดกระดาษ ความสูงตัวอักษร การใชงาน เขียนแบบ นอยสุด (mm) ขนาดแนะนํา (mm) ตัวเลขบอกขนาด และ A4 2 2.5 ตัวหนังสืออื่นๆที่ใชในแบบ A3,A2 2.5 3 A1,A0 3.5 - หมายเลขแบบ(Drawing number) A4,A3 2.5 2.5 Title และ Subtitle A4,A3 3 - ตารางที่ 5.3.3-2 ขนาดความสูงตัวอักษรตาม BS 308 : Part 1: 1984 Minimum character height Application Drawing sheet size (mm) A0, A1, A2 and A3 7 Drawing numbers, etc. A4 5 A0 3.5 Dimensions and notes A1, A2, A3 and A4 2.5 31 / 101 TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
  • 32. SIAM CAST IRON WORKS S.O.P. CO., LTD. DS73012 6.วิธีการเขียนภาพฉาย (Projection methods) 6.1 วิธีการเขียนภาพฉายจะอางอิงตาม - มาตรฐาน ISO 5456-2 : 1996-06-15 First edition 6.2 การกําหนดภาพ (Designation of view ) รูป 6.2-1กรณีเปนภาพไอโซเมตริก ( Isometric ) รูป 6.2-2 กรณีเปนภาพอ็อพบริค ( Oblique ) ตารางที่ 6.2-1 ทิศทางของการมอง การกําหนดภาพ ภาพในทิศทาง ภาพ a ดานหนา A b ดานบน B ( E )1) c ดานซาย C d ดานขวา D e ดานลาง E f ดานหลัง F ภาพที่ใหรายละเอียดชัดเจนที่สุดของชิ้นงานโดยปกติจะถูกเลือกเปนภาพหลัก(ภาพดานหนา)ในการนําเสนอ นั้นคือภาพ A ตามทิศทางการมอง a ( ดู รูปที่ 6.2-1, 6.2-2 และตารางที่ 6.2-1)โดยทั่วไปจะแสดงวัตถุตามหนาที่การทํางานหรือตามการผลิต หรือตามตําแหนงการติดตั้ง ตําแหนงของภาพดานอื่นที่สัมพันธกับภาพหลักในแบบจะขึ้นกับวิธีการฉายภาพที่เลือกใช (มุมมองที่ 1, มุมมองที่ 3, มุมมองตาม ลูกศรชี้อางอิง ) ซึ่งในทางปฏิบัติไมจําเปนตองใชทั้ง 6 ภาพ เมื่อมีภาพดานอื่นๆ(ภาพตัด,ภาคตัด) นอกจากภาพหลักมีความจําเปนที่ตองแสดง จะตองเลือกภาพโดย - จํากัดจํานวนภาพดานอื่นๆ, ภาพตัด(cuts)และภาคตัด(section)ที่จําเปนใหนอยที่สุดและเพียงพอตอการแสดงรายละเอียด ทั้งหมดของชิ้นงานโดยไมมีขอสงสัย - หลีกเลี่ยงการซ้ําซอนที่ไมจําเปนของรายละเอียด 32 / 101 TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
  • 33. SIAM CAST IRON WORKS S.O.P. CO., LTD. DS73012 6.3 การเกิดภาพฉาย ภาพฉาย มีการเกิดอยู 2 ลักษณะ คือ 6.3.1 ภาพฉายเกิดในลักษณะการเกิดเงา เมื่อมีแสงมากระทบวัตถุแลวเงาของวัตถุจะไปปรากฏที่ฉากรับภาพ การเกิดภาพฉายแบบนี้ใชกับภาพฉายแบบมุมมองที่ 1 รูปที่ 6.3.1-1 วิธีการฉายภาพในลักษณะการเกิดเงา 6.3.2 ภาพฉายเกิดในลักษณะการมองเห็นวัตถุ เมื่อมีแสงมากระทบวัตถุแลวภาพของวัตถุจะสะทอนเขาตาเราจึงทําใหเกิดการมองเห็น โดยภาพที่ปรากฎนั้นมีตาเปนฉากรับ ภาพนั่นเอง การเกิดภาพฉายลักษณะนี้จะเหมือนมีฉากใสมากั้นสายตาไวนั้นเองการเกิดภาพฉายแบบนี้ใชกับภาพฉายแบบ มุมมองที่ 3 รูปที่ 6.3.2-1 วิธีการฉายภาพในลักษณะการมองเห็น 33 / 101 TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS
  • 34. SIAM CAST IRON WORKS S.O.P. CO., LTD. DS73012 6.4 การกําหนดมุมมอง มุมมองที่ใชในการกําหนดวิธการฉายภาพสําหรับงานเขียนแบบ ใชหลักการแบงมุมภายในของวงกลม( 360° ) ออกเปน ี 4 สวนเทากันเรียกวา ครอด-แร็นท( Quadrant ) และตั้งเปนชื่อมุมมองมาตรฐานตามชื่อของครอด-แร็นทแตละสวนคือ รูปที่ 6.4-1 การแบงมุมภายในของวงกลมออกเปน ครอด-แร็นท( Quadrant ) รูปที่ 6.4-2 การแบงมุมมองภาพ เพื่อหลีกเลี่ยงความสับสนในการเขียนภาพฉาย มุมมองที่เหมาะสมสําหรับใชในการเขียนแบบภาพฉายจะตองเปนมุมมองที่ใชวิธี การฉายภาพทุกดานของชิ้นงานเพียงแบบใดแบบหนึ่งเทานั้น ระหวางการฉายภาพในลักษณะการเกิดเงา หรือ การฉายภาพใน ลักษณะการมองเห็นวัตถุ ดังนั้นมุมมองที่เหมาะสมไดแกมุมมองที่ 1 ( First angle) ซึ่งใชวิธีการฉายภาพในลักษณะการเกิดเงา และมุมมองที่ 3 ( Third angle) ซึ่งใชวิธีการฉายภาพในลักษณะการมองเห็นวัตถุ 34 / 101 TQM25 ISSUED : 180898 REVISED : 091202 SPS