SlideShare a Scribd company logo
1 of 44
จัดทาโดย
นายสามิตร โกยม
Email: samitkoyom@gmail.com โทร. 089-594-000-6
Facebook: facebook.com/AjarnSamit Twitter:@iamsamit
(เอกสารเพื่อประกอบการเรียนรู้ด้วยตนเอง ห้ามจาหน่าย)
เอกสารประกอบการเรียน
PHP Basic
บทนา 1
บทที่ 1 Web Based Application 2
รู้จักกับ Web Based Application 2
จุดเด่นของ Web Based Application 2
ลักษณะของการเขียนโปรแกรมบนเว็บ 3
ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ Web-Based Application 4
บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHP และเตรียมความพร้อม 8
การทางานของเว็บเพจและไฟล์ PHP 9
องค์ประกอบของการเขียนสคริปต์ PHP 12
การติดตั้ง PHP กับ IIS 13
การติดตั้ง PHP กับ Apache บน Windows 19
ตาแหน่ง Document Root และ URL ของเบราเซอร์ 23
การสร้างไซต์ใน Dreamweaver 24
การตั้งค่า Preference ที่สาคัญใน Dreamweaver 26
บทที่ 3 เริ่มต้นกับ PHP 29
การเขียนสคริปต์ PHP ในเอกสาร HTML 31
ตัวแปรและโอเปอเรเตอร์ 33
การตรวจสอบและยกเลิกตัวแปร 37
บทที่ 4 การควบคุมการทางานด้วยเงื่อนไข และลูป 41
การใช้คาสั่ง if…else 42
การใช้คาสั่ง switch…case 43
การใช้คาสั่ง for 44
คาสั่งหยุดการทางานของเพจ 46
เวิร์กชอป : การคิดเงินทอนแยกตามชนิดธนบัตร 47
สารบัญ
บทที่ 5 ฟังก์ชันใน PHP 49
การสร้างฟังก์ชัน 49
การเรียกใช้ฟังก์ชั่น 51
การอ้างอิงถึงตัวแปรนอกฟังก์ชันด้วยคาสั่ง global 52
ฟังก์ชันและตัวแปรระบบที่ PHP เตรียมไว้ให้ 55
ฟังก์ชันเกี่ยวกับจานวนและตัวเลข 56
ฟังก์ชันด้านคณิตศาสตร์ 57
ฟังก์ชั่นเพิ่มเติมอื่น ๆ 58
บทที่ 6 สตริงและ Regular Expressions 59
ฟังก์ชันเกี่ยวกับสตริง 59
ฟังก์ชันเกี่ยวกับการหาขนาดของสตริง 59
ฟังก์ชันเปลี่ยนรูปแบบของตัวพิมพ์ 60
ฟังก์ชันเกี่ยวกับการแยก และรวมสตริง 61
ฟังก์ชันเกี่ยวกับสตริงย่อย 62
ฟังก์ชันในการแทนที่สตริง 63
ฟังก์ชันเกี่ยวกับอักขระพิเศษของ HTML
บทที่ 7 อาเรย์ (Array) ใน PHP 66
การสร้างอาเรย์อย่างง่าย 66
การสร้างอาเรย์ว่างและกาหนดสมาชิกให้อาเรย์ 67
การใช้คาสั่ง foreach กับอาเรย์ 68
อาเรย์หลายมิติ 69
Workshop : ใช้อาเรย์กับการคิดเงินทอนแยกตามธนบัตร 70
บทที่ 8 การจัดการข้อมูลจากฟอร์ม 73
ลักษณะของฟอร์ม 73
การออกแบบฟอร์มด้วย Dreamweaver 74
การจัดการข้อมูลจากฟอร์มทางด้านเซิฟเวอร์ 76
การอ่านข้อมูลที่ส่งด้วยเมธอด GET 76
การอ่านข้อมูลที่ส่งด้วยเมธอด POST 76
Workshop : สร้างฟอร์มคิดส่วนลดสินค้า 77
บทที่ 9 การทางานกับไฟล์ 79
ฟังก์ชันเกี่ยวกับไฟล์ 79
ฟังก์ชันเกี่ยวกับการตรวจสอบไฟล์ 79
ฟังก์ชันการหาขนาด และชนิดของไฟล์ 80
ฟังก์ชันการเปิดไฟล์ / ปิดไฟล์ 80
ฟังก์ชันเกี่ยวกับการอ่านไฟล์ 81
ฟังก์ชันเกี่ยวกับการเขียนไฟล์ 82
ฟังก์ชันเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงไฟล์ 83
Workshop : การสร้างตัวนับผู้เข้าชมเว็บไซต์ (Visitor) 84
ข้อมูลอ้างอิง 86
1บทที่ 1 Web Based Application
วันนี้การสร้างเว็บเพจหรือ Web based Application ได้เปลี่ยนแปลงไปจากในอดีตอย่างมาก นอกจาก
ความรู้ความเข้าใจในการออกแบบที่ดีแล้ว จาเป็นต้องใช้การเขียนสคริปต์เข้ามาช่วยเพิ่มความสามารถ ลูกเล่น
สีสันและ Application บนเว็บ แถมยังต้องเพิ่มความสามารถใหม่ ๆ ให้รองรับกับพฤติกรรมผู้บริโภคที่ไม่ได้ทา
เพียงแค่เข้ามาอ่านหน้าเว็บเพจอย่างเดียว แต่ต้องมีการสื่อสารและโต้ตอบกันแบบอินเตอร์แอคทีฟอีกด้วย
PHP นั้นเป็นหนึ่งในภาษาสคริปต์สาหรับพัฒนาเว็บที่มีผู้ใช้งานจากทั่วโลกเป็นจานวนมาก โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งในประเทศไทยเองนั้นภาษา PHP เป็นภาษาในการพัฒนาเว็บแอปพลิเคชั่นที่ได้รับความนิยมสูงสุด เนื่อง
ด้วยความที่ตัวภาษาเองมีความยืดหยุ่นสูง และง่ายต่อการเรียนรู้ ผู้ใช้จึงใช้เวลาอันสั้นในการเริ่มต้นศึกษาจนถึง
ประยุกต์ใช้ในแอปพลิเคชั่นหรืองานของตนเองได้อย่างรวดเร็ว และที่สาคัญคือสามารถนามาใช้ได้ฟรีอีกด้วย
เอกสารฉบับนี้ได้รวบรวมเนื้อหาที่เป็นประโยชน์สาหรับผู้ที่ต้องการเริ่มต้นเรียนรู้การพัฒนาเว็บโปรแกรม
มิ่งด้วยภาษา PHP เริ่มจากการเตรียมความพร้อมด้านเครื่องไม้เครื่องมือ การทาความรู้จักกับ PHP รวมทั้งการ
เริ่มต้นฝึกฝนทักษะการเขียนโปรแกรมตั้งแต่เริ่มต้นจนสามารถนาไปประยุกต์งานของคุณได้
สามิตร โกยม
samitkoyom@gmail.com
http://www.techsamit.com
31/08/2011
บทนา
2บทที่ 1 Web Based Application
Web Based Application
รู้จักกับ Web Based Application
Web-based Application คือโปรแกรมหรือกุล่มของโปรแกรมที่ได้รับการพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้งานใน
บริการ WWW ของระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตหรือเครือข่ายอินทราเน็ต ที่ใช้โปรโตคอล TCP/IP เป็นมาตรฐาน
ในการสื่อสารข้อมูล โดยผู้ใช้สามารถติดต่อสื่อสาร หรือเรียกใช้งานโปรแกรม Web-based Application ได้โดย
ใช้โปรแกรมเว็บบราวเซอร์
ภาพประกอบลักษณะการใช้ Web-based Application
การพัฒนา Web-based Application สามารถทาได้โดยการเขียนโปรแกรมในภาษาที่ถูกออกแบบมา
สาหรับการพัฒนา Application บนระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เช่น Perl , PHP, ASP , JavaScript , VB
Script , JSP, JAVA ฯลฯ และใน Application บางชนิดจะต้องมีการติดต่อกับระบบฐานข้อมูลด้วย
จุดเด่นของ Web Based Application
 ข้อมูลบนเว็บสามารถเข้าถึงได้จากผู้ชมจานวนมากโดยไม่มีข้อจากัดเรื่องชนิดของระบบคอมพิวเตอร์
 การนาเสนอข้อมูลบนเว็บเป็นการสื่อสารโดยตรงจากผู้ส่งสารไปยังผู้รับสารโดยใช้เวลาสั้น
 รูปแบบการนาเสนอข้อมูลมีลักษณะเป็นแบบ Hypertext และ Hypermedia ทาให้สามารถนาเสนอ
ข้อมูลที่น่าสนใจในรูปแบบมัลติมีเดีย ที่สามารถเชื่อมโยงไปยังข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้
บทที่ 1
3บทที่ 1 Web Based Application
 แนวโน้มของการน้าเสนอข้อมูลบนอินเตอร์เน็ตมีลักษณะ Interactive คือมีกิจกรรมที่ทาให้ผู้เข้าชมมี
ส่วนร่วมกับเว็บไซต์มากขึ้น เช่น Guestbook, Message board , forums etc..
 แนวโน้มของการนาเสนอข้อมูลบนอินเตอร์เน็ตมีลักษณะ Dynamic คือมีการปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัย
อยู่เสมอโดยอัตโนมัติ
ลักษณะของการเขียนโปรแกรมบนเว็บ
การเขียนโปรแกรมหรือการประมวลผลบนเว็บ มี 2 ประเภทคือ
1. Server-Side Programming
2. Client-Side Programming
1. Server Side Programming
Server-Side Programming คือลักษณะของการเขียนโปรแกรมที่จะเกิดการประมวลผลที่เครื่องให้บริการ
(Server) เช่น การเขียนโปรแกรมด้วย PHP, Perl, ASP, JSP เป็นต้น
2. Client Side Programming
Client-Side Programming คือ ลักษณะของการเขียนโปรแกรมที่จะเกิดการประมวลผลที่เครื่องรับบริการ
(Client) เช่น การเขียนโปรแกรมด้วย Java Script, VB Script
1.เครื่องผู้ใช้ร้องขอข้อมูลจาก
เครื่องให้บริการผ่านทาง
โปรแกรม Web Browser
2.เครื่องให้บริการเรียก
โปรแกรมทางานขึ้นมา
4.หลังจากการ
ประมวลผลโปรแกรม
จะสร้างหน้าผลลัพธ์
5.หน้าผลลัพธ์ถูกส่งกลับมาที่
เครื่องผู้ใช้
3.โปรแกรมเรียกใช้ฟังก์ชัน
หรือทรัพยากรบนเครื่อง
ให้บริการเครื่องรับบริการ
(Client)
เครื่องให้บริการ
(Server)
Mail Function
Mail.php
เครื่องรับบริการ
(Client)
เครื่องให้บริการ
(Server)
1.เครื่องผู้ใช้ร้องขอข้อมูลจากเครื่องให้บริการ
ผ่านทางโปรแกรม Web Browser
2.เครื่องให้บริการส่งหน้าเว็บที่ผู้ใช้ร้อง
ขอกลับมาที่เครื่องของผู้ใช้
3.เกิดการประมวลผลที่เครื่อง
ผู้ใช้ เช่นอ่านค่าเวลาของเครื่อง
, กาหนดลักษณะของเมาส์
4บทที่ 1 Web Based Application
องค์ประกอบของ Web Application
ชนิดของ Open Source ที่นิยมใช้ในการพัฒนา Web Application ในปัจจุบัน ประกอบด้วย
 ระบบปฏิบัติการ : Linux
 Web Server : Apache
 Database Server : MySQL
 Programming : PHP
ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ Web-Based Application
ระบบห้องสมุดออนไลน์
เทคโนโลยีที่ใช้
 PHP V 5.2
 MySQL 5.0
 Apache V.3
 Linux
5บทที่ 1 Web Based Application
ระบบสั่งซื้อสินค้าออนไลน์
เทคโนโลยีที่ใช้
 ASP
 MSSQL
 IIS
 Window Server
6บทที่ 1 Web Based Application
ระบบลงทะเบียนติดตามผู้ประสบภัยน้าท่วมออนไลน์
เทคโนโลยีที่ใช้
 PHP
 MySQL
 Apache
 Linux
ระบบสารสนเทศเพื่องานทะเบียนนักศึกษา
เทคโนโลยีที่ใช้
 JSP
 MSSQL
 IIS
 Window Server
7บทที่ 1 Web Based Application
ระบบธนาคารออนไลน์
เทคโนโลยีที่ใช้
 ASP.net
 Oracle
 IIS
 Windows Server
ระบบทะเบียนราษฎร
เทคโนโลยีที่ใช้
 PHP
 MySQL
 Apache
 Linux
8บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม
ทาความรู้จัก PHP และเตรียมความพร้อม
ประวัติของ PHP
ภาษา PHP นั้นถูกสร้างขึ้นประมาณกลางปี ค.ศ.1994 โดยนาย
Ramus Lerdoft ชาวเดนมาร์คเป็นผู้เริ่มต้นพัฒนา ซึ่งจุดเริ่มต้นจั้นก็มาจาก
ความต้องการที่จะบันทึกข้อมูลผู้ที่เยี่ยมชมโฮมเพจส่วนตัวของเขา โดยแนวคิด
ก็คือ การเขียนโปรแกรมด้วยภาษา C แต่ต้องการแยกส่วนที่เป็น HTML ออก
จากภาษา C และนั่นเองที่ทาให้เขาได้สร้างโค๊ด HTML ขึ้นมาใหม่ และตั้งชื่อว่า
Personal Home Page Tool (PHP-Tool)
หลังจากสร้าง PHP ขึ้นมาแล้วเขาได้เริ่มแจกจ่ายโค๊ดฟรีออกไป แต่
ในช่วงแรก PHP ยังไม่มีความสามารถอะไรมากนัก
ในช่วงกลางปี ค.ศ.1995 เขาได้เพิ่มขีดความสามารถให้ PHP สามารถรับข้อมูลที่ส่งมาจากฟอร์มของ
HTML รวมทั้งสามารถติดต่อกับฐานข้อมูล MySQL ได้อีกด้วย
ในปี ค.ศ. 1997 ได้เปิดให้ผู้สนใจเข้าร่วมพัฒนาจึงมีผู้ร่วมพัฒนาเพิ่มอีก 2 คน คือ Zeev Suraski และ
Andi Gutmans ได้ช่วยกันปรับปรุงและพัฒนาโค๊ดขึ้นมาให้ดีขึ้นในหลาย ๆ ด้าน ทั้งแก้ไขข้อบกพร่อง เพิ่ม
ประสิทธิภาพ และเพิ่มเครื่องมือต่าง ๆ มากขึ้น เช่น เปลี่ยนแปลงไปสู่การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุที่สมบูรณ์แบบ
และสามารถใช้ได้กับ Web Server ได้หลากหลายแพลตฟอร์มจนเป็นที่นิยมในปัจจุบัน
ปัจจุบัน PHP ได้ผ่านการพัฒนามาหลายเวอร์
ชั่นมีเว็บไซต์ทางการของ PHP คือ http://php.net ซึ่ง
เราสามารถเข้าไปอัพเดทตัวเวอร์ชั่นล่าสุด รวมทั้งหา
ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการสร้างเว็บไซต์ด้วย PHP ได้
บทที่ 2
Rasmus Lerdorf ผู้ให้กาเนิด
PHP
9บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม
การทางานของเว็บเพจและไฟล์ PHP
สาหรับไฟล์เว็บเพจที่มีภาษา PHP รวมอยู่ด้วยนั้น เมื่อเราเปิดเว็บบราวเซอร์ โปรแกรมเว็บบราวเซอร์จะ
ร้องขอไฟล์ PHP ไปยังเว็บเซิฟเวอร์ก็จะเรียก PHP engine ขึ้นมาแปลไฟล์ PHP และติดต่อกับฐานข้อมูล แล้วส่ง
ผลลัพธ์ที่ได้จากการแปลและประมวลผลเป็นภาษา HTML ทั้งหมดกลับไปยังเว็บบราวเซอร์ ให้ผู้ใช้นาไปใช้งาน
ต่อไป
สาหรับภาษาในกลุ่ม Server Side Script อื่น ๆ เช่น ภาษา CGI,ASP,ASP.NET,PHP,JSP ก็จะทางานด้วยกลไก
คล้าย ๆ กัน ต่างกันเพียงแค่ตัวภาษาเท่านั้น
ความสามารถของ PHP
เนื่องจาก PHP มีความสามารถมากมาย ดังนั้น จึงขอจัดหมวดหมู่ความสามารถที่ PHP สามารถทาได้ออกเป็น 3
หมวดหมู่ ดังนี้
ความสามารถพื้นฐาน
 สร้างฟอร์มโต้ตอบ หรือรับส่งข้อมูลกับผู้ใช้ได้
Client Server
1
1
6
6
5 2
4 3
10บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม
 แทรกโค๊ด PHP เข้าไประหว่างโค๊ด HTML ได้ทันที ทาได้ง่าย ๆ เพียงแค่พิมพ์แทรกเครื่องหมายพิเศษ
เข้าไประหว่างส่วนที่เป็นภาษา HTML ก็จะทาให้มีความสามารถเพิ่มขึ้นทันที
 ฟังก์ชันสนับสนุนการทางาน : PHP มีฟังก์ชันมากมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการข้อความและอักขระ
และ Pattern matching (เหมือนกับภาษา Perl) และสนับสนุนตัวแปร Scalar , Array , Associative
Array นอกจากนี้ยังสามารถกาหนดโครงสร้างข้อมูลรูปแบบอื่น ๆ ที่สูงขึ้นไปได้ (เช่นเดียวกับภาษา C
หรือ Java)
ความสามารถในการติดต่อฐานข้อมูล
การสร้างเว็บไซต์ส่วนใหญ่จะมีการรับส่งข้อมูลกับผู้ใช้งาน เช่น ผู้ใช้งานกรอกข้อมูลเพื่อสมัครสมาชิก
การล๊อกอินเข้าระบบ การซื้อขายสินค้าออนไลน์ ฯลฯ เหล่านี้ล้วนต้องมีการใช้งานฐานข้อมูลเพื่อทาให้ข้อมูลถูก
11บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม
จัดการอย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ สามารถจัดเก็บและแสดงผลทางเว็บเพจได้อย่างถูกต้องสวยงาม ซึ่ง
ภาษา PHP มีข้อดีกว่าภาษาอื่นที่สามารถรองรับการใช้งานฐานข้อมูลได้มากมาย
สาหรับฐานข้อมูลที่ PHP สามรถเชื่อต่อได้ ได้แก่
Access dBase Empr3ssInformix InterBase Solid PostgreSQL
MySQL Oracle SQLServer Unix dbm Velocis
สาหรับในเอกสารฉบับชุดนี้จะกล่าวถึงการใช้งาน PHP ร่วมกับฐานข้อมูล MySQL เนื่องจากเป็น
ฐานข้อมูลที่ใช้งานง่าย และได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน
ความสามารถขั้นสูง
 สนับสนุนการติดต่อกับโปรโตคอลได้หลากหลาย : PHP สามารถเชื่อมต่อกับโปรโตคอลอื่น ๆ อีกเช่น
IMAP , SNMP ,NNTP, POP3 และ HTTP และคุณสามารถเปิดพอร์ตการเชื่อมโยง (Socket) หรือ
สื่อสารโต้ตอบแบบอินเตอร์แอ๊คทีฟโดยผ่านโปรโตคอลอื่น ๆ ได้ด้วย
 สามารถทางานได้กับฮาร์ดแวร์ทุกระดับ : เนื่องจาก PHP จะถูกประมวลผลและทางานอยู่บนฝั่งเซิฟ
เวอร์ ดังนั้น โปรแกรมที่เขียนด้วย PHP ที่มีขนาดใหญ่ และซับซ้อนเพียงใดก็จะสามารถประมวลผลได้
โดยไม่จาเป็นต้องใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพสูงเท่านั้น ฮาร์ดแวร์ในระดับใดก็สามารถ
ใช้ได้
ข้อดีที่ PHP นิยมใช้กันทั่วโลก
 ฟรี ! เพราะว่าเป็นโอเพ่นซอร์ส ทาให้เราดาวน์โหลดมาใช้งานได้ฟรีจากอินเตอร์เน็ต
 ใช้งานได้ทุกระบบปฎิบัติการ : ไม่ว่าจะเป็น UNIX , Linux หรือ Windows
 ใช้งานได้กับทุกบราวเซอร์ : ไม่ว่าจะเป็น IE, Firefox , Safari , Opera , Chrome ….
 ตัวภาษาทาความเข้าใจง่ายต่อการเรียนรู้ : หากใครมีพื้นภาษา C หรือ Perl มาก่อนจะเข้าใจ PHP ได้
อย่างรวดเร็ว
 ใช้กับระบบแฟ้มข้อมูล (file system) ได้ดี
 มีฟังก์ชันที่จัดการกับข้อมูลตัวอักษร และการประมวลผลภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 ใช้ร่วมกับคาสั่ง XML ได้ทันที
12บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม
องค์ประกอบของการเขียนสคริปต์ PHP
ก่อนจะเริ่มเขียนสคริปต์ด้วย PHP เราลองมาสารวจความพร้อมของระบบคอมพิวเตอร์ที่จะใช้งานเสียก่อน
ซึ่งสรุปองค์ประกอบที่สาคัญได้ดังนี้
1. เซิฟเวอร์ : ในการใช้งานเบื้องต้นก็ใช้ PC ที่เรากาลังเขียนทาหน้าที่เป็นเซิฟเวอร์ก็ได้ หากเป็นเว็บไซต์ที่
ทางานจริงจะต้องเป็นคอมพิวเตอร์ที่มีคุณสมบัติที่ดีแยกต่างหาก
2. ไคลเอนท์ : สาหรับไคลเอนท์ก็คือ เครื่องของผู้ใช้งาน ในการศึกษาด้วยตนเองเราอาจจะให้ไคลเอนท์
กับเซิฟเวอร์เป็นเครื่องเดียวกันไปเลย
3. โปรแกรม Web Server : เป็นซอฟแวร์ที่ทาให้เซิฟเวอร์กลายเป็นเว็บเซิฟเวอร์นั่นคือ พร้อมรองรับการ
ใช้งานจากไคลเอนท์หลาย ๆ ตัวพร้อมกัน สาหรับโปรแกรม Web Server ที่นิยมใช้กันก็คือ Apache
PWS (Personal Web Server) และ IIS (Microsoft Internet Information Server)
4. โปรแกรม Text Editor : เป็นซอฟแวร์ที่เราใช้พิมพ์และแก้ไขสคริปต์ในภาษา PHP ซึ่งมีให้เลือกหลาย
โปรแกรม เช่น Notepad, FrontPage , Dreamweaver และ Edit Plus เป็นต้น
5. PHP Script Language : นั่นคือตัวแปรภาษา PHP ที่เราจะใช้เขียนนั่นเอง
13บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม
6. โปรแกรม Database Server : เป็นซอฟแวร์ที่ทางานบนเซิฟเวอร์ ทาให้เซิฟเวอร์ให้บริการเกี่ยวกับ
ฐานข้อมูลได้ สาหรับโปรแกรม Database Server ที่นิยมกันก็คือ MySQL , PostgreSQL , SQL
Server เป็นต้น
7. โปรแกรม Database Manager : เป็นซอฟแวร์ที่ช่วยอานวยความสะดวกในการจัดการระบบ
ฐานข้อมูล MySQL ทั้งนี้เพราะโปรแกรม Database Server บางตัวเช่น MySQL ไม่ได้สร้างส่วนที่
จัดการที่เป็น Graphic Interface มาให้
การติดตั้ง PHP กับ IIS
IIS หรือ Internet Information Server เป็นเว็บเซิฟเวอร์ของทางค่ายไมโครซอฟต์ ซึ่งปกติจะมีติด
กับตัว Windows ตั้งแต่ Windows 2000 เป็นต้นมา (ถ้ารุ่น Windows ต่ากว่านี้จะใช้ PWS) ซึ่งโดยปกติตัว IIS
จะสามารถประมวลผลภาษา ASP ได้ทันทีหลังติดตั้งเรียบร้อย
แต่หากว่าเราต้องการใช้ IIS ในการเขียนและประมวลผลภาษา PHP เราจาเป็นต้องติดตั้งตัวแปรภาษา
PHP (PHP interpreter) ลงไปเสียก่อนตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. เริ่มต้นให้ไปดาวน์โหลดตัวติดตั้ง PHP ได้ที่ http://windows.php.net/download
14บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม
2. คลิ๊กเลือกดาวน์โหลดตัวตั้งแบบ Windows binary และเลือกแบบ zip package ตัวอย่างเลือก php-
5.1.2-Win32.zip
3. ทาการแตกไฟล์ด้วย WinRAR หรือ Winzip จะได้ดังรูป
4. ทาการเปลี่ยนชื่อโฟลเดอร์ php-5.1.2-Win32 เป็น php
15บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม
5. ทาการคัดลอกโฟลเดอร์ php ไปใส่ไว้ในไดร์ฟ C: หรือไดร์ฟอื่นที่ต้องการ
6. ทาการสร้างโฟลเดอร์มา 2 โฟลเดอร์คือ sessiontmp และ uploadtmp
- sessiontmp ไว้สาหรับเก็บ session ชั่วคราวกรณีเราทาการเขียนโดยใช้ตัวแปร session เช่น ระบบ
Login
- uploadtmp ไว้สาหรับเป็นที่พักไฟล์ชั่วคราวกรณีเราเขียนโค้ดและมีการส่งหรือแนบไฟล์ไปด้วย
7. ทาการเปลี่ยนชื่อไฟล์ php.ini-dist เป็น php.ini แล้วคัดลอกไปไว้ในโฟลเดอร์ C:Windows
ก่อนการแก้ไข หลังการแก้ไข คาอธิบาย
output_buffering = Off output_buffering = 4096 Output buffering
register_globals = Off register_globals = on ปรับค่าเป็น on
magic_quotes_gpc = On magic_quotes_gpc = On Magic quotes
doc_root = doc_root = C:Inetpubwwwroot ขยายความสามารถ php
(extension)
extension_dir = "./" extension_dir = "C:phpext"
; cgi.force_redirect = 1 cgi.force_redirect = 0 ปรับค่าเป็น 0
;upload_tmp_dir = upload_tmp_dir =
C:phpuploadtmp
ห้อง temp ชั่วคราวสาหรับ
การอัปโหลด
upload_max_filesize = 2M upload_max_filesize = 10M ขนาดไฟล์สูงสูดที่ให้ user
8. ใช้ Edit Plus หรือ Notepad แก้ไขไฟล์ C:Windowsphp.ini รายละเอียดที่ต้องแก้ไขมีดังนี้
9. เข้าไปปรับแต่ง IIS เพิ่มเติม โดยเข้าไปคลิกที่แท็บ Home Directory
16บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม
10. คลิกปุ่ม Configuration...
11. คลิกปุ่ม Add แล้วปรับค่าดังนี้
Executable : ทาการ Browse ไปเลือกไฟล์ php-cgi.exe ในโฟลเดอร์ C:php
17บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม
Extension : เลือกนามสกุล .php
12. คลิกที่ปุ่ม OK
13. คลิกที่ปุ่ม OK 2 ครั้ง
14. คลิกปุ่ม Stop และ Start 1 รอบ
18บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม
ทดสอบเขียนโค๊ดภาษา PHP
1. เปิดโปรแกรม Edit Plust หรือ Dreamweaver แล้วพิมพ์โค๊ดดังนี้
2. ตั้งชื่อไฟล์ว่า test1.php แล้วบันทึกไว้ในตาแหน่ง <drive>:InetPubwwwroot
3. เปิดเว็บบราวเซอร์เพื่อทดสอบ โดยพิมพ์ URL ดังนี้ http://localhost/test1.php
ผลลัพธ์ที่ได้จากการทดสอบรันสคริปต์ test1.php
<?php
// Test PHP Script
echo "<center> PHP Hello World <center> <hr> ";
phpinfo();
?>
19บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม
การติดตั้ง PHP กับ Apache บน Windows
จากขั้นตอนการติดตั้ง PHP ที่ผ่านมาจะเห็นว่า มีขั้นตอนและกระบวนการค่อนข้างเยอะพอสมควร และ
ยิ่งหากเราต้องการใช้งานตัวฐานข้อมูลด้วยแล้ว เราจาเป็นต้องลง MySQL และทาการ Config ให้ทางานร่วมกับ
PHP และ IIS ได้อย่างถูกต้องเสียก่อน ซึ่งแน่นอนว่ามีความยุ่งยากและขั้นตอนที่ซับซ้อนขึ้น
ดังนั้นในขั้นตอนการติดตั้ง PHP และจาลอง Web Server ด้วย Apache บน Windows เราจะเรียก
ติดตั้งผ่านตัว Package สาเร็จรูปตัวหนึ่งที่ชื่อว่า “Appserv” ซึ่งตัว Appserv นี้เองได้รวบรวมเอาองค์ประกอบ
ที่สาคัญเอาไว้อย่างเพียบพร้อม ติดตั้งได้ง่ายและสะดวกมาก
องค์ประกอบที่มีใน Appserv ได้แก่
 PHP Script Language
 Apache Web Server
 MySQL Database
 phpMyAdmin Database Manager
การติดตั้ง AppServ
ก่อนติดตั้ง เราต้องไปดาวน์โหลดชุดติดตั้ง Appserv มาก่อนที่ http://www.appservnetwork.com ซึ่งมี
ให้เลือกหลายเวอร์ชั่น ให้ดูว่า AppServ เวอร์ชั่นนั้นเขาใช้ PHP เวอร์ชั่นอะไร และควรเลือกเวอร์ชั่นที่เป็น PHP
5 ขึ้นไป สาหรับในที่นี้ผู้เขียนเลือก AppServ 2.5.10 แล้วหลังดาวน์โหลดก็เข้าสู่ขั้นตอนการติดตั้งดังนี้
20บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม
1. หลังดาวน์โหลดมาแล้ว ให้ดับเบิลคลิกไฟล์ที่ดาวน์โหลดมา ก็จะเข้าสู่ขั้นตอนการติดตั้งเหมือนโปรแกรม
ทั่วไป
2. ที่ขั้นตอนการกาหนดตาแหน่งติดตั้ง ในที่นี้จะใช้ค่าดีฟอลต์คือ C:AppServ
3. เลือกโปรแกรมที่จะติดตั้ง ในที่นี่จะเลือกทั้งหมด
21บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม
4. กาหนดชื่อเซิฟเวอร์ เนื่องจากเราใช้งานบนเครื่องเดียวกัน ในที่นี้จึงกาหนดเป็น localhost
5. กาหนดพาสเวิร์ดสาหรับ MySQL ซึ่งค่าที่กาหนดนี้เราต้องจาไว้ให้ได้ มิฉะนั้นจะไม่สามารถใช้งาน
ฐานข้อมูลได้
22บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม
6. จากนั้นก็เข้าสู่การติดตั้ง รอสักครู่จนกว่าจะเสร็จสิ้นขั้นตอนนี้ แล้วคลิกที่ Finish
หลังการติดตั้งเราควรทาการทดสอบระบบว่าพร้อมใช้งานหรือไม่ โดยปกติแล้ว Appserv จะเซ็ตค่าที่จาเป็น
สาหรับการทางานร่วมกับ Apache และ PHP ไว้ให้เราล่วงหน้าแล้ว โดยสามารถทดสอบได้ดังนี้
1. เปิดโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ขึ้นมา ตัวใดก็ได้
2. กาหนด URL ของบราวเซอร์เป็น http://localhost/
3. หากระบบพร้อมใช้งานจะได้ผลลัพธ์ดังรูปด้านล่างนี้
หน้าตา Appserv หลังติดตั้งเสร็จพร้อมใช้งาน
23บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม
ตาแหน่ง Document Root และ URL ของเบราเซอร์
Document Root คือ ตาแหน่งที่ใช้ในการเก็บไฟล์ของเว็บเพจ ซึ่งตามค่าดีฟอลต์ของ AppServ
กาหนดให้จัดเก็บไว้ที่ C:AppServwww ดังนั้นเว็บเพจที่สร้างขึ้นต้องนามาเก็บไว้ที่นี่เท่านั้น
แต่เนื่องจากอาจมีไฟล์ต่าง ๆ อยู่ภายใน Doc Root เป็นจานวนมาก ทั้งไฟล์เว็บเพจ และไฟล์ที่เกี่ยวข้อง
อื่น ๆ เช่น รูปภาพ วิดีโอ ดังนั้นเพื่อให้เป็นการแยกไฟล์ออกเป็นหมวดหมู่เฉพาะ ก็จะมีการสร้างไดเรกทอรี่ย่อย
หรือโฟล์เดอร์ซ้อนลงไปอีก โดยในเอกสารนี้จะสร้างไดเรกทอรี่ phpbasic สาหรับเก็บโค๊ดและไฟล์ที่จะฝึก
เรียนรู้กันต่อไป
ตัวอย่างตาแหน่ง Document Root และสร้างโฟล์เดอร์ชื่อ phpbasic ไว้
อย่างไรก็ตาม ในการอ้างอิงตาแหน่งเว็บเพจตามรูปแบบของเว็บบราวเซอร์ เราจะไม่อ้างถึง Doc Root
โดยตรง แต่จะกาหนดชื่อขึ้นมาชื่อหนึ่งเพื่อใช้แทนตาแหน่งดังกล่าว โดยตามค่าดีฟอลต์ที่เรากาหนดไว้ตอนติดตั้ง
คือชื่อ localhost ดังนั้นเมื่อเราต้องการอ้างถึง Doc Root ในบราวเซอร์จะต้องแทนด้วยชื่อ localhost พร้อม
ระบุโปรโตคอล http ด้วย และถ้าต้องการอ้างถึงไดเร็คทอรี่ย่อย ๆ ที่อยู่ถัดจาก Doc Root ก็ไล่เข้าไปตามลาดับ
ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตาแหน่ง Document Root C:AppServwww
ตาแหน่งที่ Browser http://localhost
24บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม
ตาแหน่งจริง C:AppServwwwindex.html
ตาแหน่งที่ Browser http://localhost/index.html
ตาแหน่งจริง C:AppServwwwphpbasictest.html
ตาแหน่งที่ Browser http://localhost/phpbasic/test.html
ตาแหน่งจริง C:AppServwwwphpbasicworkshopindex.php
ตาแหน่งที่ Browser http://localhost/phpbasic/workshop/index.php
การสร้างไซต์ใน Dreamweaver
ที่ผ่านมานั้นเราได้ติดตั้งโปรแกรมสาหรับการทางานของระบบไปเรียบร้อยแล้ว ต่อไปคือการจัดเตรียม
เครื่องมือในการพัฒนาเว็บเพจ สาหรับในเอกสารนี้จะเลือกใช้ Dreamweaver เนื่องจากมีเครื่องมือสาหรับการ
สร้างเว็บเพจอย่างครบครัน เหมาะสาหรับมือใหม่และมืออาชีพได้เป็นอย่างดี
ในการที่เราจะใช้ Dreamweaver ร่วมกับ PHP/Apache เราต้องทาการติดตั้งไซต์ใน Dreamweaver
เสียก่อน ซึ่งไซต์ที่ตั้งขึ้นนี้เพื่อจะเชื่อมโยงไปยังไฟล์และเว็บเพจต่าง ๆ ที่อยู่ใน Document Root ให้เราสามารถ
สร้าง เปิดดู แก้ไข หรือทดสอบเว็บเพจเหล่านั้นผ่านทาง Dreamweaver ได้นั่นเอง สาหรับขั้นตอนการติดตั้งไซต์
ใน Dreamweaver มีดังนี้
1. เมื่อเปิดเข้าสู่โปรแกรม Dreamweaver ให้เลือกที่เมนู Site > New Site…
25บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม
2. เมื่อเข้าสู่หน้าจอ Site Definition ให้เลือกแท็บ Advance แล้วช่อง Category ให้เลือก Local
Info ก็จะปรากฏช่องข้อมูลสาคัญที่เราต้องกาหนดมีดังนี้
• Site name: คือชื่อไซต์ที่เราจะใช้อ้างอิงแทนตาแหน่งไฟล์ปลายทาง ซึ่งจะตั้งชื่อเป็นอะไรก็ได้
ในที่นี้จะใช้ชื่อเดียวกันกับ phpbasic
• Local root folder: คือไดเรกทอรี่ปลายทางที่อยู่ใน Document Root หรือ
(C:AppServwww) ซึ่งเป็นที่ที่เราเก็บไฟล์เว็บเพจเอาไว้นั่นเอง โดยในเอกสารนี้จะเก็บไฟล์ไว้ใน
C:AppServwwwphpbasic ดังนั้นช่อง Local root folder
• HTTP address: คือตาแหน่ง URL ที่จะแสดงบนบราวเซอร์ ซึ่งก็ใช้รูปแบบตามที่ได้กล่าวมาแล้ว
3. เมื่อกลับเข้าสู่หน้าจอหลักของ Dreamweaver ที่หน้าต่าง Files ที่แท็บ Files จะมีชื่อไซต์ที่เราได้
สร้างขึ้นปรากฏขึ้นมาเป็นตัวเลือกหนึ่ง ซึ่งเราเลือกไซต์นี้ก็จะเป็นการโหลดไฟล์ และไดเร็กทอรี่
ทั้งหมดในไซต์นี้มาแสดง
26บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม
การตั้งค่า Preference ที่สาคัญใน Dreamweaver
ปกติแล้ว Dreamweaver จะตั้งค่า Preference ไว้ให้เราล่วงหน้าแล้ว แต่อย่างไรก็ตาม ค่าบางอย่าง
ที่ตั้งไว้ให้นี้ อาจต้องแก้ไขใหม่ เพื่อให้ตรงกับการใช้งานจริงของเรา ซึ่งที่ควรปรับตั้งใหม่ดังนี้
การตังค่าฟอนต์ไทยใน Dreamweaver
หากชนิดฟอนต์ที่ Dreamweaver ตั้งเป็นดีฟอนต์ไว้ให้เราไม่ตรงกับความต้องการของเรา หรือเป็น
ฟอนต์ที่ไม่รองรับภาษาไทย เราสามารถตั้งค่าได้ที่ Preference ใหม่ดังนี้
1. เลือกที่เมนู Edit > Preferences…
2. ที่ช่อง Category เลือก Fonts
27บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม
3. ในช่อง Font settings: เลือก Unicode จากนั้นในช่องเลือกฟอนต์ด้านล่างโดยเฉพาะ Code
view: ให้เลือกชนิดฟอนต์ที่รองรับภาษาไทยเช่น Microsoft Sans Serif, Tahoma, Cordia
เป็นต้น แล้วแต่ว่าเราชอบฟอนต์ชนิดใด รวมถึงการกาหนดขนาดของฟอนต์ให้เหมาะสมด้วย
การตั้งค่าเพจใหม่และ Encodeing
ในการสร้างเพจใหม่ เราควรตั้งค่าเริ่มต้นบางอย่างเพื่อให้ Dreamweaver กาหนดค่าดีฟอลต์ที่
เหมาะสมไว้ล่วงหน้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งรหัสอักขระ (Encoding) ที่จะใช้ในการแสดงผลเพจนั้น ซึ่งสิ่งนี้จะมีอย่าง
มากเมื่อเราเปิดเพจด้วยบราวเซอร์ โดยการตั้งค่ารหัสอักขระทาได้ดังนี้
28บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม
1. เลือกที่เมนู Edit > Preferences…
2. ที่ช่อง Category เลือก New Documen
3. จากนั้นที่ช่อง Default document : ให้เลือก PHP
4. และที่ช่อง Default encoding : ให้เลือก Unicode (UTF-8)
การตั้งค่าบราวเซอร์สาหรับทดสอบ
1. เลือกจากเมนู Edit > Preferences… หรือวิธีที่สองคือ เมื่อคลิ๊กที่ปุ่มทูลบาร์ตามรูปแล้ว ก็เลือกที่
Edit Browser List…
2. หลังจากทาตามทั้งสองวิธีแล้ว จะเข้าสู่หน้าจอ Preferences… และที่ช่อง Category ให้เลือก
Preview in Browser
3. ถ้าต้องการเพิ่มบราวเซอร์ให้คลิ๊กที่ปุ่มเครื่องหมาย + เมื่อปรากฏหน้าจอ Add Browser ก็ให้
กาหนดชื่อที่ใช้เรียกบราวเซอร์นั้นในช่อง Name : และช่อง Application : ให้เลือกไฟล์ที่เรียก
บราวเซอร์นั้นขึ้นมาทางาน
29บทที่ 3 เริ่มต้นกับ PHP
เริ่มต้นกับ PHP
องค์ประกอบพื้นฐานของการเขียน PHP
PHP นั้นจะใช้โครงสร้างภาษาในรูปแบบเดียวกันกับภาษาซี ( C Programming) ดังนั้นแนวทางในการ
เขียนจึงคล้ายคลึงกัน ทั้งนี้มีองค์ประกอบพื้นฐานบางส่วนที่เราควรรู้จัก เพื่อจะได้นาไปใช้ร่วมกันกับการเขียน
โปรแกรมอื่น ๆ ต่อไป ดังนี้
เครื่องหมายสิ้นสุดคาสั่ง
ใน PHP เราจะใช้เครื่องหมาย ; เป็นตัวแสดงจะสิ้นสุดในแต่ละคาสั่ง เช่น
หลังเครื่องหมาย ; เพื่อสิ้นสุดคาสั่งแล้ว เราสามารถนาคาสั่งอื่นมาต่อท้ายได้เลย แต่การเขียนโค๊ด
ลักษณะนี้จะอ่านโปรแกรมได้ยาก ดังนั้นเราไม่นิยมทากันเช่น
คาสั่งการแสดงผล
การแสดงผล คือการที่ PHP ส่งผลลัพธ์ส่วนที่เกิดจากการทางานของสคริปต์กลับไปที่บราวเซอร์ ซึ่งใน
PHP มีหลายคาสั่งที่สามารถทาเช่นนี้ได้ แต่ในเบื้อต้นจะแนะนาเพียง 2 คาสั่งคือ print และ echo
print (ผลลัพธ์) หรือ
print ผลลัพธ์
โดยทั่วไปเราไม่นิยมใช้คาสั่ง print มากนัก เนื่องจากทางานช้ากว่าคาสั่ง echo เพราะคาสั่ง print
จะมีการตรวจสอบข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นด้วยเช่น
print (“Hello World”);
print “Hello PHP”;
echo (ผลลัพธ์) หรือ
echo ผลลัพธ์
เป็นคาสั่งที่นิยมใช้กันมากที่สุด เพราะทางานได้รวดเร็วกว่าคาสั่ง print
echo (“Hello World”);
echo “Hello World”;
บทที่ 3
$x= 10;
$y = x + 10;
$z = “abc”;
$x= 10; $y = x + 10; $z = “abc”;
30บทที่ 3 เริ่มต้นกับ PHP
คาอธิบาย
คาอธิบาย (Comment) ใช้ในการอธิบายเกี่ยวกับโปรแกรมที่เราเขียน เพื่อช่วยให้เราพิจารณาโค๊ดได้
ง่ายขึ้น แต่โปรแกรมจะไม่นาส่วนที่เป็นคาอธิบายไปประมวลผลได้ใน PHP สามารถเขียนคอมเมนต์ได้หลายแบบ
ดังนี้
Single-line Comment
เป็นการเขียนคาอธิบายแบบบรรทัดเดียว โดยใช้เครื่องหมาย // หรือไม่ก็ # ซึ่งโปรแกรมจะถือว่าตั้งแต่
สัญลักษณ์เหล่านี้เป็นต้นไปทั้งบรรทัดเป็นคาอธิบายทั้งหมด และจาไม่นาบรรทัดนั้นมาประมวลผล เช่น
Multiple-line Comment
เป็นการเขียนคาอธิบายแบบหลาย ๆ บรรทัด โดยใช้สัญลักษณ์ /*……*/ ซึ่งโปรแกรมจะถือว่าตั้งแต่
สัญลักษณ์ /* เป็นต้นไปเป็นคาอธิบาย จนกว่าจะพบสัญลักษณ์ */ จึงจะถือว่าสิ้นสุดคาอธิบาย เช่น
คาสงวนของ PHP (PHP Reserved Words)
คาสงวน (Reserved Words) หมายถึงคาที่จะใช้เป็นคาสั่งเฉพาะของ PHP ดังนั้นเราต้องไม่นาคา
เหล่านี้มาตั้งเป็นชื่อตัวแปร หรือฟังก์ชัน มิฉะนันจะทาให้เกิดข้อผิดพลาดขึ้นได้ โดยคาเหล่านี้คือ
and false or extends _FILE_
break for require not _METHOD_
case foreach return vitual use
class function static xor clone(5)
continue global switch while old_fuctinon(4 only)
do if this date thow(5)
else include true time protected(5)
elseif new var explode catch(5)
try(5) public nal var new
//This Program by
//John Deve
#21/03/2009
#All Right Reserved
/* This Program by
John Deve
21/03/2009
All Right Reserved
*/
31บทที่ 3 เริ่มต้นกับ PHP
การเขียนสคริปต์ PHP ในเอกสาร HTML
เนื่องจาก PHP เป็นภาษาแบบสคริปต์ที่ต้องอาศัยการเขียนแทรกโค๊ดคาสั่งลงไปในเอกสาร HTML
ดังนั้นภายในเว็บเพจเดียวกันจึงอาจจะมีทั้งโค๊ดส่วนที่เป็นสคริปต์ของ PHP และโค๊ดของ HTML ทั้งนี้ก็
เนื่องจากว่า โครงสร้างหรือรูปแบบเอกสารเว็บเพจนั้น ตอ้งถูกกาหนดด้วยแท็กของ HTML เป็นหลัก ดถึงแม้ว่า
เราจะเสร้างเว็บเพจด้วย PHP แต้ก็ยังต้องใช้ HTML เป็นตัวกาหนดรูปแบบของเอกสารเสมอ ดังนั้นเพื่อเป็นการ
แยกความแตกต่างของทั้งสองส่วนนี้ โค๊ดส่วนที่เป็น HTML ก็เขียนไปตามปกติ แต่โค๊ดส่วนของ PHP จะต้อง
เขียนไว้ในแท็ก <?php …?> ซึ่งถือว่าเป็นแท็กมาตรฐานของ PHP ที่นิยมใช้กันมากที่สุด และสามารถใช้ได้เลย
โดยที่ไม่ต้องเซ็ตค่าใด ๆ เพิ่มเติม โดยในเอกสารฉบับนี้จะใช้แท็กแบบนี้เช่นเดียวกัน
ต่อไปมาดูตัวอย่างการแทรกโค๊ด PHP ลงไปในแท็ก <body>….</body> ของเอกสาร HTML กัน
<body>
</body>
และเมื่อเราเปิดดูด้วยเว็บบราวเซอร์ก็จะได้ผลลัพธ์ดังรูป
นอกจากนี้แล้ว เรายังสามารถใช้ PHP แสดงแท็ก HTML ออกไปที่บราวเซอร์ ซึ่งแท็กของ HTML ที่ถูก
ส่งออกไปนี้จะกลายเป็นส่วนหนึ่งของเอกสาร HTML ไปเลยเช่น
<body>
</body>
<?php
echo “Hello World”;
?>
<?php
echo “<h3>Welcome to my website</h3>”;
?>
32บทที่ 3 เริ่มต้นกับ PHP
เราสามารถแทรกสคริปต์ของ PHP ลงไปได้ตลอดทั้งเอกสาร ทั้งนี้ขึ้นกับว่า ตาแหน่งใดที่เราจาเป็นต้อง
ใช้สคริปต์ PHP ซึ่งเราสามารถพลิกแพลงได้อีกหลายรูปแบบ และจะได้กล่าวต่อไปในเนื้อหาส่วนอื่นๆ
Exercise 1 : การแทรกสคริปต์ PHP ลงในเอกสาร HTML
ex01.php
1. เข้าสู่ Dreamweaver แล้วสร้างเอกสารใหม่
2. เข้าไปส่วนโค๊ด แล้วเพิ่มโค๊ดต่อไปนี้ลงไประหว่างแท็ก <body>….</body>
<body>
</body>
3. บันทึกไฟล์ลงในโฟล์เดอร์ phpbasic แล้วตั้งชื่อไฟล์ว่า ex01.php จากนั้นทดสอบแสดงผลบน
บราวเซอร์ดูจะได้ผลลัพธ์ดังภาพด้านล่างนี้
<h3>
<?php
echo "Learning PHP Basic";
?>
</h3>
<font size="3" color="red">
<?php
echo "<b>บทที่ 1 รู้จัก PHP และการเตรียมความพร้อม</b>";
?>
</font>
<br />
<ul>
<?php
echo "<li>การติดตั้ง PHP กับ IIS</li>";
echo "<li>การติดตั้ง PHP กับ Apache บน Windows</li>";
echo "<li>การติดตั้ง AppServ</li>";
?>
</ul>
33บทที่ 3 เริ่มต้นกับ PHP
ตัวแปรและโอเปอเรเตอร์
ในการเขียภาษาโปรแกรมมิ่งเกือบทุกภาษา สิ่งที่เราต้องเรียนรู้เป็นลาดับแรก ๆ คือ การกาหนดตัวแปร
สาหรับเก็บข้อมูลบางอย่างอาไว้ก่อน ที่จะนาไปใช้งานต่อไป และขั้นตอนต่อไปก็รู้จักการใช้โอเปอเรเตอร์แบบ
ต่าง ๆ สาหรับใช้ในการประมลผลข้อมูลเพื่อให้ผลลัพธ์ที่ตอ้งการ
ชนิดของข้อมูลพื้นฐานที่สาคัญ
ใน PHP มีข้อมูลหลายชนิด แต่ชนิดที่เรารู้จักและใช้บ่อย ๆ มี 3 รูปแบบ คือ ข้อมูลชนิดตัวเลข สตริง
(ตัวอักษร) และบูลีน โดยมีรายละเอียดดังนี้
 ข้อมูลชนิดตัวเลข (Number) อาจเป็นได้ทั้งจานวนเต็ม (integer) เช่น 10,20,0,-5 เป็นต้น หรือจานวน
ทศนิยม (Float) เช่น -10.5 , 1.43 , 0.92 เป็นต้น
 ข้อมูลชนิดสตริง (String) คือข้อมูลที่เป็นอักขระ ซึ่งเป็นภาษาอังกฤษ ไทย หรืออื่น ๆ ก็ได้ แต่เนื่องจาก
สตริงอาจมีความยาวเท่าไหร่ก็ได้ และเราไม่จาเป็นต้องเขียนอักขระทุกตัวติดกันไปจนจบสตริงเหมือน
การเขียนตัวเลข จึงทาให้โปรแกรมไม่สามารถตัดสินใจได้ว่า สตริงนั้นเริ่มต้นและสิ้นสุดที่ใด ดังนั้นการ
กาหนดข้อมูลสตริง เราต้องกาหนดจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดให้มันเสมอ ด้วยเครื่องหมาย Double
Quotes(“…..”) หรือไม่ก็ Single Quotes(‘…..’) เช่น “Hello World”
 ข้อมูลชนิดบูลีน (Boolean) จะใช้ในการเปรียบเทียบทางตรรกะ ซึ่งจะมีค่าได้เพียง 2 อย่างคือระหว่าง
จริง (true) กับ เท็จ (false)
ตัวแปร
ตัวแปร (variable) ใช้ในการเก็บพักข้อมูลบางอย่างก่อนที่จะนาข้อมูลนั้นไปใช้งานอื่น ๆ ต่อไป ซึ่ง
รายละเอียดที่น่าสนใจเกี่ยวกับตัวแปรมีดังนี้
ข้อกาหนดของตัวแปรใน PHP
วิธีกาหนดตัวแปรใน PHP จะมีข้อกาหนดดังนี้คือ
 ตัวแปรใน PHP ไม่จาเป็นต้องระบุชนิดของข้อมูล เนื่องจากตัวแปรแต่ละตัวสามารถเก็บข้อมูล
ชนิดใดก็ได้
 ตัวแปรใน PHP จะต้องขึ้นต้นด้วยสัญลักษณ์ $ เสมอ เช่น $name ,$value ,$x , $a
 ตามข้อกาหนดดั้งเดิมนั้น ตัวแปรต้อง ขึ้นต้น ด้วยตัวอักษร a-z หรือ A-Z หรือเครื่องหมาย _
เท่านั้น ห้ามขึ้นต้นด้วยตัวเลข 0-9 หรืออักขระอื่น ๆ นอกเหนือจากนี้ ตัวอย่างการกาหนดตัว
แปรที่ถูกต้องเช่น $name, $price , $value1 , $_name007
34บทที่ 3 เริ่มต้นกับ PHP
 การเขียนตัวแปรด้วยลักษณะ ตัวพิมพ์ที่แตกต่างกัน ถือว่าเป็นคนละตัว เช่น $abc , $ABC จะ
ถือว่าไม่ใช่ตัวแปรตัวเดียวกัน
 ในปัจจุบันเราสามารถนาอักขระภาษาอื่น ๆ มาตั้งเป็นชื่อตัวแปรได้ ซึ่งจากการทดสอบของ
ผู้เขียนพบว่า เราสามารถตั้งชื่อตัวแปรเป็นภาษาไทยก็ได้ เช่น $ชื่อ , $จานวน , $ผลลัพธ์ เป็น
ต้น แต่โดทั่วไปแล้ว เรานิยมตั้งชื่อตัวแปรเป็นภาษาอังกฤษมากกว่า
พื้นฐานการกาหนดค่าให้ตัวแปร
ก่อนที่เราจะนาตัวแปรไปใช้งานได้ ตัวแปรต้องเก็บข้อมูลบางอย่างเอาไว้ ดังนั้นนอกจากการกาหนดตัว
แปรขึ้นมาแล้ว เรายังต้องกาหนดค่าอย่างใดอย่างหนึ่งให้กับมันด้วย ซึ่งความจริงแล้วการกาหนดค่าให้กับตัว
แปรสามารถทาได้หลายลักษณะ แต่ในขั้นตอนนี้จะแนะนาหลักการพื้นฐานไปก่อน โดยจะขึ้นกับชนิดของข้อมูล
ดังนี้
สาหรับข้อมูลชนิดตัวเลข ก็เขียนเป็นตัวเลขลงไปตรง ๆ ได้เลย เช่น
สาหรับข้อมูลชนิดสตริง ก็กาหนดตามรูปแบบการเขียนสตริง นั่นคือต้องเขียนไว้ในเครื่องหมาย “…”
หรือไม่ก็ ‘….’ เท่านั้นเช่น
ส่วนในกรณีทีเป็นตัวแปรแบบบูลีนก็กาหนดค่าเป็น true หรือ false อย่างใดอย่างหนึ่งเช่น
โอเปอเรเตอร์
โอเปอเรเตอร์ (Operator) เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้กาหนดรูปแบบการประมวลผลข้อมูล ซึ่งแบ่งได้หลาย
ประเภท เช่น โอเปอเรเตอร์เกี่ยวกับการคานวณทางคณิตศาสตร์ การเปรียบเทียบ และการประมวลผลทาง
ตรรกะ (Logic) โดยมีรายละเอียดังนี้
โอเปอเรเตอร์สาหรับการคานวณ
โอเปอเรเตอร์ที่ใช้คานวณทางคณิตศาสตร์ ประกอบไปด้วย
$x = 123;
$y = 20.32;
$z = -300;
$name = “คนไทย ใจดี”;
$country = “Thailand”;
$telphone = „0123456789‟;
$sendfile = true;
$setvalue = false;
35บทที่ 3 เริ่มต้นกับ PHP
+ บวก / หาร
- ลบ % เรียกว่า Modulus เป็นการหารแบบเอาเฉพาะ
เศษ เช่น 13%5 = 3 หรือ 13%2 = 1
* คูณ
โอเปอเรเตอร์สาหรับเชื่อมต่อสตริง (String Concatenation)
สาหรับใน PHP จะใช้เครื่องหมายจุด (.) ในการเชื่อมต่อสตริง เช่น
โอเปอเรเตอร์สาหรับการกาหนดค่า (Assignment)
เป็นโอเปอเรเตอร์ในการกาหนดค่าให้กับตัวแปรที่อยู่ทางด้านซ้ายของโอเปอเรเตอร์ ด้วยค่าที่อยู่ทาง
ด้านขวาประกอบด้วยโอเปอเรเตอร์ ดังนี้
โอเปอเรเตอร์สาหรับเพิ่ม และลดค่า (Increment & Decrement)
ประกอบด้วย Operator ดังต่อไปนี้
$fname = “Samit”;
$lanme = “Koyom”;
Echo “My name is”.$fname.” “.$lname;
//แสดงผลจะได้ My name is Samit Koyom
36บทที่ 3 เริ่มต้นกับ PHP
โอเปอเรเตอร์สาหรับการเปรียบเทียบ (Comparison)
ใช้ในการเปรียบเทียบหาค่าความจริงระหว่าง 2 นิพจน์ โดยผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นได้เพียง true หรือ false
อย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น โดยโอเปอเรเตอร์ในกลุ่มนี้มีดังนี้
< น้อยกว่า == เท่ากัน
<= น้อยกว่าหรือเท่ากับ === เท่ากันทั้งหมดทั้งค่าและชนิด
ของข้อมูล
> มากกว่า != ไม่เท่ากับ
>= มากกว่าหรือเท่ากับ
ตัวอย่างลักษณะการเปรียบเทียบ เช่น
โอเปอเรเตอร์สาหรับการเปรียบเทียบทางตรรกะ
การเปรียบเทียบทางตรรกะ (Logical) เป็นการเปรียบเทียบเพื่อหาค่าความจริงระหว่าง 2 นิพจน์ เช่น
หากนิพจน์แรกเป็นจริง และนิพจน์ที่สองเป็นเท็จ แล้วผลลัพธ์จะออกมาอย่างไร เป็นต้น ซึ่งโอเปอเรเตอร์เหล่านี้
มีดังนี้
== (เท่ากับ) เช่น 5 == 5 (เป็นจริง)
!= (ไม่เท่ากับ) เช่น 3 !=2 (เป็นจริง)
> (มากกว่า) เช่น 3 > 5 (เป็นเท็จ)
>= (มากกว่าเท่ากับ) เช่น 5 >= 3 (เป็นจริง)
< (น้อยกว่า) เช่น 2 < 3 (เป็นจริง)
<= (น้อยกว่าเท่ากับ) เช่น 2 <= 3 (เป็นจริง)
37บทที่ 3 เริ่มต้นกับ PHP
โอเปอเรเตอร์ การเปรียบเทียบ ผลลัพธ์
! หรือ not !(true) false
!(false) true
&& หรือ and true && true True
true && false False
false && false False
|| หรือ or true || true True
true || false True
false || fasle false
^ หรือ xor True ^ true False
True ^ false True
False ^ false false
ตัวอย่างลักษณะการเปรียบเทียบ เช่น
การตรวจสอบและยกเลิกตัวแปร
การเขียนโปรแกรมในระดับสูงขึ้นไป ในบางแอพลิเคชั่นอาจต้องมีการตรวจสอบตัวแปรก่อนว่าได้มีการสร้างไว้
แล้วหรือยัง รวมทั้งอาจต้องตรวจสอบว่าตัวแปรมีค่าอยู่หรือไม่อีกด้วย นอกจากนั้นบางครั้งเรายังต้องมีการยกเลิก
เพื่อทาลายค่าตัวแปรออกจากระบบ
ฟังก์ชันตรวจสอบว่ามีตัวแปรอยู่หรือไม่
ฟังก์ชันสาหรับการตรวจสอบว่ามีการสร้างตัวแปรอยู่ในระบบแล้วหรือยัง จะใช้ฟังก์ชันที่ชื่อว่า isset()
ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ถ้ายังไม่มีตัวแปรนั้นหรือตัวแปรนั้นมีค่าเป็น null จะคืนค่ากลับมาเป็น fasle
ตัวอย่างการใช้งานฟังก์ชัน isset()
$a = !(1 == 2); // true
$b = (1 != 2); && (1 > 0); //true
$c = (1 == 2) && (1 > 0); //false
$d = (1 == 2) || ( 1 > 0); //true
isset(ชื่อตัวแปร)
38บทที่ 3 เริ่มต้นกับ PHP
ฟังก์ชันตรวจสอบว่าตัวแปรเป็นค่าว่างหรือไม่
ฟังก์ชันนี้จะทาหน้าที่เข้าไปตรวจสอบตัวแปรนั้น ๆ ว่ามีค่าหรือเป็นค่าว่างหรือไม่ หากตรวจพบว่าตัว
แปรนั้น ๆ เป็นค่าว่างจะคืนผลลัพธ์กลับมาเป็น true โดยใช้ฟังก์ชันที่ชื่อว่า empty()
โดยมีข้อกาหนดเพิ่มเติมว่า ถ้า
 ตัวแปรมีค่าเป็น null จะคืนค่ากลับเป็น true
 ตัวแปรมีค่าเป็นสตริงว่าง หรือ “” (ไม่ใช่ช่องว่าง) จะคืนค่ากลับเป็น true
 ตัวแปรมีค่าเป็น 0 หรือ “0” จะคืนค่ากลับเป็น true
ตัวอย่าง
การยกเลิกตัวแปร
จะใช้ฟังก์ชันที่ชื่อว่า unset() ดังรูปแบบนี้
โดยการยกเลิกตัวแปรนั้นสามารถยกเลิกได้ครั้งละหลาย ๆ ตัวพร้อมกัน โดยใส่เข้าไปในฟังก์ชัน unset() ดัง
ฟอร์มด้านบนนี้
$x = 123;
$y = null;
$z = “”;
isset($x) ได้ค่าเป็น true
isset($y) ได้ค่าเป็น false
isset($z) ได้ค่าเป็น true
isset($t) ได้ค่าเป็น false
$x = “”;
$y = 0;
$z = null;
empty($x) ได้ค่าเป็น true
empty($y) ได้ค่าเป็น true
empty($z) ได้ค่าเป็น true
empty(ชื่อตัวแปร)
unset(ตัวแปร1,ตัวแปร2,ตัวแปร3,….)
39บทที่ 3 เริ่มต้นกับ PHP
ตัวอย่างการใช้งานฟังก์ชัน unset()
Exercise 2 : การฝึกใช้ตัวแปรและเปอเรเตอร์ในการคานวณเลขพื้นฐาน
ex02.php
1. เปิด Dreamweaver ขึ้นมาแล้วสร้างไฟล์ใหม่ เลือกเป็น PHP ไฟล์
2. จากนั้นในด้านโค๊ด ทดสอบพิมพ์โค๊ดด้านล่างนี้ลงไปในส่วนบนสุดของหน้าจอ
....
สนในเอกสารอีบุ๊คเล่มนี้ฉบับเต็ม+พร้อมตัวอย่างโค๊ดทั้งหมด (ราคา 129 บาท)
ติดต่อ อาจารย์สามิตร โกยม อีเมล์ samitkoyom@gmail.com
โทร.089-594-0006 และ facebook.com/AjarnSamit
$a = 123;
$b = “Thailand”;
$c = 300;
unset($a,$b,$c)
<?php
#เก็บข้อมูลชื่อโปรแกรมและผู้พัฒนาลงตัวแปร
$title = "โปรแกรมคานวนส่วนลด";
$author = "ผู้พัฒนา Samit Koyom";
// กาหนดราคาขาย
$saleprice = 200;
// กาหนดส่วนลด (เปอร์เซ็นต์)
$percent = 10;
// คานวณราคาหลังหักส่วนลดแล้ว เก็บลงตัวแปร $disprice
$disprice = $saleprice - (($saleprice*$percent)/100);
// แสดงข้อมูลผู้พัฒนา
echo $title." ".$author."<hr>";
// แสดงราคาหลังหักส่วนลดออกมา
echo "สินค้าราคาปกติ ".$saleprice." บาท มีส่วนลด ".$percent."% <br>ราคา
หลังหักส่วนลดแล้วเหลือ ".$disprice. "บาท";
?>
86ข้อมูลอ้างอิง
แหล่งข้อมูลอ้างอิงและลิงค์ดาวน์โหลดที่ใช้ในเอกสารฉบับนี้
1. ดาวน์โหลดตัวแปรภาษา php และแหล่งเรียนรู้ได้ที่
http://www.php.net/
2. ดาวน์โหลดฐานข้อมูล MySQL ได้ที่
http://dev.mysql.com/downloads/
3. ดาวน์โหลด AppServ ได้ที่
http://www.appservnetwork.com/
4. ดาวน์โหลด Apache
http://httpd.apache.org/download.cgi
5. ดาวน์โหลดและแหล่งเรียนรู้ phpmyadmin
http://www.phpmyadmin.net/home_page/downloads.php
6. แหล่งเรียนรู้การพัฒนาเว็บไซต์สาหรับผู้เริ่มต้น
http://www.w3schools.com
7. ข้อมูลประกอบบางส่วนจากหนังสือ พัฒนาเว็บแอปพลิเคชั่นด้วย PHP ร่วมกับ MySQL และ
Dreamweaver
http://www.se-ed.com/eshop/Products/Detail.aspx?No=9786160802265
8. ข้อมูลประกอบบางส่วนจากหนังสือ basic & workshop PHP+AJAX และ jQuery
http://www.infopress.co.th/product_detail.php?pr_id=0000000821
9. ข้อมูลประกอบบางส่วนเรื่อง Web Based Application จาก สไลด์ประกอบการบรรยายในหัวข้อ "การ
พัฒนา Web Application ดวยเทคโนโลยี
http://www.slideshare.net/rachabodin/web-based-application-development-with-open-
source
ข้อมูลอ้างอิง

More Related Content

What's hot

โปรแกรมประยุกต์บนเว็บ
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บanuchit025
 
Course Syllabus การเขียนโปรแกรมบนเว็บ
Course Syllabus การเขียนโปรแกรมบนเว็บ Course Syllabus การเขียนโปรแกรมบนเว็บ
Course Syllabus การเขียนโปรแกรมบนเว็บ Khon Kaen University
 
งานครูปลาม์
งานครูปลาม์งานครูปลาม์
งานครูปลาม์0908067327
 
Joomla คืออะไร
Joomla คืออะไรJoomla คืออะไร
Joomla คืออะไรkrudaojar
 
คู่มือ Joomla
คู่มือ Joomlaคู่มือ Joomla
คู่มือ JoomlaJatupon Panjoi
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5nichaphat22
 
คู่มือJavascript and Python
คู่มือJavascript and Pythonคู่มือJavascript and Python
คู่มือJavascript and PythonBongkotporn Jachernram
 
สร้างเว็บไซต์ด้วยWordpress
สร้างเว็บไซต์ด้วยWordpressสร้างเว็บไซต์ด้วยWordpress
สร้างเว็บไซต์ด้วยWordpresskruburapha2012
 
ประวัต Html
ประวัต Htmlประวัต Html
ประวัต Htmlkrurit9
 
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtmlใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtmlSamorn Tara
 
ใบความรู้ที่ 2.4 ขั้นตอนการสร้างเว็บhtml
ใบความรู้ที่ 2.4 ขั้นตอนการสร้างเว็บhtmlใบความรู้ที่ 2.4 ขั้นตอนการสร้างเว็บhtml
ใบความรู้ที่ 2.4 ขั้นตอนการสร้างเว็บhtmlSmo Tara
 

What's hot (19)

โปรแกรมประยุกต์บนเว็บ
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บ
 
Course Syllabus การเขียนโปรแกรมบนเว็บ
Course Syllabus การเขียนโปรแกรมบนเว็บ Course Syllabus การเขียนโปรแกรมบนเว็บ
Course Syllabus การเขียนโปรแกรมบนเว็บ
 
Web browser คืออะไร
Web browser คืออะไรWeb browser คืออะไร
Web browser คืออะไร
 
งานครูปลาม์
งานครูปลาม์งานครูปลาม์
งานครูปลาม์
 
Ch19
Ch19Ch19
Ch19
 
Joomla3 : XAMPP Portable
Joomla3 : XAMPP PortableJoomla3 : XAMPP Portable
Joomla3 : XAMPP Portable
 
เสนอคอม.Doc
เสนอคอม.Docเสนอคอม.Doc
เสนอคอม.Doc
 
HTML5 Startup
HTML5 StartupHTML5 Startup
HTML5 Startup
 
Joomla CMS
Joomla CMSJoomla CMS
Joomla CMS
 
Answer unit2.3
Answer unit2.3Answer unit2.3
Answer unit2.3
 
Joomla คืออะไร
Joomla คืออะไรJoomla คืออะไร
Joomla คืออะไร
 
คู่มือ Joomla
คู่มือ Joomlaคู่มือ Joomla
คู่มือ Joomla
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5
 
คู่มือJavascript and Python
คู่มือJavascript and Pythonคู่มือJavascript and Python
คู่มือJavascript and Python
 
สร้างเว็บไซต์ด้วยWordpress
สร้างเว็บไซต์ด้วยWordpressสร้างเว็บไซต์ด้วยWordpress
สร้างเว็บไซต์ด้วยWordpress
 
ประวัต Html
ประวัต Htmlประวัต Html
ประวัต Html
 
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtmlใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
 
ICT with Web site
ICT with Web siteICT with Web site
ICT with Web site
 
ใบความรู้ที่ 2.4 ขั้นตอนการสร้างเว็บhtml
ใบความรู้ที่ 2.4 ขั้นตอนการสร้างเว็บhtmlใบความรู้ที่ 2.4 ขั้นตอนการสร้างเว็บhtml
ใบความรู้ที่ 2.4 ขั้นตอนการสร้างเว็บhtml
 

Viewers also liked (10)

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษา PHP
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษา PHPความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษา PHP
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษา PHP
 
หนังสือ Yii framework Tip 50 เทคนิค Yii Framework
หนังสือ Yii framework Tip 50 เทคนิค Yii Frameworkหนังสือ Yii framework Tip 50 เทคนิค Yii Framework
หนังสือ Yii framework Tip 50 เทคนิค Yii Framework
 
Session8
Session8Session8
Session8
 
หนังสือ Yii Framework Application Workshop เล่ม 1
หนังสือ Yii Framework Application Workshop เล่ม 1หนังสือ Yii Framework Application Workshop เล่ม 1
หนังสือ Yii Framework Application Workshop เล่ม 1
 
Session4
Session4Session4
Session4
 
หนังสือ Yii framework 2 Web Application Basic ฉบับพื้นฐาน
หนังสือ Yii framework 2 Web Application Basic ฉบับพื้นฐานหนังสือ Yii framework 2 Web Application Basic ฉบับพื้นฐาน
หนังสือ Yii framework 2 Web Application Basic ฉบับพื้นฐาน
 
Bootstrap 3 สำหรับมือใหม่ | CloudCourse.io
Bootstrap 3 สำหรับมือใหม่ | CloudCourse.ioBootstrap 3 สำหรับมือใหม่ | CloudCourse.io
Bootstrap 3 สำหรับมือใหม่ | CloudCourse.io
 
การสร้างเว็บด้วย Bootstrap framework
การสร้างเว็บด้วย Bootstrap frameworkการสร้างเว็บด้วย Bootstrap framework
การสร้างเว็บด้วย Bootstrap framework
 
MySql slides (ppt)
MySql slides (ppt)MySql slides (ppt)
MySql slides (ppt)
 
Php mysql ppt
Php mysql pptPhp mysql ppt
Php mysql ppt
 

Similar to Php basic

นุ๊ก
นุ๊กนุ๊ก
นุ๊กsirinet
 
หมวย
หมวยหมวย
หมวยsirinet
 
ดรีม
ดรีมดรีม
ดรีมsirinet
 
หมวย
หมวยหมวย
หมวยsirinet
 
หวิว
หวิวหวิว
หวิวViewMik
 
รออกแบบเว็บไซต์
รออกแบบเว็บไซต์รออกแบบเว็บไซต์
รออกแบบเว็บไซต์sirinet
 
ใบงานที่5555
ใบงานที่5555ใบงานที่5555
ใบงานที่5555M'Mod Ta Noy
 
ใบงานที่5555
ใบงานที่5555ใบงานที่5555
ใบงานที่5555M'Mod Ta Noy
 
ใบงานที่8
ใบงานที่8ใบงานที่8
ใบงานที่8Mind Kyn
 
ใบงานที่8
ใบงานที่8ใบงานที่8
ใบงานที่8Fin Sawitree
 
ใบงานที่8
ใบงานที่8ใบงานที่8
ใบงานที่8Mind Kyn
 
ใบงานที่8
ใบงานที่8ใบงานที่8
ใบงานที่8Mind Kyn
 

Similar to Php basic (20)

Introduction to PHP programming
Introduction to PHP programmingIntroduction to PHP programming
Introduction to PHP programming
 
นุ๊ก
นุ๊กนุ๊ก
นุ๊ก
 
โบ
โบโบ
โบ
 
Best
BestBest
Best
 
หมวย
หมวยหมวย
หมวย
 
ดรีม
ดรีมดรีม
ดรีม
 
หมวย
หมวยหมวย
หมวย
 
หวิว
หวิวหวิว
หวิว
 
รออกแบบเว็บไซต์
รออกแบบเว็บไซต์รออกแบบเว็บไซต์
รออกแบบเว็บไซต์
 
ใบงานที่5555
ใบงานที่5555ใบงานที่5555
ใบงานที่5555
 
ใบงานที่5555
ใบงานที่5555ใบงานที่5555
ใบงานที่5555
 
E book4
E book4E book4
E book4
 
Yuu
YuuYuu
Yuu
 
Ten
TenTen
Ten
 
New
NewNew
New
 
ใบงานที่8
ใบงานที่8ใบงานที่8
ใบงานที่8
 
ใบงานที่8
ใบงานที่8ใบงานที่8
ใบงานที่8
 
ใบงานที่8
ใบงานที่8ใบงานที่8
ใบงานที่8
 
ใบงานที่8
ใบงานที่8ใบงานที่8
ใบงานที่8
 
Webbasic
WebbasicWebbasic
Webbasic
 

Php basic

  • 1. จัดทาโดย นายสามิตร โกยม Email: samitkoyom@gmail.com โทร. 089-594-000-6 Facebook: facebook.com/AjarnSamit Twitter:@iamsamit (เอกสารเพื่อประกอบการเรียนรู้ด้วยตนเอง ห้ามจาหน่าย) เอกสารประกอบการเรียน PHP Basic
  • 2. บทนา 1 บทที่ 1 Web Based Application 2 รู้จักกับ Web Based Application 2 จุดเด่นของ Web Based Application 2 ลักษณะของการเขียนโปรแกรมบนเว็บ 3 ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ Web-Based Application 4 บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHP และเตรียมความพร้อม 8 การทางานของเว็บเพจและไฟล์ PHP 9 องค์ประกอบของการเขียนสคริปต์ PHP 12 การติดตั้ง PHP กับ IIS 13 การติดตั้ง PHP กับ Apache บน Windows 19 ตาแหน่ง Document Root และ URL ของเบราเซอร์ 23 การสร้างไซต์ใน Dreamweaver 24 การตั้งค่า Preference ที่สาคัญใน Dreamweaver 26 บทที่ 3 เริ่มต้นกับ PHP 29 การเขียนสคริปต์ PHP ในเอกสาร HTML 31 ตัวแปรและโอเปอเรเตอร์ 33 การตรวจสอบและยกเลิกตัวแปร 37 บทที่ 4 การควบคุมการทางานด้วยเงื่อนไข และลูป 41 การใช้คาสั่ง if…else 42 การใช้คาสั่ง switch…case 43 การใช้คาสั่ง for 44 คาสั่งหยุดการทางานของเพจ 46 เวิร์กชอป : การคิดเงินทอนแยกตามชนิดธนบัตร 47 สารบัญ
  • 3. บทที่ 5 ฟังก์ชันใน PHP 49 การสร้างฟังก์ชัน 49 การเรียกใช้ฟังก์ชั่น 51 การอ้างอิงถึงตัวแปรนอกฟังก์ชันด้วยคาสั่ง global 52 ฟังก์ชันและตัวแปรระบบที่ PHP เตรียมไว้ให้ 55 ฟังก์ชันเกี่ยวกับจานวนและตัวเลข 56 ฟังก์ชันด้านคณิตศาสตร์ 57 ฟังก์ชั่นเพิ่มเติมอื่น ๆ 58 บทที่ 6 สตริงและ Regular Expressions 59 ฟังก์ชันเกี่ยวกับสตริง 59 ฟังก์ชันเกี่ยวกับการหาขนาดของสตริง 59 ฟังก์ชันเปลี่ยนรูปแบบของตัวพิมพ์ 60 ฟังก์ชันเกี่ยวกับการแยก และรวมสตริง 61 ฟังก์ชันเกี่ยวกับสตริงย่อย 62 ฟังก์ชันในการแทนที่สตริง 63 ฟังก์ชันเกี่ยวกับอักขระพิเศษของ HTML บทที่ 7 อาเรย์ (Array) ใน PHP 66 การสร้างอาเรย์อย่างง่าย 66 การสร้างอาเรย์ว่างและกาหนดสมาชิกให้อาเรย์ 67 การใช้คาสั่ง foreach กับอาเรย์ 68 อาเรย์หลายมิติ 69 Workshop : ใช้อาเรย์กับการคิดเงินทอนแยกตามธนบัตร 70 บทที่ 8 การจัดการข้อมูลจากฟอร์ม 73 ลักษณะของฟอร์ม 73 การออกแบบฟอร์มด้วย Dreamweaver 74 การจัดการข้อมูลจากฟอร์มทางด้านเซิฟเวอร์ 76 การอ่านข้อมูลที่ส่งด้วยเมธอด GET 76 การอ่านข้อมูลที่ส่งด้วยเมธอด POST 76
  • 4. Workshop : สร้างฟอร์มคิดส่วนลดสินค้า 77 บทที่ 9 การทางานกับไฟล์ 79 ฟังก์ชันเกี่ยวกับไฟล์ 79 ฟังก์ชันเกี่ยวกับการตรวจสอบไฟล์ 79 ฟังก์ชันการหาขนาด และชนิดของไฟล์ 80 ฟังก์ชันการเปิดไฟล์ / ปิดไฟล์ 80 ฟังก์ชันเกี่ยวกับการอ่านไฟล์ 81 ฟังก์ชันเกี่ยวกับการเขียนไฟล์ 82 ฟังก์ชันเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงไฟล์ 83 Workshop : การสร้างตัวนับผู้เข้าชมเว็บไซต์ (Visitor) 84 ข้อมูลอ้างอิง 86
  • 5. 1บทที่ 1 Web Based Application วันนี้การสร้างเว็บเพจหรือ Web based Application ได้เปลี่ยนแปลงไปจากในอดีตอย่างมาก นอกจาก ความรู้ความเข้าใจในการออกแบบที่ดีแล้ว จาเป็นต้องใช้การเขียนสคริปต์เข้ามาช่วยเพิ่มความสามารถ ลูกเล่น สีสันและ Application บนเว็บ แถมยังต้องเพิ่มความสามารถใหม่ ๆ ให้รองรับกับพฤติกรรมผู้บริโภคที่ไม่ได้ทา เพียงแค่เข้ามาอ่านหน้าเว็บเพจอย่างเดียว แต่ต้องมีการสื่อสารและโต้ตอบกันแบบอินเตอร์แอคทีฟอีกด้วย PHP นั้นเป็นหนึ่งในภาษาสคริปต์สาหรับพัฒนาเว็บที่มีผู้ใช้งานจากทั่วโลกเป็นจานวนมาก โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในประเทศไทยเองนั้นภาษา PHP เป็นภาษาในการพัฒนาเว็บแอปพลิเคชั่นที่ได้รับความนิยมสูงสุด เนื่อง ด้วยความที่ตัวภาษาเองมีความยืดหยุ่นสูง และง่ายต่อการเรียนรู้ ผู้ใช้จึงใช้เวลาอันสั้นในการเริ่มต้นศึกษาจนถึง ประยุกต์ใช้ในแอปพลิเคชั่นหรืองานของตนเองได้อย่างรวดเร็ว และที่สาคัญคือสามารถนามาใช้ได้ฟรีอีกด้วย เอกสารฉบับนี้ได้รวบรวมเนื้อหาที่เป็นประโยชน์สาหรับผู้ที่ต้องการเริ่มต้นเรียนรู้การพัฒนาเว็บโปรแกรม มิ่งด้วยภาษา PHP เริ่มจากการเตรียมความพร้อมด้านเครื่องไม้เครื่องมือ การทาความรู้จักกับ PHP รวมทั้งการ เริ่มต้นฝึกฝนทักษะการเขียนโปรแกรมตั้งแต่เริ่มต้นจนสามารถนาไปประยุกต์งานของคุณได้ สามิตร โกยม samitkoyom@gmail.com http://www.techsamit.com 31/08/2011 บทนา
  • 6. 2บทที่ 1 Web Based Application Web Based Application รู้จักกับ Web Based Application Web-based Application คือโปรแกรมหรือกุล่มของโปรแกรมที่ได้รับการพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้งานใน บริการ WWW ของระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตหรือเครือข่ายอินทราเน็ต ที่ใช้โปรโตคอล TCP/IP เป็นมาตรฐาน ในการสื่อสารข้อมูล โดยผู้ใช้สามารถติดต่อสื่อสาร หรือเรียกใช้งานโปรแกรม Web-based Application ได้โดย ใช้โปรแกรมเว็บบราวเซอร์ ภาพประกอบลักษณะการใช้ Web-based Application การพัฒนา Web-based Application สามารถทาได้โดยการเขียนโปรแกรมในภาษาที่ถูกออกแบบมา สาหรับการพัฒนา Application บนระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เช่น Perl , PHP, ASP , JavaScript , VB Script , JSP, JAVA ฯลฯ และใน Application บางชนิดจะต้องมีการติดต่อกับระบบฐานข้อมูลด้วย จุดเด่นของ Web Based Application  ข้อมูลบนเว็บสามารถเข้าถึงได้จากผู้ชมจานวนมากโดยไม่มีข้อจากัดเรื่องชนิดของระบบคอมพิวเตอร์  การนาเสนอข้อมูลบนเว็บเป็นการสื่อสารโดยตรงจากผู้ส่งสารไปยังผู้รับสารโดยใช้เวลาสั้น  รูปแบบการนาเสนอข้อมูลมีลักษณะเป็นแบบ Hypertext และ Hypermedia ทาให้สามารถนาเสนอ ข้อมูลที่น่าสนใจในรูปแบบมัลติมีเดีย ที่สามารถเชื่อมโยงไปยังข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้ บทที่ 1
  • 7. 3บทที่ 1 Web Based Application  แนวโน้มของการน้าเสนอข้อมูลบนอินเตอร์เน็ตมีลักษณะ Interactive คือมีกิจกรรมที่ทาให้ผู้เข้าชมมี ส่วนร่วมกับเว็บไซต์มากขึ้น เช่น Guestbook, Message board , forums etc..  แนวโน้มของการนาเสนอข้อมูลบนอินเตอร์เน็ตมีลักษณะ Dynamic คือมีการปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัย อยู่เสมอโดยอัตโนมัติ ลักษณะของการเขียนโปรแกรมบนเว็บ การเขียนโปรแกรมหรือการประมวลผลบนเว็บ มี 2 ประเภทคือ 1. Server-Side Programming 2. Client-Side Programming 1. Server Side Programming Server-Side Programming คือลักษณะของการเขียนโปรแกรมที่จะเกิดการประมวลผลที่เครื่องให้บริการ (Server) เช่น การเขียนโปรแกรมด้วย PHP, Perl, ASP, JSP เป็นต้น 2. Client Side Programming Client-Side Programming คือ ลักษณะของการเขียนโปรแกรมที่จะเกิดการประมวลผลที่เครื่องรับบริการ (Client) เช่น การเขียนโปรแกรมด้วย Java Script, VB Script 1.เครื่องผู้ใช้ร้องขอข้อมูลจาก เครื่องให้บริการผ่านทาง โปรแกรม Web Browser 2.เครื่องให้บริการเรียก โปรแกรมทางานขึ้นมา 4.หลังจากการ ประมวลผลโปรแกรม จะสร้างหน้าผลลัพธ์ 5.หน้าผลลัพธ์ถูกส่งกลับมาที่ เครื่องผู้ใช้ 3.โปรแกรมเรียกใช้ฟังก์ชัน หรือทรัพยากรบนเครื่อง ให้บริการเครื่องรับบริการ (Client) เครื่องให้บริการ (Server) Mail Function Mail.php เครื่องรับบริการ (Client) เครื่องให้บริการ (Server) 1.เครื่องผู้ใช้ร้องขอข้อมูลจากเครื่องให้บริการ ผ่านทางโปรแกรม Web Browser 2.เครื่องให้บริการส่งหน้าเว็บที่ผู้ใช้ร้อง ขอกลับมาที่เครื่องของผู้ใช้ 3.เกิดการประมวลผลที่เครื่อง ผู้ใช้ เช่นอ่านค่าเวลาของเครื่อง , กาหนดลักษณะของเมาส์
  • 8. 4บทที่ 1 Web Based Application องค์ประกอบของ Web Application ชนิดของ Open Source ที่นิยมใช้ในการพัฒนา Web Application ในปัจจุบัน ประกอบด้วย  ระบบปฏิบัติการ : Linux  Web Server : Apache  Database Server : MySQL  Programming : PHP ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ Web-Based Application ระบบห้องสมุดออนไลน์ เทคโนโลยีที่ใช้  PHP V 5.2  MySQL 5.0  Apache V.3  Linux
  • 9. 5บทที่ 1 Web Based Application ระบบสั่งซื้อสินค้าออนไลน์ เทคโนโลยีที่ใช้  ASP  MSSQL  IIS  Window Server
  • 10. 6บทที่ 1 Web Based Application ระบบลงทะเบียนติดตามผู้ประสบภัยน้าท่วมออนไลน์ เทคโนโลยีที่ใช้  PHP  MySQL  Apache  Linux ระบบสารสนเทศเพื่องานทะเบียนนักศึกษา เทคโนโลยีที่ใช้  JSP  MSSQL  IIS  Window Server
  • 11. 7บทที่ 1 Web Based Application ระบบธนาคารออนไลน์ เทคโนโลยีที่ใช้  ASP.net  Oracle  IIS  Windows Server ระบบทะเบียนราษฎร เทคโนโลยีที่ใช้  PHP  MySQL  Apache  Linux
  • 12. 8บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม ทาความรู้จัก PHP และเตรียมความพร้อม ประวัติของ PHP ภาษา PHP นั้นถูกสร้างขึ้นประมาณกลางปี ค.ศ.1994 โดยนาย Ramus Lerdoft ชาวเดนมาร์คเป็นผู้เริ่มต้นพัฒนา ซึ่งจุดเริ่มต้นจั้นก็มาจาก ความต้องการที่จะบันทึกข้อมูลผู้ที่เยี่ยมชมโฮมเพจส่วนตัวของเขา โดยแนวคิด ก็คือ การเขียนโปรแกรมด้วยภาษา C แต่ต้องการแยกส่วนที่เป็น HTML ออก จากภาษา C และนั่นเองที่ทาให้เขาได้สร้างโค๊ด HTML ขึ้นมาใหม่ และตั้งชื่อว่า Personal Home Page Tool (PHP-Tool) หลังจากสร้าง PHP ขึ้นมาแล้วเขาได้เริ่มแจกจ่ายโค๊ดฟรีออกไป แต่ ในช่วงแรก PHP ยังไม่มีความสามารถอะไรมากนัก ในช่วงกลางปี ค.ศ.1995 เขาได้เพิ่มขีดความสามารถให้ PHP สามารถรับข้อมูลที่ส่งมาจากฟอร์มของ HTML รวมทั้งสามารถติดต่อกับฐานข้อมูล MySQL ได้อีกด้วย ในปี ค.ศ. 1997 ได้เปิดให้ผู้สนใจเข้าร่วมพัฒนาจึงมีผู้ร่วมพัฒนาเพิ่มอีก 2 คน คือ Zeev Suraski และ Andi Gutmans ได้ช่วยกันปรับปรุงและพัฒนาโค๊ดขึ้นมาให้ดีขึ้นในหลาย ๆ ด้าน ทั้งแก้ไขข้อบกพร่อง เพิ่ม ประสิทธิภาพ และเพิ่มเครื่องมือต่าง ๆ มากขึ้น เช่น เปลี่ยนแปลงไปสู่การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุที่สมบูรณ์แบบ และสามารถใช้ได้กับ Web Server ได้หลากหลายแพลตฟอร์มจนเป็นที่นิยมในปัจจุบัน ปัจจุบัน PHP ได้ผ่านการพัฒนามาหลายเวอร์ ชั่นมีเว็บไซต์ทางการของ PHP คือ http://php.net ซึ่ง เราสามารถเข้าไปอัพเดทตัวเวอร์ชั่นล่าสุด รวมทั้งหา ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการสร้างเว็บไซต์ด้วย PHP ได้ บทที่ 2 Rasmus Lerdorf ผู้ให้กาเนิด PHP
  • 13. 9บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม การทางานของเว็บเพจและไฟล์ PHP สาหรับไฟล์เว็บเพจที่มีภาษา PHP รวมอยู่ด้วยนั้น เมื่อเราเปิดเว็บบราวเซอร์ โปรแกรมเว็บบราวเซอร์จะ ร้องขอไฟล์ PHP ไปยังเว็บเซิฟเวอร์ก็จะเรียก PHP engine ขึ้นมาแปลไฟล์ PHP และติดต่อกับฐานข้อมูล แล้วส่ง ผลลัพธ์ที่ได้จากการแปลและประมวลผลเป็นภาษา HTML ทั้งหมดกลับไปยังเว็บบราวเซอร์ ให้ผู้ใช้นาไปใช้งาน ต่อไป สาหรับภาษาในกลุ่ม Server Side Script อื่น ๆ เช่น ภาษา CGI,ASP,ASP.NET,PHP,JSP ก็จะทางานด้วยกลไก คล้าย ๆ กัน ต่างกันเพียงแค่ตัวภาษาเท่านั้น ความสามารถของ PHP เนื่องจาก PHP มีความสามารถมากมาย ดังนั้น จึงขอจัดหมวดหมู่ความสามารถที่ PHP สามารถทาได้ออกเป็น 3 หมวดหมู่ ดังนี้ ความสามารถพื้นฐาน  สร้างฟอร์มโต้ตอบ หรือรับส่งข้อมูลกับผู้ใช้ได้ Client Server 1 1 6 6 5 2 4 3
  • 14. 10บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม  แทรกโค๊ด PHP เข้าไประหว่างโค๊ด HTML ได้ทันที ทาได้ง่าย ๆ เพียงแค่พิมพ์แทรกเครื่องหมายพิเศษ เข้าไประหว่างส่วนที่เป็นภาษา HTML ก็จะทาให้มีความสามารถเพิ่มขึ้นทันที  ฟังก์ชันสนับสนุนการทางาน : PHP มีฟังก์ชันมากมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการข้อความและอักขระ และ Pattern matching (เหมือนกับภาษา Perl) และสนับสนุนตัวแปร Scalar , Array , Associative Array นอกจากนี้ยังสามารถกาหนดโครงสร้างข้อมูลรูปแบบอื่น ๆ ที่สูงขึ้นไปได้ (เช่นเดียวกับภาษา C หรือ Java) ความสามารถในการติดต่อฐานข้อมูล การสร้างเว็บไซต์ส่วนใหญ่จะมีการรับส่งข้อมูลกับผู้ใช้งาน เช่น ผู้ใช้งานกรอกข้อมูลเพื่อสมัครสมาชิก การล๊อกอินเข้าระบบ การซื้อขายสินค้าออนไลน์ ฯลฯ เหล่านี้ล้วนต้องมีการใช้งานฐานข้อมูลเพื่อทาให้ข้อมูลถูก
  • 15. 11บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม จัดการอย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ สามารถจัดเก็บและแสดงผลทางเว็บเพจได้อย่างถูกต้องสวยงาม ซึ่ง ภาษา PHP มีข้อดีกว่าภาษาอื่นที่สามารถรองรับการใช้งานฐานข้อมูลได้มากมาย สาหรับฐานข้อมูลที่ PHP สามรถเชื่อต่อได้ ได้แก่ Access dBase Empr3ssInformix InterBase Solid PostgreSQL MySQL Oracle SQLServer Unix dbm Velocis สาหรับในเอกสารฉบับชุดนี้จะกล่าวถึงการใช้งาน PHP ร่วมกับฐานข้อมูล MySQL เนื่องจากเป็น ฐานข้อมูลที่ใช้งานง่าย และได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน ความสามารถขั้นสูง  สนับสนุนการติดต่อกับโปรโตคอลได้หลากหลาย : PHP สามารถเชื่อมต่อกับโปรโตคอลอื่น ๆ อีกเช่น IMAP , SNMP ,NNTP, POP3 และ HTTP และคุณสามารถเปิดพอร์ตการเชื่อมโยง (Socket) หรือ สื่อสารโต้ตอบแบบอินเตอร์แอ๊คทีฟโดยผ่านโปรโตคอลอื่น ๆ ได้ด้วย  สามารถทางานได้กับฮาร์ดแวร์ทุกระดับ : เนื่องจาก PHP จะถูกประมวลผลและทางานอยู่บนฝั่งเซิฟ เวอร์ ดังนั้น โปรแกรมที่เขียนด้วย PHP ที่มีขนาดใหญ่ และซับซ้อนเพียงใดก็จะสามารถประมวลผลได้ โดยไม่จาเป็นต้องใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพสูงเท่านั้น ฮาร์ดแวร์ในระดับใดก็สามารถ ใช้ได้ ข้อดีที่ PHP นิยมใช้กันทั่วโลก  ฟรี ! เพราะว่าเป็นโอเพ่นซอร์ส ทาให้เราดาวน์โหลดมาใช้งานได้ฟรีจากอินเตอร์เน็ต  ใช้งานได้ทุกระบบปฎิบัติการ : ไม่ว่าจะเป็น UNIX , Linux หรือ Windows  ใช้งานได้กับทุกบราวเซอร์ : ไม่ว่าจะเป็น IE, Firefox , Safari , Opera , Chrome ….  ตัวภาษาทาความเข้าใจง่ายต่อการเรียนรู้ : หากใครมีพื้นภาษา C หรือ Perl มาก่อนจะเข้าใจ PHP ได้ อย่างรวดเร็ว  ใช้กับระบบแฟ้มข้อมูล (file system) ได้ดี  มีฟังก์ชันที่จัดการกับข้อมูลตัวอักษร และการประมวลผลภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ  ใช้ร่วมกับคาสั่ง XML ได้ทันที
  • 16. 12บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม องค์ประกอบของการเขียนสคริปต์ PHP ก่อนจะเริ่มเขียนสคริปต์ด้วย PHP เราลองมาสารวจความพร้อมของระบบคอมพิวเตอร์ที่จะใช้งานเสียก่อน ซึ่งสรุปองค์ประกอบที่สาคัญได้ดังนี้ 1. เซิฟเวอร์ : ในการใช้งานเบื้องต้นก็ใช้ PC ที่เรากาลังเขียนทาหน้าที่เป็นเซิฟเวอร์ก็ได้ หากเป็นเว็บไซต์ที่ ทางานจริงจะต้องเป็นคอมพิวเตอร์ที่มีคุณสมบัติที่ดีแยกต่างหาก 2. ไคลเอนท์ : สาหรับไคลเอนท์ก็คือ เครื่องของผู้ใช้งาน ในการศึกษาด้วยตนเองเราอาจจะให้ไคลเอนท์ กับเซิฟเวอร์เป็นเครื่องเดียวกันไปเลย 3. โปรแกรม Web Server : เป็นซอฟแวร์ที่ทาให้เซิฟเวอร์กลายเป็นเว็บเซิฟเวอร์นั่นคือ พร้อมรองรับการ ใช้งานจากไคลเอนท์หลาย ๆ ตัวพร้อมกัน สาหรับโปรแกรม Web Server ที่นิยมใช้กันก็คือ Apache PWS (Personal Web Server) และ IIS (Microsoft Internet Information Server) 4. โปรแกรม Text Editor : เป็นซอฟแวร์ที่เราใช้พิมพ์และแก้ไขสคริปต์ในภาษา PHP ซึ่งมีให้เลือกหลาย โปรแกรม เช่น Notepad, FrontPage , Dreamweaver และ Edit Plus เป็นต้น 5. PHP Script Language : นั่นคือตัวแปรภาษา PHP ที่เราจะใช้เขียนนั่นเอง
  • 17. 13บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม 6. โปรแกรม Database Server : เป็นซอฟแวร์ที่ทางานบนเซิฟเวอร์ ทาให้เซิฟเวอร์ให้บริการเกี่ยวกับ ฐานข้อมูลได้ สาหรับโปรแกรม Database Server ที่นิยมกันก็คือ MySQL , PostgreSQL , SQL Server เป็นต้น 7. โปรแกรม Database Manager : เป็นซอฟแวร์ที่ช่วยอานวยความสะดวกในการจัดการระบบ ฐานข้อมูล MySQL ทั้งนี้เพราะโปรแกรม Database Server บางตัวเช่น MySQL ไม่ได้สร้างส่วนที่ จัดการที่เป็น Graphic Interface มาให้ การติดตั้ง PHP กับ IIS IIS หรือ Internet Information Server เป็นเว็บเซิฟเวอร์ของทางค่ายไมโครซอฟต์ ซึ่งปกติจะมีติด กับตัว Windows ตั้งแต่ Windows 2000 เป็นต้นมา (ถ้ารุ่น Windows ต่ากว่านี้จะใช้ PWS) ซึ่งโดยปกติตัว IIS จะสามารถประมวลผลภาษา ASP ได้ทันทีหลังติดตั้งเรียบร้อย แต่หากว่าเราต้องการใช้ IIS ในการเขียนและประมวลผลภาษา PHP เราจาเป็นต้องติดตั้งตัวแปรภาษา PHP (PHP interpreter) ลงไปเสียก่อนตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. เริ่มต้นให้ไปดาวน์โหลดตัวติดตั้ง PHP ได้ที่ http://windows.php.net/download
  • 18. 14บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม 2. คลิ๊กเลือกดาวน์โหลดตัวตั้งแบบ Windows binary และเลือกแบบ zip package ตัวอย่างเลือก php- 5.1.2-Win32.zip 3. ทาการแตกไฟล์ด้วย WinRAR หรือ Winzip จะได้ดังรูป 4. ทาการเปลี่ยนชื่อโฟลเดอร์ php-5.1.2-Win32 เป็น php
  • 19. 15บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม 5. ทาการคัดลอกโฟลเดอร์ php ไปใส่ไว้ในไดร์ฟ C: หรือไดร์ฟอื่นที่ต้องการ 6. ทาการสร้างโฟลเดอร์มา 2 โฟลเดอร์คือ sessiontmp และ uploadtmp - sessiontmp ไว้สาหรับเก็บ session ชั่วคราวกรณีเราทาการเขียนโดยใช้ตัวแปร session เช่น ระบบ Login - uploadtmp ไว้สาหรับเป็นที่พักไฟล์ชั่วคราวกรณีเราเขียนโค้ดและมีการส่งหรือแนบไฟล์ไปด้วย 7. ทาการเปลี่ยนชื่อไฟล์ php.ini-dist เป็น php.ini แล้วคัดลอกไปไว้ในโฟลเดอร์ C:Windows ก่อนการแก้ไข หลังการแก้ไข คาอธิบาย output_buffering = Off output_buffering = 4096 Output buffering register_globals = Off register_globals = on ปรับค่าเป็น on magic_quotes_gpc = On magic_quotes_gpc = On Magic quotes doc_root = doc_root = C:Inetpubwwwroot ขยายความสามารถ php (extension) extension_dir = "./" extension_dir = "C:phpext" ; cgi.force_redirect = 1 cgi.force_redirect = 0 ปรับค่าเป็น 0 ;upload_tmp_dir = upload_tmp_dir = C:phpuploadtmp ห้อง temp ชั่วคราวสาหรับ การอัปโหลด upload_max_filesize = 2M upload_max_filesize = 10M ขนาดไฟล์สูงสูดที่ให้ user 8. ใช้ Edit Plus หรือ Notepad แก้ไขไฟล์ C:Windowsphp.ini รายละเอียดที่ต้องแก้ไขมีดังนี้ 9. เข้าไปปรับแต่ง IIS เพิ่มเติม โดยเข้าไปคลิกที่แท็บ Home Directory
  • 20. 16บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม 10. คลิกปุ่ม Configuration... 11. คลิกปุ่ม Add แล้วปรับค่าดังนี้ Executable : ทาการ Browse ไปเลือกไฟล์ php-cgi.exe ในโฟลเดอร์ C:php
  • 21. 17บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม Extension : เลือกนามสกุล .php 12. คลิกที่ปุ่ม OK 13. คลิกที่ปุ่ม OK 2 ครั้ง 14. คลิกปุ่ม Stop และ Start 1 รอบ
  • 22. 18บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม ทดสอบเขียนโค๊ดภาษา PHP 1. เปิดโปรแกรม Edit Plust หรือ Dreamweaver แล้วพิมพ์โค๊ดดังนี้ 2. ตั้งชื่อไฟล์ว่า test1.php แล้วบันทึกไว้ในตาแหน่ง <drive>:InetPubwwwroot 3. เปิดเว็บบราวเซอร์เพื่อทดสอบ โดยพิมพ์ URL ดังนี้ http://localhost/test1.php ผลลัพธ์ที่ได้จากการทดสอบรันสคริปต์ test1.php <?php // Test PHP Script echo "<center> PHP Hello World <center> <hr> "; phpinfo(); ?>
  • 23. 19บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม การติดตั้ง PHP กับ Apache บน Windows จากขั้นตอนการติดตั้ง PHP ที่ผ่านมาจะเห็นว่า มีขั้นตอนและกระบวนการค่อนข้างเยอะพอสมควร และ ยิ่งหากเราต้องการใช้งานตัวฐานข้อมูลด้วยแล้ว เราจาเป็นต้องลง MySQL และทาการ Config ให้ทางานร่วมกับ PHP และ IIS ได้อย่างถูกต้องเสียก่อน ซึ่งแน่นอนว่ามีความยุ่งยากและขั้นตอนที่ซับซ้อนขึ้น ดังนั้นในขั้นตอนการติดตั้ง PHP และจาลอง Web Server ด้วย Apache บน Windows เราจะเรียก ติดตั้งผ่านตัว Package สาเร็จรูปตัวหนึ่งที่ชื่อว่า “Appserv” ซึ่งตัว Appserv นี้เองได้รวบรวมเอาองค์ประกอบ ที่สาคัญเอาไว้อย่างเพียบพร้อม ติดตั้งได้ง่ายและสะดวกมาก องค์ประกอบที่มีใน Appserv ได้แก่  PHP Script Language  Apache Web Server  MySQL Database  phpMyAdmin Database Manager การติดตั้ง AppServ ก่อนติดตั้ง เราต้องไปดาวน์โหลดชุดติดตั้ง Appserv มาก่อนที่ http://www.appservnetwork.com ซึ่งมี ให้เลือกหลายเวอร์ชั่น ให้ดูว่า AppServ เวอร์ชั่นนั้นเขาใช้ PHP เวอร์ชั่นอะไร และควรเลือกเวอร์ชั่นที่เป็น PHP 5 ขึ้นไป สาหรับในที่นี้ผู้เขียนเลือก AppServ 2.5.10 แล้วหลังดาวน์โหลดก็เข้าสู่ขั้นตอนการติดตั้งดังนี้
  • 24. 20บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม 1. หลังดาวน์โหลดมาแล้ว ให้ดับเบิลคลิกไฟล์ที่ดาวน์โหลดมา ก็จะเข้าสู่ขั้นตอนการติดตั้งเหมือนโปรแกรม ทั่วไป 2. ที่ขั้นตอนการกาหนดตาแหน่งติดตั้ง ในที่นี้จะใช้ค่าดีฟอลต์คือ C:AppServ 3. เลือกโปรแกรมที่จะติดตั้ง ในที่นี่จะเลือกทั้งหมด
  • 25. 21บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม 4. กาหนดชื่อเซิฟเวอร์ เนื่องจากเราใช้งานบนเครื่องเดียวกัน ในที่นี้จึงกาหนดเป็น localhost 5. กาหนดพาสเวิร์ดสาหรับ MySQL ซึ่งค่าที่กาหนดนี้เราต้องจาไว้ให้ได้ มิฉะนั้นจะไม่สามารถใช้งาน ฐานข้อมูลได้
  • 26. 22บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม 6. จากนั้นก็เข้าสู่การติดตั้ง รอสักครู่จนกว่าจะเสร็จสิ้นขั้นตอนนี้ แล้วคลิกที่ Finish หลังการติดตั้งเราควรทาการทดสอบระบบว่าพร้อมใช้งานหรือไม่ โดยปกติแล้ว Appserv จะเซ็ตค่าที่จาเป็น สาหรับการทางานร่วมกับ Apache และ PHP ไว้ให้เราล่วงหน้าแล้ว โดยสามารถทดสอบได้ดังนี้ 1. เปิดโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ขึ้นมา ตัวใดก็ได้ 2. กาหนด URL ของบราวเซอร์เป็น http://localhost/ 3. หากระบบพร้อมใช้งานจะได้ผลลัพธ์ดังรูปด้านล่างนี้ หน้าตา Appserv หลังติดตั้งเสร็จพร้อมใช้งาน
  • 27. 23บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม ตาแหน่ง Document Root และ URL ของเบราเซอร์ Document Root คือ ตาแหน่งที่ใช้ในการเก็บไฟล์ของเว็บเพจ ซึ่งตามค่าดีฟอลต์ของ AppServ กาหนดให้จัดเก็บไว้ที่ C:AppServwww ดังนั้นเว็บเพจที่สร้างขึ้นต้องนามาเก็บไว้ที่นี่เท่านั้น แต่เนื่องจากอาจมีไฟล์ต่าง ๆ อยู่ภายใน Doc Root เป็นจานวนมาก ทั้งไฟล์เว็บเพจ และไฟล์ที่เกี่ยวข้อง อื่น ๆ เช่น รูปภาพ วิดีโอ ดังนั้นเพื่อให้เป็นการแยกไฟล์ออกเป็นหมวดหมู่เฉพาะ ก็จะมีการสร้างไดเรกทอรี่ย่อย หรือโฟล์เดอร์ซ้อนลงไปอีก โดยในเอกสารนี้จะสร้างไดเรกทอรี่ phpbasic สาหรับเก็บโค๊ดและไฟล์ที่จะฝึก เรียนรู้กันต่อไป ตัวอย่างตาแหน่ง Document Root และสร้างโฟล์เดอร์ชื่อ phpbasic ไว้ อย่างไรก็ตาม ในการอ้างอิงตาแหน่งเว็บเพจตามรูปแบบของเว็บบราวเซอร์ เราจะไม่อ้างถึง Doc Root โดยตรง แต่จะกาหนดชื่อขึ้นมาชื่อหนึ่งเพื่อใช้แทนตาแหน่งดังกล่าว โดยตามค่าดีฟอลต์ที่เรากาหนดไว้ตอนติดตั้ง คือชื่อ localhost ดังนั้นเมื่อเราต้องการอ้างถึง Doc Root ในบราวเซอร์จะต้องแทนด้วยชื่อ localhost พร้อม ระบุโปรโตคอล http ด้วย และถ้าต้องการอ้างถึงไดเร็คทอรี่ย่อย ๆ ที่อยู่ถัดจาก Doc Root ก็ไล่เข้าไปตามลาดับ ดังตัวอย่างต่อไปนี้ ตาแหน่ง Document Root C:AppServwww ตาแหน่งที่ Browser http://localhost
  • 28. 24บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม ตาแหน่งจริง C:AppServwwwindex.html ตาแหน่งที่ Browser http://localhost/index.html ตาแหน่งจริง C:AppServwwwphpbasictest.html ตาแหน่งที่ Browser http://localhost/phpbasic/test.html ตาแหน่งจริง C:AppServwwwphpbasicworkshopindex.php ตาแหน่งที่ Browser http://localhost/phpbasic/workshop/index.php การสร้างไซต์ใน Dreamweaver ที่ผ่านมานั้นเราได้ติดตั้งโปรแกรมสาหรับการทางานของระบบไปเรียบร้อยแล้ว ต่อไปคือการจัดเตรียม เครื่องมือในการพัฒนาเว็บเพจ สาหรับในเอกสารนี้จะเลือกใช้ Dreamweaver เนื่องจากมีเครื่องมือสาหรับการ สร้างเว็บเพจอย่างครบครัน เหมาะสาหรับมือใหม่และมืออาชีพได้เป็นอย่างดี ในการที่เราจะใช้ Dreamweaver ร่วมกับ PHP/Apache เราต้องทาการติดตั้งไซต์ใน Dreamweaver เสียก่อน ซึ่งไซต์ที่ตั้งขึ้นนี้เพื่อจะเชื่อมโยงไปยังไฟล์และเว็บเพจต่าง ๆ ที่อยู่ใน Document Root ให้เราสามารถ สร้าง เปิดดู แก้ไข หรือทดสอบเว็บเพจเหล่านั้นผ่านทาง Dreamweaver ได้นั่นเอง สาหรับขั้นตอนการติดตั้งไซต์ ใน Dreamweaver มีดังนี้ 1. เมื่อเปิดเข้าสู่โปรแกรม Dreamweaver ให้เลือกที่เมนู Site > New Site…
  • 29. 25บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม 2. เมื่อเข้าสู่หน้าจอ Site Definition ให้เลือกแท็บ Advance แล้วช่อง Category ให้เลือก Local Info ก็จะปรากฏช่องข้อมูลสาคัญที่เราต้องกาหนดมีดังนี้ • Site name: คือชื่อไซต์ที่เราจะใช้อ้างอิงแทนตาแหน่งไฟล์ปลายทาง ซึ่งจะตั้งชื่อเป็นอะไรก็ได้ ในที่นี้จะใช้ชื่อเดียวกันกับ phpbasic • Local root folder: คือไดเรกทอรี่ปลายทางที่อยู่ใน Document Root หรือ (C:AppServwww) ซึ่งเป็นที่ที่เราเก็บไฟล์เว็บเพจเอาไว้นั่นเอง โดยในเอกสารนี้จะเก็บไฟล์ไว้ใน C:AppServwwwphpbasic ดังนั้นช่อง Local root folder • HTTP address: คือตาแหน่ง URL ที่จะแสดงบนบราวเซอร์ ซึ่งก็ใช้รูปแบบตามที่ได้กล่าวมาแล้ว 3. เมื่อกลับเข้าสู่หน้าจอหลักของ Dreamweaver ที่หน้าต่าง Files ที่แท็บ Files จะมีชื่อไซต์ที่เราได้ สร้างขึ้นปรากฏขึ้นมาเป็นตัวเลือกหนึ่ง ซึ่งเราเลือกไซต์นี้ก็จะเป็นการโหลดไฟล์ และไดเร็กทอรี่ ทั้งหมดในไซต์นี้มาแสดง
  • 30. 26บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม การตั้งค่า Preference ที่สาคัญใน Dreamweaver ปกติแล้ว Dreamweaver จะตั้งค่า Preference ไว้ให้เราล่วงหน้าแล้ว แต่อย่างไรก็ตาม ค่าบางอย่าง ที่ตั้งไว้ให้นี้ อาจต้องแก้ไขใหม่ เพื่อให้ตรงกับการใช้งานจริงของเรา ซึ่งที่ควรปรับตั้งใหม่ดังนี้ การตังค่าฟอนต์ไทยใน Dreamweaver หากชนิดฟอนต์ที่ Dreamweaver ตั้งเป็นดีฟอนต์ไว้ให้เราไม่ตรงกับความต้องการของเรา หรือเป็น ฟอนต์ที่ไม่รองรับภาษาไทย เราสามารถตั้งค่าได้ที่ Preference ใหม่ดังนี้ 1. เลือกที่เมนู Edit > Preferences… 2. ที่ช่อง Category เลือก Fonts
  • 31. 27บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม 3. ในช่อง Font settings: เลือก Unicode จากนั้นในช่องเลือกฟอนต์ด้านล่างโดยเฉพาะ Code view: ให้เลือกชนิดฟอนต์ที่รองรับภาษาไทยเช่น Microsoft Sans Serif, Tahoma, Cordia เป็นต้น แล้วแต่ว่าเราชอบฟอนต์ชนิดใด รวมถึงการกาหนดขนาดของฟอนต์ให้เหมาะสมด้วย การตั้งค่าเพจใหม่และ Encodeing ในการสร้างเพจใหม่ เราควรตั้งค่าเริ่มต้นบางอย่างเพื่อให้ Dreamweaver กาหนดค่าดีฟอลต์ที่ เหมาะสมไว้ล่วงหน้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งรหัสอักขระ (Encoding) ที่จะใช้ในการแสดงผลเพจนั้น ซึ่งสิ่งนี้จะมีอย่าง มากเมื่อเราเปิดเพจด้วยบราวเซอร์ โดยการตั้งค่ารหัสอักขระทาได้ดังนี้
  • 32. 28บทที่ 2 ทาความรู้จัก PHPและเตรียมความพร้อม 1. เลือกที่เมนู Edit > Preferences… 2. ที่ช่อง Category เลือก New Documen 3. จากนั้นที่ช่อง Default document : ให้เลือก PHP 4. และที่ช่อง Default encoding : ให้เลือก Unicode (UTF-8) การตั้งค่าบราวเซอร์สาหรับทดสอบ 1. เลือกจากเมนู Edit > Preferences… หรือวิธีที่สองคือ เมื่อคลิ๊กที่ปุ่มทูลบาร์ตามรูปแล้ว ก็เลือกที่ Edit Browser List… 2. หลังจากทาตามทั้งสองวิธีแล้ว จะเข้าสู่หน้าจอ Preferences… และที่ช่อง Category ให้เลือก Preview in Browser 3. ถ้าต้องการเพิ่มบราวเซอร์ให้คลิ๊กที่ปุ่มเครื่องหมาย + เมื่อปรากฏหน้าจอ Add Browser ก็ให้ กาหนดชื่อที่ใช้เรียกบราวเซอร์นั้นในช่อง Name : และช่อง Application : ให้เลือกไฟล์ที่เรียก บราวเซอร์นั้นขึ้นมาทางาน
  • 33. 29บทที่ 3 เริ่มต้นกับ PHP เริ่มต้นกับ PHP องค์ประกอบพื้นฐานของการเขียน PHP PHP นั้นจะใช้โครงสร้างภาษาในรูปแบบเดียวกันกับภาษาซี ( C Programming) ดังนั้นแนวทางในการ เขียนจึงคล้ายคลึงกัน ทั้งนี้มีองค์ประกอบพื้นฐานบางส่วนที่เราควรรู้จัก เพื่อจะได้นาไปใช้ร่วมกันกับการเขียน โปรแกรมอื่น ๆ ต่อไป ดังนี้ เครื่องหมายสิ้นสุดคาสั่ง ใน PHP เราจะใช้เครื่องหมาย ; เป็นตัวแสดงจะสิ้นสุดในแต่ละคาสั่ง เช่น หลังเครื่องหมาย ; เพื่อสิ้นสุดคาสั่งแล้ว เราสามารถนาคาสั่งอื่นมาต่อท้ายได้เลย แต่การเขียนโค๊ด ลักษณะนี้จะอ่านโปรแกรมได้ยาก ดังนั้นเราไม่นิยมทากันเช่น คาสั่งการแสดงผล การแสดงผล คือการที่ PHP ส่งผลลัพธ์ส่วนที่เกิดจากการทางานของสคริปต์กลับไปที่บราวเซอร์ ซึ่งใน PHP มีหลายคาสั่งที่สามารถทาเช่นนี้ได้ แต่ในเบื้อต้นจะแนะนาเพียง 2 คาสั่งคือ print และ echo print (ผลลัพธ์) หรือ print ผลลัพธ์ โดยทั่วไปเราไม่นิยมใช้คาสั่ง print มากนัก เนื่องจากทางานช้ากว่าคาสั่ง echo เพราะคาสั่ง print จะมีการตรวจสอบข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นด้วยเช่น print (“Hello World”); print “Hello PHP”; echo (ผลลัพธ์) หรือ echo ผลลัพธ์ เป็นคาสั่งที่นิยมใช้กันมากที่สุด เพราะทางานได้รวดเร็วกว่าคาสั่ง print echo (“Hello World”); echo “Hello World”; บทที่ 3 $x= 10; $y = x + 10; $z = “abc”; $x= 10; $y = x + 10; $z = “abc”;
  • 34. 30บทที่ 3 เริ่มต้นกับ PHP คาอธิบาย คาอธิบาย (Comment) ใช้ในการอธิบายเกี่ยวกับโปรแกรมที่เราเขียน เพื่อช่วยให้เราพิจารณาโค๊ดได้ ง่ายขึ้น แต่โปรแกรมจะไม่นาส่วนที่เป็นคาอธิบายไปประมวลผลได้ใน PHP สามารถเขียนคอมเมนต์ได้หลายแบบ ดังนี้ Single-line Comment เป็นการเขียนคาอธิบายแบบบรรทัดเดียว โดยใช้เครื่องหมาย // หรือไม่ก็ # ซึ่งโปรแกรมจะถือว่าตั้งแต่ สัญลักษณ์เหล่านี้เป็นต้นไปทั้งบรรทัดเป็นคาอธิบายทั้งหมด และจาไม่นาบรรทัดนั้นมาประมวลผล เช่น Multiple-line Comment เป็นการเขียนคาอธิบายแบบหลาย ๆ บรรทัด โดยใช้สัญลักษณ์ /*……*/ ซึ่งโปรแกรมจะถือว่าตั้งแต่ สัญลักษณ์ /* เป็นต้นไปเป็นคาอธิบาย จนกว่าจะพบสัญลักษณ์ */ จึงจะถือว่าสิ้นสุดคาอธิบาย เช่น คาสงวนของ PHP (PHP Reserved Words) คาสงวน (Reserved Words) หมายถึงคาที่จะใช้เป็นคาสั่งเฉพาะของ PHP ดังนั้นเราต้องไม่นาคา เหล่านี้มาตั้งเป็นชื่อตัวแปร หรือฟังก์ชัน มิฉะนันจะทาให้เกิดข้อผิดพลาดขึ้นได้ โดยคาเหล่านี้คือ and false or extends _FILE_ break for require not _METHOD_ case foreach return vitual use class function static xor clone(5) continue global switch while old_fuctinon(4 only) do if this date thow(5) else include true time protected(5) elseif new var explode catch(5) try(5) public nal var new //This Program by //John Deve #21/03/2009 #All Right Reserved /* This Program by John Deve 21/03/2009 All Right Reserved */
  • 35. 31บทที่ 3 เริ่มต้นกับ PHP การเขียนสคริปต์ PHP ในเอกสาร HTML เนื่องจาก PHP เป็นภาษาแบบสคริปต์ที่ต้องอาศัยการเขียนแทรกโค๊ดคาสั่งลงไปในเอกสาร HTML ดังนั้นภายในเว็บเพจเดียวกันจึงอาจจะมีทั้งโค๊ดส่วนที่เป็นสคริปต์ของ PHP และโค๊ดของ HTML ทั้งนี้ก็ เนื่องจากว่า โครงสร้างหรือรูปแบบเอกสารเว็บเพจนั้น ตอ้งถูกกาหนดด้วยแท็กของ HTML เป็นหลัก ดถึงแม้ว่า เราจะเสร้างเว็บเพจด้วย PHP แต้ก็ยังต้องใช้ HTML เป็นตัวกาหนดรูปแบบของเอกสารเสมอ ดังนั้นเพื่อเป็นการ แยกความแตกต่างของทั้งสองส่วนนี้ โค๊ดส่วนที่เป็น HTML ก็เขียนไปตามปกติ แต่โค๊ดส่วนของ PHP จะต้อง เขียนไว้ในแท็ก <?php …?> ซึ่งถือว่าเป็นแท็กมาตรฐานของ PHP ที่นิยมใช้กันมากที่สุด และสามารถใช้ได้เลย โดยที่ไม่ต้องเซ็ตค่าใด ๆ เพิ่มเติม โดยในเอกสารฉบับนี้จะใช้แท็กแบบนี้เช่นเดียวกัน ต่อไปมาดูตัวอย่างการแทรกโค๊ด PHP ลงไปในแท็ก <body>….</body> ของเอกสาร HTML กัน <body> </body> และเมื่อเราเปิดดูด้วยเว็บบราวเซอร์ก็จะได้ผลลัพธ์ดังรูป นอกจากนี้แล้ว เรายังสามารถใช้ PHP แสดงแท็ก HTML ออกไปที่บราวเซอร์ ซึ่งแท็กของ HTML ที่ถูก ส่งออกไปนี้จะกลายเป็นส่วนหนึ่งของเอกสาร HTML ไปเลยเช่น <body> </body> <?php echo “Hello World”; ?> <?php echo “<h3>Welcome to my website</h3>”; ?>
  • 36. 32บทที่ 3 เริ่มต้นกับ PHP เราสามารถแทรกสคริปต์ของ PHP ลงไปได้ตลอดทั้งเอกสาร ทั้งนี้ขึ้นกับว่า ตาแหน่งใดที่เราจาเป็นต้อง ใช้สคริปต์ PHP ซึ่งเราสามารถพลิกแพลงได้อีกหลายรูปแบบ และจะได้กล่าวต่อไปในเนื้อหาส่วนอื่นๆ Exercise 1 : การแทรกสคริปต์ PHP ลงในเอกสาร HTML ex01.php 1. เข้าสู่ Dreamweaver แล้วสร้างเอกสารใหม่ 2. เข้าไปส่วนโค๊ด แล้วเพิ่มโค๊ดต่อไปนี้ลงไประหว่างแท็ก <body>….</body> <body> </body> 3. บันทึกไฟล์ลงในโฟล์เดอร์ phpbasic แล้วตั้งชื่อไฟล์ว่า ex01.php จากนั้นทดสอบแสดงผลบน บราวเซอร์ดูจะได้ผลลัพธ์ดังภาพด้านล่างนี้ <h3> <?php echo "Learning PHP Basic"; ?> </h3> <font size="3" color="red"> <?php echo "<b>บทที่ 1 รู้จัก PHP และการเตรียมความพร้อม</b>"; ?> </font> <br /> <ul> <?php echo "<li>การติดตั้ง PHP กับ IIS</li>"; echo "<li>การติดตั้ง PHP กับ Apache บน Windows</li>"; echo "<li>การติดตั้ง AppServ</li>"; ?> </ul>
  • 37. 33บทที่ 3 เริ่มต้นกับ PHP ตัวแปรและโอเปอเรเตอร์ ในการเขียภาษาโปรแกรมมิ่งเกือบทุกภาษา สิ่งที่เราต้องเรียนรู้เป็นลาดับแรก ๆ คือ การกาหนดตัวแปร สาหรับเก็บข้อมูลบางอย่างอาไว้ก่อน ที่จะนาไปใช้งานต่อไป และขั้นตอนต่อไปก็รู้จักการใช้โอเปอเรเตอร์แบบ ต่าง ๆ สาหรับใช้ในการประมลผลข้อมูลเพื่อให้ผลลัพธ์ที่ตอ้งการ ชนิดของข้อมูลพื้นฐานที่สาคัญ ใน PHP มีข้อมูลหลายชนิด แต่ชนิดที่เรารู้จักและใช้บ่อย ๆ มี 3 รูปแบบ คือ ข้อมูลชนิดตัวเลข สตริง (ตัวอักษร) และบูลีน โดยมีรายละเอียดดังนี้  ข้อมูลชนิดตัวเลข (Number) อาจเป็นได้ทั้งจานวนเต็ม (integer) เช่น 10,20,0,-5 เป็นต้น หรือจานวน ทศนิยม (Float) เช่น -10.5 , 1.43 , 0.92 เป็นต้น  ข้อมูลชนิดสตริง (String) คือข้อมูลที่เป็นอักขระ ซึ่งเป็นภาษาอังกฤษ ไทย หรืออื่น ๆ ก็ได้ แต่เนื่องจาก สตริงอาจมีความยาวเท่าไหร่ก็ได้ และเราไม่จาเป็นต้องเขียนอักขระทุกตัวติดกันไปจนจบสตริงเหมือน การเขียนตัวเลข จึงทาให้โปรแกรมไม่สามารถตัดสินใจได้ว่า สตริงนั้นเริ่มต้นและสิ้นสุดที่ใด ดังนั้นการ กาหนดข้อมูลสตริง เราต้องกาหนดจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดให้มันเสมอ ด้วยเครื่องหมาย Double Quotes(“…..”) หรือไม่ก็ Single Quotes(‘…..’) เช่น “Hello World”  ข้อมูลชนิดบูลีน (Boolean) จะใช้ในการเปรียบเทียบทางตรรกะ ซึ่งจะมีค่าได้เพียง 2 อย่างคือระหว่าง จริง (true) กับ เท็จ (false) ตัวแปร ตัวแปร (variable) ใช้ในการเก็บพักข้อมูลบางอย่างก่อนที่จะนาข้อมูลนั้นไปใช้งานอื่น ๆ ต่อไป ซึ่ง รายละเอียดที่น่าสนใจเกี่ยวกับตัวแปรมีดังนี้ ข้อกาหนดของตัวแปรใน PHP วิธีกาหนดตัวแปรใน PHP จะมีข้อกาหนดดังนี้คือ  ตัวแปรใน PHP ไม่จาเป็นต้องระบุชนิดของข้อมูล เนื่องจากตัวแปรแต่ละตัวสามารถเก็บข้อมูล ชนิดใดก็ได้  ตัวแปรใน PHP จะต้องขึ้นต้นด้วยสัญลักษณ์ $ เสมอ เช่น $name ,$value ,$x , $a  ตามข้อกาหนดดั้งเดิมนั้น ตัวแปรต้อง ขึ้นต้น ด้วยตัวอักษร a-z หรือ A-Z หรือเครื่องหมาย _ เท่านั้น ห้ามขึ้นต้นด้วยตัวเลข 0-9 หรืออักขระอื่น ๆ นอกเหนือจากนี้ ตัวอย่างการกาหนดตัว แปรที่ถูกต้องเช่น $name, $price , $value1 , $_name007
  • 38. 34บทที่ 3 เริ่มต้นกับ PHP  การเขียนตัวแปรด้วยลักษณะ ตัวพิมพ์ที่แตกต่างกัน ถือว่าเป็นคนละตัว เช่น $abc , $ABC จะ ถือว่าไม่ใช่ตัวแปรตัวเดียวกัน  ในปัจจุบันเราสามารถนาอักขระภาษาอื่น ๆ มาตั้งเป็นชื่อตัวแปรได้ ซึ่งจากการทดสอบของ ผู้เขียนพบว่า เราสามารถตั้งชื่อตัวแปรเป็นภาษาไทยก็ได้ เช่น $ชื่อ , $จานวน , $ผลลัพธ์ เป็น ต้น แต่โดทั่วไปแล้ว เรานิยมตั้งชื่อตัวแปรเป็นภาษาอังกฤษมากกว่า พื้นฐานการกาหนดค่าให้ตัวแปร ก่อนที่เราจะนาตัวแปรไปใช้งานได้ ตัวแปรต้องเก็บข้อมูลบางอย่างเอาไว้ ดังนั้นนอกจากการกาหนดตัว แปรขึ้นมาแล้ว เรายังต้องกาหนดค่าอย่างใดอย่างหนึ่งให้กับมันด้วย ซึ่งความจริงแล้วการกาหนดค่าให้กับตัว แปรสามารถทาได้หลายลักษณะ แต่ในขั้นตอนนี้จะแนะนาหลักการพื้นฐานไปก่อน โดยจะขึ้นกับชนิดของข้อมูล ดังนี้ สาหรับข้อมูลชนิดตัวเลข ก็เขียนเป็นตัวเลขลงไปตรง ๆ ได้เลย เช่น สาหรับข้อมูลชนิดสตริง ก็กาหนดตามรูปแบบการเขียนสตริง นั่นคือต้องเขียนไว้ในเครื่องหมาย “…” หรือไม่ก็ ‘….’ เท่านั้นเช่น ส่วนในกรณีทีเป็นตัวแปรแบบบูลีนก็กาหนดค่าเป็น true หรือ false อย่างใดอย่างหนึ่งเช่น โอเปอเรเตอร์ โอเปอเรเตอร์ (Operator) เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้กาหนดรูปแบบการประมวลผลข้อมูล ซึ่งแบ่งได้หลาย ประเภท เช่น โอเปอเรเตอร์เกี่ยวกับการคานวณทางคณิตศาสตร์ การเปรียบเทียบ และการประมวลผลทาง ตรรกะ (Logic) โดยมีรายละเอียดังนี้ โอเปอเรเตอร์สาหรับการคานวณ โอเปอเรเตอร์ที่ใช้คานวณทางคณิตศาสตร์ ประกอบไปด้วย $x = 123; $y = 20.32; $z = -300; $name = “คนไทย ใจดี”; $country = “Thailand”; $telphone = „0123456789‟; $sendfile = true; $setvalue = false;
  • 39. 35บทที่ 3 เริ่มต้นกับ PHP + บวก / หาร - ลบ % เรียกว่า Modulus เป็นการหารแบบเอาเฉพาะ เศษ เช่น 13%5 = 3 หรือ 13%2 = 1 * คูณ โอเปอเรเตอร์สาหรับเชื่อมต่อสตริง (String Concatenation) สาหรับใน PHP จะใช้เครื่องหมายจุด (.) ในการเชื่อมต่อสตริง เช่น โอเปอเรเตอร์สาหรับการกาหนดค่า (Assignment) เป็นโอเปอเรเตอร์ในการกาหนดค่าให้กับตัวแปรที่อยู่ทางด้านซ้ายของโอเปอเรเตอร์ ด้วยค่าที่อยู่ทาง ด้านขวาประกอบด้วยโอเปอเรเตอร์ ดังนี้ โอเปอเรเตอร์สาหรับเพิ่ม และลดค่า (Increment & Decrement) ประกอบด้วย Operator ดังต่อไปนี้ $fname = “Samit”; $lanme = “Koyom”; Echo “My name is”.$fname.” “.$lname; //แสดงผลจะได้ My name is Samit Koyom
  • 40. 36บทที่ 3 เริ่มต้นกับ PHP โอเปอเรเตอร์สาหรับการเปรียบเทียบ (Comparison) ใช้ในการเปรียบเทียบหาค่าความจริงระหว่าง 2 นิพจน์ โดยผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นได้เพียง true หรือ false อย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น โดยโอเปอเรเตอร์ในกลุ่มนี้มีดังนี้ < น้อยกว่า == เท่ากัน <= น้อยกว่าหรือเท่ากับ === เท่ากันทั้งหมดทั้งค่าและชนิด ของข้อมูล > มากกว่า != ไม่เท่ากับ >= มากกว่าหรือเท่ากับ ตัวอย่างลักษณะการเปรียบเทียบ เช่น โอเปอเรเตอร์สาหรับการเปรียบเทียบทางตรรกะ การเปรียบเทียบทางตรรกะ (Logical) เป็นการเปรียบเทียบเพื่อหาค่าความจริงระหว่าง 2 นิพจน์ เช่น หากนิพจน์แรกเป็นจริง และนิพจน์ที่สองเป็นเท็จ แล้วผลลัพธ์จะออกมาอย่างไร เป็นต้น ซึ่งโอเปอเรเตอร์เหล่านี้ มีดังนี้ == (เท่ากับ) เช่น 5 == 5 (เป็นจริง) != (ไม่เท่ากับ) เช่น 3 !=2 (เป็นจริง) > (มากกว่า) เช่น 3 > 5 (เป็นเท็จ) >= (มากกว่าเท่ากับ) เช่น 5 >= 3 (เป็นจริง) < (น้อยกว่า) เช่น 2 < 3 (เป็นจริง) <= (น้อยกว่าเท่ากับ) เช่น 2 <= 3 (เป็นจริง)
  • 41. 37บทที่ 3 เริ่มต้นกับ PHP โอเปอเรเตอร์ การเปรียบเทียบ ผลลัพธ์ ! หรือ not !(true) false !(false) true && หรือ and true && true True true && false False false && false False || หรือ or true || true True true || false True false || fasle false ^ หรือ xor True ^ true False True ^ false True False ^ false false ตัวอย่างลักษณะการเปรียบเทียบ เช่น การตรวจสอบและยกเลิกตัวแปร การเขียนโปรแกรมในระดับสูงขึ้นไป ในบางแอพลิเคชั่นอาจต้องมีการตรวจสอบตัวแปรก่อนว่าได้มีการสร้างไว้ แล้วหรือยัง รวมทั้งอาจต้องตรวจสอบว่าตัวแปรมีค่าอยู่หรือไม่อีกด้วย นอกจากนั้นบางครั้งเรายังต้องมีการยกเลิก เพื่อทาลายค่าตัวแปรออกจากระบบ ฟังก์ชันตรวจสอบว่ามีตัวแปรอยู่หรือไม่ ฟังก์ชันสาหรับการตรวจสอบว่ามีการสร้างตัวแปรอยู่ในระบบแล้วหรือยัง จะใช้ฟังก์ชันที่ชื่อว่า isset() ดังตัวอย่างต่อไปนี้ ถ้ายังไม่มีตัวแปรนั้นหรือตัวแปรนั้นมีค่าเป็น null จะคืนค่ากลับมาเป็น fasle ตัวอย่างการใช้งานฟังก์ชัน isset() $a = !(1 == 2); // true $b = (1 != 2); && (1 > 0); //true $c = (1 == 2) && (1 > 0); //false $d = (1 == 2) || ( 1 > 0); //true isset(ชื่อตัวแปร)
  • 42. 38บทที่ 3 เริ่มต้นกับ PHP ฟังก์ชันตรวจสอบว่าตัวแปรเป็นค่าว่างหรือไม่ ฟังก์ชันนี้จะทาหน้าที่เข้าไปตรวจสอบตัวแปรนั้น ๆ ว่ามีค่าหรือเป็นค่าว่างหรือไม่ หากตรวจพบว่าตัว แปรนั้น ๆ เป็นค่าว่างจะคืนผลลัพธ์กลับมาเป็น true โดยใช้ฟังก์ชันที่ชื่อว่า empty() โดยมีข้อกาหนดเพิ่มเติมว่า ถ้า  ตัวแปรมีค่าเป็น null จะคืนค่ากลับเป็น true  ตัวแปรมีค่าเป็นสตริงว่าง หรือ “” (ไม่ใช่ช่องว่าง) จะคืนค่ากลับเป็น true  ตัวแปรมีค่าเป็น 0 หรือ “0” จะคืนค่ากลับเป็น true ตัวอย่าง การยกเลิกตัวแปร จะใช้ฟังก์ชันที่ชื่อว่า unset() ดังรูปแบบนี้ โดยการยกเลิกตัวแปรนั้นสามารถยกเลิกได้ครั้งละหลาย ๆ ตัวพร้อมกัน โดยใส่เข้าไปในฟังก์ชัน unset() ดัง ฟอร์มด้านบนนี้ $x = 123; $y = null; $z = “”; isset($x) ได้ค่าเป็น true isset($y) ได้ค่าเป็น false isset($z) ได้ค่าเป็น true isset($t) ได้ค่าเป็น false $x = “”; $y = 0; $z = null; empty($x) ได้ค่าเป็น true empty($y) ได้ค่าเป็น true empty($z) ได้ค่าเป็น true empty(ชื่อตัวแปร) unset(ตัวแปร1,ตัวแปร2,ตัวแปร3,….)
  • 43. 39บทที่ 3 เริ่มต้นกับ PHP ตัวอย่างการใช้งานฟังก์ชัน unset() Exercise 2 : การฝึกใช้ตัวแปรและเปอเรเตอร์ในการคานวณเลขพื้นฐาน ex02.php 1. เปิด Dreamweaver ขึ้นมาแล้วสร้างไฟล์ใหม่ เลือกเป็น PHP ไฟล์ 2. จากนั้นในด้านโค๊ด ทดสอบพิมพ์โค๊ดด้านล่างนี้ลงไปในส่วนบนสุดของหน้าจอ .... สนในเอกสารอีบุ๊คเล่มนี้ฉบับเต็ม+พร้อมตัวอย่างโค๊ดทั้งหมด (ราคา 129 บาท) ติดต่อ อาจารย์สามิตร โกยม อีเมล์ samitkoyom@gmail.com โทร.089-594-0006 และ facebook.com/AjarnSamit $a = 123; $b = “Thailand”; $c = 300; unset($a,$b,$c) <?php #เก็บข้อมูลชื่อโปรแกรมและผู้พัฒนาลงตัวแปร $title = "โปรแกรมคานวนส่วนลด"; $author = "ผู้พัฒนา Samit Koyom"; // กาหนดราคาขาย $saleprice = 200; // กาหนดส่วนลด (เปอร์เซ็นต์) $percent = 10; // คานวณราคาหลังหักส่วนลดแล้ว เก็บลงตัวแปร $disprice $disprice = $saleprice - (($saleprice*$percent)/100); // แสดงข้อมูลผู้พัฒนา echo $title." ".$author."<hr>"; // แสดงราคาหลังหักส่วนลดออกมา echo "สินค้าราคาปกติ ".$saleprice." บาท มีส่วนลด ".$percent."% <br>ราคา หลังหักส่วนลดแล้วเหลือ ".$disprice. "บาท"; ?>
  • 44. 86ข้อมูลอ้างอิง แหล่งข้อมูลอ้างอิงและลิงค์ดาวน์โหลดที่ใช้ในเอกสารฉบับนี้ 1. ดาวน์โหลดตัวแปรภาษา php และแหล่งเรียนรู้ได้ที่ http://www.php.net/ 2. ดาวน์โหลดฐานข้อมูล MySQL ได้ที่ http://dev.mysql.com/downloads/ 3. ดาวน์โหลด AppServ ได้ที่ http://www.appservnetwork.com/ 4. ดาวน์โหลด Apache http://httpd.apache.org/download.cgi 5. ดาวน์โหลดและแหล่งเรียนรู้ phpmyadmin http://www.phpmyadmin.net/home_page/downloads.php 6. แหล่งเรียนรู้การพัฒนาเว็บไซต์สาหรับผู้เริ่มต้น http://www.w3schools.com 7. ข้อมูลประกอบบางส่วนจากหนังสือ พัฒนาเว็บแอปพลิเคชั่นด้วย PHP ร่วมกับ MySQL และ Dreamweaver http://www.se-ed.com/eshop/Products/Detail.aspx?No=9786160802265 8. ข้อมูลประกอบบางส่วนจากหนังสือ basic & workshop PHP+AJAX และ jQuery http://www.infopress.co.th/product_detail.php?pr_id=0000000821 9. ข้อมูลประกอบบางส่วนเรื่อง Web Based Application จาก สไลด์ประกอบการบรรยายในหัวข้อ "การ พัฒนา Web Application ดวยเทคโนโลยี http://www.slideshare.net/rachabodin/web-based-application-development-with-open- source ข้อมูลอ้างอิง