SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
บทที่ 1 :
หน่วยวัดและปริมาณทางฟิ สิกส์
อ.ณภัทรษกร สารพัฒน์
สาขาวิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ลพบุรี
บทนา : ฟิ สิกส์คืออะไร
PHYSICS = φυσική
(physikos)
= “natural”
= ของธรรมชาติ
ฟิ สิกส์เป็ นวิทยาศาสตร ์ของโลกแห่ง
ธรรมชาติ
แบบจาลอง ทฤษฎี และ กฎ
อิเล็กตรอน(Electron)
นิวตรอน(Neutron)
นิวเคลียส
(Nucleas)โปรตรอน(Proton)
อะตอม
(Atom)
แบบจาลอง ทฤษฎี และ กฎ
แบบจาลอง ทฤษฎี และ กฎ
• การมีแบบจาลอง ทฤษฎี และ กฎ ก็เพื่อนาไปใช้อธิบายการทดลอง
(Experiment) หรือในทานองกลับกันผลการทดลองก็มีไว้เพื่อพิสูจน์
แบบจาลอง ทฤษฎี หรือ กฎ ที่ตั้งขึ้นมา
โครงสร้างของวิชาฟิ สิกส์ช่วงต้นช่วงปลาย
หน่วยวัดในทางฟิ สิกส์
ระบบหน่วย เวลา มวล ความยาว ความเร็ว
SI วินาที กิโลกรัม เมตร เมตร/วินาที
CGS วินาที กรัม เซนติเมตร เซนติเมตร/วินาที
อังกฤษ วินาที ปอนด์มวล ฟุต ฟุต/วินาที
หน่วยวัดในทางฟิ สิกส์
หน่วยวัดในทางฟิ สิกส์
4. วัดกระแสเป็ นแอมแปร ์(A)
5. วัดอุณหภูมิเป็ นองศาเคลวิน (K)
ปริมาณฐาน สัญลักษ
ณ์
หน่วย
ฐาน
สัญลักษ
ณ์
ความยาว l, s เมตร m
มวล m กิโลกรัม kg
เวลา t วินาที s
อุณหภูมิทางเทอร์โมไดนามิกส์ T เคลวิน K
กระแสไฟฟ้า I แอมแปร์ A
ความเข้มของการส่องสว่าง I แคนเดลา cd
ปริมาณสสาร n โมล mol
หน่วยวัดในทางฟิ สิกส์
ความเร็ว มีหน่วย m/s
โมเมนตัม มีหน่วย kg.m/s
แรง มีหน่วย kg. m/s2 หรือ นิวตัน, N
หน่วยวัดในทางฟิ สิกส์
หน่วยอนุพันธ ์เอสไอที่มีชื่อเฉพาะ
ชื่อหน่วย สัญลักษณ์ ปริมาณ การแสดงออกในรูปหน่วยฐาน
เฮิรตซ์ Hz ความถี่ s−1
เรเดียน rad มุม m·m−1
สเตอเรเดียน sr มุมตัน m2·m−2
นิวตัน N แรง kg m s −2
จูล J พลังงาน N m = kg m2 s−2
วัตต์ W กาลัง J/s = kg m2 s−3
ปาสกาล Pa ความดัน N/m2 = kg m −1 s−2
ลูเมน lm ฟลักซ์ส่องสว่าง cd sr = cd
ลักซ์ lx ความสว่าง cd m−2
คูลอมบ์ C ประจุไฟฟ้า A s
โวลต์ V ความต่างศักย์ J/C = kg m2 A−1 s−3
โอห์ม Ω ความต้านทานไฟฟ้า V/A = kg m2 A−2 s−3
หน่วยอนุพันธ ์เอสไอที่มีชื่อเฉพาะ
ชื่อหน่วย สัญลักษณ์ ปริมาณ การแสดงออกในรูปหน่วยฐาน
ฟารัด F ความจุไฟฟ้า Ω−1 s = A2 s4 kg−1 m−2
เวเบอร์ Wb ฟลักซ์แม่เหล็ก kg m2 s−2 A−1
เทสลา T ความหนาแน่นฟลักซ์แม่เหล็ก Wb/m2 = kg s−2 A−1
เฮนรี H ความเหนี่ยวนาไฟฟ้า Ω s = kg m2 A−2 s−2
ซีเมนส์ S ความนา Ω−1 = kg−1 m−2 A2 s3
เบกเคอเรล Bq กันมันตภาพของรังสี s−1
เกรย์ Gy ขนาดกาหนดของการดูดกลืนรังสี J/kg = m2 s−2
ซีเวิร์ต Sv ขนาดกาหนดของกัมมันตภาพรังสี J/kg = m2 s−2
องศาเซลเซียส °C อุณหภูมิอุณหพลวัต K − 273.15
คาทัล kat อานาจการเร่งปฏิกิริยา mol/s = s−1·mol
คาอุปสรรค ความหมาย สัญลักษณ์
exa- 1018 E
peta- 1015 P
tera- 1012 T
giga- 109 G
mega- 106 M
kilo- 103 k
hecto- 102 H
deka- 101 Da
คาอุปสรรค ความหมาย สัญลักษณ์
deci- 10-1 d
centi- 10-2 c
milli- 10-3 m
micro- 10-6 
nano- 10-9 n
pico- 10-12 p
femto- 10-15 f
atto- 10-18 a
ปริมาณต่างๆ ในวิชาฟิ สิกส์แบ่งเป็ น 2
ประเภท คือ
𝑭 ขนาด 30
N
𝐩
𝐩
𝐀 𝐁
- ถ้า 𝐀 = −𝐁 แสดงว่าเวกเตอร์ทั้งสองมีขนาดเท่ากันและทิศทางเดียวกัน
𝐩
−𝐩
การบวกเวกเตอร์ทาได้ 2 วิธี คือ
• การบวกเวกเตอร์โดย วิธีเขียน
รูป
• การบวกเวกเตอร์โดย วิธีคานวณ
• ทาได้โดยนาเวกเตอร์ที่จะบวกมาต่อกันให้หัวลูกศร
เรียงตามกัน โดยผลรวมหรือ เวกเตอร์ลัพธ์ คือ
เวกเตอร์ที่ลากจากหางลูกศรของเวกเตอร์แรกไปยัง
หัวลูกศรของเวกเตอร์สุดท้าย
4
หน่วย
3
หน่วย
การบวกเวกเตอร ์โดยวิธีเขียนรูป
+
𝐀
𝐁
𝐑 = 𝐀 + 𝐁
𝐀
𝐁
𝟑𝟕°
𝐑
การบวกเวกเตอร ์โดยวิธีเขียนรูป
+ + +
จากการวัด
เวกเตอร ์ลัพธ ์มีขนาด 6
หน่วย
𝐑 = 𝐀 + 𝐁 + 𝐂 + 𝐃
𝐑
𝐀 𝐁 𝐂 𝐃
คุณสมบัติการบวกของเวกเตอร ์
+
ถ้ายก R ในรูปมาซ้อนจะได้
𝐀 𝐁
𝐀
𝐁
𝐀
𝐁
𝐀
𝐁
𝐀
𝐁 𝐑
𝐀 + 𝐁 = 𝑩 + 𝐀 = 𝑹
คุณสมบัติการบวกของเวกเตอร ์
+ +
𝐀 𝐁
𝐂
𝐀 + 𝐁
𝐑
𝐂
𝐀
𝐁 𝐁 + 𝐂
𝐑
𝐂
𝐀
𝐁
𝐑 = 𝐀 + 𝐁 + 𝐂 𝐑 = 𝐀 + 𝐁 + 𝐂
𝐀 + 𝐁 + 𝐂 = 𝑨 + 𝐁 + 𝐂 = 𝑹
ถ้า P เป็นเวกเตอร์ที่มีขนาด P
Q เป็นเวกเตอร์ที่มีขนาด Q
𝜃 เป็นมุมระหว่าง P และ Q
𝐏
𝐐
𝜽
𝐑
𝐏
𝐐
𝜽 𝜸 𝜶
𝜷
การบวกเวกเตอร ์โดยวิธีคานวณ
การบวกเวกเตอร ์โดยวิธีคานวณ
𝑹 𝟐 = 𝑷 𝟐 + 𝑸 𝟐 − 𝟐𝑷𝑸 𝒄𝒐𝒔 𝜶
𝐏
𝐬𝐢𝐧 𝛃
=
𝐐
𝐬𝐢𝐧 𝛄
=
𝐑
𝐬𝐢𝐧 𝛂
การบวกเวกเตอร ์โดยวิธีคานวณ
𝑹 𝟐
= 𝑷 𝟐
+ 𝑸 𝟐
+ 𝟐𝑷𝑸 𝐜𝐨𝐬 𝟗𝟎°
𝟎𝐏
𝐐
𝜽
y
x
𝐴 𝑥 = 𝐴 cos 𝜃
𝐴𝑦=𝐴sin𝜃
𝜃
องค์ประกอบเวกเตอร ์ในระบบพิกัดฉาก
เวกเตอร์ A ในแนวแกน y
ขนาดเวกเตอร์ A
เวกเตอร ์หนึ่งหน่วย ( Unit Vector )
𝑎 𝐴
• เวกเตอร์หนึ่งหน่วย คือ เวกเตอร์ที่มีขนาดหนึ่งหน่วย และมีทิศเดียวกับ
เวกเตอร์ที่สนใจ
เวกเตอร์ G มีความยาว 10 หน่วย วางตัวในทิศทามุม 30o กับแกน x จงหา
องค์ประกอบของเวกเตอร์นี้ในแนวแกน x และ y
องค์ประกอบของแรงๆ หนึ่งในแนวแกน x มีค่าเท่ากับ 50 N องค์ประกอบของแรง
นี้ในแกน y มีค่าเท่ากับ 25 N จงหาขนาดของแรงลัพธ์เทียบกับแกน x (นั่นคือหา
มุมที่แรงลัพธ์กระทากับแกน x)
จงหาขนาดและทิศทางของเวกเตอร์ลัพธ์ของ A และ B ที่กาหนดให้ดังรูป
ด้วยวิธีคานวณ
4
หน่วย
𝐀
2
หน่วย
𝟏𝟐𝟎°𝐁
กาหนดให้ 𝑎 = 2 𝑖 − 6 𝑗, 𝑏 = 5 𝑖 + 3 𝑗 และ 𝑐 = 4 𝑖 + 2 𝑗 จงหา
ก) 𝑎 + 𝑏 + 𝑐
ข) 𝑎 − 𝑏 − 𝑐
ค) 2 𝑎 − 𝑏 + 3 𝑐

More Related Content

What's hot

สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรง
Taweesak Poochai
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
Wan Ngamwongwan
 
โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
Yok Sarinee
 
ปุ่ม Keyboard
 ปุ่ม Keyboard ปุ่ม Keyboard
ปุ่ม Keyboard
pavinee2515
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
jirupi
 
ขนาดแค่ไหนที่เรียกว่านาโน
ขนาดแค่ไหนที่เรียกว่านาโนขนาดแค่ไหนที่เรียกว่านาโน
ขนาดแค่ไหนที่เรียกว่านาโน
Ploysauy
 

What's hot (20)

การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverseการสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรง
 
ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
 
6 2-2-การออกแบบเครื่องมือ
6 2-2-การออกแบบเครื่องมือ6 2-2-การออกแบบเครื่องมือ
6 2-2-การออกแบบเครื่องมือ
 
ใบงานที่ 1พัฒนาการคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1พัฒนาการคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1พัฒนาการคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1พัฒนาการคอมพิวเตอร์
 
Physics atom
Physics atomPhysics atom
Physics atom
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
 
โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
 
Beginning with IROVER Robot (IPST WiFi + IKB+1)
Beginning with IROVER Robot (IPST WiFi + IKB+1)Beginning with IROVER Robot (IPST WiFi + IKB+1)
Beginning with IROVER Robot (IPST WiFi + IKB+1)
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
 
ปุ่ม Keyboard
 ปุ่ม Keyboard ปุ่ม Keyboard
ปุ่ม Keyboard
 
ระเบียบวาระการประชุม
ระเบียบวาระการประชุมระเบียบวาระการประชุม
ระเบียบวาระการประชุม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
 
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูปข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
 
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
ขนาดแค่ไหนที่เรียกว่านาโน
ขนาดแค่ไหนที่เรียกว่านาโนขนาดแค่ไหนที่เรียกว่านาโน
ขนาดแค่ไหนที่เรียกว่านาโน
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
 

Similar to บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]

ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
Montaya Pratum
 
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
Montaya Pratum
 
ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01
witthawat silad
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
kruannchem
 
คณิต PAT1 มีนาคม 2555
คณิต PAT1 มีนาคม 2555คณิต PAT1 มีนาคม 2555
คณิต PAT1 มีนาคม 2555
IRainy Cx'cx
 
Onet56
Onet56Onet56
Onet56
aui609
 
O-net คณิตศาสตร์ 56
O-net คณิตศาสตร์ 56O-net คณิตศาสตร์ 56
O-net คณิตศาสตร์ 56
gunnygreameyes
 

Similar to บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560] (20)

Lesson01
Lesson01Lesson01
Lesson01
 
Phy 1
Phy 1Phy 1
Phy 1
 
Phy 1
Phy 1Phy 1
Phy 1
 
Phy 1
Phy 1Phy 1
Phy 1
 
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
 
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
 
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
 
Pathaya
PathayaPathaya
Pathaya
 
ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
 
คณิต PAT1 มีนาคม 2555
คณิต PAT1 มีนาคม 2555คณิต PAT1 มีนาคม 2555
คณิต PAT1 มีนาคม 2555
 
Pat15503
Pat15503Pat15503
Pat15503
 
46 ตรีโกณมิติ ตอนที่3_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ1
46 ตรีโกณมิติ ตอนที่3_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ146 ตรีโกณมิติ ตอนที่3_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ1
46 ตรีโกณมิติ ตอนที่3_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ1
 
Add m2-1-chapter1
Add m2-1-chapter1Add m2-1-chapter1
Add m2-1-chapter1
 
Onet5602
Onet5602Onet5602
Onet5602
 
Onet56
Onet56Onet56
Onet56
 
Onet5602
Onet5602Onet5602
Onet5602
 
M onet56
M onet56M onet56
M onet56
 
mathOnet5602
mathOnet5602mathOnet5602
mathOnet5602
 
O-net คณิตศาสตร์ 56
O-net คณิตศาสตร์ 56O-net คณิตศาสตร์ 56
O-net คณิตศาสตร์ 56
 

More from Thepsatri Rajabhat University

More from Thepsatri Rajabhat University (20)

Timeline of atomic models
Timeline of atomic modelsTimeline of atomic models
Timeline of atomic models
 
CHAPTER 10 Molecules and Solids
CHAPTER 10 Molecules and SolidsCHAPTER 10 Molecules and Solids
CHAPTER 10 Molecules and Solids
 
Trm 7
Trm 7Trm 7
Trm 7
 
CHAPTER 6 Quantum Mechanics II
CHAPTER 6 Quantum Mechanics IICHAPTER 6 Quantum Mechanics II
CHAPTER 6 Quantum Mechanics II
 
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics I
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics ICHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics I
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics I
 
CHAPTER 4 Structure of the Atom
CHAPTER 4Structure of the AtomCHAPTER 4Structure of the Atom
CHAPTER 4 Structure of the Atom
 
CHAPTER 3 The Experimental Basis of Quantum Theory
CHAPTER 3The Experimental Basis of Quantum TheoryCHAPTER 3The Experimental Basis of Quantum Theory
CHAPTER 3 The Experimental Basis of Quantum Theory
 
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equationsกฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
 
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะ
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะบทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะ
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะ
 
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่
 
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันบทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงาน
 
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
 
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียงบทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
 
บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสาร
 
บทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัมบทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัม
 

บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]