SlideShare a Scribd company logo
1 of 62
บทที่ 4
งาน กาลัง และพลังงาน
อ.ณภัทรษกร สารพัฒน์
หัวข้อบรรยาย
• ความหมายของงานกาลังและพลังงาน
• งานของแรงคงตัวและแรงไม่คงตัว
• งานของแรงอนุรักษ์และแรงไม่อนุรักษ์
• พลังงานจลน์ พลังงานศักย์
• ทฤษฎีงานพลังงาน
• กฎการคงตัวของพลังงาน
งาน และ พลังงาน
งาน ( work )
งาน หรือ งานเชิงกล (Work : W) ในทางฟิสิกส์ คือ ปริมาณของ
พลังงานซึ่งถูกส่งมาจากแรงที่กระทาต่อวัตถุให้
เคลื่อนที่ไปได้ระยะทางขนาดหนึ่ง งานเป็นปริมาณสเกลาร์
เช่นเดียวกับพลังงาน มีหน่วยเอสไอเป็นจูล(J)
𝑊 = 𝐹 ∙ 𝑙
𝑙
𝐹
m
งาน ( work )
พิจารณาวัตถุมวล m ถูกแรง 𝐹 ซึ่งทามุมกับแนวระดับเป็นมุม q
กระทา แล้วเคลื่อนที่ได้การกระจัด l ดังรูป
โดย 𝐹 คงที่ทั้งขนาดและทิศทางตลอดการ
เคลื่อนที่
𝐹
qm
𝐹
qm
𝑙
นิยาม : งาน ( work ) ที่เกิดจากแรง 𝐹 ที่กระทาต่อวัตถุนี้คือ
งานมีหน่วยเป็น N.m หรือ J ( จูล ) และมีค่าเป็นได้ทั้ง ศูนย์ , บวก ,
ลบ สามารถแบ่งออกเป็นกรณีต่างๆได้ดังนี้
𝑊 = 𝐹 cos 𝜃 ∙ 𝑙
𝐹
qm
𝐹
qm
งาน ( work )
𝑙
1. งาน : กรณีที่เป็ น บวก
o จากนิยามของงาน คือ 𝑊 = 𝐹 cos 𝜃 ∙ 𝑙
o จะเห็นว่า 𝐹 ทามุมกับ 𝑙 เป็นมุม 0° เมื่อ cos 0° = 1
o ดังนั้น 𝑊 = 𝐹 cos 0° ∙ 𝑙 = 𝐹 ∙ 𝑙 มีค่าเป็น บวก
𝐹 𝐹m m
𝑙
Motion
2. งาน : กรณีที่เป็ น ลบ
o จากนิยามของงาน คือ 𝑊 = 𝐹 cos 𝜃 ∙ 𝑙
o จะเห็นว่า 𝐹 ทามุมกับ 𝑙 เป็นมุม 180° เมื่อ cos 180° = −1
o ดังนั้น 𝑊 = 𝐹 cos 180° ∙ 𝑙 = − 𝐹 ∙ 𝑙 มีค่าเป็น ลบ
𝐹 m 𝐹 m
𝑙
Motion
3. งาน : กรณีที่เป็ น ศูนย์
o จากนิยามของงาน คือ 𝑊 = 𝐹 cos 𝜃 ∙ 𝑙
o จะเห็นว่า 𝐹 ทามุมกับ 𝑙 เป็นมุม 90° เมื่อ cos 90° = 0
o ดังนั้น 𝑊 = 𝐹 cos 90° ∙ 𝑙 = 0 มีค่าเป็น ศูนย์
𝐹
m m
𝐹
𝑙
Motion
ถ้ามีแรงหลายแรงกระทาต่อวัตถุ สามารถหางานได้จากการ
พิจารณางานของแรงแต่ละแรง ดังรูป
1. งานของแรง 𝐹1 คือ 𝑊 = 𝐹1 cos 𝜃1 ∙ 𝑙
2. งานของแรง 𝐹2 คือ 𝑊 = 𝐹2 cos 𝜃2 ∙ 𝑙
𝑙
m
𝐹1
𝐹2
𝐹3
𝐹4
𝐹5
m
𝐹1
𝐹2
𝐹3
𝐹4
𝐹5
4. งาน : กรณีที่แรงหลายแรงกระทากับวัตถุ
งานรวม = ผลรวมของงานเนื่องจากแรงทุกแรงที่กระทาต่อวัตถุ
3. งานของแรง 𝐹3 คือ 𝑊 = 𝐹3 cos 𝜃3 ∙ 𝑙
4. งานของแรง 𝐹4 คือ 𝑊 = 𝐹4 cos 𝜃4 ∙ 𝑙
5. งานของแรง 𝐹5 คือ 𝑊 = 𝐹5 cos 𝜃5 ∙ 𝑙
 เมื่อ 𝜃 เป็นมุมที่ทิศทางของแรงทามุมกับแนวการ
เคลื่อนที่ 𝑙 ตามลาดับ
𝑊 = 𝑊 𝐹1
+ 𝑊 𝐹2
+ 𝑊 𝐹3
+ 𝑊 𝐹4
+ 𝑊 𝐹5
ตัวอย่าง
จากรูปวัตถุเคลื่อนที่ได้การกระจัด 𝑠 ถ้าพื้นมีสัมประสิทธ์ความเสียดทาน 𝜇 𝑘
จงหางานของแรงแต่ละแรงที่กระทาต่อวัตถุ และ งานรวม
𝐹
qm
𝐹
qm
𝑠
วัตถุมวล 10 กิโลกรัม ไถลไปบนพื้นที่มีสัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลน์
ระหว่างพื้นกับผิว วัตถุเท่ากับ 0.2 เป็นระยะทาง 5 เมตร งานของแรง
เสียดทานมีค่าเท่ากับกี่จูล
ตัวอย่าง
10 kg
5 m
10 kg
mk = 0.2
ชายคนหนึ่งแบกข้าวสารมวล 100 กิโลกรัม ไว้บนบ่าเดินไปตามพื้นราบ
เป็น ระยะทาง 10 เมตร แล้วจึงขึ้นบันไดด้วยความเร็วคงที่ไปชั้นบนซึ่งสูง
จากพื้นล่าง 3 เมตร จงหางานที่ชายผู้นั้นทา
ตัวอย่าง
m=10 kg
3เมตร
10 เมตร
แรง F กระทากับวัตถุแสดงโดยกราฟ ดังรูป งานที่เกิดขึ้นในระยะ 10
เมตร เป็นกี่จูล
ตัวอย่าง
80
40
5 10
s (เมตร)
F (นิวตัน)
มวล 4 กิโลกรัมเคลื่อนที่ขึ้นระนาบเอียง 30 องศากับแนวระดับ โดยมี
แรง 100 นิวตัน ดึงขึ้นขนานกับพื้นเอียง และมีแรงเสียดทาน 10 นิวตัน
ต้านการเคลื่อนที่ ปรากฏว่ามวลเคลื่อนที่ได้ระยะ 20 เมตร จงหางานของ
แต่ละแรง และ งานรวม
ตัวอย่าง
30o
วัตถุมวล 4 กิโลกรัม แขวนอยู่ในแนวดิ่งด้วยเชือกเส้นหนึ่งเหนือระดับ
พื้น 20 เมตร ถ้า ดึงเชือกให้มวลเคลื่อนขึ้นเป็นระยะทาง 10 เมตร
ด้วยอัตราเร่ง 2.5 เมตรต่อวินาที2 จงหา งานที่ทาโดยแรงตึงเชือก (
ให้ใช้ค่า g = 10 เมตรต่อวินาที2 )
ตัวอย่าง
4 kg
20เมตร
4 kg
10เมตร
a = 2.5 m/s2
g = 10 m/s2
T
พลังงานคืออะไร
พลังงาน (Energy) หมายถึง
ความสามารถในการทางานได้ หรือ
อานาจที่แฝงอยู่ในวัตถุซึ่งสามารถ
เปลี่ยนรูปได้ หรือสามารถกล่าวได้
ว่าวัตถุใดที่มีพลังงาน วัตถุนั้นจะ
สามารถทางานได้ พลังงานของวัตถุ
ต่าง ๆ อาจสะสมอยู่ในหลาย
รูปแบบ เช่น พลังงานกล พลังงาน
ศักย์ พลังงานจลน์ ความร้อน แสง
ไฟฟ้ า เสียง เป็นต้น
พลังงาน (Energy)
สปริงก็มีพลังงานสะสม นาไปใช้ยิงกระสุนได้
น้าในเขื่อนมีพลังงานสะสมอยู่ เราสามารถเอามาผลิตกระแสไฟฟ้ าได้
งาน และ พลังงานสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด
*** งาน คือ การถ่ายเทพลังงาน ***
พลังงานมีกี่ประเภท อะไรบ้าง ?
พลังงาน (Energy)
ถ้ามีงานกระทาต่อระบบ
ถ้าระบบทางานเอง
มีการถ่ายเทพลังงาน
เข้าสู่ระบบ
มีการถ่ายเทพลังงาน
ออกจากระบบ
พลังงานระบบเพิ่มขึน
พลังงานระบบลดลง
พลังงาน คือ ความสามารถในการทางาน มีหน่วยเป็ น จูล (J)
o พลังงานมีอยู่หลายรูป เช่น พลังงานกล พลังงานความร้อน พลังงานไฟฟ้ า
พลังงานเคมี
o พลังงานไม่มีวันสูญหาย เพียงแต่เปลี่ยนรูปหนึ่งไปเป็นอีกรูปหนึ่งได้ เช่น
พลังงานไฟฟ้ า เปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อน
พลังงาน (Energy)
พลังงาน แบ่งประเภทที่ปรากฏในธรรมชาติได้ 2 แบบ คือ
𝐸 𝑘 = 1
2
𝑚𝑣2
1. พลังงานจลน์
𝐸 𝑝 = 𝑚𝑔ℎ
2. พลังงานศักย์
𝑣
ℎ𝑔
พลังงาน (Energy)
พลังงานศักย์ (Potential Energy)
พลังงานศักย์ (Potential Energy; P.E.) คือ เป็ นพลังงานที่
ขึนอยู่กับ ตาแหน่ง หรือ ลักษณะรูปร่าง ของวัตถุ
o พลังงานศักย์โน้มถ่วงขึนอยู่กับ
ความสูงจากระดับอ้างอิง (h)
𝐸 𝑃 = 𝑚𝑔ℎ
o พลังงานศักย์สปริงขึนอยู่กับระยะ
ยื ดหรื อหดของสปริ ง จา ก
ตาแหน่งสมดุลของสปริง (x)
𝐸 𝐸 = 1
2
𝑘𝑥2
ℎ
𝑥
ระดับอ้างอิง
พลังงานศักย์โน้มถ่วง
( gravitational potential energy )
พิจารณาอนุภาคมวล 𝑚 เคลื่อนที่ภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลก
𝑥
𝑦
𝑧 𝑎
𝑏𝑟2
𝑚
𝐹
0
𝑟1
จะเห็นว่า 𝐹 = −mg 𝑘
ให้งานเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลกจาก 1 → 2 = 𝑊12
𝑊12 = 𝑟1
𝑟2
𝐹 ∙ 𝑑 𝑟
= 𝑟1
𝑟2
−mg 𝑘 ∙ 𝑑𝑥 𝑖 + 𝑑𝑦 𝑗 + 𝑑𝑧 𝑘
= 𝑧1
𝑧2
−mg 𝑑𝑧
= −mg 𝑧1
𝑧2
𝑑𝑧
= −mg 𝑧2 − 𝑧1
พลังงานศักย์โน้มถ่วง
( gravitational potential energy )
จะเห็นว่า งานเนื่องจาก 𝑧 จะขึ้นกับตาแหน่งของจุดตั้งต้น (1) และ
จุดสุดท้าย (2) เท่านั้น โดยไม่ขึ้นกับเส้นทางในการเคลื่อนที่ของ
วัตถุ เราเรียกแรงที่มีสมบัติในลักษณะนี้ว่า 𝐦𝒈 แรงอนุรักษ์ (
Conservative force )
o เรียก 𝐸 𝑝 ว่า พลังงานศักย์โน้มถ่วง ( Gravitational
Potential Energy )
นิยาม :
𝐸 𝑝 = m 𝑔 ∙ 𝑧
พลังงานศักย์โน้มถ่วง
ดังนั้น
แต่โดยทั่วไปมักจะวัดความสูงของวัตถุเทียบกับระดับอ้างอิงใดๆ
ระดับอ้างอิงใดๆ
𝒛
𝒛 𝟏
𝒉 𝟏
𝒛 𝟐
𝒉 𝟐
𝟏
𝟐
𝑊12 = − 𝐸 𝑝2 − 𝐸 𝑝1 = −∆𝐸 𝑝
พบว่า 𝒛 𝟐 − 𝒛 𝟏 = 𝒉 𝟐 − 𝒉 𝟏
ดังนัน 𝑾 𝟏𝟐 = −𝒎𝒈 𝒛 𝟐 − 𝒛 𝟏 = −𝒎𝒈 𝒉 𝟐 − 𝒉 𝟏
𝟎
พลังงานศักย์โน้มถ่วง
จะได้ว่า 𝐸 𝑝 ว่า พลังงานศักย์โน้มถ่วง
โดยที่ ℎ คือ ตาแหน่งของวัตถุวัดจากระดับอ้างอิง
ดังนั้น ค่าของพลังงานศักย์จึงมีค่าไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับระดับอ้างอิง
นิยาม : พลังงานศักย์โน้มถ่วง
𝐸 𝑝 = m𝑔ℎ
1. สรุป : พลังงานศักย์โน้มถ่วง
เมื่อสปริงยืดหรือหดเป็นระยะ 𝑥 จากตาแหน่งสมดุล จะทาเกิดแรงคืนตัวในทิศ
ตรงข้ามกับการกระจัด
𝐹 = −𝑘𝑥
m
ตาแหน่งสมดุล
−𝑘𝑥
𝑚
𝑥
𝑥
−𝑘𝑥
(𝑎)
(𝑏)
(𝑐)
o พิจารณาสปริงที่มีค่าคงที่
สปริงเท่ากับ 𝑘 และมีมวล
𝑚 ติดอยู่ที่ปลาย ดังรูป
พลังงานศักย์ยืดหยุ่น
( elastic potential energy )
เมื่อสปริงเปลี่ยนระยะยืดหรือหดจากตาแหน่ง 𝑥1 จากจุด
สมดุลเป็นตาแหน่ง 𝑥2 หางานของแรงคืนตัวได้จาก
𝑊12 = 𝑟1
𝑟2
𝐹 ∙ 𝑑 𝑟
= 𝑟1
𝑟2
−kx 𝑖 ∙ 𝑑𝑥 𝑖 + 𝑑𝑦 𝑗 + 𝑑𝑧 𝑘
= 𝑥1
𝑥2
−kx 𝑑𝑥
= −k 𝑥1
𝑥2
𝑥𝑑𝑥
= −k 1
2
𝑥2
2
− 1
2
𝑥1
2
= 1
2
𝑘𝑥1
2
− 1
2
𝑘𝑥2
2
พลังงานศักย์ยืดหยุ่น
โดยที่ 𝑥 เป็นระยะยืดหรือหดของสปริงจากตาแหน่งสมดุล
นิยาม : พลังงานศักย์ยืดหยุ่น
𝐸 𝑝𝑠 = 1
2
𝑘𝑥2
2. สรุป :พลังงานศักย์ยืดหยุ่น
เรียก 𝐸 𝑝 ว่า พลังงานศักย์ยืดหยุ่น ( elastic potential
energy )
𝑊12 = − 𝐸 𝑝𝑠2 − 𝐸 𝑝𝑠1 = −∆𝐸 𝑝𝑠
พลังงานศักย์ (Potential Energy)
พลังงานศักย์เนื่องจากแรงโน้มถ่วงขึนอยู่กับความสูงจากระดับอ้างอิง (h)
ระดับอ้างอิง
𝐸 𝑃 > 0
𝐸 𝑃 < 0
𝐸 𝑃 = 0
มวล A ขนาด 10 กิโลกรัม อยู่สูงจากพื้นโลก 1 เมตร กับ มวล B ขนาด
5 กิโลกรัมอยู่สูงจากพื้นโลก 1.5 เมตร อัตราส่วนของพลังงานศักย์ของ
A ต่อ B เป็นเท่า ไร
ตัวอย่าง
10 kg
1เมตร
5 kg
1.5เมตร
สปริงตัวหนึ่งมีความยาวปกติ 1 เมตร และมีค่า นิจสปริง 100 นิวตันต่อ
เมตร ต่อมาถูกแรงกระทา แล้วทาให้ยืดออกและมีความยาวเปลี่ยนเป็น
1.2 เมตร จงหาพลังงานศักย์ยืดหยุ่นขณะที่ถูกแรงนี้กระทามีค่า กี่จูล
ตัวอย่าง
1 เมตร
1.2 เมตร
k = 100 นิวตันต่อ
พลังงานจลน์ (Kinetic Energy)
o พลังงานจลน์ คือ พลังงานที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของวัตถุนั้น มีหน่วย
เป็น จูล (J)
o พลังงานจลน์ของวัตถุมวล m อัตราเร็ว v คือ 𝐸 𝑘 = 1
2
𝑚𝑣2
𝑑
𝐸 𝑘𝑓 = 1
2
𝑚𝑣2
𝐸 𝑘𝑖 = 1
2
𝑚𝑣0
2
∆𝐸 𝑘= 1
2
𝑚𝑣2
− 1
2
𝑚𝑣0
2
Initial Final
พิจารณาวัตถุมวล 𝑚 เคลื่อนที่ใน 3 มิติจาก 𝑎 ไป 𝑏
𝑥
𝑦
𝑧
𝑎
𝑏
𝑟
𝑚
𝐹
0
พลังงานจลน์ (Kinetic Energy)
งานลัพธ์ของแรงลัพธ์ 𝐹 จาก 𝑎 ไป 𝑏 คือ
ดังนั้น
𝑊𝑎→𝑏 = 𝑎
𝑏
𝐹 ∙ 𝑑 𝑟
=
𝑎
𝑏
𝑚
𝑑 𝑣
𝑑𝑡
∙ 𝑣𝑑𝑡
จาก
𝑑
𝑑𝑡
𝑣 ∙ 𝑣 = 𝑣 ∙
𝑑𝑣
𝑑𝑡
+
𝑑𝑣
𝑑𝑡
∙ 𝑣 = 2 𝑣 ∙
𝑑𝑣
𝑑𝑡
𝑣 ∙
𝑑 𝑣
𝑑𝑡
=
1
2
𝑑
𝑑𝑡
𝑣 ∙ 𝑣 =
1
2
𝑑
𝑑𝑡
𝑣2
พลังงานจลน์ (Kinetic Energy)
ได้ว่า
เรียกสมการดังกล่าวว่า ทฤษฎีบทงาน-พลังงาน
โดยที่ 𝐸 𝑘 =
1
2
𝑚𝑣2
เรียกว่า พลังงานจลน์ ( kinetic energy )
𝑊𝑎→𝑏 = 𝑎
𝑏 𝑚
2
𝑑
𝑑𝑡
𝑣2
𝑑𝑡
=
𝑚
2 𝑎
𝑏
𝑑 𝑣2
=
𝑚
2
𝑣 𝑏
2
−
𝑚
2
𝑣 𝑎
2
𝑊𝑎→𝑏 = ∆𝐸 𝑘
พลังงานจลน์ (Kinetic Energy)
ให้พลังงานที่จะทาให้รถที่มีมวล 1,000 กิโลกรัม จากหยุดนิ่งมี
ความเร็วเป็น 30 เมตรต่อวินาที สมมติว่าไม่มีแรงเสียดทาน และการ
เคลื่อนที่อยู่ในแนวราบ
ตัวอย่าง
Initial Final
𝑣0 = 0 𝑣 = 30 𝑚/𝑠
กฎการอนุรักษ์พลังงาน
ในกรณีที่ระบบเป็นระบบปิ ด นั่นคือไม่มีงานเนื่องจากแรงเกิดขึ้นเมื่อไม่มี
งาน ก็ไม่มีการถ่ายเทพลังงานเข้าหรือออกนอกระบบ แสดงว่าพลังงาน
รวมของระบบจะไม่มีการเปลี่ยนแปลง
∆𝐸 = 0
หรือ ถ้าเราเปรียบเทียบสภาวะของระบบที่ตาแหน่ง Initial กับ Final
จะได้
𝐸𝑖𝑛𝑖𝑡𝑖𝑎𝑙 = 𝐸𝑓𝑖𝑛𝑎𝑙
กฎการอนุรักษ์พลังงาน
ในกรณีที่ระบบเป็นระบบปิ ด
∆𝐸 = 0 𝐸𝑖𝑛𝑖𝑡𝑖𝑎𝑙 = 𝐸𝑓𝑖𝑛𝑎𝑙หรือ
นี่ คือ กฎการอนุรักษ์พลังงาน (Law of
Conservation of Energy) ซึ่งบอกว่า “พลังงาน
ไม่มีการสูญหาย หรือ สร้างขึ้นมาใหม่ได้ มันเพียงแต่เปลี่ยน
รูปจากพลังงานแบบหนึ่งไปเป็นอีกแบบหนึ่งเท่านั้น”
เปลี่ยนรูปอย่างไร ?
กฎการอนุรักษ์พลังงาน
: ระบบปิ ด (ไม่มีแรงต้านอากาศ)
𝐸 𝑃 = 𝑚𝑔ℎ
𝐸 𝑘 = 1
2
𝑚𝑣2
2. พลังงานจลน์
1. พลังงานศักย์
𝐸 𝑃 𝐸 𝑘
𝐸 𝑃 𝐸 𝑘
𝐸 𝑃 𝐸 𝑘
ระดับอ้างอิง
𝐸 𝑃 𝐸 𝑘
𝐸 𝑃 𝐸 𝑘
1
2
3
4
5
กฎการอนุรักษ์พลังงาน
คาว่าระบบเปิด คือ มีการถ่ายเทพลังงานเข้าหรือออก ซึ่งก็หมายความว่า มีการได้
งาน(หรือเสียงาน) เกิดขึ้นนั่นเองสิ่งที่ต่างกันออกไปก็คือ พลังงานจะเปลี่ยนแปลงโดย
ปริมาณที่เปลี่ยนไปก็คือ งานที่ได้(งานเป็นบวก) หรือ เสียงานไป(งานเป็นลบ)
นั่นเอง “พลังงานไม่มีการสูญหาย หรือ สร้างขึ้นมาใหม่ได้ มันเพียงแต่เปลี่ยนรูปจาก
พลังงานแบบหนึ่งไปเป็นอีกแบบหนึ่งเท่านั้น”
แล้วถ้าระบบไม่ปิ ด (ระบบเปิ ด) จะเกิดอะไรขึน?
∆𝐸 = 𝑊
𝑊 = 𝐸𝑓𝑖𝑛𝑎𝑙 − 𝐸𝑖𝑛𝑖𝑡𝑖𝑎𝑙
ใช้ได้ทุกกรณี นั่นคือถ้าไม่มีงานใดๆ
(w=0) พลังงานมีค่าคงที่
หรือ
กฎการอนุรักษ์พลังงาน
: ระบบเปิ ด (มีแรงต้านอากาศ)
𝐸 𝑃 = 𝑚𝑔ℎ
𝐸 𝑘 = 1
2
𝑚𝑣2
2. พลังงานจลน์
1. พลังงานศักย์
𝐸 𝑃 𝐸 𝑘
𝐸 𝑃 𝐸 𝑘
𝐸 𝑃 𝐸 𝑘
ระดับอ้างอิง
𝐸 𝑃 𝐸 𝑘
𝐸 𝑃 𝐸 𝑘
1
2
3
4
5
3.งานของแรง
ต้านอากาศ
𝑊𝑎
𝑊𝑎
𝑊𝑎
𝑊𝑎
𝑊𝑎
ปล่อยวัตถุมวล 3.0 กิโลกรัม จากที่สูง 2 เมตร ลงมากระทบกับสปริงซึ่ง
มีค่าคงตัวสปริง เท่ากับ 120 นิวตันต่อเมตร โดยไม่เด้ง สปริงจะถูกกดลง
เป็นระยะทางมากที่สุดกี่เมตร
ตัวอย่าง
ระดับอ้างอิง
2m
3 kg
k=120n/m
วัตถุมวล 1.0 กิโลกรัม เคลื่อนที่บนพื้นราบเกลี้ยงด้วยความเร็ว 2.0
เมตรต่อวินาที วิ่งเข้าชนสปริงดังรูป ปรากฏว่าวัตถุหยุดชั่วขณะเมื่อ
สปริงหดสั้นกว่าเดิม 0.05 เมตร
ตัวอย่าง
0.05 m
1
kg
v = 2
m/s1
kg
ก. พลังงานศักย์ของสปริง เมื่อหดสั้นสุดเป็นเท่าใด
ข. ณ. ตาแหน่งที่วัตถุหยุดนั้นสปริงผลักวัตถุด้วยแรงเท่าใด
ยิงลูกปืนมวล 10 กรัม เข้าไปในเนื้อไม้ด้วยอัตราเร็ว 300 เมตรต่อวินาที
ลูกปืนหยุดนิ่ง หลังจากที่เข้าไปในเนื้อไม้เป็นระยะทาง 5 เซนติเมตร จงหา
แรงเฉลี่ยที่ลูกปืนกระทาต่อแท่งไม้ในหน่วยนิวตัน
ตัวอย่าง
u = 300
m/s
5 cm
จากรูป แผ่นเลื่อนที่มีมวล 20 กิโลกรัม อยู่บนเนินเขาเริ่มที่จะเลื่อนลง
เขา ถามว่าจะเลื่อนไปได้เร็วเท่าไรเมื่อถึงตีนเขา ถ้าเขานี้สูง 100 เมตร
และเราไม่คานึงถึงแรงเสียดทาน
ตัวอย่าง
ระดับอ้างอิง
𝐸𝑖𝑛𝑖𝑡𝑖𝑎𝑙
𝐸𝑓𝑖𝑛𝑎𝑙
100เมตร m = 20 กิโลกรัม
ถ้าแผ่นเลื่อนมีความเร็ว 30 เมตรต่อวินาที จากตีนเขา ถามว่ามีพลังงาน
ความร้อนเกิดขึ้นเท่าไร เนื่องมาจากความเสียดทานในขณะที่เคลื่อนที่ลง
ตัวอย่าง
ระดับอ้างอิง
𝐸𝑖𝑛𝑖𝑡𝑖𝑎𝑙
𝐸𝑓𝑖𝑛𝑎𝑙
100เมตร m = 20 กิโลกรัม
v = 30 เมตรต่อวินาที
จากรูปมวล m อยู่ที่ตาแหน่ง A เริ่มไถลลงตามทางลาดลื่นด้วย
อัตราเร็วต้น u อยากทราบว่ามวล m จะสามารถไถลขึ้นไปตามทาง
เอียง BC ได้สูงสุดในแนวดิ่งเท่าไร
ตัวอย่าง
ระดับอ้างอิง
h
A
B
C
u
กาลัง (Power)
กาลัง (Power) คือ อัตราการทางาน หรืองานที่ทาได้ในหนึ่งหน่วยเวลา
หน่วย J/s (จูลต่อวินาที) หรือ W (วัตต์)
𝑃 = 𝑑𝑊
𝑑𝑡
𝑑𝑊 = 𝐹 ∙ 𝑑 𝑟เนื่องจาก
𝑃 = 𝐹 ∙ 𝑑 𝑟
𝑑𝑡 𝑣 =
𝑑 𝑟
𝑑𝑡
และ
𝑃 = 𝐹 ∙ 𝑣
1 กาลังม้า (horsepower : hp) =
746 วัตต์
กาลัง (Power)
ให้คนปกติ และคนไข้ วิ่งขึ้นบันได แล้วจับเวลาเปรียบเทียบกัน
กาลังมนุษย์ =
นาหนัก (N) x ความสูงของห้องคนไข้ (m)
เวลาทังหมด (s)
o จะเห็นได้ว่า คนปกติจะใช้เวลาน้อยกว่า แสดงว่า
ได้กาลังงานสูงกว่า
“Ergometer” เป็นเครื่องวัดกาลังงานของคน ประกอบไป
ด้วยล้อจักรยานที่จอดนิ่งอยู่กับที่ และต่อกับไดนาโมหรือสเกล
“Ergon” คือ งาน และ “Metron” คือ การวัต
กาลัง (Power)
กาลัง (Power : P)
=
ปริมาณของานที่ทา หรือ ใช้ (Work : W)
หนึ่งหน่วยเวลา (Time : t)
o หน่วยของกาลังคือ จูลต่อวินาที
(Joule/second : J/s) ซึ่งมีชื่อเฉพาะว่า
วัตต์ (Watt : W)
กาลัง (Power) คือ ปริมาณของานที่ทา(หรือใช้) ต่อหนึ่งหน่วยเวลา
หรือ อัตราการใช้พลังงาน
อีกหน่วยหนึ่งที่ยังใช้กันอย่างแพร่หลาย คือ กาลังม้า (Horse Power : hp) หรือ
แรงม้า สามารถเขียนในหน่วย SI ได้ดังนี 1 hp คือ 746 W
เจมส์ วัตต์ วิศวกรและนักประดิษฐ์ ชาว
สกอตแลนด์ ผู้ปรับปรุงเครื่องจักรไอน้า
12 แรงม้า
กาลัง (Power)
𝑃 = 𝑑𝑊
𝑑𝑡
400 แรงม้า
รถคันไหนจะถึงเส้นชัยก่อนกัน?
o เนื่องจากกาลังขึ้นอยู่กับทั้งปริมาณงาน(W) และ เวลา(t) ดังนั้นวัตถุที่มีกาลัง
มากจะทางานได้มากกว่าวัตถุที่มีกาลังน้อยในเวลาที่เท่ากัน
ก. ให้คานวณหากาลังที่ใช้ในการเดินขึ้นบันใดที่สูง 2 เมตร ในเวลา 7
วินาที โดยที่มวลของชายคนดังกล่าว 60 กิโลกรัม
ข. ในกรณีเดียวกัน แต่ชายคนดังกล่าววิ่งขึ้นบันไดในเวลา 2 วินาที
ตัวอย่าง
ระดับอ้างอิง
2เมตร
m = 60 กิโลกรัม
การเดินขึ้นบันใดที่สูง 2 เมตร ในเวลา 7
วินาที
แต่ชายคนดังกล่าววิ่งขึ้นบันไดในเวลา 2
วินาที
ประสิทธิภาพการทางาน
o พลังงานจานวนมากมักจะสูญเสียไปเมื่อมีการทางาน
o คาว่า “สูญเสีย” ไม่ได้หมายความว่าพลังงานสูญหาย แต่หมายความว่า
พลังงานได้เปลี่ยนรูปไปเป็นอีกรูปหนึ่งที่เราไม่ต้องการ
o หลอดไฟเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ าส่วนใหญ่ให้เป็นพลังงานความร้อน แทนที่จะเป็น
แสง
o เครื่องยนต์เปลี่ยนพลังงานเคมีที่สะสมเป็นพลังงานความร้อนเป็นส่วนมากแทนที่
จะเป็นพลังงานที่ใช้ในการขับเคลื่อนที่เป็นประโยชน์
ประสิทธิภาพการทางาน
ประสิทธิภาพ (Efficiency) คือ ปริมาณที่ใช้บ่งบอกถึงความสามารถ
ในการนาพลังงานที่ให้กับอุปกรณ์หนึ่งๆ ไปใช้ทางานที่เป็ นประโยชน์
𝐸𝑓𝑓 =
𝑊𝑜𝑢𝑡
𝐸𝑖𝑛
Eff ไม่มีหน่วย !!!
𝐸𝑓𝑓(%) =
𝑊𝑜𝑢𝑡
𝐸𝑖𝑛
× 100
หรือในกรณีที่งานที่ได้อยู่ในรูปของ
พลังงานเราก็คานวณได้โดย𝐸𝑓𝑓 =
𝐸 𝑜𝑢𝑡
𝐸𝑖𝑛
1
2
3
ประสิทธิภาพการทางาน
หรือถ้าเราพิจารณาภายในช่วงเวลา t หนึ่งๆ เราอาจคานวณโดย
𝐸𝑓𝑓 =
𝑊𝑜𝑢𝑡 𝑡
𝐸𝑖𝑛 𝑡
=
𝑃𝑜𝑢𝑡
𝑃𝑖𝑛
𝐸𝑓𝑓(%) =
𝑃𝑜𝑢𝑡
𝑃𝑖𝑛
× 100
1
2
ประสิทธิภาพการทางาน
จะเห็นได้ว่าประสิทธิภาพของการทางานของทุกอย่างมีค่าไม่มาก(ไม่เกิน 50%)
ประสิทธิภาพ(%) การทางานของร่างกายและเครื่องกล
ร่างกายขณะขี่จักรยาน 20
ร่างกายขณะว่ายนา 2
ร่างกายขณะขุดดิน 3
เครื่องจักรไอนา 17
เครื่องยนต์ 38
โรงไฟฟ้ าพลังงานนิวเคลียร์ 35
โรงไฟฟ้ าถ่านหิน 42
ตัวอย่าง ในการเดินขึ้นบันไดประสิทธิภาพการทางานของรางกายมนุษย์คือ
20% จากตัวอย่างที่
ก) พลังงานที่ชายคนนี้ต้องการในการเดินขึ้นบันไดมีค่าเป็นเท่าไร
ข) พลังงานความร้อนที่เกิดจากการเดินขึ้นบันไดมีค่าเท่าไร
ค) อัตราการผลิตพลังงานความร้อนในหน่วยวัตต์ ในขณะเดินขึ้นบันไดมีค่า
เท่าไร
ง) อัตราการผลิตพลังงานความร้อนในหน่วยวัตต์ ในขณะวิ่งขึ้นบันไดมีค่า
เป็นเท่าไร
ระดับอ้างอิง
2เมตร
m = 60 กิโลกรัม
• การเดินขึ้นบันใดที่สูง 2 เมตร ในเวลา 7 วินาที
• แต่ชายคนดังกล่าววิ่งขึ้นบันไดในเวลา 2 วินาที
𝐸𝑓𝑓 = 35%
𝐸𝑖𝑛 =?
𝑊𝑜𝑢𝑡 = 1,000 𝑀𝑊
ตัวอย่าง โรงไฟฟ้ าพลังงานนิวเคลียร์ที่มีประสิทธิภาพการทางาน 35% ผลิต
พลังงานไฟฟ้ า 1,000 MW ให้หาอัตราการผลิตของเสียในรูปของ
พลังงานความร้อนในหน่วย MW
• ปริมาณพลังงานความร้อนที่ได้มาจากโรงไฟฟ้ าพลังงานนิวเคลียร์หรือโรงไฟฟ้ าธรรมดามีค่าสูงมาก
งาน กาลัง และพลังงาน
อ.ณภัทรษกร สารพัฒน์

More Related Content

What's hot

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
dnavaroj
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
website22556
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
สมศรี หอมเนียม
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
Jariya Jaiyot
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
nik2529
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
website22556
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
smEduSlide
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
krupornpana55
 

What's hot (20)

การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน
 
พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
 
02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 

Similar to บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย

แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
Janesita Sinpiang
 
1 5 work and energy
1 5 work and energy1 5 work and energy
1 5 work and energy
Krumeaw
 
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
Wannalak Santipapwiwatana
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
Thepsatri Rajabhat University
 
ฟิสิกส์ ม.4 หน่วยที่ 6 โมเมนตัมและการชน.pdf
ฟิสิกส์ ม.4 หน่วยที่ 6 โมเมนตัมและการชน.pdfฟิสิกส์ ม.4 หน่วยที่ 6 โมเมนตัมและการชน.pdf
ฟิสิกส์ ม.4 หน่วยที่ 6 โมเมนตัมและการชน.pdf
sensei48
 

Similar to บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย (20)

บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงาน
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 
1 5 work and energy
1 5 work and energy1 5 work and energy
1 5 work and energy
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
 
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equationsกฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
 
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัมบทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัม
 
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่นสภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
Comprehensive Examination (structural engineering)
Comprehensive  Examination (structural engineering)Comprehensive  Examination (structural engineering)
Comprehensive Examination (structural engineering)
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
 
แรงและแรงรับ
แรงและแรงรับแรงและแรงรับ
แรงและแรงรับ
 
ฟิสิกส์ ม.4 หน่วยที่ 6 โมเมนตัมและการชน.pdf
ฟิสิกส์ ม.4 หน่วยที่ 6 โมเมนตัมและการชน.pdfฟิสิกส์ ม.4 หน่วยที่ 6 โมเมนตัมและการชน.pdf
ฟิสิกส์ ม.4 หน่วยที่ 6 โมเมนตัมและการชน.pdf
 

More from Thepsatri Rajabhat University

More from Thepsatri Rajabhat University (18)

Timeline of atomic models
Timeline of atomic modelsTimeline of atomic models
Timeline of atomic models
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
 
CHAPTER 10 Molecules and Solids
CHAPTER 10 Molecules and SolidsCHAPTER 10 Molecules and Solids
CHAPTER 10 Molecules and Solids
 
Trm 7
Trm 7Trm 7
Trm 7
 
CHAPTER 6 Quantum Mechanics II
CHAPTER 6 Quantum Mechanics IICHAPTER 6 Quantum Mechanics II
CHAPTER 6 Quantum Mechanics II
 
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics I
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics ICHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics I
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics I
 
CHAPTER 4 Structure of the Atom
CHAPTER 4Structure of the AtomCHAPTER 4Structure of the Atom
CHAPTER 4 Structure of the Atom
 
CHAPTER 3 The Experimental Basis of Quantum Theory
CHAPTER 3The Experimental Basis of Quantum TheoryCHAPTER 3The Experimental Basis of Quantum Theory
CHAPTER 3 The Experimental Basis of Quantum Theory
 
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะ
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะบทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะ
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะ
 
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่
 
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติบทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันบทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
 
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
 
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียงบทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
 
บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสาร
 
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
 

บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย

  • 1. บทที่ 4 งาน กาลัง และพลังงาน อ.ณภัทรษกร สารพัฒน์
  • 2. หัวข้อบรรยาย • ความหมายของงานกาลังและพลังงาน • งานของแรงคงตัวและแรงไม่คงตัว • งานของแรงอนุรักษ์และแรงไม่อนุรักษ์ • พลังงานจลน์ พลังงานศักย์ • ทฤษฎีงานพลังงาน • กฎการคงตัวของพลังงาน
  • 4. งาน ( work ) งาน หรือ งานเชิงกล (Work : W) ในทางฟิสิกส์ คือ ปริมาณของ พลังงานซึ่งถูกส่งมาจากแรงที่กระทาต่อวัตถุให้ เคลื่อนที่ไปได้ระยะทางขนาดหนึ่ง งานเป็นปริมาณสเกลาร์ เช่นเดียวกับพลังงาน มีหน่วยเอสไอเป็นจูล(J) 𝑊 = 𝐹 ∙ 𝑙 𝑙 𝐹 m
  • 5. งาน ( work ) พิจารณาวัตถุมวล m ถูกแรง 𝐹 ซึ่งทามุมกับแนวระดับเป็นมุม q กระทา แล้วเคลื่อนที่ได้การกระจัด l ดังรูป โดย 𝐹 คงที่ทั้งขนาดและทิศทางตลอดการ เคลื่อนที่ 𝐹 qm 𝐹 qm 𝑙
  • 6. นิยาม : งาน ( work ) ที่เกิดจากแรง 𝐹 ที่กระทาต่อวัตถุนี้คือ งานมีหน่วยเป็น N.m หรือ J ( จูล ) และมีค่าเป็นได้ทั้ง ศูนย์ , บวก , ลบ สามารถแบ่งออกเป็นกรณีต่างๆได้ดังนี้ 𝑊 = 𝐹 cos 𝜃 ∙ 𝑙 𝐹 qm 𝐹 qm งาน ( work ) 𝑙
  • 7. 1. งาน : กรณีที่เป็ น บวก o จากนิยามของงาน คือ 𝑊 = 𝐹 cos 𝜃 ∙ 𝑙 o จะเห็นว่า 𝐹 ทามุมกับ 𝑙 เป็นมุม 0° เมื่อ cos 0° = 1 o ดังนั้น 𝑊 = 𝐹 cos 0° ∙ 𝑙 = 𝐹 ∙ 𝑙 มีค่าเป็น บวก 𝐹 𝐹m m 𝑙 Motion
  • 8. 2. งาน : กรณีที่เป็ น ลบ o จากนิยามของงาน คือ 𝑊 = 𝐹 cos 𝜃 ∙ 𝑙 o จะเห็นว่า 𝐹 ทามุมกับ 𝑙 เป็นมุม 180° เมื่อ cos 180° = −1 o ดังนั้น 𝑊 = 𝐹 cos 180° ∙ 𝑙 = − 𝐹 ∙ 𝑙 มีค่าเป็น ลบ 𝐹 m 𝐹 m 𝑙 Motion
  • 9. 3. งาน : กรณีที่เป็ น ศูนย์ o จากนิยามของงาน คือ 𝑊 = 𝐹 cos 𝜃 ∙ 𝑙 o จะเห็นว่า 𝐹 ทามุมกับ 𝑙 เป็นมุม 90° เมื่อ cos 90° = 0 o ดังนั้น 𝑊 = 𝐹 cos 90° ∙ 𝑙 = 0 มีค่าเป็น ศูนย์ 𝐹 m m 𝐹 𝑙 Motion
  • 10. ถ้ามีแรงหลายแรงกระทาต่อวัตถุ สามารถหางานได้จากการ พิจารณางานของแรงแต่ละแรง ดังรูป 1. งานของแรง 𝐹1 คือ 𝑊 = 𝐹1 cos 𝜃1 ∙ 𝑙 2. งานของแรง 𝐹2 คือ 𝑊 = 𝐹2 cos 𝜃2 ∙ 𝑙 𝑙 m 𝐹1 𝐹2 𝐹3 𝐹4 𝐹5 m 𝐹1 𝐹2 𝐹3 𝐹4 𝐹5 4. งาน : กรณีที่แรงหลายแรงกระทากับวัตถุ
  • 11. งานรวม = ผลรวมของงานเนื่องจากแรงทุกแรงที่กระทาต่อวัตถุ 3. งานของแรง 𝐹3 คือ 𝑊 = 𝐹3 cos 𝜃3 ∙ 𝑙 4. งานของแรง 𝐹4 คือ 𝑊 = 𝐹4 cos 𝜃4 ∙ 𝑙 5. งานของแรง 𝐹5 คือ 𝑊 = 𝐹5 cos 𝜃5 ∙ 𝑙  เมื่อ 𝜃 เป็นมุมที่ทิศทางของแรงทามุมกับแนวการ เคลื่อนที่ 𝑙 ตามลาดับ 𝑊 = 𝑊 𝐹1 + 𝑊 𝐹2 + 𝑊 𝐹3 + 𝑊 𝐹4 + 𝑊 𝐹5
  • 12. ตัวอย่าง จากรูปวัตถุเคลื่อนที่ได้การกระจัด 𝑠 ถ้าพื้นมีสัมประสิทธ์ความเสียดทาน 𝜇 𝑘 จงหางานของแรงแต่ละแรงที่กระทาต่อวัตถุ และ งานรวม 𝐹 qm 𝐹 qm 𝑠
  • 13. วัตถุมวล 10 กิโลกรัม ไถลไปบนพื้นที่มีสัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลน์ ระหว่างพื้นกับผิว วัตถุเท่ากับ 0.2 เป็นระยะทาง 5 เมตร งานของแรง เสียดทานมีค่าเท่ากับกี่จูล ตัวอย่าง 10 kg 5 m 10 kg mk = 0.2
  • 14. ชายคนหนึ่งแบกข้าวสารมวล 100 กิโลกรัม ไว้บนบ่าเดินไปตามพื้นราบ เป็น ระยะทาง 10 เมตร แล้วจึงขึ้นบันไดด้วยความเร็วคงที่ไปชั้นบนซึ่งสูง จากพื้นล่าง 3 เมตร จงหางานที่ชายผู้นั้นทา ตัวอย่าง m=10 kg 3เมตร 10 เมตร
  • 15. แรง F กระทากับวัตถุแสดงโดยกราฟ ดังรูป งานที่เกิดขึ้นในระยะ 10 เมตร เป็นกี่จูล ตัวอย่าง 80 40 5 10 s (เมตร) F (นิวตัน)
  • 16. มวล 4 กิโลกรัมเคลื่อนที่ขึ้นระนาบเอียง 30 องศากับแนวระดับ โดยมี แรง 100 นิวตัน ดึงขึ้นขนานกับพื้นเอียง และมีแรงเสียดทาน 10 นิวตัน ต้านการเคลื่อนที่ ปรากฏว่ามวลเคลื่อนที่ได้ระยะ 20 เมตร จงหางานของ แต่ละแรง และ งานรวม ตัวอย่าง 30o
  • 17. วัตถุมวล 4 กิโลกรัม แขวนอยู่ในแนวดิ่งด้วยเชือกเส้นหนึ่งเหนือระดับ พื้น 20 เมตร ถ้า ดึงเชือกให้มวลเคลื่อนขึ้นเป็นระยะทาง 10 เมตร ด้วยอัตราเร่ง 2.5 เมตรต่อวินาที2 จงหา งานที่ทาโดยแรงตึงเชือก ( ให้ใช้ค่า g = 10 เมตรต่อวินาที2 ) ตัวอย่าง 4 kg 20เมตร 4 kg 10เมตร a = 2.5 m/s2 g = 10 m/s2 T
  • 18. พลังงานคืออะไร พลังงาน (Energy) หมายถึง ความสามารถในการทางานได้ หรือ อานาจที่แฝงอยู่ในวัตถุซึ่งสามารถ เปลี่ยนรูปได้ หรือสามารถกล่าวได้ ว่าวัตถุใดที่มีพลังงาน วัตถุนั้นจะ สามารถทางานได้ พลังงานของวัตถุ ต่าง ๆ อาจสะสมอยู่ในหลาย รูปแบบ เช่น พลังงานกล พลังงาน ศักย์ พลังงานจลน์ ความร้อน แสง ไฟฟ้ า เสียง เป็นต้น
  • 20. งาน และ พลังงานสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด *** งาน คือ การถ่ายเทพลังงาน *** พลังงานมีกี่ประเภท อะไรบ้าง ? พลังงาน (Energy) ถ้ามีงานกระทาต่อระบบ ถ้าระบบทางานเอง มีการถ่ายเทพลังงาน เข้าสู่ระบบ มีการถ่ายเทพลังงาน ออกจากระบบ พลังงานระบบเพิ่มขึน พลังงานระบบลดลง
  • 21. พลังงาน คือ ความสามารถในการทางาน มีหน่วยเป็ น จูล (J) o พลังงานมีอยู่หลายรูป เช่น พลังงานกล พลังงานความร้อน พลังงานไฟฟ้ า พลังงานเคมี o พลังงานไม่มีวันสูญหาย เพียงแต่เปลี่ยนรูปหนึ่งไปเป็นอีกรูปหนึ่งได้ เช่น พลังงานไฟฟ้ า เปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อน พลังงาน (Energy)
  • 22. พลังงาน แบ่งประเภทที่ปรากฏในธรรมชาติได้ 2 แบบ คือ 𝐸 𝑘 = 1 2 𝑚𝑣2 1. พลังงานจลน์ 𝐸 𝑝 = 𝑚𝑔ℎ 2. พลังงานศักย์ 𝑣 ℎ𝑔 พลังงาน (Energy)
  • 23. พลังงานศักย์ (Potential Energy) พลังงานศักย์ (Potential Energy; P.E.) คือ เป็ นพลังงานที่ ขึนอยู่กับ ตาแหน่ง หรือ ลักษณะรูปร่าง ของวัตถุ o พลังงานศักย์โน้มถ่วงขึนอยู่กับ ความสูงจากระดับอ้างอิง (h) 𝐸 𝑃 = 𝑚𝑔ℎ o พลังงานศักย์สปริงขึนอยู่กับระยะ ยื ดหรื อหดของสปริ ง จา ก ตาแหน่งสมดุลของสปริง (x) 𝐸 𝐸 = 1 2 𝑘𝑥2 ℎ 𝑥 ระดับอ้างอิง
  • 24. พลังงานศักย์โน้มถ่วง ( gravitational potential energy ) พิจารณาอนุภาคมวล 𝑚 เคลื่อนที่ภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลก 𝑥 𝑦 𝑧 𝑎 𝑏𝑟2 𝑚 𝐹 0 𝑟1
  • 25. จะเห็นว่า 𝐹 = −mg 𝑘 ให้งานเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลกจาก 1 → 2 = 𝑊12 𝑊12 = 𝑟1 𝑟2 𝐹 ∙ 𝑑 𝑟 = 𝑟1 𝑟2 −mg 𝑘 ∙ 𝑑𝑥 𝑖 + 𝑑𝑦 𝑗 + 𝑑𝑧 𝑘 = 𝑧1 𝑧2 −mg 𝑑𝑧 = −mg 𝑧1 𝑧2 𝑑𝑧 = −mg 𝑧2 − 𝑧1 พลังงานศักย์โน้มถ่วง ( gravitational potential energy )
  • 26. จะเห็นว่า งานเนื่องจาก 𝑧 จะขึ้นกับตาแหน่งของจุดตั้งต้น (1) และ จุดสุดท้าย (2) เท่านั้น โดยไม่ขึ้นกับเส้นทางในการเคลื่อนที่ของ วัตถุ เราเรียกแรงที่มีสมบัติในลักษณะนี้ว่า 𝐦𝒈 แรงอนุรักษ์ ( Conservative force ) o เรียก 𝐸 𝑝 ว่า พลังงานศักย์โน้มถ่วง ( Gravitational Potential Energy ) นิยาม : 𝐸 𝑝 = m 𝑔 ∙ 𝑧 พลังงานศักย์โน้มถ่วง
  • 27. ดังนั้น แต่โดยทั่วไปมักจะวัดความสูงของวัตถุเทียบกับระดับอ้างอิงใดๆ ระดับอ้างอิงใดๆ 𝒛 𝒛 𝟏 𝒉 𝟏 𝒛 𝟐 𝒉 𝟐 𝟏 𝟐 𝑊12 = − 𝐸 𝑝2 − 𝐸 𝑝1 = −∆𝐸 𝑝 พบว่า 𝒛 𝟐 − 𝒛 𝟏 = 𝒉 𝟐 − 𝒉 𝟏 ดังนัน 𝑾 𝟏𝟐 = −𝒎𝒈 𝒛 𝟐 − 𝒛 𝟏 = −𝒎𝒈 𝒉 𝟐 − 𝒉 𝟏 𝟎 พลังงานศักย์โน้มถ่วง
  • 28. จะได้ว่า 𝐸 𝑝 ว่า พลังงานศักย์โน้มถ่วง โดยที่ ℎ คือ ตาแหน่งของวัตถุวัดจากระดับอ้างอิง ดังนั้น ค่าของพลังงานศักย์จึงมีค่าไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับระดับอ้างอิง นิยาม : พลังงานศักย์โน้มถ่วง 𝐸 𝑝 = m𝑔ℎ 1. สรุป : พลังงานศักย์โน้มถ่วง
  • 29. เมื่อสปริงยืดหรือหดเป็นระยะ 𝑥 จากตาแหน่งสมดุล จะทาเกิดแรงคืนตัวในทิศ ตรงข้ามกับการกระจัด 𝐹 = −𝑘𝑥 m ตาแหน่งสมดุล −𝑘𝑥 𝑚 𝑥 𝑥 −𝑘𝑥 (𝑎) (𝑏) (𝑐) o พิจารณาสปริงที่มีค่าคงที่ สปริงเท่ากับ 𝑘 และมีมวล 𝑚 ติดอยู่ที่ปลาย ดังรูป พลังงานศักย์ยืดหยุ่น ( elastic potential energy )
  • 30. เมื่อสปริงเปลี่ยนระยะยืดหรือหดจากตาแหน่ง 𝑥1 จากจุด สมดุลเป็นตาแหน่ง 𝑥2 หางานของแรงคืนตัวได้จาก 𝑊12 = 𝑟1 𝑟2 𝐹 ∙ 𝑑 𝑟 = 𝑟1 𝑟2 −kx 𝑖 ∙ 𝑑𝑥 𝑖 + 𝑑𝑦 𝑗 + 𝑑𝑧 𝑘 = 𝑥1 𝑥2 −kx 𝑑𝑥 = −k 𝑥1 𝑥2 𝑥𝑑𝑥 = −k 1 2 𝑥2 2 − 1 2 𝑥1 2 = 1 2 𝑘𝑥1 2 − 1 2 𝑘𝑥2 2 พลังงานศักย์ยืดหยุ่น
  • 31. โดยที่ 𝑥 เป็นระยะยืดหรือหดของสปริงจากตาแหน่งสมดุล นิยาม : พลังงานศักย์ยืดหยุ่น 𝐸 𝑝𝑠 = 1 2 𝑘𝑥2 2. สรุป :พลังงานศักย์ยืดหยุ่น เรียก 𝐸 𝑝 ว่า พลังงานศักย์ยืดหยุ่น ( elastic potential energy ) 𝑊12 = − 𝐸 𝑝𝑠2 − 𝐸 𝑝𝑠1 = −∆𝐸 𝑝𝑠
  • 33. มวล A ขนาด 10 กิโลกรัม อยู่สูงจากพื้นโลก 1 เมตร กับ มวล B ขนาด 5 กิโลกรัมอยู่สูงจากพื้นโลก 1.5 เมตร อัตราส่วนของพลังงานศักย์ของ A ต่อ B เป็นเท่า ไร ตัวอย่าง 10 kg 1เมตร 5 kg 1.5เมตร
  • 34. สปริงตัวหนึ่งมีความยาวปกติ 1 เมตร และมีค่า นิจสปริง 100 นิวตันต่อ เมตร ต่อมาถูกแรงกระทา แล้วทาให้ยืดออกและมีความยาวเปลี่ยนเป็น 1.2 เมตร จงหาพลังงานศักย์ยืดหยุ่นขณะที่ถูกแรงนี้กระทามีค่า กี่จูล ตัวอย่าง 1 เมตร 1.2 เมตร k = 100 นิวตันต่อ
  • 35. พลังงานจลน์ (Kinetic Energy) o พลังงานจลน์ คือ พลังงานที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของวัตถุนั้น มีหน่วย เป็น จูล (J) o พลังงานจลน์ของวัตถุมวล m อัตราเร็ว v คือ 𝐸 𝑘 = 1 2 𝑚𝑣2 𝑑 𝐸 𝑘𝑓 = 1 2 𝑚𝑣2 𝐸 𝑘𝑖 = 1 2 𝑚𝑣0 2 ∆𝐸 𝑘= 1 2 𝑚𝑣2 − 1 2 𝑚𝑣0 2 Initial Final
  • 36. พิจารณาวัตถุมวล 𝑚 เคลื่อนที่ใน 3 มิติจาก 𝑎 ไป 𝑏 𝑥 𝑦 𝑧 𝑎 𝑏 𝑟 𝑚 𝐹 0 พลังงานจลน์ (Kinetic Energy)
  • 37. งานลัพธ์ของแรงลัพธ์ 𝐹 จาก 𝑎 ไป 𝑏 คือ ดังนั้น 𝑊𝑎→𝑏 = 𝑎 𝑏 𝐹 ∙ 𝑑 𝑟 = 𝑎 𝑏 𝑚 𝑑 𝑣 𝑑𝑡 ∙ 𝑣𝑑𝑡 จาก 𝑑 𝑑𝑡 𝑣 ∙ 𝑣 = 𝑣 ∙ 𝑑𝑣 𝑑𝑡 + 𝑑𝑣 𝑑𝑡 ∙ 𝑣 = 2 𝑣 ∙ 𝑑𝑣 𝑑𝑡 𝑣 ∙ 𝑑 𝑣 𝑑𝑡 = 1 2 𝑑 𝑑𝑡 𝑣 ∙ 𝑣 = 1 2 𝑑 𝑑𝑡 𝑣2 พลังงานจลน์ (Kinetic Energy)
  • 38. ได้ว่า เรียกสมการดังกล่าวว่า ทฤษฎีบทงาน-พลังงาน โดยที่ 𝐸 𝑘 = 1 2 𝑚𝑣2 เรียกว่า พลังงานจลน์ ( kinetic energy ) 𝑊𝑎→𝑏 = 𝑎 𝑏 𝑚 2 𝑑 𝑑𝑡 𝑣2 𝑑𝑡 = 𝑚 2 𝑎 𝑏 𝑑 𝑣2 = 𝑚 2 𝑣 𝑏 2 − 𝑚 2 𝑣 𝑎 2 𝑊𝑎→𝑏 = ∆𝐸 𝑘 พลังงานจลน์ (Kinetic Energy)
  • 39. ให้พลังงานที่จะทาให้รถที่มีมวล 1,000 กิโลกรัม จากหยุดนิ่งมี ความเร็วเป็น 30 เมตรต่อวินาที สมมติว่าไม่มีแรงเสียดทาน และการ เคลื่อนที่อยู่ในแนวราบ ตัวอย่าง Initial Final 𝑣0 = 0 𝑣 = 30 𝑚/𝑠
  • 40. กฎการอนุรักษ์พลังงาน ในกรณีที่ระบบเป็นระบบปิ ด นั่นคือไม่มีงานเนื่องจากแรงเกิดขึ้นเมื่อไม่มี งาน ก็ไม่มีการถ่ายเทพลังงานเข้าหรือออกนอกระบบ แสดงว่าพลังงาน รวมของระบบจะไม่มีการเปลี่ยนแปลง ∆𝐸 = 0 หรือ ถ้าเราเปรียบเทียบสภาวะของระบบที่ตาแหน่ง Initial กับ Final จะได้ 𝐸𝑖𝑛𝑖𝑡𝑖𝑎𝑙 = 𝐸𝑓𝑖𝑛𝑎𝑙
  • 41. กฎการอนุรักษ์พลังงาน ในกรณีที่ระบบเป็นระบบปิ ด ∆𝐸 = 0 𝐸𝑖𝑛𝑖𝑡𝑖𝑎𝑙 = 𝐸𝑓𝑖𝑛𝑎𝑙หรือ นี่ คือ กฎการอนุรักษ์พลังงาน (Law of Conservation of Energy) ซึ่งบอกว่า “พลังงาน ไม่มีการสูญหาย หรือ สร้างขึ้นมาใหม่ได้ มันเพียงแต่เปลี่ยน รูปจากพลังงานแบบหนึ่งไปเป็นอีกแบบหนึ่งเท่านั้น” เปลี่ยนรูปอย่างไร ?
  • 42. กฎการอนุรักษ์พลังงาน : ระบบปิ ด (ไม่มีแรงต้านอากาศ) 𝐸 𝑃 = 𝑚𝑔ℎ 𝐸 𝑘 = 1 2 𝑚𝑣2 2. พลังงานจลน์ 1. พลังงานศักย์ 𝐸 𝑃 𝐸 𝑘 𝐸 𝑃 𝐸 𝑘 𝐸 𝑃 𝐸 𝑘 ระดับอ้างอิง 𝐸 𝑃 𝐸 𝑘 𝐸 𝑃 𝐸 𝑘 1 2 3 4 5
  • 43. กฎการอนุรักษ์พลังงาน คาว่าระบบเปิด คือ มีการถ่ายเทพลังงานเข้าหรือออก ซึ่งก็หมายความว่า มีการได้ งาน(หรือเสียงาน) เกิดขึ้นนั่นเองสิ่งที่ต่างกันออกไปก็คือ พลังงานจะเปลี่ยนแปลงโดย ปริมาณที่เปลี่ยนไปก็คือ งานที่ได้(งานเป็นบวก) หรือ เสียงานไป(งานเป็นลบ) นั่นเอง “พลังงานไม่มีการสูญหาย หรือ สร้างขึ้นมาใหม่ได้ มันเพียงแต่เปลี่ยนรูปจาก พลังงานแบบหนึ่งไปเป็นอีกแบบหนึ่งเท่านั้น” แล้วถ้าระบบไม่ปิ ด (ระบบเปิ ด) จะเกิดอะไรขึน? ∆𝐸 = 𝑊 𝑊 = 𝐸𝑓𝑖𝑛𝑎𝑙 − 𝐸𝑖𝑛𝑖𝑡𝑖𝑎𝑙 ใช้ได้ทุกกรณี นั่นคือถ้าไม่มีงานใดๆ (w=0) พลังงานมีค่าคงที่ หรือ
  • 44. กฎการอนุรักษ์พลังงาน : ระบบเปิ ด (มีแรงต้านอากาศ) 𝐸 𝑃 = 𝑚𝑔ℎ 𝐸 𝑘 = 1 2 𝑚𝑣2 2. พลังงานจลน์ 1. พลังงานศักย์ 𝐸 𝑃 𝐸 𝑘 𝐸 𝑃 𝐸 𝑘 𝐸 𝑃 𝐸 𝑘 ระดับอ้างอิง 𝐸 𝑃 𝐸 𝑘 𝐸 𝑃 𝐸 𝑘 1 2 3 4 5 3.งานของแรง ต้านอากาศ 𝑊𝑎 𝑊𝑎 𝑊𝑎 𝑊𝑎 𝑊𝑎
  • 45. ปล่อยวัตถุมวล 3.0 กิโลกรัม จากที่สูง 2 เมตร ลงมากระทบกับสปริงซึ่ง มีค่าคงตัวสปริง เท่ากับ 120 นิวตันต่อเมตร โดยไม่เด้ง สปริงจะถูกกดลง เป็นระยะทางมากที่สุดกี่เมตร ตัวอย่าง ระดับอ้างอิง 2m 3 kg k=120n/m
  • 46. วัตถุมวล 1.0 กิโลกรัม เคลื่อนที่บนพื้นราบเกลี้ยงด้วยความเร็ว 2.0 เมตรต่อวินาที วิ่งเข้าชนสปริงดังรูป ปรากฏว่าวัตถุหยุดชั่วขณะเมื่อ สปริงหดสั้นกว่าเดิม 0.05 เมตร ตัวอย่าง 0.05 m 1 kg v = 2 m/s1 kg ก. พลังงานศักย์ของสปริง เมื่อหดสั้นสุดเป็นเท่าใด ข. ณ. ตาแหน่งที่วัตถุหยุดนั้นสปริงผลักวัตถุด้วยแรงเท่าใด
  • 47. ยิงลูกปืนมวล 10 กรัม เข้าไปในเนื้อไม้ด้วยอัตราเร็ว 300 เมตรต่อวินาที ลูกปืนหยุดนิ่ง หลังจากที่เข้าไปในเนื้อไม้เป็นระยะทาง 5 เซนติเมตร จงหา แรงเฉลี่ยที่ลูกปืนกระทาต่อแท่งไม้ในหน่วยนิวตัน ตัวอย่าง u = 300 m/s 5 cm
  • 48. จากรูป แผ่นเลื่อนที่มีมวล 20 กิโลกรัม อยู่บนเนินเขาเริ่มที่จะเลื่อนลง เขา ถามว่าจะเลื่อนไปได้เร็วเท่าไรเมื่อถึงตีนเขา ถ้าเขานี้สูง 100 เมตร และเราไม่คานึงถึงแรงเสียดทาน ตัวอย่าง ระดับอ้างอิง 𝐸𝑖𝑛𝑖𝑡𝑖𝑎𝑙 𝐸𝑓𝑖𝑛𝑎𝑙 100เมตร m = 20 กิโลกรัม
  • 49. ถ้าแผ่นเลื่อนมีความเร็ว 30 เมตรต่อวินาที จากตีนเขา ถามว่ามีพลังงาน ความร้อนเกิดขึ้นเท่าไร เนื่องมาจากความเสียดทานในขณะที่เคลื่อนที่ลง ตัวอย่าง ระดับอ้างอิง 𝐸𝑖𝑛𝑖𝑡𝑖𝑎𝑙 𝐸𝑓𝑖𝑛𝑎𝑙 100เมตร m = 20 กิโลกรัม v = 30 เมตรต่อวินาที
  • 50. จากรูปมวล m อยู่ที่ตาแหน่ง A เริ่มไถลลงตามทางลาดลื่นด้วย อัตราเร็วต้น u อยากทราบว่ามวล m จะสามารถไถลขึ้นไปตามทาง เอียง BC ได้สูงสุดในแนวดิ่งเท่าไร ตัวอย่าง ระดับอ้างอิง h A B C u
  • 51. กาลัง (Power) กาลัง (Power) คือ อัตราการทางาน หรืองานที่ทาได้ในหนึ่งหน่วยเวลา หน่วย J/s (จูลต่อวินาที) หรือ W (วัตต์) 𝑃 = 𝑑𝑊 𝑑𝑡 𝑑𝑊 = 𝐹 ∙ 𝑑 𝑟เนื่องจาก 𝑃 = 𝐹 ∙ 𝑑 𝑟 𝑑𝑡 𝑣 = 𝑑 𝑟 𝑑𝑡 และ 𝑃 = 𝐹 ∙ 𝑣 1 กาลังม้า (horsepower : hp) = 746 วัตต์
  • 52. กาลัง (Power) ให้คนปกติ และคนไข้ วิ่งขึ้นบันได แล้วจับเวลาเปรียบเทียบกัน กาลังมนุษย์ = นาหนัก (N) x ความสูงของห้องคนไข้ (m) เวลาทังหมด (s) o จะเห็นได้ว่า คนปกติจะใช้เวลาน้อยกว่า แสดงว่า ได้กาลังงานสูงกว่า “Ergometer” เป็นเครื่องวัดกาลังงานของคน ประกอบไป ด้วยล้อจักรยานที่จอดนิ่งอยู่กับที่ และต่อกับไดนาโมหรือสเกล “Ergon” คือ งาน และ “Metron” คือ การวัต
  • 53. กาลัง (Power) กาลัง (Power : P) = ปริมาณของานที่ทา หรือ ใช้ (Work : W) หนึ่งหน่วยเวลา (Time : t) o หน่วยของกาลังคือ จูลต่อวินาที (Joule/second : J/s) ซึ่งมีชื่อเฉพาะว่า วัตต์ (Watt : W) กาลัง (Power) คือ ปริมาณของานที่ทา(หรือใช้) ต่อหนึ่งหน่วยเวลา หรือ อัตราการใช้พลังงาน อีกหน่วยหนึ่งที่ยังใช้กันอย่างแพร่หลาย คือ กาลังม้า (Horse Power : hp) หรือ แรงม้า สามารถเขียนในหน่วย SI ได้ดังนี 1 hp คือ 746 W เจมส์ วัตต์ วิศวกรและนักประดิษฐ์ ชาว สกอตแลนด์ ผู้ปรับปรุงเครื่องจักรไอน้า
  • 54. 12 แรงม้า กาลัง (Power) 𝑃 = 𝑑𝑊 𝑑𝑡 400 แรงม้า รถคันไหนจะถึงเส้นชัยก่อนกัน? o เนื่องจากกาลังขึ้นอยู่กับทั้งปริมาณงาน(W) และ เวลา(t) ดังนั้นวัตถุที่มีกาลัง มากจะทางานได้มากกว่าวัตถุที่มีกาลังน้อยในเวลาที่เท่ากัน
  • 55. ก. ให้คานวณหากาลังที่ใช้ในการเดินขึ้นบันใดที่สูง 2 เมตร ในเวลา 7 วินาที โดยที่มวลของชายคนดังกล่าว 60 กิโลกรัม ข. ในกรณีเดียวกัน แต่ชายคนดังกล่าววิ่งขึ้นบันไดในเวลา 2 วินาที ตัวอย่าง ระดับอ้างอิง 2เมตร m = 60 กิโลกรัม การเดินขึ้นบันใดที่สูง 2 เมตร ในเวลา 7 วินาที แต่ชายคนดังกล่าววิ่งขึ้นบันไดในเวลา 2 วินาที
  • 56. ประสิทธิภาพการทางาน o พลังงานจานวนมากมักจะสูญเสียไปเมื่อมีการทางาน o คาว่า “สูญเสีย” ไม่ได้หมายความว่าพลังงานสูญหาย แต่หมายความว่า พลังงานได้เปลี่ยนรูปไปเป็นอีกรูปหนึ่งที่เราไม่ต้องการ o หลอดไฟเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ าส่วนใหญ่ให้เป็นพลังงานความร้อน แทนที่จะเป็น แสง o เครื่องยนต์เปลี่ยนพลังงานเคมีที่สะสมเป็นพลังงานความร้อนเป็นส่วนมากแทนที่ จะเป็นพลังงานที่ใช้ในการขับเคลื่อนที่เป็นประโยชน์
  • 57. ประสิทธิภาพการทางาน ประสิทธิภาพ (Efficiency) คือ ปริมาณที่ใช้บ่งบอกถึงความสามารถ ในการนาพลังงานที่ให้กับอุปกรณ์หนึ่งๆ ไปใช้ทางานที่เป็ นประโยชน์ 𝐸𝑓𝑓 = 𝑊𝑜𝑢𝑡 𝐸𝑖𝑛 Eff ไม่มีหน่วย !!! 𝐸𝑓𝑓(%) = 𝑊𝑜𝑢𝑡 𝐸𝑖𝑛 × 100 หรือในกรณีที่งานที่ได้อยู่ในรูปของ พลังงานเราก็คานวณได้โดย𝐸𝑓𝑓 = 𝐸 𝑜𝑢𝑡 𝐸𝑖𝑛 1 2 3
  • 58. ประสิทธิภาพการทางาน หรือถ้าเราพิจารณาภายในช่วงเวลา t หนึ่งๆ เราอาจคานวณโดย 𝐸𝑓𝑓 = 𝑊𝑜𝑢𝑡 𝑡 𝐸𝑖𝑛 𝑡 = 𝑃𝑜𝑢𝑡 𝑃𝑖𝑛 𝐸𝑓𝑓(%) = 𝑃𝑜𝑢𝑡 𝑃𝑖𝑛 × 100 1 2
  • 59. ประสิทธิภาพการทางาน จะเห็นได้ว่าประสิทธิภาพของการทางานของทุกอย่างมีค่าไม่มาก(ไม่เกิน 50%) ประสิทธิภาพ(%) การทางานของร่างกายและเครื่องกล ร่างกายขณะขี่จักรยาน 20 ร่างกายขณะว่ายนา 2 ร่างกายขณะขุดดิน 3 เครื่องจักรไอนา 17 เครื่องยนต์ 38 โรงไฟฟ้ าพลังงานนิวเคลียร์ 35 โรงไฟฟ้ าถ่านหิน 42
  • 60. ตัวอย่าง ในการเดินขึ้นบันไดประสิทธิภาพการทางานของรางกายมนุษย์คือ 20% จากตัวอย่างที่ ก) พลังงานที่ชายคนนี้ต้องการในการเดินขึ้นบันไดมีค่าเป็นเท่าไร ข) พลังงานความร้อนที่เกิดจากการเดินขึ้นบันไดมีค่าเท่าไร ค) อัตราการผลิตพลังงานความร้อนในหน่วยวัตต์ ในขณะเดินขึ้นบันไดมีค่า เท่าไร ง) อัตราการผลิตพลังงานความร้อนในหน่วยวัตต์ ในขณะวิ่งขึ้นบันไดมีค่า เป็นเท่าไร ระดับอ้างอิง 2เมตร m = 60 กิโลกรัม • การเดินขึ้นบันใดที่สูง 2 เมตร ในเวลา 7 วินาที • แต่ชายคนดังกล่าววิ่งขึ้นบันไดในเวลา 2 วินาที
  • 61. 𝐸𝑓𝑓 = 35% 𝐸𝑖𝑛 =? 𝑊𝑜𝑢𝑡 = 1,000 𝑀𝑊 ตัวอย่าง โรงไฟฟ้ าพลังงานนิวเคลียร์ที่มีประสิทธิภาพการทางาน 35% ผลิต พลังงานไฟฟ้ า 1,000 MW ให้หาอัตราการผลิตของเสียในรูปของ พลังงานความร้อนในหน่วย MW • ปริมาณพลังงานความร้อนที่ได้มาจากโรงไฟฟ้ าพลังงานนิวเคลียร์หรือโรงไฟฟ้ าธรรมดามีค่าสูงมาก