SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
การช่ วยฟื้ นชีวตทารกและทารกแรกเกิดสาหรับพยาบาลฉุกเฉิน
                           ิ
         (Infant and Neonatal Resuscitation for Emergency Nurse)



                                                                            จักรี กัวกาจัด*
                                                                                    ้
                                                  (Pediatric Emergency & Critical Care Nursing)

บทนา
      CPR (cardiopulmonary resuscitation) หรื อการกู้ชีวิต หรื อ การช่วยฟื นชีวิต หมายถึง การปฏิบตการ
                                                                            ้                    ัิ
เพื่อช่วยฟื นการทางานของระบบไหลเวียนเลือดที่หยุดการทางานอย่างกระทันหันเพื่อให้ หวใจกลับมาเต้ น
            ้                                                                         ั
เองได้ ตามปกติ โดยไม่เกิดความพิการของสมอง CPR เป็ นการช่วยชีวิตคนที่หวใจหยุดเต้ นหรื อเต้ นอ่อน
                                                                                 ั
แรง ซึงต้ องได้ รับการช่วยอย่างทันที โดยมุงการช่วยเหลือฉุกเฉินให้ มีอากาศและเลือดไหลเวียนไปเลี ้ยง
          ่                                      ่
ร่างกาย (Basic Life Support) แล้ วตามด้ วยการกระตุ้นหรื อรักษาพยาบาลให้ หวใจกลับทางานขึ ้นมาอีก
                                                                                   ั
ครัง โดยอาศัยเครื่ องมือ ยา (Advanced Cardiac Life Support) และให้ การดูแลผู้ป่วยหลัง CPR
    ้
(Prolong Life Support) การช่วยฟื นชีวิตจะได้ ผลดีหากช่วยให้ มีการไหลเวียนโลหิตที่มี ออกซิเจนเพียงพอ
                                        ้
ไปเลี ้ยงร่างกายก่อนที่ระบบหัวใจและระบบหายใจจะเริ่มทางาน ถ้ าทา Basic Life Support ได้ ภายใน 4
นาทีหลัง Cardiac arrest หรื อได้ รับ Advanced Cardiac Life Support ภายใน 5 นาที จะช่วยชีวิตไว้ ได้
มาก ถ้ าช้ ากว่านี ้จะช่วยฟื นคืนชีพได้ ยาก การช่วยฟื นชีวิตประกอบด้ วย 3 ระยะ คือ
                             ้                        ้
    Basic Life Support (BLS) หมายถึง การปฏิบติการที่เร่งด่วนทันที ช่วยให้ การหายใจดีขึ ้น
                                            ั
และการไหลเวียนเกิดขึ ้นชัวคราว ประกอบด้ วย
                         ่

A = Airway management : ประเมินสภาพทางเดินหายใจ ช่วยจัดทางเดินหายใจให้ โล่ง

B = Breathing : ประเมินสภาพการหายใจ ให้ การช่วยหายใจ

C = Circulation : ประเมินสภาพระบบไหลเวียน ให้ การช่วยเหลือให้ เกิดการไหลเวียน อย่าง มีประสิทธิภาพ

     Basic Life Support เป็ นการช่วยชีวิตผู้ป่วยอย่างเร่งด่วน โดยไม่จาเป็ นต้ องใช้ เครื่ องมือ และไม่มี
ความจาเป็ นที่จะต้ องเป็ นแพทย์หรื อพยาบาลเท่านัน โดยมีวตถุประสงค์คือ ทาให้ เกิดการไหลเวียนทดแทน
                                                 ้       ั
หน้ าที่หวใจ
         ั        และนาเอาอากาศเข้ าสูปอดโดยการเป่ าเอาลมหายใจออกของผู้ชวยเหลือเข้ าไปแทนการ
                                        ่                                      ่
หายใจธรรมดาของผู้ป่วย เพื่อปองกันการขาด O2 ของอวัยวะที่สาคัญของร่างกาย การช่วยชีวิตจะมี
                                 ้
ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ ้นถ้ ารี บทาภายใน 4 นาที หลังการหยุดทางานของหัวใจและปอดของผู้ป่วย เนื่องจาก
ระบบต่าง ๆ ของร่างกายยังพอทนกับการขาดออกซิเจน ได้ บ้าง

*
    Nurse Instructor : Department of Pediatrics Nursing. Boromarajonani College of Nursing, Bangkok
2

       Advanced Cardiac Life Support (ACLS) คือ ระยะของการกระตุ้น การทางานของหัวใจ หรื อการ
ช่วยชีวิตขันสูง เนื่องจากต้ องใช้ อปกรณ์ตาง ๆ เข้ ามาช่วยในการกู้ชีวิต ซึง ประกอบด้ วย
           ้                       ุ     ่                               ่

D = DRUG รวมถึง O2 และเครื่ องมือ Support airway ต่าง ๆ

E = ECG ตรวจดูคลื่นหัวใจและให้ การรักษาพยาบาลตามสภาพการทางานของหัวใจ

F = Fibrillation treatment ให้ การช่วยเหลือโดยใช้ เครื่ องกระตุ้นหัวใจ

     ซึงเป็ นขันตอนที่พยายามกระตุ้นให้ หวใจกลับมาทางานอย่างเดิม โดยใช้ ยาและเครื่ องมือพิเศษที่
       ่       ้                              ั
นอกเหนือจากมือเปล่าร่วมกับ Basic Life Support ดังนัน Advanced Cardiac Life Support ก็คือ Basic
                                                           ้
Life Support ที่ใช้ เครื่ องมือเข้ าช่วยนันเอง ดังภาพที่ 1
                                          ่




                  ภาพที่ 1 การ Hold mask บีบ Ambu bag แทนการเป่ าปาก
      เราจะไม่พยายามหยุดทาการช่วยชีวิตนานเกินกว่า 7 วินาที ยกเว้ นต้ องใส่ทอช่วยหายใจซึงจะให้
                                                                                    ่              ่
เวลานาน 30 วินาที เป็ นอย่างต่า จะเห็นว่าการใส่ทอช่วยหายใจจะเป็ นการเสียเวลาทาให้ ระบบของ
                                                      ่
ร่างกายขาดเลือดไปเลี ้ยงชัวคราวจึงควรใส่ท่อช่วยหายใจเมื่อจาเป็ นเท่านัน ซึงข้ อบ่งชี ้การใส่ท่อช่วยหายใจ
                          ่                                           ้ ่
CHAKRI KUA : Nurse Instructor : Department of Pediatrics Nursing. Boromarajonani
College of Nursing, Bangkok
3

    คือ ไม่สามารถเปิ ดทางเดินหายใจได้ ดีตลอดเวลา อยูในภาวะเสี่ยงต่อการสาลักเศษอาหารและผู้ป่วย
                                                                 ่
    สภาพไม่ดี หากแก้ ไขแล้ วก็ยงต้ องใช้ เครื่ องช่วยหายใจอยู่อีกนาน
                               ั
         Prolong Life Support (PLS) : การให้ การดูแลผู้ป่วยหลัง CPR ประกอบด้ วย

   G = Gauging ประเมินสภาพที่ทาไปทังหมดว่าถูกต้ องหรื อบกพร่ องที่ใด ดูวามีภาวะแทรกซ้ อนอะไรบ้ าง
                                   ้                                    ่
จากการ CPR ตรวจสภาพการทางานของอวัยวะสาคัญและแก้ ไข

   H = Human mentation (การดารงความเป็ นคน) รักษาชีวิตของเซลล์สมอง (Brain cell) ไว้ รักษา
สมองบวม ลดการใช้ O2 ของ Cell สมอง ให้ อาหารแก่ Cell สมอง

    I = Intensive Care เฝาดูอาการผู้ป่วยอย่างใกล้ ชิด ระวังไม่ให้ หวใจหยุดเต้ นอีก
                         ้                                         ั

การช่ วยกู้ชีพในทารกและทารกแรกเกิด
      การเกิดถือเป็ นเรื่ องที่น่ายินดีสาหรับทุก ๆ คน และในขณะเดียวกันอาจจะเป็ นเหตุการณ์วิกฤติที่เป็ น
อันตรายที่สดครังหนึงที่บคลากรทางการพยาบาลอาจต้ องพานพบเจอ โดยเฉพาะในหน่วยบริการฉุกเฉินทังใน
               ุ ้ ่ ุ                                                                                     ้
และนอกโรงพยาบาล ที่อาจต้ องรับดูแลรักษาทารกแรกเกิดทังในภาวะปกติ ภาวะผิดปกติ และทารกแรกเกิดที่มี
                                                                ้
ภาวะเสี่ยงอันตราย หรื อแม้ กระทังทารกแรกเกิดที่อยูในระยะวิกฤติ โดยเฉพาะทารกที่มีข้อบ่งชี ้ว่า มีความ
                                        ่               ่
จาเป็ นต้ องได้ รับการช่วยกู้ชีพ ถึงแม้ วาสถิตเิ ด็กแรกเกิดที่ต้องการการช่วยกู้ชีพในหน่วยบริ การฉุกเฉินอาจมีไม่
                                            ่
มากนัก ซึงมักจะพบในห้ องคลอดเป็ นส่วนใหญ่ แต่ในปั จจุบนจานวนเด็กทารกที่ต้องการความช่วยเหลือ ก็มี
             ่                                                     ั
มากขึ ้นตามจานวนการเกิดของทารกที่มีปริมาณเพิ่มขึ ้น การตายของทารกทัวโลก (Neonatal deaths) มี
                                                                                  ่
จานวนประมาณ 5 ล้ านคนต่อปี ซึงพบว่า 19% เกิดจากภาวะขาด O2 ตังแต่แรกเกิด (Birth asphyxia)
                                          ่                                         ้
( WHO, 1995)
             การช่วยกู้ชีพในทารกและทารกแรกเกิดมีความแตกต่างจากเด็กโตและผู้ใหญ่อยูบ้าง(ตารางที่ 2)
                                                                                       ่
ทังนี ้เนื่องจากทารกมีสรี ระวิทยาที่แตกต่างจากเด็กโตและผู้ใหญ่ โดยโอกาสในการรอดชีวิตภายหลังจากการ
  ้
ช่วยฟื นชีวิตก็มีโอกาสแตกต่างกันไป ขึ ้นอยู่กบหลายปั จจัย เช่นในทารกคลอดก่อนกาหนดและทารกคลอดครบ
         ้                                    ั
กาหนดที่ต้องได้ รับการช่วยฟื นชีวิตมีโอกาสเสี่ยงต่อการสูญเสียชีวิตจาก Cardiac arrest สูงถึงร้ อยละ 70 - 90
                               ้
และร้ อยละ 90 – 97 ในเด็ก ทังนี ้ร้ อยละ 50 – 65 ของเด็กที่ใช้ CPR คือทารกซึงมีอายุต่ากว่า 1 ปี โดยกลุมที่พบ
                                 ้                                           ่                        ่
ได้ บอยคือ ทารกที่อายุน้อยกว่า 6 เดือนและร้ อยละ 6 ของแรกเกิดมักต้ องใช้ CPR ในขณะที่ทารกคลอด ซึง
     ่                                                                                                     ่
อุบตการณ์จะเพิ่มสูงขึ ้นในทารกที่มีน ้าหนักน้ อยกว่า 1,500 กรัม ทังนี ้ปั จจัยในด้ านความพร้ อมของบุคลากร
    ัิ                                                                ้
ตลอดจนความพร้ อมของอุปกรณ์สาหรับใช้ ในการช่วยฟื นชีวิตมีความสาคัญอย่างมาก ซึงอุปกรณ์ที่จาเป็ นมี
                                                       ้                                  ่
ดังนี ้


    CHAKRI KUA : Nurse Instructor : Department of Pediatrics Nursing. Boromarajonani
    College of Nursing, Bangkok
4

    อุปกรณ์ ท่ จาเป็ นสาหรับใช้ ในการช่ วยฟื ้ นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด ได้ แก่
               ี
** Suggestion = Equipments พื ้นฐานที่ควรมีในรถ Ambulance ซึงครอบคลุมในระบบ
                                                               ่
                  Pre- Hospital emergency care
     1. อุปกรณ์ สาหรั บการดูดเสมหะและสารคัดหลั่ง
        - ลูกสูบยางแดง (Bulb syringe) **
        - เครื่ องสาหรับดูดเสมหะ (Mechanical suction) **
        - สายสาหรับดูดเสมหะ (Suction catheter) เบอร์ 5F หรื อ 6F, 8F, 10F, 12F หรื อ 14F **
       - อุปกรณ์สาหรับดูดขี ้เทา (Meconium aspirator) **
      - สายให้ อาหาร (NG-tube for feeding) เบอร์ 8F และกระบอกฉีดยา (syringe) ขนาด 20 CC **
       2. อุปกรณ์ สาหรับการให้ ออกซิเจน (bag และ mask)
          - อุปกรณ์สาหรับให้ การช่วยหายใจด้ วยแรงดันบวกที่สามารถให้ O2 ความเข้ มข้ น ได้ ถึง 90% ถึง
100% (Infant resuscitation bag with reservoir / the bag must be capable of delivering 90% to 100%
oxygen)
          - หน้ ากากชนิดขอบนิ่ม (Face masks) ขนาด สาหรับ newborn and premature **
          - แหล่งจ่าย O2 พร้ อมตรวจวัดอัตราไหลของก๊ าซ (เปิ ดได้ ถึง 10 ลิตร/นาที) พร้ อมสายต่อ
            (Oxygen with flow meter (flow rate up to 10 L/min) with tubing)**
       3. อุปกรณ์ สาหรั บการใส่ ท่อช่ วยหายใจ
  - Laryngoscope พร้ อม blades ชนิดตรง เบอร์ 0 (Laryngoscope with straight blades No. 0) สาหรับ
ทารกคลอดก่อนกาหนด และ เบอร์ 1 สาหรับทารกครบกาหนด**
  - Endotracheal tube sizes 2.5, 3.0, 3.5, 4.0 mm. **
  - หลอดไฟและแบตเตอรี่ สารองสาหรับ laryngoscope (Extra bulbs and batteries for laryngoscope)**
  - ลวด Stylet (แล้ วแต่ความถนัดใช้ )
  - กรรไกร, เทปกาวหรื ออุปกรณ์สาหรับตรึงท่อหายใจ, สาลีชปแอลกอฮอล์**
                                                          ุ
 - เครื่ องตรวจหาก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์ หรื อ Capnograph
 -     Laryngeal mask airway (แล้ วแต่ความถนัดใช้ )
        4. ยาและสารนาต่ างๆ **
                        ้
           - Epinephrine 1:10, 000 (0.1 mg/mL) 3-mL or 10-mL/ ampules
           - Isotonic crystalloid (normal saline or Ringer's lactate) for volume expansion 100 or 250 mL
           - Sodium bicarbonate 4.2% (5 mEq/10 mL) 10-mL/ ampules

     CHAKRI KUA : Nurse Instructor : Department of Pediatrics Nursing. Boromarajonani
     College of Nursing, Bangkok
5

          - Naloxone hydrochloride 0.4 mg/mL 1-mL /ampules; or 1.0 mg/mL 2-mL/ ampules
          - Dextrose 10%, 250 mL
          -Normal saline, 30 mL (ใช้ สาหรับไล่สาย)
       5. อุปกรณ์ สาหรับใส่ สาย umbilical catheter
          - ถุงมือปราศจากเชื ้อ
          - ใบมีด (scalpel) หรื อกรรไกร
          - น ้ายาฆ่าเชื ้อ
           - umbilical artery catheterization tray
           - umbilical tape
           - umbilical catheters (3.5F และ 5F)
           - 3-way stopcocks
          - Syringes (1, 3, 5, 10, 20 และ 50 mL )
          - Needles (No. 25, 21 และ 18
          - Gauge หรื อ อุปกรณ์เจาะสาหรับ needleless system
       6. อุปกรณ์ อ่ ืนๆ
          - Radiant warmer or other heat source
          - Stethoscope
          - Firm, padded resuscitation surface
         - พลาสเตอร์ , ถุงมือปราศจากเชื ้อ, Syringes, Needles
        - Cardiac monitor and electrodes and/or pulse oximeter with probe (optional for delivery room)
        - Oropharyngeal airways


   การช่ วยฟื ้ นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดประกอบด้ วย ขันตอนต่างๆ ดังนี ้ (ภาพที่ 2)
                                                      ้
   1. การช่ วยเหลือพืนฐานหรือขันต้ น (Basic step) ได้ แก่ การช่วยเหลือในการดูแลให้ ทารกแห้ ง
                       ้         ้
และอบอุน จัดท่านอนให้ ทารก ดูดเสมหะให้ ทารกและกระตุ้นทารก
       ่
   2. Ventilation
   3. Chest compression


   CHAKRI KUA : Nurse Instructor : Department of Pediatrics Nursing. Boromarajonani
   College of Nursing, Bangkok
6




                              ภาพที่ 2 Newborn Resuscitation Pyramid
    1. การช่ วยเหลือพืนฐานหรือขันต้ น (Basic step) ประกอบด้ วยการช่วยเหลือดังต่อไปนี ้
                      ้         ้
     - การดูแลเรื่ องความอบอุน และปองกันการสูญเสียความร้ อนให้ แก่ทารก (Warmth) โดยการเช็ดตัวทารก
                                 ่       ้
ให้ แห้ ง วางทารกใต้ เครื่ องรังสีความร้ อน (Radiant warmer) และห่อตัวให้ ทารกด้ วยผ้ าที่อนหรื ออาจให้ ทารก
                                                                                               ุ่
นอนบนหน้ าอก หรื อท้ องของมารดา (skin to skin contact)
     - เปิ ดทางเดินหายใจให้ โล่ง (Clearing the airway) โดยใช้ นิ ้วชี ้ดึงคางขึ ้นมืออีกข้ างหนึงกดหน้ าผากลง
                                                                                                  ่
เล็กน้ อย เอียงหูและแก้ มฟั งเสียงหายใจตามองที่หน้ าอกเพื่อสังเกตการเคลื่อนไหวของทรวงอกและประเมินการ
หายใจหลังจากนันดูดเสมหะในปากและจมูกตามลาดับ
                    ้




    ภาพที่ 3 การจัดท่านอนเพื่อเปิ ดทางเดินหายใจให้ โล่ง (Clearing the airway) การจัดท่านอน
    สาหรับทารก (Positioning) ควรจัดให้ ทารกนอนหงายหรื อนอนตะแคง โดยแนวของศีรษะควรตรง
    และเงยหน้ าเล็กน้ อยเพื่อเปิ ดทางเดินหายใจให้ โล่งซึงอาจใช้ ผ้าห่มหรื อผ้ าเช็ดตัวม้ วนรองใต้ ไหล่
                                                        ่
    ของทารกสูงจากพื ้นที่ทารกนอนประมาณ 2 - 3 เซนติเมตร (3/4 – 1 นิ ้ว)


    CHAKRI KUA : Nurse Instructor : Department of Pediatrics Nursing. Boromarajonani
    College of Nursing, Bangkok
7




                            ภาพที่ 4 การจัดท่านอนที่ถกวิธีเพื่อเปิ ดทางเดินหายใจให้ โล่ง
                                                     ู
       - การดูดเสมหะ (Suctioning) โดยขณะที่ผ้ ทาคลอดกาลังคลอดศีรษะของทารก ผู้ชวยที่ทาคลอดควรใช้
                                              ู                                      ่
ลูกสูบยางแดงดูดเสมหะจากในปาก โดยการดูดเสมหะในปากควรทาทันทีภายหลังจากที่คลอดศีรษะของทารก
แล้ ว หลังจากนันจึงดูดในคอและจมูกตามลาดับ (ภาพที่ 5) จนกระทังแน่ใจว่าไม่มีเสมหะ
               ้                                                ่




               ภาพที่ 5 การดูดเสมหะโดยใช้ ลกสูบยางแดงดูดในปาก คอและจมูกตามลาดับ
                                           ู
         - Clearing the airway of meconium ในกรณีที่น ้าคร่ าของมารดามีขี ้เทาปนเปื อน ผู้ทาคลอดหรื อผู้ชวย
                                                                                    ้                    ่
ทาคลอดควรดูด น ้าคร่ าและขี ้เทา โดยอาจใช้ การดูดเสมหะโดยเครื่ อง Suction ต่อกับสายขนาด 12F – 14F
(ภาพที่ 6) หรื อลูกสูบยางแดงดูดในปาก คอและจมูก(ภาพที่ 5) ตามลาดับ ทังนี ้พบว่าทารกร้ อยละ 20 – 30 ที่
                                                                               ้
น ้าคร่ าของมารดามีขี ้เทาปนเปื อนทารกจะมีน ้าคร่ าและขี ้เทาใน trachea ซึงทารกจะมีอาการหายใจลาบาก
                                 ้                                               ่
หรื อไม่มีการหายใจโดยกาลังของกล้ ามเนื ้อจะมีน้อย (decrease muscle tone) อัตราการเต้ นของหัวใจจะน้ อย
กว่า 100 ครังต่อนาที ดังนันทันทีที่วางทารกลงบนเตียงรับเด็ก ให้ ดดน ้าคร่ าและขี ้เทาจาก oropharynx และ
                ้              ้                                        ู
nasopharynx โดยการใส่ laryngoscope (ภาพที่ 7) และดูดน ้าคร่ าและขี ้เทาโดยเครื่ องต่อกับสายขนาด 12F –
14F โดยแรงที่ใช้ ดดไม่ควรเกิน 100 mm Hg (136 cm H2O) หรื อใช้ ลกสูบยางแดง โดยห้ ามเช็ดตัวทารกหรื อทา
                    ู                                                 ู
การกระตุ้นใดๆ ทังนี ้เพื่อปองกันไม่ให้ ทารกสูดสาลักน ้าคร่ าและขี ้เทาเข้ าไปในปอด หลังจากนันใส่ทอทางเดิน
                      ้      ้                                                               ้ ่
หายใจและดูดน ้าคร่ าและขี ้เทาโดยใช้ meconium aspirator (ภาพที่ 8) โดยดูดจนกระทังไม่มีขี ้เทาและอัตรา
                                                                                        ่
การเต้ นของหัวใจกลับมาสูสภาวะปกติแล้ วทาการช่วยฟื นชีวิตตามขันตอนปกติ
                           ่                           ้            ้


      CHAKRI KUA : Nurse Instructor : Department of Pediatrics Nursing. Boromarajonani
      College of Nursing, Bangkok
8




         ภาพที่ 6 การดูด น ้าคร่ าและขี ้เทาโดยเครื่ อง Suction ต่อกับสายขนาด 12F – 14F




    ภาพที่ 7 การดูดน ้าคร่ าและขี ้เทาจาก oropharynx และ nasopharynx โดยการใส่ laryngoscope




CHAKRI KUA : Nurse Instructor : Department of Pediatrics Nursing. Boromarajonani
College of Nursing, Bangkok
9




              ภาพที่ 8 การดูด น ้าคร่ าและขี ้เทาโดย endotracheal tube with meconium aspirator


- Tactile stimulation การกระตุ้นทารกควรกระตุ้นโดยการตีหรื อดีดฝ่ าเท้ า หรื อใช้ ฝ่ามือลูบที่หลังทารก (ภาพที่
9) ทังนี ้ไม่ควรใช้ เวลานานเกิน 15 – 20 วินาที
     ้




                ภาพที่ 9 การกระตุ้นทารกโดยการตีหรื อดีดฝ่ าเท้ า และใช้ ฝ่ามือลูบที่หลังทารก
- Oxygen administration ข้ อบ่งชี ้ในการให้ ออกซิเจนแก่ทารกแรกเกิดคือ ให้ 100% ออกซิเจนในรายที่มีภาวะ
cyanosis อัตราการเต้ นของหัวใจน้ อยกว่า 100 ครังต่อนาที หรื อมีอาการของการหายใจลาบาก โดยการให้
                                                    ้
100% ออกซิเจน (ควรเปิ ดอย่างน้ อย 5L/M) อาจให้ ผ่านทาง face mask and flow-inflating bag หรื อ oxygen
mask หรื อ วิธี hand cupped around oxygen tubing (ภาพที่ 10)


      CHAKRI KUA : Nurse Instructor : Department of Pediatrics Nursing. Boromarajonani
      College of Nursing, Bangkok
10




        ภาพที่ 10 การให้ ออกซิเจนแก่ทารกแรกเกิดโดยวิธี hand cupped around oxygen tubing
2. Ventilation
       การกระตุ้นการหายใจ ควรให้ ออกซิเจนทางสายเข้ า face mask แต่ถ้าทารกยังหายใจไม่ดีขึ ้นควรให้
positive pressure ventilation (PPV) ด้ วยออกซิเจน 100% โดยข้ อบ่งชี ้ในการให้ PPV คือ
   1. ทารกที่ไม่หายใจ
   2. ทารกที่ไม่ตอบสนองต่อการกระตุ้นการหายใจ
   3. ในรายที่ทารกมี apnea หรื อ gasping respirations
   4. ทารกหายใจ แต่มีอตราการเต้ นของหัวใจน้ อยกว่า 100 ครังต่อนาที
                         ั                                  ้
   5. ทารกที่มีภาวะ cyanosis แม้ วาได้ ให้ 100% ออกซิเจน ผ่านทาง face mask and flow-inflating bag หรื อ
                                  ่
oxygen mask หรื อ วิธี hand cupped around oxygen tubing
        โดยการทา PPV ควรจัดท่าให้ ทารกโดยการแหงนคอขึ ้นเล็กน้ อย เลือกขนาดของ maskให้ เหมาะสมกับ
ทารกโดย mask ต้ องคลุมคางถึงดังจมูก การบีบให้ บีบค้ างไว้ 2 – 3 วินาที ในการบีบช่วงแรกควรบีบแรง
                                     ้
พอประมาณให้ เห็นทรวงอกขยับได้ ดีพอควรแล้ วจึงบีบในอัตรา 40 - 60 ครังต่อนาที โดยผู้ที่บีบ bag ควรประเมินว่า
                                                                       ้
ทรวงอกทังสองข้ างของทารกขยับเท่ากันหรื อไม่ เสียงหายใจของทารก อัตราการเต้ นของหัวใจ และสีผิว หากทารก
              ้
อาการไม่ดีขึ ้นให้ ตรวจสอบว่าขอบของ mask แนบสนิทกับใบหน้ าของทารกหรื อไม่ ทางเดินหายใจของทารกอุดตัน
หรื อไม่ ซึงการทา PPV อาจทาให้ ลมเข้ าในกระเพาะอาหารของทารกได้ จึงอาจต้ องใส่สาย OG-tube แล้ ว aspirate
            ่
content และเปิ ดปลายสายไว้ หากทารกอาการยังไม่ดีขึ ้นอาจต้ องพิจารณาใส่ท่อหลอดลมคอ (ET - tube) โดยมี
ข้ อบ่งชี ้ในการใส่ท่อหลอดลมคอ Endotracheal tube (ET tube) คือ
    1. ทารกที่มีน ้าคร่ าและขี ้เทาใน trachea และต้ องดูดออก
    2. ทารกได้ ทา PPV ด้ วย bag และ mask แล้ วแต่อาการไม่ดีขึ ้น
    3. ทารกที่ต้องช่วยเหลือโดยการทา Chest compression
    4. ทารกที่สงสัยว่ามี Diaphragmatic hernia

     CHAKRI KUA : Nurse Instructor : Department of Pediatrics Nursing. Boromarajonani
     College of Nursing, Bangkok
11

   5. ทารกที่มีน ้าหนักตัวน้ อยกว่า 1,500 กรัมและไม่มีการหายใจ อัตรการเต้ นของหัวใจน้ อยกว่า 100 ครังต่อนาที
                                                                                                    ้
โดยในการใส่ ET tube ควรเลือกขนาดให้ เหมาะสมกับตัวทารก (ตารางที่ 1) ส่วนตาแหน่งในการใส่ผ้ ใส่จะดู vocal
                                                                                              ู
cord เป็ นแนว (ภาพที่ 11) โดยใส่ลงไปให้ ปลายของท่ออยูเ่ หนือตาแหน่งของ carina ซึงความลึกของ tube
                                                                                  ่
สามารถคานวณได้ จากสูตรดังต่อไปนี ้
        นาหนัก (กิโลกรัม) + 6 เซนติเมตร = ระดับความลึก ณ ตาแหน่ งที่ขอบปากของทารก
         ้
        ตารางที่ 1 ขนาดของท่อหลอดลมคอและความยาวของท่อหลอดลมคอจากปลายท่อถึงริม
                           ฝี ปากตามน ้าหนักและอายุครรภ์ของทารก

                                             เส้ นผ่าศูนย์กลาง   ความยาวของท่อหลอดลมคอ
            น ้าหนักทารก       อายุครรภ์
                                              ของท่อหลอดลม        จากปลายท่อถึงริมฝี ปาก
                (กรัม)        (สัปดาห์)
                                                   (มม.)                 (ซม.)
               Weight      Gestational Age
                (gm)           (weeks)          Tube Size
                                                                    Depth of Tube (cm.)
                                                (ID mm)


               <1000             <28                2.5                   6.5 -7

             1000-2000          28-34               3.0                     7-8

             2000-3000          34-38               3.5                     8-9

               >3000             >38             3.5-4.0                    >9



              ภายหลังจากการใส่ แล้ วสิ่งที่ควรประเมินได้ แก่ ความสมมาตรของการเคลื่อนไหวของทรวงอกทังสอง
                                                                                                  ้
      ข้ าง การฟั งเสียงหายใจ การประเมินว่าไม่มีลมเข้ าไปในกระเพาะอาหาร และสามารถสังเกตที่ท่อหลอดลม
      ควรมีไอหรื อความชื ้นเมื่อทารกหายใจออก




      CHAKRI KUA : Nurse Instructor : Department of Pediatrics Nursing. Boromarajonani
      College of Nursing, Bangkok
12




                     ภาพที่ 11 การใส่ทอหลอดลมคอและสรี ระวิทยาของ Vocal cord
                                      ่
3. Chest compression
       การทา Chest compression จะทาก็ตอเมื่อทารกมีอตราการเต้ นของหัวใจน้ อยกว่ า 60 ครัง/นาที แม้ วาได้
                                           ่           ั                                ้          ่
ให้ การช่วยเหลือด้ วยการให้ ออกซิเจน 100 % โดย bag และ mask แล้ วประมาณ 30 วินาที โดยวิธีการทา Chest
compression ควรเลือกทาจากวิธีใดวิธีหนึงจาก 2 วิธี ดังนี ้
                                         ่
          3.1 Two-finger technique คือ การเอานิ ้วกลางและนิ ้วชี ้วางลงบนกระดูกหน้ าอก (sternum) ในระดับต่า
กว่าราวนมและเหนือลิ ้นปี่ ในแนวตรง โดยให้ ระดับของนิ ้วทังสองอยูในแนวเดียวกัน (ภาพที่ 12) กดลงลึกประมาณ
                                                             ้     ่
1/2 หรื อ 3/4 นิ ้ว (หรื อ1/3 ของ anterior-posterior (AP) diameter ของทรวงอกทารก)
          3.2 Thumb technique คือ การเอามือ 2 ข้ างโอบรอบทรวงอกของทารก โดยให้ ฝ่ามือแนบกับแผ่นหลัง
ของทารก แล้ ววางนิ ้วหัวแม่มือทังสองข้ างบนกระดูกหน้ าอก (sternum) ชิดกันหรื อนิ ้วหัวแม่มือทังสองอาจวางซ้ อน
                                   ้                                                          ้
กันถ้ าหากทรวงอกของทารกเล็กมาก (ภาพที่ 13) กดลงลึกประมาณ 1/2 หรื อ 3/4 นิ ้ว
         ทังนี ้ทางปฏิบตแนะนาให้ ใช้ Two-finger technique ก่อนเนื่องจากมีความคาดเคลื่อนน้ อย และผู้ให้ การ
           ้           ัิ
ช่วยเหลือทารกจะหยุดทา Chest compression เมื่อทารกมีอตราการเต้ นของหัวใจมากกว่ า 60 ครัง/นาที
                                                         ั                                  ้




      CHAKRI KUA : Nurse Instructor : Department of Pediatrics Nursing. Boromarajonani
      College of Nursing, Bangkok
13




                                                                             ภาพที่ 13 Thumb technique

                    ภาพที่ 12 Two-finger technique


      4. Administration of medication or fluids
      - Epinephrine 1:10,000 concentration Dosage 0.1 – 0.3 mL/kg of 1:10,000 solution
             ข้ อบ่งชี ้ในการให้ ยาคือ ไม่สามารถฟั งเสียงหัวใจเต้ นได้ หรื ออัตราการเต้ นของหัวใจต่ากว่า 60 ครังต่อนาที
                                                                                                               ้
หลังจากได้ ชวยโดยที่ได้ ชวยเหลือโดยการทา PPV ด้ วย ออกซิเจน100% ร่วมกับการทา chest compression แล้ ว
                 ่             ่
เป็ นเวลา 30 วินาที (ภาพที่ 15) ซึงอาจจะให้ ทาง ET tube หรื อ umbilical venous catheter โดยสามารถให้ ซ ้าได้
                                        ่
ทุก 5 นาทีถ้าอัตราการเต้ นของหัวใจยังคงต่ากว่า 60 ครังต่อนาที้
      - Sodium bicarbonate 4.2% (5 mEq/10 mL) concentration Dosage 2 mEq/kg และ Rate 1 mEq/kg
per minute
       ข้ อบ่งชี ้ในการให้ ยาคือ เมื่อทารกไม่ตอบสนองต่อการช่วยเหลืออื่นๆ ซึงอาจจะให้ ทาง umbilical venous
                                                                                  ่
catheter โดยให้ ช้าๆ นานอย่างน้ อย 2 นาที
     - Naloxone hydrochloride 0.4 mg/mL หรือ 1.0 mg/mL solution Dosage 0.1 mq/kg
          ข้ อบ่งชี ้ในการให้ ยาคือ เมื่อสงสัยว่าทารกมี severe respiratory distress และมีประวัตว่ามารดาได้ รับยา
                                                                                                    ิ
narcotic ภายใน 4 ชัวโมงก่อนคลอด ซึงอาจจะให้ ทาง ET tube หรื อ umbilical venous catheter - Isotonic
                           ่                  ่
crystalloid (normal saline or Ringer's lactate) for volume expansion Dosage 10 mL/kg
          ข้ อบ่งชี ้ในการให้ คือ เมื่อสงสัยว่าทารกมีอาการของภาวะ hypovolumia

      CHAKRI KUA : Nurse Instructor : Department of Pediatrics Nursing. Boromarajonani
      College of Nursing, Bangkok
14

             ตารางที่ 2 ความแตกต่างของการช่วยฟื นชีวิตในทารกแรกเกิด, เด็กและผู้ใหญ่
                                                ้

            วิธีการ              เด็กแรกเกิด               เด็ก < 8 ขวบ               ผู้ใหญ่

                              mouth to mouth and mouth to mouth &
1. วิธีชวยหายใจ
        ่                                                                        mouth to mouth
                                     nose        nose mouth to mouth

2. อัตราการเป่ าขยายปอด         40-60 ครัง / นาที
                                         ้                 20 ครัง / นาที
                                                                 ้                 12 ครัง / นาที
                                                                                         ้

                             หลอดเลือดที่ข้อพับแขน        หลอดเลือดที่คอ         หลอดเลือดที่คอ
3. ตาแหน่งของชีพจร
                               (brachial artery)          (carotid artery)       (carotid artery)

4. ตาแหน่งการวางมือเพื่อ       กลางกระดูกหน้ าอก        กลางกระดูกหน้ าอก lower 1/3 ของกระดูก
ช่วยนวดหัวใจ                      (sternum)                (sternum)        หน้ าอก (sternum)

 5. land mark ของระดับ       1 นิ ้วมือใต้ เส้ นระดับราว 2 นิ ้วมือเหนือกระดูก 2 นิ ้วมือเหนือกระดูก
วางมือ                                   นม                ลิ ้นปี่ (Xiphoid)     ลิ ้น (Xiphoid)

6. ขนาดของมือที่ใช้ นวด     ใช้ Two-finger technique ใช้ ส้นมือ ของมือข้ าง ใช้ ส้นมือ ของมือ 2
หัวใจ                        หรื อ Thumb technique            เดียว                  ข้ าง
7. ระดับความลึกการกด
                                 1/3 ของทรวงอก         1/3 - 1/2 ของทรวงอก 1 1/2 - 2 ของทรวงอก
กระดูก sternum
                                 120 ครัง / นาที
                                        ้
8. ความเร็วการกด                                          ~100 ครัง / นาที
                                                                  ้              ~100 ครัง / นาที
                                                                                         ้
                             (กด 90 /ช่วยหายใจ 30)

                                                       15 : 2 โดย ผู้ชวยเหลือ 30 : 2 โดยผู้ชวยเหลือ
                                                                      ่                     ่
9. อัตราส่วนการนวดหัวใจ                                        2 คน                   1 คน
                                      3:1
ต่อการเป่ าปาก                                         30 : 2 โดยผู้ชวยเหลือ และ 30 : 2 โดย ผู้ชวย
                                                                     ่                          ่
                                                               1 คน              เหลือ 2 คน

                             1 และ 2 และ 3 และ บีบ
10.วิธีนบ
        ั
                             1 และ 2 และ 3 และ บีบ

  CHAKRI KUA : Nurse Instructor : Department of Pediatrics Nursing. Boromarajonani
  College of Nursing, Bangkok
15




     ข้ อควรพิจารณาในการกู้ชีพทารก
          - ทารกส่วนใหญ่จะตอบสนองต่อการกระตุ้นและการช่วยทา PPV
          - อาการของทารกขึ ้นอยูกับพยาธิสภาพที่มี เช่น หายใจได้ ดีแต่มีอาการเขียว หัวใจเต้ นช้ า
                                ่
          - ภาวะแทรกซ้ อน เช่น ความพิการแต่กาเนิด การติดเชื ้อ
          - หลังจากช่วยทารกด้ วย PPV อย่างมีประสิทธิภาพแล้ ว ทารกควรมี HR, สีผิว และความตึง
          ตัวของกล้ ามเนื ้อดีขึ ้น
             ถ้ าทารกยังมี HR ช้ าควรต้ องตรวจสอบว่าการทา PPV แต่ละครังทาให้ ช่องอกมีการขยายชัดเจนหรื อไม่
                                                                       ้
และสามารถได้ ยินเสียงลมเข้ า-ออกจากปอดโดยการฟั งด้ วย stethoscope ถ้ าไม่เห็น ช่องอกมีการขยายชัดเจน
และไม่ได้ ยินเสียงลมเข้ า-ออกจากปอด อาจเกิดจากสาเหตุการทา PPV ไม่ได้ ประสิทธิภาพ โดยอาจมีการอุดกัน      ้
ทางเดินหายใจ เช่น มีขี ้เทาหรื อสารคัดหลังในช่องคอ (pharynx) หรื อหลอดลม (trachea) หรื อ ความผิดปกติของ
                                           ่
ช่องคอ (Pharyngeal airway malformation) เช่น มีการอุดตันของช่องจมูกแต่กาเนิด (Choanal atresia : กรณีมี
ภาวะนี ้ ให้ ใส่ Oral airway หรื อใส่ nasopharyngeal-tube ในตาแหน่ง posterior pharynx ) โดยเฉพาะ Robin
syndrome (กรณีมี Robin syndrome จับทารกนอนคว่าและใส่ nasopharyngeal-tube ในตาแหน่ง posterior
pharynx ) และสาเหตุจาก Pneumothorax, หรื อ Extreme immaturity และDiaphragmatic hernia เป็ นต้ น
        ซึง Diaphragmatic hernia ส่วนใหญ่มกตรวจพบอาการ ท้ องแฟบ (scaphoid abdomen) เสียงลมหายใจ
          ่                                  ั
ด้ านที่มีพยาธิสภาพลดลงและมีอาการเขียว เมื่อประเมิน และแน่ใจแล้ วว่า ทารกเป็ น Diaphragmatic hernia ข้ อ
ควรปฏิบตสาหรับพยาบาล คือ ไม่ควรให้ การช่วย PPV ผ่านหน้ ากากนานเกินไป ควร ใส่ ET-tube และ On OG-
            ัิ
tube (ตัดปลายให้ มีรูเปิ ด 2 รู) ขนาดใหญ่ทางปาก เพื่อระบายลมจากกระเพาะอาหาร และลดแรงดัน


     ข้ อควรพิจารณาในการพยาบาลหลังกู้ชีพทารกแล้ ว
- อย่าคิดว่าทารกที่ได้ รับการช่วยกู้ชีพแล้ ว อาการจะดีขึ ้นชัดเจน
- ทารกบางรายแม้ ชวยกู้ชีพแล้ ว ยังจาเป็ นต้ องช่วยหายใจอยู่ ซึงทุกรายควรมี HR > 100/min และไม่มีอาการเขียว
                 ่                                            ่
- ต้ องควบคุมอุณหภูมิกายอย่างต่อเนื่อง ติดตามการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพ เฝาระวังภาวะแทรกซ้ อน และ
                                                                          ้
  ติดตาม O2 sat




     CHAKRI KUA : Nurse Instructor : Department of Pediatrics Nursing. Boromarajonani
     College of Nursing, Bangkok
16



       จริยธรรมและการดูแลในการช่ วยกู้ชีพทารก (Ethics and Care at the End of Life)
           ความเอื ้ออาทรต่อผู้เจ็บป่ วยฉุกเฉินในทุกช่วงวัยของชีวิตถือเป็ นหัวใจสาคัญของพยาบาลฉุกเฉิน ดังนัน ้
 หลักจริยธรรมเกี่ยวกับการช่วยชีวิตทารกแรกเกิดจึงไม่ควรแตกต่างจากหลักจริยธรรมที่ใช้ ในการช่วยชีวิตเด็กโต
 หรื อผู้ใหญ่ พยาบาลหรื อทีมผู้ให้ การดูแลในการช่วยกู้ชีพทารกในห้ องฉุกเฉินควรให้ ความเคารพสิทธิและเสรี ภาพ
 ส่วนบุคคล ปฏิบติอย่างซื่อสัตย์และยุตธรรม ซึงต้ องใช้ ความระมัดระวัง โดยอย่าสัญญาใด ๆ ก่อนได้ ข้อมูลที่จาเป็ น
                    ั                      ิ     ่
 ต่อการตัดสินใจ เช่น
 - ถ้ าไม่มีชีพจรหลังจากเต็มที่แล้ วกับการช่วยทารก นาน 10 นาที และไม่มีวี่แววว่า ทารกจะคืนชีพ อาจต้ องหยุด
   การกู้ชีพ
- หลังจากหัวใจหยุดนิ่ง (asystole) 10 นาที ทารกแรกเกิดไม่นาจะรอดชีวิต (ไม่ได้ หมายความว่าจะต้ องผ่านไป 10
                                                             ่
    นาที เท่านันหลังเกิดอาจต้ องใช้ เวลามากกว่า 10 นาที เพื่อประเมินทารกและพยายามช่วยชีวิต)
               ้
                    ตัวอย่ างเกี่ยวกับประเด็นด้ านจริยธรรมสาหรั บผู้ให้ การช่ วยกู้ชีพทารก
       ** ท่ านจะบอกพ่ อแม่ ว่าอย่ างไรดี ถ้ าทารกเสียชีวิต หรือใกล้ เสียชีวิต ??...โดยมี แนวปฏิบัติ เช่ น
           - นังเป็ นเพื่อน เพื่อบอกเขาว่าทารกน้ อยเสียชีวิตแล้ ว (หรื อใกล้ เสียชีวิต)
               ่
           - ไม่มีคาพูดใดทาให้ การสนทนาเจ็บปวดน้ อยกว่านี ้ (ใช้ เทคนิคการเงียบ และสัมผัส)
           - ไม่ต้องใช้ คาสละสลวย เช่น “ลูกน้อยของคุณได้ล่วงลับไปแล้ว”
           - พูดชื่อทารกถ้ า รู้ว่าพ่อแม่ได้ ตงไว้ แล้ ว หรื อถ้ าเป็ นทารกแรกเกิด ให้ แจ้ งเพศ แก่ พ่อ-แม่
                                              ั้
           - “ ยืนยันว่าพวกเขาเป็ นพ่อแม่ที่นารัก และพวกเขาไม่ใช่สาเหตุของปั ญหา”
                                             ่
           -       ให้ กาลังใจพ่อแม่ โดยให้ ข้อมูลที่ชดเจน ตรงไปตรงมา ด้ วยท่าทีที่แสดงความห่วงใย และให้ กาลังใจ
                                                      ั
   *** ให้ พงระวังคาพูดต่ อไปนี ้ โดยเฉพาะสถานการณ์ ในห้ องฉุกเฉิน ที่ท่านปฏิบัตกาลังงานอยู่***.
            ึ                                                                   ิ
               “ดีที่สุดแล้ ว “ “ มันต้ องเป็ นอย่ างนั้น “ “ ไว้ ค่อยมีใหม่ ก็ได้ ”
       “ เด็กพึ่งคลอด และคุณยังไม่ ทนมีเวลาได้ ร้ ู จักหน้ าทารกเลย”
                                    ั


                                                      ่
        “ แล้ ว ! กรุ ณา....อย่ า...ลืม..ให้ กาลังใจซึงกันและกัน..ในทีมกู้ชีวิตห้ องฉุกเฉิน”


       CHAKRI KUA : Nurse Instructor : Department of Pediatrics Nursing. Boromarajonani
       College of Nursing, Bangkok
17




           ภาพที่ 15 Algorithm for resuscitation of the newly born infant

CHAKRI KUA : Nurse Instructor : Department of Pediatrics Nursing. Boromarajonani
College of Nursing, Bangkok
18

เอกสารอ้ างอิง
กัญญา ทักษพันธุ์ บรรณาธิการ. ทารกแรกเกิด. กรุงเทพฯ; ห้ างหุ้นส่วนจากัด โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา.
สมพร โชตินฤมล. (ไม่ระบุ). การช่วยฟื นชีวิตทารกแรกเกิด. หน่วยทารกแรกเกิด ภาควิชากุมารเวชศาสตร์
                                    ้
      คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
American Heart Association and American Academy of Pediatric (1994). Neonatal Resuscitation.
      American Heart Association. Ipp, M. (2005). CPR for infant 1 and under.
Bloom RS, Cropley C. Textbook of Neonatal Resuscitation. ed. Chameides L and the AHA/AAP
      Neonatal Resuscitation Steering Committee. American Heart Association, 1990.
Ball, Jane Blindler, Ruth. (1995). Pediatric Nursing : Caring of Children.
Washington : Appleton Lange.

Canadian National Guidelines for Neonatal Resuscitation (draft - to be published Summer 1994).
      Personal communication with the Canadian Neonatal Resuscitation Program Committee

Christenson JM, Solimano AJ, Williams J, et al. The new American Heart Association guidelines
       for cardiopulmonary resuscitation and emergency cardiac care: presented by the
       Emergency Cardiac Care Subcommittee of the Heart and Stroke Foundation of Canada.
       Can Med Assoc J 1993; 149: 585-590.

Emergency Cardiac Care Committee and Subcommittees, American Heart Association.
      Guidelines for cardiopulmonary resuscitation and emergency cardiac care, VII: neonatal
      resuscitation. JAMA 1992; 268:2276-2281.

Thomas, J.S. (1997). Emergency Nursing : An Essential Guide for Patient Care.
Philadelphia : W.B. Saunder
       Company.
Wong, Donna L. (1996). Whaley & Wong’s : Nursing Care of Infant and
Children. 5th ed. St. Louis : Mosby.

Available: http://www.healthcentral.com/peds/img/img1086.cfm [Online]. [2006.




CHAKRI KUA : Nurse Instructor : Department of Pediatrics Nursing. Boromarajonani
College of Nursing, Bangkok
19

                                       ภาคผนวก
   Department of Anaesthesia: Ottawa Hospital - General Site, University of Ottawa, Ottawa

        Tube Size           Weight               Gestational Age
        (ID mm)              (gm)                   (weeks)
            2.5             < 1000                      < 28
            3.0           1000-2000                     28-34
            3.5           2000-3000                     34-38
          3.5-4.0           > 3000                      > 38


  Medications for Neonatal Resuscitation
          Drug               Syringe     Dosage                 Rate/Precautions
                                        0.01-0.03mg
                                                               Give rapidly IV or ET
       Epinephrine                          / kg-1
                                1 ml                              Repeat q3-5 min
       (1:10,000)                       (0.1-0.3 ml ท
                                                           (ET: dilute to 1-2 ml with NS)
                                            kg-1)
    Volume Expanders
        NS or RL
                               40 ml    10 ml / kg-1            Give IV over 5-10 min
       5% Albumin
       O-neg Blood
                                        0.1 mg / kg-1
        Naloxone
                                        (0.25 mlทkg-                Give rapidly
      (0.4 mg/ml-1)             1ml
                                             1)                  IV or ET preferred
      (1.0 mg/ml-1)             1ml
                                        (0.1 ml/kg-1)
Reserved for prolonged
  resuscitations only
    Sodium Bicarbonate         10 ml    2 mEq / kg-1 Give slowly, over at least 2 min, IV
(0.5 mEq/ml-1 = 4.2% soln)      (x2)    (4 ml / kg-1) ONLY, Infant must be ventilated
                                   5-20 mcg/kg-
         Dopamine
                                      1/min-1
 (6 x weight in kg = mg of  100 ml                         Continuous infusion by pump
                                   (5-20 ml / hr-
dopamine diluted to 100 ml)
                                         1)




   CHAKRI KUA : Nurse Instructor : Department of Pediatrics Nursing. Boromarajonani
   College of Nursing, Bangkok
20




CHAKRI KUA : Nurse Instructor : Department of Pediatrics Nursing. Boromarajonani College of Nursing, Bangkok

More Related Content

What's hot

Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringpiyarat wongnai
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)Weerawan Ueng-aram
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57Sirinoot Jantharangkul
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกPatamaporn Seajoho
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Aphisit Aunbusdumberdor
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuipiyarat wongnai
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่ใช้เครื่องช่วยหายใจSusheewa Mulmuang
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)yahapop
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา campingการปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา campingVai2eene K
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationNarenthorn EMS Center
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจtechno UCH
 

What's hot (20)

Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoring
 
EKG in ACLS
EKG in ACLSEKG in ACLS
EKG in ACLS
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
 
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
Warning sign
Warning signWarning sign
Warning sign
 
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา campingการปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and Resuscitation
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาล
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
Septic Shock
Septic ShockSeptic Shock
Septic Shock
 

Viewers also liked

การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัดการดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัดtechno UCH
 
การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจKrongdai Unhasuta
 
การดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuการดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuNantawan Tippayanate
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 

Viewers also liked (6)

การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัดการดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
 
Ems hypovolemic shock
Ems hypovolemic shockEms hypovolemic shock
Ems hypovolemic shock
 
การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจ
 
การดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuการดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msu
 
Airway (Thai)
Airway (Thai)Airway (Thai)
Airway (Thai)
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 

Similar to Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด

CPR2010 update
CPR2010 updateCPR2010 update
CPR2010 updatetaem
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.25554LIFEYES
 
J:\งาน Powerpoint And Word\งานต๊อก\งานPaper\เรื่องที่อยากเล่า แต่ยังไม่มีหัวข้อ
J:\งาน Powerpoint And Word\งานต๊อก\งานPaper\เรื่องที่อยากเล่า  แต่ยังไม่มีหัวข้อJ:\งาน Powerpoint And Word\งานต๊อก\งานPaper\เรื่องที่อยากเล่า  แต่ยังไม่มีหัวข้อ
J:\งาน Powerpoint And Word\งานต๊อก\งานPaper\เรื่องที่อยากเล่า แต่ยังไม่มีหัวข้อviriyalekprasert
 
Interhospital chest conference
Interhospital chest conferenceInterhospital chest conference
Interhospital chest conferenceMy Parents
 
Common nutritional problems in pediatrics
Common nutritional problems in pediatricsCommon nutritional problems in pediatrics
Common nutritional problems in pediatricsPitiphong Sangsomrit
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็กแนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็กUtai Sukviwatsirikul
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23 การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23 Phet103
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557Utai Sukviwatsirikul
 

Similar to Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด (20)

PALS 2010
PALS 2010PALS 2010
PALS 2010
 
CPR2010 update
CPR2010 updateCPR2010 update
CPR2010 update
 
Rr rx
Rr rxRr rx
Rr rx
 
Thai PALS manual 2009
Thai PALS manual 2009Thai PALS manual 2009
Thai PALS manual 2009
 
Cpr newversion
Cpr newversionCpr newversion
Cpr newversion
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555
 
First aid by Narenthorn 2016
First aid by Narenthorn 2016First aid by Narenthorn 2016
First aid by Narenthorn 2016
 
J:\งาน Powerpoint And Word\งานต๊อก\งานPaper\เรื่องที่อยากเล่า แต่ยังไม่มีหัวข้อ
J:\งาน Powerpoint And Word\งานต๊อก\งานPaper\เรื่องที่อยากเล่า  แต่ยังไม่มีหัวข้อJ:\งาน Powerpoint And Word\งานต๊อก\งานPaper\เรื่องที่อยากเล่า  แต่ยังไม่มีหัวข้อ
J:\งาน Powerpoint And Word\งานต๊อก\งานPaper\เรื่องที่อยากเล่า แต่ยังไม่มีหัวข้อ
 
Interhospital chest conference
Interhospital chest conferenceInterhospital chest conference
Interhospital chest conference
 
Common nutritional problems in pediatrics
Common nutritional problems in pediatricsCommon nutritional problems in pediatrics
Common nutritional problems in pediatrics
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
Asthma guideline for children
Asthma guideline for childrenAsthma guideline for children
Asthma guideline for children
 
Asthma guideline children
Asthma guideline childrenAsthma guideline children
Asthma guideline children
 
ACLS 2010
ACLS 2010ACLS 2010
ACLS 2010
 
Home visit palliative care
 Home visit   palliative care Home visit   palliative care
Home visit palliative care
 
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็กแนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23 การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
 
Epilepsy
EpilepsyEpilepsy
Epilepsy
 
Cpg obesity
Cpg obesityCpg obesity
Cpg obesity
 

More from Narenthorn EMS Center

CPR2015 update: ACS and Special circumstances
CPR2015 update: ACS and Special circumstancesCPR2015 update: ACS and Special circumstances
CPR2015 update: ACS and Special circumstancesNarenthorn EMS Center
 
CPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aid
CPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aidCPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aid
CPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aidNarenthorn EMS Center
 
การอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผน
การอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผนการอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผน
การอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผนNarenthorn EMS Center
 
Team dynamic for Advanced life support checklist
Team dynamic for Advanced life support checklistTeam dynamic for Advanced life support checklist
Team dynamic for Advanced life support checklistNarenthorn EMS Center
 
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยNarenthorn EMS Center
 
Workshop: Orthopedic Management in Emergency Department
Workshop: Orthopedic Management in Emergency DepartmentWorkshop: Orthopedic Management in Emergency Department
Workshop: Orthopedic Management in Emergency DepartmentNarenthorn EMS Center
 

More from Narenthorn EMS Center (20)

CPR2015 update: ACS and Special circumstances
CPR2015 update: ACS and Special circumstancesCPR2015 update: ACS and Special circumstances
CPR2015 update: ACS and Special circumstances
 
CPR2015 update: PBLS
CPR2015 update: PBLSCPR2015 update: PBLS
CPR2015 update: PBLS
 
CPR2015 update: Adult ACLS
CPR2015 update: Adult ACLSCPR2015 update: Adult ACLS
CPR2015 update: Adult ACLS
 
CPR2015 update: PALS
CPR2015 update: PALSCPR2015 update: PALS
CPR2015 update: PALS
 
Neonatal resuscitation 2015
Neonatal resuscitation 2015Neonatal resuscitation 2015
Neonatal resuscitation 2015
 
CPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aid
CPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aidCPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aid
CPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aid
 
CPR2015 update: Ethical issues
CPR2015 update: Ethical issuesCPR2015 update: Ethical issues
CPR2015 update: Ethical issues
 
การอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผน
การอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผนการอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผน
การอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผน
 
Acute coronary syndrome 2010
Acute coronary syndrome 2010Acute coronary syndrome 2010
Acute coronary syndrome 2010
 
Team dynamic for Advanced life support checklist
Team dynamic for Advanced life support checklistTeam dynamic for Advanced life support checklist
Team dynamic for Advanced life support checklist
 
Acute Stroke 2010
Acute Stroke 2010Acute Stroke 2010
Acute Stroke 2010
 
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
 
Airway workshop Reading material
Airway workshop Reading materialAirway workshop Reading material
Airway workshop Reading material
 
APHLS & EMS director 2011 Exam
APHLS & EMS director 2011 ExamAPHLS & EMS director 2011 Exam
APHLS & EMS director 2011 Exam
 
Ill appearing neonates
Ill appearing neonatesIll appearing neonates
Ill appearing neonates
 
PAROS Proposal
PAROS ProposalPAROS Proposal
PAROS Proposal
 
10th National HA Forum Poster
10th National HA Forum Poster10th National HA Forum Poster
10th National HA Forum Poster
 
Introduction To ATLS
Introduction To ATLSIntroduction To ATLS
Introduction To ATLS
 
Workshop: Orthopedic Management in Emergency Department
Workshop: Orthopedic Management in Emergency DepartmentWorkshop: Orthopedic Management in Emergency Department
Workshop: Orthopedic Management in Emergency Department
 
RSI sheet-2007
RSI sheet-2007RSI sheet-2007
RSI sheet-2007
 

Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด

  • 1. การช่ วยฟื้ นชีวตทารกและทารกแรกเกิดสาหรับพยาบาลฉุกเฉิน ิ (Infant and Neonatal Resuscitation for Emergency Nurse) จักรี กัวกาจัด* ้ (Pediatric Emergency & Critical Care Nursing) บทนา CPR (cardiopulmonary resuscitation) หรื อการกู้ชีวิต หรื อ การช่วยฟื นชีวิต หมายถึง การปฏิบตการ ้ ัิ เพื่อช่วยฟื นการทางานของระบบไหลเวียนเลือดที่หยุดการทางานอย่างกระทันหันเพื่อให้ หวใจกลับมาเต้ น ้ ั เองได้ ตามปกติ โดยไม่เกิดความพิการของสมอง CPR เป็ นการช่วยชีวิตคนที่หวใจหยุดเต้ นหรื อเต้ นอ่อน ั แรง ซึงต้ องได้ รับการช่วยอย่างทันที โดยมุงการช่วยเหลือฉุกเฉินให้ มีอากาศและเลือดไหลเวียนไปเลี ้ยง ่ ่ ร่างกาย (Basic Life Support) แล้ วตามด้ วยการกระตุ้นหรื อรักษาพยาบาลให้ หวใจกลับทางานขึ ้นมาอีก ั ครัง โดยอาศัยเครื่ องมือ ยา (Advanced Cardiac Life Support) และให้ การดูแลผู้ป่วยหลัง CPR ้ (Prolong Life Support) การช่วยฟื นชีวิตจะได้ ผลดีหากช่วยให้ มีการไหลเวียนโลหิตที่มี ออกซิเจนเพียงพอ ้ ไปเลี ้ยงร่างกายก่อนที่ระบบหัวใจและระบบหายใจจะเริ่มทางาน ถ้ าทา Basic Life Support ได้ ภายใน 4 นาทีหลัง Cardiac arrest หรื อได้ รับ Advanced Cardiac Life Support ภายใน 5 นาที จะช่วยชีวิตไว้ ได้ มาก ถ้ าช้ ากว่านี ้จะช่วยฟื นคืนชีพได้ ยาก การช่วยฟื นชีวิตประกอบด้ วย 3 ระยะ คือ ้ ้ Basic Life Support (BLS) หมายถึง การปฏิบติการที่เร่งด่วนทันที ช่วยให้ การหายใจดีขึ ้น ั และการไหลเวียนเกิดขึ ้นชัวคราว ประกอบด้ วย ่ A = Airway management : ประเมินสภาพทางเดินหายใจ ช่วยจัดทางเดินหายใจให้ โล่ง B = Breathing : ประเมินสภาพการหายใจ ให้ การช่วยหายใจ C = Circulation : ประเมินสภาพระบบไหลเวียน ให้ การช่วยเหลือให้ เกิดการไหลเวียน อย่าง มีประสิทธิภาพ Basic Life Support เป็ นการช่วยชีวิตผู้ป่วยอย่างเร่งด่วน โดยไม่จาเป็ นต้ องใช้ เครื่ องมือ และไม่มี ความจาเป็ นที่จะต้ องเป็ นแพทย์หรื อพยาบาลเท่านัน โดยมีวตถุประสงค์คือ ทาให้ เกิดการไหลเวียนทดแทน ้ ั หน้ าที่หวใจ ั และนาเอาอากาศเข้ าสูปอดโดยการเป่ าเอาลมหายใจออกของผู้ชวยเหลือเข้ าไปแทนการ ่ ่ หายใจธรรมดาของผู้ป่วย เพื่อปองกันการขาด O2 ของอวัยวะที่สาคัญของร่างกาย การช่วยชีวิตจะมี ้ ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ ้นถ้ ารี บทาภายใน 4 นาที หลังการหยุดทางานของหัวใจและปอดของผู้ป่วย เนื่องจาก ระบบต่าง ๆ ของร่างกายยังพอทนกับการขาดออกซิเจน ได้ บ้าง * Nurse Instructor : Department of Pediatrics Nursing. Boromarajonani College of Nursing, Bangkok
  • 2. 2 Advanced Cardiac Life Support (ACLS) คือ ระยะของการกระตุ้น การทางานของหัวใจ หรื อการ ช่วยชีวิตขันสูง เนื่องจากต้ องใช้ อปกรณ์ตาง ๆ เข้ ามาช่วยในการกู้ชีวิต ซึง ประกอบด้ วย ้ ุ ่ ่ D = DRUG รวมถึง O2 และเครื่ องมือ Support airway ต่าง ๆ E = ECG ตรวจดูคลื่นหัวใจและให้ การรักษาพยาบาลตามสภาพการทางานของหัวใจ F = Fibrillation treatment ให้ การช่วยเหลือโดยใช้ เครื่ องกระตุ้นหัวใจ ซึงเป็ นขันตอนที่พยายามกระตุ้นให้ หวใจกลับมาทางานอย่างเดิม โดยใช้ ยาและเครื่ องมือพิเศษที่ ่ ้ ั นอกเหนือจากมือเปล่าร่วมกับ Basic Life Support ดังนัน Advanced Cardiac Life Support ก็คือ Basic ้ Life Support ที่ใช้ เครื่ องมือเข้ าช่วยนันเอง ดังภาพที่ 1 ่ ภาพที่ 1 การ Hold mask บีบ Ambu bag แทนการเป่ าปาก เราจะไม่พยายามหยุดทาการช่วยชีวิตนานเกินกว่า 7 วินาที ยกเว้ นต้ องใส่ทอช่วยหายใจซึงจะให้ ่ ่ เวลานาน 30 วินาที เป็ นอย่างต่า จะเห็นว่าการใส่ทอช่วยหายใจจะเป็ นการเสียเวลาทาให้ ระบบของ ่ ร่างกายขาดเลือดไปเลี ้ยงชัวคราวจึงควรใส่ท่อช่วยหายใจเมื่อจาเป็ นเท่านัน ซึงข้ อบ่งชี ้การใส่ท่อช่วยหายใจ ่ ้ ่ CHAKRI KUA : Nurse Instructor : Department of Pediatrics Nursing. Boromarajonani College of Nursing, Bangkok
  • 3. 3 คือ ไม่สามารถเปิ ดทางเดินหายใจได้ ดีตลอดเวลา อยูในภาวะเสี่ยงต่อการสาลักเศษอาหารและผู้ป่วย ่ สภาพไม่ดี หากแก้ ไขแล้ วก็ยงต้ องใช้ เครื่ องช่วยหายใจอยู่อีกนาน ั Prolong Life Support (PLS) : การให้ การดูแลผู้ป่วยหลัง CPR ประกอบด้ วย G = Gauging ประเมินสภาพที่ทาไปทังหมดว่าถูกต้ องหรื อบกพร่ องที่ใด ดูวามีภาวะแทรกซ้ อนอะไรบ้ าง ้ ่ จากการ CPR ตรวจสภาพการทางานของอวัยวะสาคัญและแก้ ไข H = Human mentation (การดารงความเป็ นคน) รักษาชีวิตของเซลล์สมอง (Brain cell) ไว้ รักษา สมองบวม ลดการใช้ O2 ของ Cell สมอง ให้ อาหารแก่ Cell สมอง I = Intensive Care เฝาดูอาการผู้ป่วยอย่างใกล้ ชิด ระวังไม่ให้ หวใจหยุดเต้ นอีก ้ ั การช่ วยกู้ชีพในทารกและทารกแรกเกิด การเกิดถือเป็ นเรื่ องที่น่ายินดีสาหรับทุก ๆ คน และในขณะเดียวกันอาจจะเป็ นเหตุการณ์วิกฤติที่เป็ น อันตรายที่สดครังหนึงที่บคลากรทางการพยาบาลอาจต้ องพานพบเจอ โดยเฉพาะในหน่วยบริการฉุกเฉินทังใน ุ ้ ่ ุ ้ และนอกโรงพยาบาล ที่อาจต้ องรับดูแลรักษาทารกแรกเกิดทังในภาวะปกติ ภาวะผิดปกติ และทารกแรกเกิดที่มี ้ ภาวะเสี่ยงอันตราย หรื อแม้ กระทังทารกแรกเกิดที่อยูในระยะวิกฤติ โดยเฉพาะทารกที่มีข้อบ่งชี ้ว่า มีความ ่ ่ จาเป็ นต้ องได้ รับการช่วยกู้ชีพ ถึงแม้ วาสถิตเิ ด็กแรกเกิดที่ต้องการการช่วยกู้ชีพในหน่วยบริ การฉุกเฉินอาจมีไม่ ่ มากนัก ซึงมักจะพบในห้ องคลอดเป็ นส่วนใหญ่ แต่ในปั จจุบนจานวนเด็กทารกที่ต้องการความช่วยเหลือ ก็มี ่ ั มากขึ ้นตามจานวนการเกิดของทารกที่มีปริมาณเพิ่มขึ ้น การตายของทารกทัวโลก (Neonatal deaths) มี ่ จานวนประมาณ 5 ล้ านคนต่อปี ซึงพบว่า 19% เกิดจากภาวะขาด O2 ตังแต่แรกเกิด (Birth asphyxia) ่ ้ ( WHO, 1995) การช่วยกู้ชีพในทารกและทารกแรกเกิดมีความแตกต่างจากเด็กโตและผู้ใหญ่อยูบ้าง(ตารางที่ 2) ่ ทังนี ้เนื่องจากทารกมีสรี ระวิทยาที่แตกต่างจากเด็กโตและผู้ใหญ่ โดยโอกาสในการรอดชีวิตภายหลังจากการ ้ ช่วยฟื นชีวิตก็มีโอกาสแตกต่างกันไป ขึ ้นอยู่กบหลายปั จจัย เช่นในทารกคลอดก่อนกาหนดและทารกคลอดครบ ้ ั กาหนดที่ต้องได้ รับการช่วยฟื นชีวิตมีโอกาสเสี่ยงต่อการสูญเสียชีวิตจาก Cardiac arrest สูงถึงร้ อยละ 70 - 90 ้ และร้ อยละ 90 – 97 ในเด็ก ทังนี ้ร้ อยละ 50 – 65 ของเด็กที่ใช้ CPR คือทารกซึงมีอายุต่ากว่า 1 ปี โดยกลุมที่พบ ้ ่ ่ ได้ บอยคือ ทารกที่อายุน้อยกว่า 6 เดือนและร้ อยละ 6 ของแรกเกิดมักต้ องใช้ CPR ในขณะที่ทารกคลอด ซึง ่ ่ อุบตการณ์จะเพิ่มสูงขึ ้นในทารกที่มีน ้าหนักน้ อยกว่า 1,500 กรัม ทังนี ้ปั จจัยในด้ านความพร้ อมของบุคลากร ัิ ้ ตลอดจนความพร้ อมของอุปกรณ์สาหรับใช้ ในการช่วยฟื นชีวิตมีความสาคัญอย่างมาก ซึงอุปกรณ์ที่จาเป็ นมี ้ ่ ดังนี ้ CHAKRI KUA : Nurse Instructor : Department of Pediatrics Nursing. Boromarajonani College of Nursing, Bangkok
  • 4. 4 อุปกรณ์ ท่ จาเป็ นสาหรับใช้ ในการช่ วยฟื ้ นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด ได้ แก่ ี ** Suggestion = Equipments พื ้นฐานที่ควรมีในรถ Ambulance ซึงครอบคลุมในระบบ ่ Pre- Hospital emergency care 1. อุปกรณ์ สาหรั บการดูดเสมหะและสารคัดหลั่ง - ลูกสูบยางแดง (Bulb syringe) ** - เครื่ องสาหรับดูดเสมหะ (Mechanical suction) ** - สายสาหรับดูดเสมหะ (Suction catheter) เบอร์ 5F หรื อ 6F, 8F, 10F, 12F หรื อ 14F ** - อุปกรณ์สาหรับดูดขี ้เทา (Meconium aspirator) ** - สายให้ อาหาร (NG-tube for feeding) เบอร์ 8F และกระบอกฉีดยา (syringe) ขนาด 20 CC ** 2. อุปกรณ์ สาหรับการให้ ออกซิเจน (bag และ mask) - อุปกรณ์สาหรับให้ การช่วยหายใจด้ วยแรงดันบวกที่สามารถให้ O2 ความเข้ มข้ น ได้ ถึง 90% ถึง 100% (Infant resuscitation bag with reservoir / the bag must be capable of delivering 90% to 100% oxygen) - หน้ ากากชนิดขอบนิ่ม (Face masks) ขนาด สาหรับ newborn and premature ** - แหล่งจ่าย O2 พร้ อมตรวจวัดอัตราไหลของก๊ าซ (เปิ ดได้ ถึง 10 ลิตร/นาที) พร้ อมสายต่อ (Oxygen with flow meter (flow rate up to 10 L/min) with tubing)** 3. อุปกรณ์ สาหรั บการใส่ ท่อช่ วยหายใจ - Laryngoscope พร้ อม blades ชนิดตรง เบอร์ 0 (Laryngoscope with straight blades No. 0) สาหรับ ทารกคลอดก่อนกาหนด และ เบอร์ 1 สาหรับทารกครบกาหนด** - Endotracheal tube sizes 2.5, 3.0, 3.5, 4.0 mm. ** - หลอดไฟและแบตเตอรี่ สารองสาหรับ laryngoscope (Extra bulbs and batteries for laryngoscope)** - ลวด Stylet (แล้ วแต่ความถนัดใช้ ) - กรรไกร, เทปกาวหรื ออุปกรณ์สาหรับตรึงท่อหายใจ, สาลีชปแอลกอฮอล์** ุ - เครื่ องตรวจหาก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์ หรื อ Capnograph - Laryngeal mask airway (แล้ วแต่ความถนัดใช้ ) 4. ยาและสารนาต่ างๆ ** ้ - Epinephrine 1:10, 000 (0.1 mg/mL) 3-mL or 10-mL/ ampules - Isotonic crystalloid (normal saline or Ringer's lactate) for volume expansion 100 or 250 mL - Sodium bicarbonate 4.2% (5 mEq/10 mL) 10-mL/ ampules CHAKRI KUA : Nurse Instructor : Department of Pediatrics Nursing. Boromarajonani College of Nursing, Bangkok
  • 5. 5 - Naloxone hydrochloride 0.4 mg/mL 1-mL /ampules; or 1.0 mg/mL 2-mL/ ampules - Dextrose 10%, 250 mL -Normal saline, 30 mL (ใช้ สาหรับไล่สาย) 5. อุปกรณ์ สาหรับใส่ สาย umbilical catheter - ถุงมือปราศจากเชื ้อ - ใบมีด (scalpel) หรื อกรรไกร - น ้ายาฆ่าเชื ้อ - umbilical artery catheterization tray - umbilical tape - umbilical catheters (3.5F และ 5F) - 3-way stopcocks - Syringes (1, 3, 5, 10, 20 และ 50 mL ) - Needles (No. 25, 21 และ 18 - Gauge หรื อ อุปกรณ์เจาะสาหรับ needleless system 6. อุปกรณ์ อ่ ืนๆ - Radiant warmer or other heat source - Stethoscope - Firm, padded resuscitation surface - พลาสเตอร์ , ถุงมือปราศจากเชื ้อ, Syringes, Needles - Cardiac monitor and electrodes and/or pulse oximeter with probe (optional for delivery room) - Oropharyngeal airways การช่ วยฟื ้ นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดประกอบด้ วย ขันตอนต่างๆ ดังนี ้ (ภาพที่ 2) ้ 1. การช่ วยเหลือพืนฐานหรือขันต้ น (Basic step) ได้ แก่ การช่วยเหลือในการดูแลให้ ทารกแห้ ง ้ ้ และอบอุน จัดท่านอนให้ ทารก ดูดเสมหะให้ ทารกและกระตุ้นทารก ่ 2. Ventilation 3. Chest compression CHAKRI KUA : Nurse Instructor : Department of Pediatrics Nursing. Boromarajonani College of Nursing, Bangkok
  • 6. 6 ภาพที่ 2 Newborn Resuscitation Pyramid 1. การช่ วยเหลือพืนฐานหรือขันต้ น (Basic step) ประกอบด้ วยการช่วยเหลือดังต่อไปนี ้ ้ ้ - การดูแลเรื่ องความอบอุน และปองกันการสูญเสียความร้ อนให้ แก่ทารก (Warmth) โดยการเช็ดตัวทารก ่ ้ ให้ แห้ ง วางทารกใต้ เครื่ องรังสีความร้ อน (Radiant warmer) และห่อตัวให้ ทารกด้ วยผ้ าที่อนหรื ออาจให้ ทารก ุ่ นอนบนหน้ าอก หรื อท้ องของมารดา (skin to skin contact) - เปิ ดทางเดินหายใจให้ โล่ง (Clearing the airway) โดยใช้ นิ ้วชี ้ดึงคางขึ ้นมืออีกข้ างหนึงกดหน้ าผากลง ่ เล็กน้ อย เอียงหูและแก้ มฟั งเสียงหายใจตามองที่หน้ าอกเพื่อสังเกตการเคลื่อนไหวของทรวงอกและประเมินการ หายใจหลังจากนันดูดเสมหะในปากและจมูกตามลาดับ ้ ภาพที่ 3 การจัดท่านอนเพื่อเปิ ดทางเดินหายใจให้ โล่ง (Clearing the airway) การจัดท่านอน สาหรับทารก (Positioning) ควรจัดให้ ทารกนอนหงายหรื อนอนตะแคง โดยแนวของศีรษะควรตรง และเงยหน้ าเล็กน้ อยเพื่อเปิ ดทางเดินหายใจให้ โล่งซึงอาจใช้ ผ้าห่มหรื อผ้ าเช็ดตัวม้ วนรองใต้ ไหล่ ่ ของทารกสูงจากพื ้นที่ทารกนอนประมาณ 2 - 3 เซนติเมตร (3/4 – 1 นิ ้ว) CHAKRI KUA : Nurse Instructor : Department of Pediatrics Nursing. Boromarajonani College of Nursing, Bangkok
  • 7. 7 ภาพที่ 4 การจัดท่านอนที่ถกวิธีเพื่อเปิ ดทางเดินหายใจให้ โล่ง ู - การดูดเสมหะ (Suctioning) โดยขณะที่ผ้ ทาคลอดกาลังคลอดศีรษะของทารก ผู้ชวยที่ทาคลอดควรใช้ ู ่ ลูกสูบยางแดงดูดเสมหะจากในปาก โดยการดูดเสมหะในปากควรทาทันทีภายหลังจากที่คลอดศีรษะของทารก แล้ ว หลังจากนันจึงดูดในคอและจมูกตามลาดับ (ภาพที่ 5) จนกระทังแน่ใจว่าไม่มีเสมหะ ้ ่ ภาพที่ 5 การดูดเสมหะโดยใช้ ลกสูบยางแดงดูดในปาก คอและจมูกตามลาดับ ู - Clearing the airway of meconium ในกรณีที่น ้าคร่ าของมารดามีขี ้เทาปนเปื อน ผู้ทาคลอดหรื อผู้ชวย ้ ่ ทาคลอดควรดูด น ้าคร่ าและขี ้เทา โดยอาจใช้ การดูดเสมหะโดยเครื่ อง Suction ต่อกับสายขนาด 12F – 14F (ภาพที่ 6) หรื อลูกสูบยางแดงดูดในปาก คอและจมูก(ภาพที่ 5) ตามลาดับ ทังนี ้พบว่าทารกร้ อยละ 20 – 30 ที่ ้ น ้าคร่ าของมารดามีขี ้เทาปนเปื อนทารกจะมีน ้าคร่ าและขี ้เทาใน trachea ซึงทารกจะมีอาการหายใจลาบาก ้ ่ หรื อไม่มีการหายใจโดยกาลังของกล้ ามเนื ้อจะมีน้อย (decrease muscle tone) อัตราการเต้ นของหัวใจจะน้ อย กว่า 100 ครังต่อนาที ดังนันทันทีที่วางทารกลงบนเตียงรับเด็ก ให้ ดดน ้าคร่ าและขี ้เทาจาก oropharynx และ ้ ้ ู nasopharynx โดยการใส่ laryngoscope (ภาพที่ 7) และดูดน ้าคร่ าและขี ้เทาโดยเครื่ องต่อกับสายขนาด 12F – 14F โดยแรงที่ใช้ ดดไม่ควรเกิน 100 mm Hg (136 cm H2O) หรื อใช้ ลกสูบยางแดง โดยห้ ามเช็ดตัวทารกหรื อทา ู ู การกระตุ้นใดๆ ทังนี ้เพื่อปองกันไม่ให้ ทารกสูดสาลักน ้าคร่ าและขี ้เทาเข้ าไปในปอด หลังจากนันใส่ทอทางเดิน ้ ้ ้ ่ หายใจและดูดน ้าคร่ าและขี ้เทาโดยใช้ meconium aspirator (ภาพที่ 8) โดยดูดจนกระทังไม่มีขี ้เทาและอัตรา ่ การเต้ นของหัวใจกลับมาสูสภาวะปกติแล้ วทาการช่วยฟื นชีวิตตามขันตอนปกติ ่ ้ ้ CHAKRI KUA : Nurse Instructor : Department of Pediatrics Nursing. Boromarajonani College of Nursing, Bangkok
  • 8. 8 ภาพที่ 6 การดูด น ้าคร่ าและขี ้เทาโดยเครื่ อง Suction ต่อกับสายขนาด 12F – 14F ภาพที่ 7 การดูดน ้าคร่ าและขี ้เทาจาก oropharynx และ nasopharynx โดยการใส่ laryngoscope CHAKRI KUA : Nurse Instructor : Department of Pediatrics Nursing. Boromarajonani College of Nursing, Bangkok
  • 9. 9 ภาพที่ 8 การดูด น ้าคร่ าและขี ้เทาโดย endotracheal tube with meconium aspirator - Tactile stimulation การกระตุ้นทารกควรกระตุ้นโดยการตีหรื อดีดฝ่ าเท้ า หรื อใช้ ฝ่ามือลูบที่หลังทารก (ภาพที่ 9) ทังนี ้ไม่ควรใช้ เวลานานเกิน 15 – 20 วินาที ้ ภาพที่ 9 การกระตุ้นทารกโดยการตีหรื อดีดฝ่ าเท้ า และใช้ ฝ่ามือลูบที่หลังทารก - Oxygen administration ข้ อบ่งชี ้ในการให้ ออกซิเจนแก่ทารกแรกเกิดคือ ให้ 100% ออกซิเจนในรายที่มีภาวะ cyanosis อัตราการเต้ นของหัวใจน้ อยกว่า 100 ครังต่อนาที หรื อมีอาการของการหายใจลาบาก โดยการให้ ้ 100% ออกซิเจน (ควรเปิ ดอย่างน้ อย 5L/M) อาจให้ ผ่านทาง face mask and flow-inflating bag หรื อ oxygen mask หรื อ วิธี hand cupped around oxygen tubing (ภาพที่ 10) CHAKRI KUA : Nurse Instructor : Department of Pediatrics Nursing. Boromarajonani College of Nursing, Bangkok
  • 10. 10 ภาพที่ 10 การให้ ออกซิเจนแก่ทารกแรกเกิดโดยวิธี hand cupped around oxygen tubing 2. Ventilation การกระตุ้นการหายใจ ควรให้ ออกซิเจนทางสายเข้ า face mask แต่ถ้าทารกยังหายใจไม่ดีขึ ้นควรให้ positive pressure ventilation (PPV) ด้ วยออกซิเจน 100% โดยข้ อบ่งชี ้ในการให้ PPV คือ 1. ทารกที่ไม่หายใจ 2. ทารกที่ไม่ตอบสนองต่อการกระตุ้นการหายใจ 3. ในรายที่ทารกมี apnea หรื อ gasping respirations 4. ทารกหายใจ แต่มีอตราการเต้ นของหัวใจน้ อยกว่า 100 ครังต่อนาที ั ้ 5. ทารกที่มีภาวะ cyanosis แม้ วาได้ ให้ 100% ออกซิเจน ผ่านทาง face mask and flow-inflating bag หรื อ ่ oxygen mask หรื อ วิธี hand cupped around oxygen tubing โดยการทา PPV ควรจัดท่าให้ ทารกโดยการแหงนคอขึ ้นเล็กน้ อย เลือกขนาดของ maskให้ เหมาะสมกับ ทารกโดย mask ต้ องคลุมคางถึงดังจมูก การบีบให้ บีบค้ างไว้ 2 – 3 วินาที ในการบีบช่วงแรกควรบีบแรง ้ พอประมาณให้ เห็นทรวงอกขยับได้ ดีพอควรแล้ วจึงบีบในอัตรา 40 - 60 ครังต่อนาที โดยผู้ที่บีบ bag ควรประเมินว่า ้ ทรวงอกทังสองข้ างของทารกขยับเท่ากันหรื อไม่ เสียงหายใจของทารก อัตราการเต้ นของหัวใจ และสีผิว หากทารก ้ อาการไม่ดีขึ ้นให้ ตรวจสอบว่าขอบของ mask แนบสนิทกับใบหน้ าของทารกหรื อไม่ ทางเดินหายใจของทารกอุดตัน หรื อไม่ ซึงการทา PPV อาจทาให้ ลมเข้ าในกระเพาะอาหารของทารกได้ จึงอาจต้ องใส่สาย OG-tube แล้ ว aspirate ่ content และเปิ ดปลายสายไว้ หากทารกอาการยังไม่ดีขึ ้นอาจต้ องพิจารณาใส่ท่อหลอดลมคอ (ET - tube) โดยมี ข้ อบ่งชี ้ในการใส่ท่อหลอดลมคอ Endotracheal tube (ET tube) คือ 1. ทารกที่มีน ้าคร่ าและขี ้เทาใน trachea และต้ องดูดออก 2. ทารกได้ ทา PPV ด้ วย bag และ mask แล้ วแต่อาการไม่ดีขึ ้น 3. ทารกที่ต้องช่วยเหลือโดยการทา Chest compression 4. ทารกที่สงสัยว่ามี Diaphragmatic hernia CHAKRI KUA : Nurse Instructor : Department of Pediatrics Nursing. Boromarajonani College of Nursing, Bangkok
  • 11. 11 5. ทารกที่มีน ้าหนักตัวน้ อยกว่า 1,500 กรัมและไม่มีการหายใจ อัตรการเต้ นของหัวใจน้ อยกว่า 100 ครังต่อนาที ้ โดยในการใส่ ET tube ควรเลือกขนาดให้ เหมาะสมกับตัวทารก (ตารางที่ 1) ส่วนตาแหน่งในการใส่ผ้ ใส่จะดู vocal ู cord เป็ นแนว (ภาพที่ 11) โดยใส่ลงไปให้ ปลายของท่ออยูเ่ หนือตาแหน่งของ carina ซึงความลึกของ tube ่ สามารถคานวณได้ จากสูตรดังต่อไปนี ้ นาหนัก (กิโลกรัม) + 6 เซนติเมตร = ระดับความลึก ณ ตาแหน่ งที่ขอบปากของทารก ้ ตารางที่ 1 ขนาดของท่อหลอดลมคอและความยาวของท่อหลอดลมคอจากปลายท่อถึงริม ฝี ปากตามน ้าหนักและอายุครรภ์ของทารก เส้ นผ่าศูนย์กลาง ความยาวของท่อหลอดลมคอ น ้าหนักทารก อายุครรภ์ ของท่อหลอดลม จากปลายท่อถึงริมฝี ปาก (กรัม) (สัปดาห์) (มม.) (ซม.) Weight Gestational Age (gm) (weeks) Tube Size Depth of Tube (cm.) (ID mm) <1000 <28 2.5 6.5 -7 1000-2000 28-34 3.0 7-8 2000-3000 34-38 3.5 8-9 >3000 >38 3.5-4.0 >9 ภายหลังจากการใส่ แล้ วสิ่งที่ควรประเมินได้ แก่ ความสมมาตรของการเคลื่อนไหวของทรวงอกทังสอง ้ ข้ าง การฟั งเสียงหายใจ การประเมินว่าไม่มีลมเข้ าไปในกระเพาะอาหาร และสามารถสังเกตที่ท่อหลอดลม ควรมีไอหรื อความชื ้นเมื่อทารกหายใจออก CHAKRI KUA : Nurse Instructor : Department of Pediatrics Nursing. Boromarajonani College of Nursing, Bangkok
  • 12. 12 ภาพที่ 11 การใส่ทอหลอดลมคอและสรี ระวิทยาของ Vocal cord ่ 3. Chest compression การทา Chest compression จะทาก็ตอเมื่อทารกมีอตราการเต้ นของหัวใจน้ อยกว่ า 60 ครัง/นาที แม้ วาได้ ่ ั ้ ่ ให้ การช่วยเหลือด้ วยการให้ ออกซิเจน 100 % โดย bag และ mask แล้ วประมาณ 30 วินาที โดยวิธีการทา Chest compression ควรเลือกทาจากวิธีใดวิธีหนึงจาก 2 วิธี ดังนี ้ ่ 3.1 Two-finger technique คือ การเอานิ ้วกลางและนิ ้วชี ้วางลงบนกระดูกหน้ าอก (sternum) ในระดับต่า กว่าราวนมและเหนือลิ ้นปี่ ในแนวตรง โดยให้ ระดับของนิ ้วทังสองอยูในแนวเดียวกัน (ภาพที่ 12) กดลงลึกประมาณ ้ ่ 1/2 หรื อ 3/4 นิ ้ว (หรื อ1/3 ของ anterior-posterior (AP) diameter ของทรวงอกทารก) 3.2 Thumb technique คือ การเอามือ 2 ข้ างโอบรอบทรวงอกของทารก โดยให้ ฝ่ามือแนบกับแผ่นหลัง ของทารก แล้ ววางนิ ้วหัวแม่มือทังสองข้ างบนกระดูกหน้ าอก (sternum) ชิดกันหรื อนิ ้วหัวแม่มือทังสองอาจวางซ้ อน ้ ้ กันถ้ าหากทรวงอกของทารกเล็กมาก (ภาพที่ 13) กดลงลึกประมาณ 1/2 หรื อ 3/4 นิ ้ว ทังนี ้ทางปฏิบตแนะนาให้ ใช้ Two-finger technique ก่อนเนื่องจากมีความคาดเคลื่อนน้ อย และผู้ให้ การ ้ ัิ ช่วยเหลือทารกจะหยุดทา Chest compression เมื่อทารกมีอตราการเต้ นของหัวใจมากกว่ า 60 ครัง/นาที ั ้ CHAKRI KUA : Nurse Instructor : Department of Pediatrics Nursing. Boromarajonani College of Nursing, Bangkok
  • 13. 13 ภาพที่ 13 Thumb technique ภาพที่ 12 Two-finger technique 4. Administration of medication or fluids - Epinephrine 1:10,000 concentration Dosage 0.1 – 0.3 mL/kg of 1:10,000 solution ข้ อบ่งชี ้ในการให้ ยาคือ ไม่สามารถฟั งเสียงหัวใจเต้ นได้ หรื ออัตราการเต้ นของหัวใจต่ากว่า 60 ครังต่อนาที ้ หลังจากได้ ชวยโดยที่ได้ ชวยเหลือโดยการทา PPV ด้ วย ออกซิเจน100% ร่วมกับการทา chest compression แล้ ว ่ ่ เป็ นเวลา 30 วินาที (ภาพที่ 15) ซึงอาจจะให้ ทาง ET tube หรื อ umbilical venous catheter โดยสามารถให้ ซ ้าได้ ่ ทุก 5 นาทีถ้าอัตราการเต้ นของหัวใจยังคงต่ากว่า 60 ครังต่อนาที้ - Sodium bicarbonate 4.2% (5 mEq/10 mL) concentration Dosage 2 mEq/kg และ Rate 1 mEq/kg per minute ข้ อบ่งชี ้ในการให้ ยาคือ เมื่อทารกไม่ตอบสนองต่อการช่วยเหลืออื่นๆ ซึงอาจจะให้ ทาง umbilical venous ่ catheter โดยให้ ช้าๆ นานอย่างน้ อย 2 นาที - Naloxone hydrochloride 0.4 mg/mL หรือ 1.0 mg/mL solution Dosage 0.1 mq/kg ข้ อบ่งชี ้ในการให้ ยาคือ เมื่อสงสัยว่าทารกมี severe respiratory distress และมีประวัตว่ามารดาได้ รับยา ิ narcotic ภายใน 4 ชัวโมงก่อนคลอด ซึงอาจจะให้ ทาง ET tube หรื อ umbilical venous catheter - Isotonic ่ ่ crystalloid (normal saline or Ringer's lactate) for volume expansion Dosage 10 mL/kg ข้ อบ่งชี ้ในการให้ คือ เมื่อสงสัยว่าทารกมีอาการของภาวะ hypovolumia CHAKRI KUA : Nurse Instructor : Department of Pediatrics Nursing. Boromarajonani College of Nursing, Bangkok
  • 14. 14 ตารางที่ 2 ความแตกต่างของการช่วยฟื นชีวิตในทารกแรกเกิด, เด็กและผู้ใหญ่ ้ วิธีการ เด็กแรกเกิด เด็ก < 8 ขวบ ผู้ใหญ่ mouth to mouth and mouth to mouth & 1. วิธีชวยหายใจ ่ mouth to mouth nose nose mouth to mouth 2. อัตราการเป่ าขยายปอด 40-60 ครัง / นาที ้ 20 ครัง / นาที ้ 12 ครัง / นาที ้ หลอดเลือดที่ข้อพับแขน หลอดเลือดที่คอ หลอดเลือดที่คอ 3. ตาแหน่งของชีพจร (brachial artery) (carotid artery) (carotid artery) 4. ตาแหน่งการวางมือเพื่อ กลางกระดูกหน้ าอก กลางกระดูกหน้ าอก lower 1/3 ของกระดูก ช่วยนวดหัวใจ (sternum) (sternum) หน้ าอก (sternum) 5. land mark ของระดับ 1 นิ ้วมือใต้ เส้ นระดับราว 2 นิ ้วมือเหนือกระดูก 2 นิ ้วมือเหนือกระดูก วางมือ นม ลิ ้นปี่ (Xiphoid) ลิ ้น (Xiphoid) 6. ขนาดของมือที่ใช้ นวด ใช้ Two-finger technique ใช้ ส้นมือ ของมือข้ าง ใช้ ส้นมือ ของมือ 2 หัวใจ หรื อ Thumb technique เดียว ข้ าง 7. ระดับความลึกการกด 1/3 ของทรวงอก 1/3 - 1/2 ของทรวงอก 1 1/2 - 2 ของทรวงอก กระดูก sternum 120 ครัง / นาที ้ 8. ความเร็วการกด ~100 ครัง / นาที ้ ~100 ครัง / นาที ้ (กด 90 /ช่วยหายใจ 30) 15 : 2 โดย ผู้ชวยเหลือ 30 : 2 โดยผู้ชวยเหลือ ่ ่ 9. อัตราส่วนการนวดหัวใจ 2 คน 1 คน 3:1 ต่อการเป่ าปาก 30 : 2 โดยผู้ชวยเหลือ และ 30 : 2 โดย ผู้ชวย ่ ่ 1 คน เหลือ 2 คน 1 และ 2 และ 3 และ บีบ 10.วิธีนบ ั 1 และ 2 และ 3 และ บีบ CHAKRI KUA : Nurse Instructor : Department of Pediatrics Nursing. Boromarajonani College of Nursing, Bangkok
  • 15. 15 ข้ อควรพิจารณาในการกู้ชีพทารก - ทารกส่วนใหญ่จะตอบสนองต่อการกระตุ้นและการช่วยทา PPV - อาการของทารกขึ ้นอยูกับพยาธิสภาพที่มี เช่น หายใจได้ ดีแต่มีอาการเขียว หัวใจเต้ นช้ า ่ - ภาวะแทรกซ้ อน เช่น ความพิการแต่กาเนิด การติดเชื ้อ - หลังจากช่วยทารกด้ วย PPV อย่างมีประสิทธิภาพแล้ ว ทารกควรมี HR, สีผิว และความตึง ตัวของกล้ ามเนื ้อดีขึ ้น ถ้ าทารกยังมี HR ช้ าควรต้ องตรวจสอบว่าการทา PPV แต่ละครังทาให้ ช่องอกมีการขยายชัดเจนหรื อไม่ ้ และสามารถได้ ยินเสียงลมเข้ า-ออกจากปอดโดยการฟั งด้ วย stethoscope ถ้ าไม่เห็น ช่องอกมีการขยายชัดเจน และไม่ได้ ยินเสียงลมเข้ า-ออกจากปอด อาจเกิดจากสาเหตุการทา PPV ไม่ได้ ประสิทธิภาพ โดยอาจมีการอุดกัน ้ ทางเดินหายใจ เช่น มีขี ้เทาหรื อสารคัดหลังในช่องคอ (pharynx) หรื อหลอดลม (trachea) หรื อ ความผิดปกติของ ่ ช่องคอ (Pharyngeal airway malformation) เช่น มีการอุดตันของช่องจมูกแต่กาเนิด (Choanal atresia : กรณีมี ภาวะนี ้ ให้ ใส่ Oral airway หรื อใส่ nasopharyngeal-tube ในตาแหน่ง posterior pharynx ) โดยเฉพาะ Robin syndrome (กรณีมี Robin syndrome จับทารกนอนคว่าและใส่ nasopharyngeal-tube ในตาแหน่ง posterior pharynx ) และสาเหตุจาก Pneumothorax, หรื อ Extreme immaturity และDiaphragmatic hernia เป็ นต้ น ซึง Diaphragmatic hernia ส่วนใหญ่มกตรวจพบอาการ ท้ องแฟบ (scaphoid abdomen) เสียงลมหายใจ ่ ั ด้ านที่มีพยาธิสภาพลดลงและมีอาการเขียว เมื่อประเมิน และแน่ใจแล้ วว่า ทารกเป็ น Diaphragmatic hernia ข้ อ ควรปฏิบตสาหรับพยาบาล คือ ไม่ควรให้ การช่วย PPV ผ่านหน้ ากากนานเกินไป ควร ใส่ ET-tube และ On OG- ัิ tube (ตัดปลายให้ มีรูเปิ ด 2 รู) ขนาดใหญ่ทางปาก เพื่อระบายลมจากกระเพาะอาหาร และลดแรงดัน ข้ อควรพิจารณาในการพยาบาลหลังกู้ชีพทารกแล้ ว - อย่าคิดว่าทารกที่ได้ รับการช่วยกู้ชีพแล้ ว อาการจะดีขึ ้นชัดเจน - ทารกบางรายแม้ ชวยกู้ชีพแล้ ว ยังจาเป็ นต้ องช่วยหายใจอยู่ ซึงทุกรายควรมี HR > 100/min และไม่มีอาการเขียว ่ ่ - ต้ องควบคุมอุณหภูมิกายอย่างต่อเนื่อง ติดตามการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพ เฝาระวังภาวะแทรกซ้ อน และ ้ ติดตาม O2 sat CHAKRI KUA : Nurse Instructor : Department of Pediatrics Nursing. Boromarajonani College of Nursing, Bangkok
  • 16. 16 จริยธรรมและการดูแลในการช่ วยกู้ชีพทารก (Ethics and Care at the End of Life) ความเอื ้ออาทรต่อผู้เจ็บป่ วยฉุกเฉินในทุกช่วงวัยของชีวิตถือเป็ นหัวใจสาคัญของพยาบาลฉุกเฉิน ดังนัน ้ หลักจริยธรรมเกี่ยวกับการช่วยชีวิตทารกแรกเกิดจึงไม่ควรแตกต่างจากหลักจริยธรรมที่ใช้ ในการช่วยชีวิตเด็กโต หรื อผู้ใหญ่ พยาบาลหรื อทีมผู้ให้ การดูแลในการช่วยกู้ชีพทารกในห้ องฉุกเฉินควรให้ ความเคารพสิทธิและเสรี ภาพ ส่วนบุคคล ปฏิบติอย่างซื่อสัตย์และยุตธรรม ซึงต้ องใช้ ความระมัดระวัง โดยอย่าสัญญาใด ๆ ก่อนได้ ข้อมูลที่จาเป็ น ั ิ ่ ต่อการตัดสินใจ เช่น - ถ้ าไม่มีชีพจรหลังจากเต็มที่แล้ วกับการช่วยทารก นาน 10 นาที และไม่มีวี่แววว่า ทารกจะคืนชีพ อาจต้ องหยุด การกู้ชีพ - หลังจากหัวใจหยุดนิ่ง (asystole) 10 นาที ทารกแรกเกิดไม่นาจะรอดชีวิต (ไม่ได้ หมายความว่าจะต้ องผ่านไป 10 ่ นาที เท่านันหลังเกิดอาจต้ องใช้ เวลามากกว่า 10 นาที เพื่อประเมินทารกและพยายามช่วยชีวิต) ้ ตัวอย่ างเกี่ยวกับประเด็นด้ านจริยธรรมสาหรั บผู้ให้ การช่ วยกู้ชีพทารก ** ท่ านจะบอกพ่ อแม่ ว่าอย่ างไรดี ถ้ าทารกเสียชีวิต หรือใกล้ เสียชีวิต ??...โดยมี แนวปฏิบัติ เช่ น - นังเป็ นเพื่อน เพื่อบอกเขาว่าทารกน้ อยเสียชีวิตแล้ ว (หรื อใกล้ เสียชีวิต) ่ - ไม่มีคาพูดใดทาให้ การสนทนาเจ็บปวดน้ อยกว่านี ้ (ใช้ เทคนิคการเงียบ และสัมผัส) - ไม่ต้องใช้ คาสละสลวย เช่น “ลูกน้อยของคุณได้ล่วงลับไปแล้ว” - พูดชื่อทารกถ้ า รู้ว่าพ่อแม่ได้ ตงไว้ แล้ ว หรื อถ้ าเป็ นทารกแรกเกิด ให้ แจ้ งเพศ แก่ พ่อ-แม่ ั้ - “ ยืนยันว่าพวกเขาเป็ นพ่อแม่ที่นารัก และพวกเขาไม่ใช่สาเหตุของปั ญหา” ่ - ให้ กาลังใจพ่อแม่ โดยให้ ข้อมูลที่ชดเจน ตรงไปตรงมา ด้ วยท่าทีที่แสดงความห่วงใย และให้ กาลังใจ ั *** ให้ พงระวังคาพูดต่ อไปนี ้ โดยเฉพาะสถานการณ์ ในห้ องฉุกเฉิน ที่ท่านปฏิบัตกาลังงานอยู่***. ึ ิ “ดีที่สุดแล้ ว “ “ มันต้ องเป็ นอย่ างนั้น “ “ ไว้ ค่อยมีใหม่ ก็ได้ ” “ เด็กพึ่งคลอด และคุณยังไม่ ทนมีเวลาได้ ร้ ู จักหน้ าทารกเลย” ั ่ “ แล้ ว ! กรุ ณา....อย่ า...ลืม..ให้ กาลังใจซึงกันและกัน..ในทีมกู้ชีวิตห้ องฉุกเฉิน” CHAKRI KUA : Nurse Instructor : Department of Pediatrics Nursing. Boromarajonani College of Nursing, Bangkok
  • 17. 17 ภาพที่ 15 Algorithm for resuscitation of the newly born infant CHAKRI KUA : Nurse Instructor : Department of Pediatrics Nursing. Boromarajonani College of Nursing, Bangkok
  • 18. 18 เอกสารอ้ างอิง กัญญา ทักษพันธุ์ บรรณาธิการ. ทารกแรกเกิด. กรุงเทพฯ; ห้ างหุ้นส่วนจากัด โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา. สมพร โชตินฤมล. (ไม่ระบุ). การช่วยฟื นชีวิตทารกแรกเกิด. หน่วยทารกแรกเกิด ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ ้ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. American Heart Association and American Academy of Pediatric (1994). Neonatal Resuscitation. American Heart Association. Ipp, M. (2005). CPR for infant 1 and under. Bloom RS, Cropley C. Textbook of Neonatal Resuscitation. ed. Chameides L and the AHA/AAP Neonatal Resuscitation Steering Committee. American Heart Association, 1990. Ball, Jane Blindler, Ruth. (1995). Pediatric Nursing : Caring of Children. Washington : Appleton Lange. Canadian National Guidelines for Neonatal Resuscitation (draft - to be published Summer 1994). Personal communication with the Canadian Neonatal Resuscitation Program Committee Christenson JM, Solimano AJ, Williams J, et al. The new American Heart Association guidelines for cardiopulmonary resuscitation and emergency cardiac care: presented by the Emergency Cardiac Care Subcommittee of the Heart and Stroke Foundation of Canada. Can Med Assoc J 1993; 149: 585-590. Emergency Cardiac Care Committee and Subcommittees, American Heart Association. Guidelines for cardiopulmonary resuscitation and emergency cardiac care, VII: neonatal resuscitation. JAMA 1992; 268:2276-2281. Thomas, J.S. (1997). Emergency Nursing : An Essential Guide for Patient Care. Philadelphia : W.B. Saunder Company. Wong, Donna L. (1996). Whaley & Wong’s : Nursing Care of Infant and Children. 5th ed. St. Louis : Mosby. Available: http://www.healthcentral.com/peds/img/img1086.cfm [Online]. [2006. CHAKRI KUA : Nurse Instructor : Department of Pediatrics Nursing. Boromarajonani College of Nursing, Bangkok
  • 19. 19 ภาคผนวก Department of Anaesthesia: Ottawa Hospital - General Site, University of Ottawa, Ottawa Tube Size Weight Gestational Age (ID mm) (gm) (weeks) 2.5 < 1000 < 28 3.0 1000-2000 28-34 3.5 2000-3000 34-38 3.5-4.0 > 3000 > 38 Medications for Neonatal Resuscitation Drug Syringe Dosage Rate/Precautions 0.01-0.03mg Give rapidly IV or ET Epinephrine / kg-1 1 ml Repeat q3-5 min (1:10,000) (0.1-0.3 ml ท (ET: dilute to 1-2 ml with NS) kg-1) Volume Expanders NS or RL 40 ml 10 ml / kg-1 Give IV over 5-10 min 5% Albumin O-neg Blood 0.1 mg / kg-1 Naloxone (0.25 mlทkg- Give rapidly (0.4 mg/ml-1) 1ml 1) IV or ET preferred (1.0 mg/ml-1) 1ml (0.1 ml/kg-1) Reserved for prolonged resuscitations only Sodium Bicarbonate 10 ml 2 mEq / kg-1 Give slowly, over at least 2 min, IV (0.5 mEq/ml-1 = 4.2% soln) (x2) (4 ml / kg-1) ONLY, Infant must be ventilated 5-20 mcg/kg- Dopamine 1/min-1 (6 x weight in kg = mg of 100 ml Continuous infusion by pump (5-20 ml / hr- dopamine diluted to 100 ml) 1) CHAKRI KUA : Nurse Instructor : Department of Pediatrics Nursing. Boromarajonani College of Nursing, Bangkok
  • 20. 20 CHAKRI KUA : Nurse Instructor : Department of Pediatrics Nursing. Boromarajonani College of Nursing, Bangkok