SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
แผนบริหารการสอนบทที่ 2
หัวขอเนื้อหาประจําบท
1. ความหมายของเภสัชวิทยา
2. เภสัชจลนศาสตร
3. เภสัชพลศาสตร
4. คําศัพททางเภสัชวิทยาที่ควรทราบ
5. ผลเสียจากการใชยา
วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม
เมื่อนักศึกษาไดศึกษาจบบทที่ 2 แลว นักศึกษาควรมีความสามารถดังตอไปนี้
1. อธิบายความหมายของคําวาเภสัชวิทยา เภสัชจลนศาสตร และเภสัชพลศาสตรได
2. เปรียบเทียบแตกตางระหวางเภสัชจลนศาสตร และเภสัชพลศาสตรได
3. อธิบายกระบวนการทางเภสัชจลนศาสตรได
4. อธิบายหลักการออกฤทธิ์ของยาได
5. ประเมินความปลอดภัยในการใชยาได
6. เปรียบเทียบแตกตางของการเกิดพิษจากการใชยาแบบตาง ๆ ได
7. อธิบายคําศัพททางเภสัชวิทยาที่ควรทราบได
วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอน
วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนประจําบทที่ 2 ประกอบดวยรายละเอียดดังนี้
1. บรรยายตามเนื้อหา โดยใชโปรแกรมการนําเสนอ (power point) ประกอบคําอธิบาย
2. ชมวิดีโอคลิป เรื่อง เภสัชจลนศาสตร
3. อภิปรายเกี่ยวกับวิธีการใชยาที่สงผลตอเภสัชจลนศาสตรของยา และการออกฤทธิ์ของยา
ที่นักศึกษาเคยใช
4. รวมกันสรุปประเด็นสําคัญของการเรียน
5. มอบหมายงานใหนักศึกษาทําใบงาน เรื่อง เภสัชจลนศาสตรและเภสัชพลศาสตร
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา เภสัชวิทยาเบื้องตน บทที่ 2 หลักการทางเภสัชวิทยา
2. โปรแกรมนําเสนอ เรื่อง หลักการทางเภสัชวิทยา
22
3. วิดีโอคลิป เรื่อง เภสัชจลนศาสตร
วิธีวัดผลและการประเมินผล
1. สังเกตพฤติกรรมผูเรียน
1.1 พฤติกรรมความตรงตอเวลาในการเขาเรียน
1.2 พฤติกรรมการมีสวนรวมแสดงความคิดเห็นของผูเรียนในระหวางเรียน
2. ประเมินผลงานที่มอบหมาย
2.1 ใบงาน
23
บทที่ 2
หลักการทางเภสัชวิทยา
การใชยาโดยทั่วไปมีวัตถุประสงคเพื่อปองกัน รักษา และควบคุมอาการของโรค ดังนั้นจึง
จําเปนตองมีปริมาณยาที่เพียงพอและเหมาะสมไปถึงอวัยวะเปาหมายเพื่อใหเกิดผลในการรักษาและ
ไมเกิดพิษ การใชยาใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดไดควรตองมีความรูพื้นฐานเกี่ยวกับทางดานเภสัชวิทยา
ซึ่งจะทําใหเขาใจกลไกการออกฤทธิ์ของยา รวมถึงกระบวนการที่เปนตัวกําหนดความเร็วและปริมาณ
ยาที่ไปยังตําแหนงออกฤทธิ์ เพื่อประโยชนในการใชยาใหเปนไปตามแผนการรักษา
ความหมายของเภสัชวิทยา
เภสัชวิทยา (Pharmacology) เปนการศึกษาเกี่ยวกับยาซึ่งประกอบดวยองคความรูทางดาน
เภสัชจลนศาสตร (Pharmacokinetics) และเภสัชพลศาสตร (Pharmacodyamics) ไดแก การศึกษา
สิ่งที่รางกายกระทําตอยาและศึกษาผลของยาที่มีตอรางกาย ทั้งนี้องคความรูดังกลาวจะทําใหบุคลากร
ทางดานสุขภาพมีความรูเกี่ยวกับยา มีความเขาใจเหตุผลในการใหยาผูปวย รวมถึงมีความรูเพื่อสังเกต
ผลที่เกิดขึ้นจากการใชยาและใหคําแนะนําการใชยาที่ถูกตอง เพื่อชวยใหการใชยานั้นเปนไปตาม
วัตถุประสงคและมีประสิทธิภาพ
เภสัชจลนศาสตร
เภสัชจลนศาสตร เปนองคความรูที่ศึกษาความเปนไปของยาเมื่อเขาสูรางกาย โดยพิจารณา
จากสิ่งที่รางกายไดกระทําตอยาที่ไดรับหรือกระบวนการที่รางกายจัดการกับยา ซึ่งประกอบดวย การ
ดูดซึมของยาเขาสูรางกาย การกระจายตัวของยา การเปลี่ยนแปลงยา และการขับถายยาออกจาก
รางกาย โดยที่กระบวนการเหลานี้รวมกับขนาดยาที่ใหจะเปนสิ่งที่กําหนดถึงความเขมขนของยาใน
บริเวณที่ยาไปออกฤทธิ์ และเปนตัวกําหนดถึงความสําเร็จในการรักษา เพราะหากความเขมขนของยา
ต่ําเกินไปอาจทําใหไมเห็นผลในการรักษา หรือความเขมขนของยาที่สูงเกินไปอาจทําใหเกิดพิษจากยา
ได อัตราเร็ว ปริมาณยาที่ไปยังตําแหนงออกฤทธิ์ และระยะเวลาที่ยาอยูในรางกายขึ้นอยูกับกระบวน
การทางเภสัชจลนศาสตร 4 กระบวนการ ดังนี้
24
1. การดูดซึมยา
การดูดซึมยา (Drug absorption) เปนกระบวนการที่ยาจะถูกดูดซึมจากตําแหนงที่ไดรับ
ยาเขาสูระบบไหลเวียนเลือด จัดเปนกระบวนการแรกที่มีความสําคัญสําหรับการใหยาทุกวิธี ยกเวน
การฉีดยาเขาหลอดเลือดดําที่ไมตองอาศัยการดูดซึมยา อัตราการดูดซึมยาจะแตกตางกันไปตามวิธี
การบริหารยา ดังนี้
1.1 การใหยาโดยการรับประทาน ยาจะถูกดูดซึมมากที่สุดบริเวณลําไสเล็ก โดยมีปจจัยที่
สงผลตอการดูดซึมยาในทางเดินอาหาร ไดแก
1.1.1 การเคลื่อนไหวของทางเดินอาหาร (Gastrointestinal motility) เนื่องจาก
บริเวณที่มีการดูดซึมยาสูงอยูที่ลําไสเล็ก ดังนั้นหากยามีการเดินทางมายังลําไสเล็กไดเร็วการดูดซึมยา
ก็จะเกิดขึ้นไดเร็ว เพราะฉะนั้นการไดรับยาที่มีผลตอการทํางานของระบบทางเดินอาหารก็อาจลดหรือ
เพิ่มการดูดซึมยาได
1.1.2 การไหลเวียนเลือดผานระบบทางเดินอาหาร (Splanchnic blood flow)
หากระบบทางเดินอาหารมีการไหลเวียนเลือดดียาก็จะถูกดูดซึมไดดี
1.1.3 ขนาดอนุภาคของยาและตํารับยา (Particle size and formulation) มี
ความสําคัญตอการดูดซึมยา แมวาจะเปนยาชนิดเดียวกันและขนาดยาที่เทากัน เมื่อใหในผูปวยคน
เดียวกัน แตเปนยาที่มีขนาดและสูตรตํารับที่แตกตาง ก็อาจทําใหการดูดซึมมีความแตกตางกันได
1.1.4 ปจจัยทางดานฟสิกสและเคมีของยา (Physicochemical factor) พบวา
อาหารหรือยาบางชนิดอาจมีคุณสมบัติที่รบกวนตอการดูดซึมยาชนิดอื่น เชน หากรับประทานนม
รวมกับการใชยา Tetracycline ซึ่งตัวยาจะจับกับแคลเซียมและสงผลใหการดูดซึมยาลดลง
1.2 การใหยาโดยการอมใตลิ้น เปนการดูดซึมยาโดยตรง ซึ่งยาที่ถูกดูดซึมผานวิธีนี้จะเขา
สูระบบไหลเวียนเลือดไดโดยไมตองผานไปที่ตับกอน จึงไมเกิดการทําลายยาครั้งแรกที่ตับ (First pass
metabolism) เหมือนการใหยาโดยการรับประทาน
1.3 การใหยาทางทวารหนัก ใชในกรณีที่ตองการใหยาออกฤทธิ์เฉพาะที่ แตการดูดซึมยา
โดยวิธีการนี้จะไมแนนอน
1.4 การใหยาผานผิวหนัง โดยทั่วไปยาจะถูกดูดซึมจากผิวหนังผานเขาสูระบบไหลเวียน
เลือดไดนอยมาก ยกเวนยาบางชนิดที่สามารถละลายในไขมันไดสูงอาจถูกดูดซึมได
1.5 การใหยาโดยการสูดดม วิธีการนี้ทําใหไดระดับยาในเลือดสูงขึ้นอยางรวดเร็ว เพราะ
ปอดมีพื้นที่ผิวของการดูดซึมและมีการไหลเวียนของเลือดมาก รวมถึงยาบางชนิดที่ตองการใหออก
ฤทธิ์บริเวณหลอดลมหรือทางเดินหายใจโดยตรง เมื่อใหยาโดยการสูดดมก็จะชวยลดผลขางเคียงทั่ว
รางกายลงได
25
1.6 การฉีดยาเขาทางหลอดเลือดดํา เปนวิธีการใหยาที่ไดผลรวดเร็วที่สุด เนื่องจากยา
สามารถเขาสูระบบไหลเวียนเลือดไดโดยตรง
ทั้งนี้ อัตราการดูดซึมยาสามารถพิจารณาจากคา Bioavailability ซึ่งเปนคาที่แสดงถึง
อัตราเร็วและปริมาณยาที่จะไปถึงตําแหนงออกฤทธิ์ ดังนั้นหากพบวาคาดังกลาวสูงแสดงวายาถูกดูด
ซึมไดดีและมีปริมาณยาไปยังตําแหนงออกฤทธิ์สูงเมื่อเทียบกับขนาดยาที่ให สําหรับการดูดซึมยาที่ให
โดยการรับประทาน เมื่อยาถูกดูดซึมจากทางเดินอาหารจะเขาสูระบบไหลเวียนเลือด portal system
ซึ่งตองเขาไปที่ตับกอนไปยังตําแหนงออกฤทธิ์ และภายในตับจะมีเอนไซมที่สามารถทําลายยาสงผลให
ยาที่จะไปออกฤทธิ์มีปริมาณลดลง เรียกวาการเกิด First pass metabolism คาอัตราการดูดซึมยาจึง
อาจต่ํากวาการใหยาโดยวิธีอื่น
ภาพที่ 2.1 การเกิด First pass metabolism
ที่มา : Ritter, et. al. 2008 : 29
2. การกระจายตัวของยา
การกระจายตัวของยา (Drug distribution) เปนกระบวนการหลังจากที่ยาเขาสูระบบ
ไหลเวียนเลือดแลว ยาจะมีการกระจายตัวไปยังสวนตาง ๆ ของรางกาย โดยที่การกระจายตัวของยา
นั้นขึ้นอยูกับปจจัยทางดานสรีรวิทยา หรือคุณสมบัติทางฟสิกสและเคมีของยา ซึ่งการกระจายตัวของ
ยาในชวงแรกจะขึ้นกับปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจและการไหลเวียนเลือดไปยังอวัยวะที่มีเลือดไป
เลี้ยงมาก เชน ตับ ไต สมอง และหัวใจ สวนอวัยวะอื่น ๆ เชน กลามเนื้อ ผิวหนัง เนื้อเยื่อไขมัน ยาจะ
กระจายตัวไปถึงในระยะตอมา ทั้งนี้ปจจัยที่มีผลตอการกระจายตัวของยา ไดแก
2.1 ความสามารถในการเคลื่อนที่ผานหลอดเลือดฝอยของยา พบวาสวนมากยากระจาย
26
ตัวไดอยางรวดเร็ว เนื่องจากเยื่อหุมเซลลของหลอดเลือดฝอยมีความสามารถในการยอมใหสารตาง ๆ
ซึมผานไดงาย ยกเวน สารที่ละลายในไขมันไดนอย สารที่มีการแตกตัวเปนประจุ หรือสารที่มีขนาด
ใหญ ซึ่งซึมผานไดยากทําใหการกระจายตัวของยาถูกจํากัด
2.2 การจับกับสารอื่นของยา (Drug binding) ยาที่กระจายตัวอยูในระบบไหลเวียนเลือด
จะอยูทั้งในรูปอิสระ (Free form) และไมอิสระหรือจับกับสารอื่น (Bound form) โดยยาที่อยูในรูป
อิสระเทานั้นที่จะสามารถกระจายตัวไปยังสวนตาง ๆ ได ดังนั้นหากยาใดมีการจับกับโปรตีนในเลือด
สูงจะทําใหการกระจายตัวไปยังตําแหนงที่ออกฤทธิ์ไดชา สําหรับโปรตีนในเลือดที่มีบทบาทสําคัญใน
การจับกับยาและมีผลตอการกระจายตัวของยามากที่สุดคือ อัลบูมิน (Albumin)
2.3 ความสามารถของยาในการละลายในน้ําและไขมัน ยาที่ละลายในไขมันไดดีอาจถูก
เก็บสะสมในไขมัน ซึ่งทําหนาที่เหมือนเปนแหลงสะสมยาและคอนขางเสถียร เนื่องจากมีการไหลเวียน
เลือดต่ํา
3. การเปลี่ยนแปลงยา
การเปลี่ยนแปลงยา (Drug metabolism) เปนกระบวนการหลังจากที่ยาไปยังตําแหนง
ออกฤทธิ์และมีผลตออวัยวะเปาหมายแลว ยาจะเขาสูกระบวนการเปลี่ยนแปลงยาโดยอาศัยปฏิกิริยา
ทางเคมีระหวางยากับเอนไซมตาง ๆ เพื่อเปลี่ยนยาใหเปนเมแทบอไลต (Metabolite) ที่มีความเปน
ขั้วสูงขึ้น สงผลทําใหยามีความสามารถในการละลายในไขมันลดลง ความสามารถในการดูดซึมลดลง
และถูกกําจัดออกไปทางไตไดดีขึ้น
3.1 ปฏิกิริยาการเปลี่ยนแปลงยา สามารถแบงออกเปน 2 ระยะ ไดแก
3.1.1 ปฏิกิริยาระยะที่ 1 (Phase I reaction) ระยะนี้ยาจะถูกทําปฏิกิริยาตาง ๆ
โดยอาศัยเอนไซมจากตับ โดยปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น เชน เกิดการสูญเสียอิเล็กตรอนจากโมเลกุลของยา
(Oxidation) การไดรับอิเล็กตรอนของโมเลกุลยา (Reduction) หรือปฏิกิริยาที่มีน้ําเปนตัวสลาย
โมเลกุลของยา (Hydrolysis) ผลที่เกิดขึ้นกับยาคือ ทําใหมีความเปนขั้วมากขึ้น อาจจะทําใหยาหมด
ฤทธิ์ มีฤทธิ์ลดลง หรือมีฤทธิ์มากขึ้นก็ได
3.1.2 ปฏิกิริยาระยะที่ 2 (Phase II reaction) ระยะนี้จะเกิดปฏิกิริยาการรวมตัว
ของยากับสารประกอบในรางกาย (Conjugation) ซึ่งเปนการเติมเขาไปยังโมเลกุลของยา ผลที่เกิด
ขึ้นกับยาคือ ยาละลายในไขมันไดลดลง การกระจายตัวของยาลดลง และออกฤทธิ์ไดนอยลง ทําใหยา
ถูกขับออกจากรางกายไดดีขึ้น สารประกอบในรางกาย เชน กรดกลูโคโรนิค (Glucoronic acid)
ซัลเฟต (Sulfate) กลูตาไธโอน (Glutathione) เปนตน
27
ภาพที่ 2.2 ปฏิกิริยาการเปลี่ยนแปลงยา
ที่มา : Ritter, et. al. 2008 : 25.
3.2 ปจจัยที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงยา
3.2.1 การเหนี่ยวนําเอนไซม (Enzyme Induction) เปนการชักนําใหเอนไซมที่ใชใน
การเปลี่ยนแปลงยาออกฤทธิ์เพิ่มขึ้น โดยที่สารเคมีจากสิ่งแวดลอมและยาบางชนิดสามารถเหนี่ยวนํา
ทําใหเกิดการสรางเอนไซมที่ใชเปลี่ยนแปลงยาได ซึ่งการที่มีเอนไซมเพิ่มขึ้นจะทําใหอัตราการเปลี่ยน
แปลงของยาเพิ่มขึ้นและเร็วขึ้น หากเปนเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับตัวยาที่ออกฤทธิ์ ก็อาจทําใหมีโอกาส
เกิดความเปนพิษไดมากขึ้น หรืออาจทําใหระดับยาในเลือดลดลงอยางรวดเร็ว และทําใหยาหมดฤทธิ์
เร็วได ยาหรือสารเคมีที่มีฤทธิ์เปนสารเหนี่ยวนําเอนไซม เชน Carbamazepine ควันบุหรี่ เปนตน
3.2.2 การยับยั้งเอนไซม (Enzyme Inhibition) เปนการยับยั้งเอนไซมที่ใชในการ
เปลี่ยนแปลงยา สงผลใหระดับยาเพิ่มสูงขึ้นมีฤทธิ์ยาวนานขึ้น ซึ่งอาจกอใหเกิดอาการไมพึงประสงค
จากตัวยาเองได ยาหรือสารเคมีที่มีฤทธิ์เปนสารยับยั้งเอนไซม เชน Cimetidine Ketoconazole เปน
ตน
3.2.3 ความแตกตางทางพันธุกรรม (Genetic polymorphisms) เปนปจจัยหนึ่งที่
ทําใหแตละบุคคล มีความสามารถในการเปลี่ยนแปลงยาแตกตางกันไป
3.2.4 โรคหรือความผิดปกติที่ตับ ตับเปนอวัยวะหลักในการเปลี่ยนแปลงยา หากตับ
มีพยาธิสภาพหรือทําหนาที่ไดไมสมบูรณ รวมทั้งการไหลเวียนเลือดที่ตับลดลง อาจสงผลตอกระบวน
28
การเปลี่ยนแปลงยาได เชน โรคตับอักเสบ (Hepatitis) ตับแข็ง (Cirrhosis) เปนตน โรคดังกลาวทําให
การเปลี่ยนแปลงยาเกิดขึ้นไดนอยลง ซึ่งจะลดลงมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับความรุนแรงของโรค
3.2.5 อายุ ปจจัยดานอายุมีผลตอความสามารถในการเปลี่ยนแปลงยาโดยเฉพาะ
อยางยิ่งในทารกแรกเกิดและผูสูงอายุ สําหรับทารกแรกเกิดจะเปลี่ยนแปลงยาโดยปฏิกิริยาระยะที่ 1
เกิดไดในอัตราที่ชากวาผูใหญมาก และยังไมสามารถเปลี่ยนแปลงยาโดยปฏิกิริยาระยะที่ 2 ได สวน
ผูสูงอายุการไหลเวียนเลือดที่ตับและการทํางานของเอนไซมจากตับลดลง สงผลใหความสามารถใน
การเปลี่ยนแปลงยาลดลงได
4. การขับถายยา
การขับถายยา (Drug excretion) รางกายสามารถกําจัดยาออกทางปสสาวะโดยอาศัย
การทํางานของไตเปนหลัก ยาที่ถูกกําจัดออกจากรางกายจะอยูในรูปที่ถูกเปลี่ยนแปลงแลวหรืออยูใน
รูปเดิมก็ได โดยสารที่มีคุณสมบัติในการละลายน้ําจะถูกกําจัดออกไดดีกวาสารที่ละลายในไขมัน ดังนั้น
ยาตองถูกทําใหเปนสารที่สามารถละลายน้ําไดกอนจึงจะถูกขับออกมาได
ไตเปนอวัยวะที่มีความสําคัญกับการขับถายยาออกจากรางกายทางปสสาวะ โดยอาศัย
การทํางานที่ประกอบดวย 3 กระบวนการ คือ การกรองที่โกลเมอรูลัส (Glomerular filtration) การ
หลั่งสารที่หลอดไตฝอย (Tubular reabsorption) และการดูดกลับที่หลอดไตฝอย (Tubular
secretion) ทําใหยาถูกขับออกจากรางกายทางปสสาวะได สวนการขับถายยาออกโดยวิธีอื่น ๆ ไดแก
ทางเหงื่อ น้ําลาย น้ําตา น้ํานม การขับถายยาจะเปนการแพรของยาผานเซลลเยื่อบุผิวของตอมตาง ๆ
ซึ่งยาที่ถูกขับออกโดยวิธีเหลานี้มีปริมาณนอยมาก การขับยาออกทางอุจจาระโดยผานมากับน้ําดีที่
หลั่งมาจากตับ และการขับยาออกทางลมหายใจออกโดยอาศัยการทํางานของปอดมักพบกับการใชยา
ที่เปนกาซหรือของเหลวที่ระเหยได เชน ยาสลบ แอลกอฮอล เปนตน
เภสัชพลศาสตร
เภสัชพลศาสตร (Pharmacodyamic) เปนองคความรูที่เกี่ยวของกับผลของยาที่กระทําหรือ
ออกฤทธิ์ตอรางกาย โดยศึกษาความสัมพันธระหวางความเขมขนของยาในตําแหนงที่ออกฤทธิ์และ
การตอบสนองตอการรักษา ซึ่งเกี่ยวของกับผลของยาตอรางกายทั้งทางดานชีวเคมี และสรีรวิทยาที่ยา
ไปมีผลเปลี่ยนแปลงการทํางานของรางกายทั้งในดานที่พึงประสงคและไมพึงประสงค
29
1. กลไกการออกฤทธิ์ของยา
กลไกการออกฤทธิ์ของยา (Mechanism of drug action) สามารถแบงตามลักษณะการ
จับกับตัวรับ (Receptors) ไดเปน 2 ประเภท ดังนี้
1.1 การออกฤทธิ์ของยาโดยไมผานตัวรับ เปนกลไกการออกฤทธิ์ของยาที่อาศัยคุณสมบัติ
ทางกายภาพหรือเคมีของยา การออกฤทธิ์มักไมมีความจําเพาะตอชนิดของเนื้อเยื่อ และตองการตัวยา
ออกฤทธิ์ปริมาณมาก โดยเกิดจากการที่ยาทําปฏิกิริยาเคมีกับสารในรางกายแลวเกิดผลรักษาทันที
เชน อาศัยฤทธิ์ที่เปนดางของยาลดกรดในกระเพาะอาหาร ฤทธิ์ที่มีคุณสมบัติในการดูดซับของยาผง
ถาน (Activated carbon) เปนตน
1.2 การออกฤทธิ์ของยาโดยผานตัวรับ เปนกลไกการออกฤทธิ์ของยาสวนใหญ โมเลกุล
ของตัวรับที่สําคัญคือโปรตีนซึ่งเปนเปาหมายที่สําคัญในการออกฤทธิ์ของยาหลายชนิด โดยยาจะมี
ความจําเพาะตอตัวรับสูง ออกฤทธิ์ไดแมในความเขมขนต่ํา และการเปลี่ยนแปลงโครงสรางเคมีของยา
อาจมีผลตอฤทธิ์ยา โดยปกติภายในรางกายจะมีตัวรับหลายชนิด ยาจะไปออกฤทธิ์โดยเลือกจับกับตัว
รับอยางจําเพาะเจาะจงแลวเกิดเปนสารประกอบใหม (Drug - receptor complex) ซึ่งสารประกอบ
ที่เกิดขึ้นนี้จะชักนําใหเกิดผลทางสรีรวิทยาของรางกายและมีผลตอการรักษาโรค ยาที่สามารถจับกับ
ตัวรับไดดีจะเปนยาที่มีความแรงสูง กลาวคือใชยาเพียงเล็กนอยก็ออกฤทธิ์ไดดี แตหากเพิ่มขนาดของ
ยามากขึ้นจนตัวรับถูกจับหมดก็ไมไดเพิ่มผลในการรักษาแตอยางใด และอาจกอใหเกิดพิษกับรางกาย
ได การจับของยากับตัวรับจะทําใหเกิดผลทางเภสัชวิทยาตามชนิดของตัวรับนั้น ๆ โดยยาที่เขาจับกับ
ตัวรับสามารถแบงเปน 2 ลักษณะ ไดแก
1.2.1 Agonist คือยาที่เมื่อจับเขากับตัวรับแลวเกิดการกระตุนตัวรับนั้น และกอให
เกิดฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาขึ้น
1.2.2 Antagonist คือยาที่เมื่อจับกับตัวรับแลวไมทําใหเกิดการกระตุน แตจะไป
ยับยั้งหรือปองกันการจับของตัวรับกับ Agonist อื่น
2. ความสัมพันธระหวางขนาดยาและการตอบสนองของยา
ความสัมพันธระหวางขนาดยาและการตอบสนองของยา พบวาการออกฤทธิ์ของยา
เกิดขึ้นตั้งแตในระดับของเซลลเปาหมาย เมื่อเซลลเปาหมายมีการตอบสนองจํานวนมากเพียงพอ
จะทําใหเห็นการตอบสนองของเนื้อเยื่อและระบบ โดยความสัมพันธระหวางขนาดยาและการตอบ
สนองของเซลล พิจารณาไดจากคาดังตอไปนี้
2.1 Potency คือความแรงของยาที่ทําใหเนื้อเยื่อเปาหมายตอบสนอง มักใชเปรียบเทียบ
ระหวางยาตางชนิดกัน ซึ่งวัดไดจากความแตกตางของขนาดยาที่ใชแลวทําใหไดผลหรือฤทธิ์ที่เทากัน
30
โดยที่ยาใดที่ใชความเขมขนของยานอยกวาแตใหผลตอบสนองเทากับยาอื่น แสดงวายานั้นมีความแรง
มากกวา
2.2 Maximum Efficacy คือความสามารถในการชักนําใหเกิดการตอบสนองสูงสุดของ
ยา เนื่องจากยาแมออกฤทธิ์ตอตัวรับชนิดเดียวกัน แตอาจชักนําใหเกิดผลสนองสูงสุดไดไมเทากัน ยาที่
สามารถใหผลสนองสูงกวา ถือวามีประสิทธิภาพมากกวา
3. ปฏิกิริยาระหวางกันของยา
ปฏิกิริยาระหวางกันของยา เปนเหตุการณที่พบไดเมื่อใชยาตัวหนึ่งรวมกับยาหรือสารอีก
ตัวหนึ่งในชวงเวลาเดียวกันหรือใกลเคียงกัน ซึ่งอาจสงผลที่ดีหรือผลเสียตอรางกายได กลไกการเกิด
ปฏิกิริยาระหวางยา เชน การดูดซึมของยาตัวหนึ่งลดลงเนื่องจากไปจับกับสารประกอบอื่น ยาตัวหนึ่ง
มีผลเรงหรือยับยั้งการขับถายยาอีกชนิด ยาแยงจับที่ตัวรับตัวเดียวกัน เปนตน โดยผลที่เกิดขึ้นจาก
ปฏิกิริยาระหวางยาสามารถแบง เปน 2 ประเภทใหญ ไดดังนี้
3.1. การเสริมฤทธิ์กันของยา (Enhancement of Drug Effects) เปนปฏิกิริยาที่สงผล
ทําใหตัวยาออกฤทธิ์เพิ่มขึ้น แบงไดเปน 3 ลักษณะดังนี้
3.1.1 Additive effects ปฏิกิริยาระหวางยาที่ทําใหผลของยาเพิ่มขึ้น เทากับ
ผลรวมของฤทธิ์ยาเมื่อใชเดี่ยว ๆ เชน ยา A ทําใหเกิดผลเทากับ 1 และยา B ทําใหเกิดผลเทากับ 1
เมื่อใชยา ยา A และยา B รวมกันจะทําใหเกิดผลเทากับ 1+1 = 2
3.1.2 Synergistic effect ปฏิกิริยาระหวางยาที่ทําใหผลของยาเพิ่มขึ้น มากกวา
ผลรวมของฤทธิ์ยาเมื่อใชเดี่ยว ๆ หลายเทา เชน ยา A ทําใหเกิดผลเทากับ 1 และยา B ทําใหเกิดผล
เทากับ 1 เมื่อใชยา A และยา B รวมกันจะทําใหเกิดผลเทากับ 1+1 = 3
3.1.3 Potentiation ปฏิกิริยาระหวางยาที่เกิดจากการที่ยาตัวหนึ่งที่เมื่อใชเดี่ยว ๆ
จะไมเกิดผลสนอง แตเมื่อใชรวมกับยาอีกตัวหนึ่งจะเสริมฤทธิ์ของยาตัวที่สองนั้น เชน ยา C ทําให
เกิดผลเทากับ 0 และยา A ทําใหเกิดผลเทากับ 1 เมื่อใชรวมกันจะทําใหเกิดผลเทากับ 0+1 = 2
ตารางที่ 2.1 ตัวอยางยาที่มีการเสริมฤทธิ์กันแบบตาง ๆ
ชนิดของการเสริมฤทธิ์ ตัวอยางยา ผลที่เกิดขึ้น
Additive effect Diazepam + Alcohol งวงซึมมากขึ้น
Synergistic effect Sulfamethoxazole + Trimetroprim ออกฤทธิ์ฆาเชื้อไดดีขึ้น
Potentiation Clavunic acid + Amoxicillin ออกฤทธิ์ฆาเชื้อดื้อยากลุม
เพนนิซิลินไดดีขึ้น
31
3.2 การตานฤทธิ์กันของยา (Drug Antagonisms) เปนปฏิกิริยาที่สงผลขัดขวางการออก
ฤทธิ์ของยา แบงไดเปน 3 ลักษณะดังนี้
3.2.1 การตานฤทธิ์กันทางเคมี (Chemical antagonism) เปนการตานฤทธิ์ที่เกิด
ขึ้นเมื่อยา 2 ชนิดเกิดปฏิกิริยาเคมีตอกัน ทําใหยาตัวหนึ่งหมดฤทธิ์และไมสามารถไปออกฤทธิ์ได
3.2.2 การตานฤทธิ์กันทางสรีรวิทยา (Physiological antagonism) เปนการตาน
ฤทธิ์ระหวางยาที่จับกับตัวรับที่แตกตางกัน แตมีการตานฤทธิ์กันไดเนื่องจากใหผลทางสรีรวิทยาที่ตรง
ขามกัน
3.2.3 การตานฤทธิ์กันทางเภสัชวิทยา (Pharmacological antagonism) เปนการ
ตานฤทธิ์ซึ่งเกิดจากยาที่เปน antagonist ไปจับกับตัวรับทําใหยาที่เปน agonist เขาจับกับตัวรับตัว
เดียวกันไมได เมื่อ agonist จับกับตัวรับไดลดลงจึงเกิดผลสนองลดลง
ตารางที่ 2.2 ตัวอยางยาที่มีการตานฤทธิ์กันแบบตาง ๆ
ชนิดของการตานฤทธิ์ ตัวอยางยา ผลที่เกิดขึ้น
Chemical antagonism EDTA + ตะกั่ว เกิดสารประกอบเชิงซอน
ตะกั่วถูกขับออกจากรางกาย
ได
Physiological antagonism Histamine + Adrenaline Histamine ทําใหหลอดลม
หดตัว สวน Adrenaline ทํา
ใหหลอดลมขยายตัว
Pharmacological antagonism Histamine +
Chlorphenilamine
Histamine ถูกหลั่งออกมา
ทําใหเกิดอาการแพ สวน
Chlorphenilamine เปนยา
ตานฮีสตามีน ทําใหลด
อาการแพได
ความสัมพันธระหวางเภสัชจลนศาสตรและเภสัชพลศาสตร
ความสัมพันธระหวางเภสัชจลนศาสตรและเภสัชพลศาสตรนั้น เกิดขึ้นเมื่อใหยาเขาสูรางกาย
ในรูปแบบตาง ๆ โดยเฉพาะเมื่อใหยาเม็ดรับประทานจะมีการแตกตัวของยา (Disintegration) เปน
เม็ดเล็กๆ (Granule) และกลายเปนอนุภาคเล็กๆ (Small particle) จากนั้นยาจะถูกละลาย
32
(Dissolution) โดยน้ําและอุณหภูมิภายในรางกาย แลวถูกดูดซึมจากผนังลําไสเขาสูกระแสเลือด ยาที่
ถูกดูดซึมจะอยูในรูปยาอิสระและรูปยาที่มีการจับกับโปรตีนในพลาสมา โดยยาที่อยูในรูปอิสระเทานั้น
จะการกระจายไปตามสวนตาง ๆ ของรางกาย หรือไปยังตําแหนงออกฤทธิ์ ยาจะสงผลใหเกิดฤทธิ์ตอ
รางกายเกิดการตอบสนองของรางกายตอยา โดยฤทธิ์ของยานี้มีทั้งประโยชนในการรักษา และอาจเกิด
ผลขางเคียงหรือผลไมพึงประสงคได หลังจากออกฤทธิ์แลวยาจะถูกสงมาที่ตับและเกิดกระบวนการ
เปลี่ยนแปลงยา แลวจึงถูกขับออกจากรางกาย
ภาพที่ 2.3 ความสัมพันธระหวางกระบวนการทางเภสัชจลนศาสตรและเภสัชพลศาสตร
ที่มา : Katzung, Masters and Trevor. 2012 : 38.
คําศัพททางเภสัชวิทยาที่ควรทราบ
Clearance คือปริมาตรของเหลวในรางกายที่ถูกทําใหปราศจากยาใน 1 หนวยเวลา ซึ่งเปน
คาที่แสดงถึงความสามารถของรางกายในการกําจัดยา
Volume of distribution คือปริมาตรการกระจายตัวของยา ซึ่งเปนคาที่แสดงถึง
ปริมาตรของเหลวที่ยากระจายตัวไปอยู
Bioavailability คืออัตราเร็วและปริมาณยาที่ถูกดูดซึมเขากระแสเลือด ซึ่งเปนคาที่แสดงถึง
สัดสวนของยาที่ถูกดูดซึมจนสามารถเขาสูระบบไหลเวียนเลือดทั่วรางกายได
Onset of action คือระยะเวลาที่ยาเริ่มออกฤทธิ์ โดยเริ่มนับจากเวลาที่ใหยาจนกระทั่งเวลา
ที่ยาออกฤทธิ์ หากยาใดมีระยะเวลาที่เริ่มออกฤทธิ์สั้นแสดงวายานั้นเริ่มออกฤทธิ์เร็ว
33
Duration of action คือชวงเวลาที่ยาสามารถออกฤทธิ์ โดยเริ่มนับจากเวลาที่ยาเริ่มออก
ฤทธิ์จนถึงยาหมดฤทธิ์ หากยาใดมีชวงเวลาในการออกฤทธิ์สั้นแสดงวายานั้นหมดฤทธิ์เร็ว
Half life (T1/2) คือคาครึ่งชีวิต ซึ่งเปนคาที่แสดงถึงระยะเวลาที่ยาลดระดับความเขมขนใน
เลือดลงครึ่งหนึ่ง หากยาตัวใดมีคาครึ่งชีวิตสั้นแสดงวายานั้นจะถูกขับออกจากรางกายเร็วมากขึ้น
Affinity คือความเหนียวแนนของการจับกันระหวางยากับตัวรับ หากยาใดที่มีความเหนียว
แนนในการจับกับตัวรับสูง เมื่อจับกับตัวรับแลวจะแยกตัวออกไดชา
Efficacy คือประสิทธิภาพของยา เปนความสามารถของยาในการชักนําใหเซลลเกิดการตอบ
สนอง โดยยาที่มีประสิทธิภาพจะสามารถชักนําใหเซลลตอบสนองไดซึ่งก็คือยาที่มีลักษณะเปน
agonist ในขณะที่ยาที่แมจะมีความสามารถในการจับตัวรับแตไมมี efficacy จะไมสามารถกระตุน
ตัวรับชักนําใหเกิดการตอบสนองของเซลล ยาดังกลาวจึงมีคุณสมบัติเปน antagonist สําหรับยาที่
สามารถกระตุนตัวรับไดแตไมเกิดผลสูงสูด (Maximum response) จัดวาเปน partial agonist สวน
ยาที่กระตุนใหเกิดผลสนองสูงสุดจัดเปน full agonist
Mean lethal dose (LD50) คือคาความเขมของยาหรือขนาดของยาที่ทําใหกลุมตัวอยาง
รอยละ 50 ไดรับพิษจากยา หรือทําใหตาย
Mean effective dose (ED50) คือคาความเขมของยาหรือขนาดของยาที่ทําใหกลุมตัวอยาง
รอยละ 50 เห็นผลในการรักษาตามสรรพคุณยา
Therapeutic Index (TI) คือชวงที่ใหผลในการรักษา เปนตัวเลขที่บงบอกถึงความปลอดภัย
ในการใชยา หากคาดังกลาวนอยแสดงวาขนาดของยาที่เห็นผลในการรักษาและขนาดของยาที่ทําให
เกิดพิษมีคาใกลเคียงกันตองระมัดระวังการใชยานี้
ผลเสียจากการใชยา
สรรพคุณของยาเกิดจากการที่ยาไปปรับเปลี่ยนการทํางานของรางกาย ซึ่งการเปลี่ยนแปลง
ดังกลาวอาจทําใหเกิดผลเสียหรือสิ่งที่ไมพึงประสงคขึ้น ผลเสียดังกลาวอาจเปนอาการเฉพาะที่ หรือ
อาการทั้งระบบได ผลเสียจากการใชยาสามารถแบงเปน 3 ลักษณะดังนี้
1. อาการขางเคียง
อาการขางเคียง (Side effect) เปนอาการหรือผลขางเคียงที่ไมตองการ เกิดจากการใช
ยาชนิดนั้น ๆ ในขนาดปกติที่ใหผลการรักษา เมื่อหยุดใชยาอาการขางเคียงจะหายไป สาเหตุสวนใหญ
เกิดจากการที่ยาไมมีผลเฉพาะเจาะจงกับอวัยวะเปาหมายที่ตองการรักษา แตยายังไปมีผลตออวัยวะ
อื่นที่ไมตองการใหยาออกฤทธิ์ดวย เชน ยาแกแพมีอาการขางเคียงทําใหงวงนอนเนื่องจากออกฤทธิ์กด
34
ระบบประสาทสวนกลาง ยาแกปวดและตานการอักเสบกลุม NSAIDs มีอาการขางเคียงทําใหเกิดการ
ระคายเคืองกระเพาะอาหารเนื่องจากยาไปมีผลรบกวนการสรางเมือก (Mucous) ของกระเพาะ
อาหาร เปนตน อาการขางเคียงเปนสิ่งที่สามารถคาดการณไดวาจะเกิดอะไรขึ้นซึ่งสามารถลดความ
รุนแรงหรือวางแผนแกไขได หากผูใชยามีความเขาใจเกี่ยวกับผลขางเคียงของยาที่ใช เชน ยาที่มีผล
ระคายเคืองกระเพาะอาหาร ควรรับประทานหลังอาหารทันทีพรอมกับดื่มน้ําตามมาก ๆ เปนตน
2. อาการไมพึงประสงค
อาการไมพึงประสงค (Adverse effect) เปนอาการหรือผลจากยาซึ่งไมตองการใหเกิด
ระหวางการรักษา ซึ่งกอใหเกิดอันตรายตอรางกายและอาจถึงแกชีวิต อาจเกิดจากการใชยาเกินขนาด
หรือใชเปนเวลานาน รางกายกําจัดยาออกไมทันทําใหยาคางอยูในรางกายมาก เชน ยาแอสไพรินกับ
การเกิดเลือดออกในกระเพาะอาหาร
3. การแพยา
การแพยา (Allergy) เปนปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นจากกลไกการตอบสนองของระบบภูมิคุมกัน
เมื่อรางกายเคยไดรับยานั้นมากอนแลวสรางภูมิคุมกันขึ้นตอตานกับยานั้น ตอมาเมื่อไดรับยานั้นอีก
ครั้งจึงเกิดการแพยาขึ้น ไมสามารถคาดการณไดลวงหนาวาผูใดจะแพยาตัวไหน
อาการแพยา อาจเกิดทันทีทันใดหรือคอยเปนคอยไปก็ได และไมขึ้นกับขนาดของยาแม
ไดรับยาเพียงเล็กนอยก็อาจมีอาการได เชน เชน ผื่น คัน ผิวลอก บวมบริเวณใบหนา แสบรอนผิว
หลอดลมตีบ หลอดเลือดขยายตัว ความดันโลหิตต่ํา จนมีอาการมากอาจเกิดภาวะช็อคและอาจ
เสียชีวิตได เรียกวา Anaphylactic shock หากมีการอาการแพอยางรุนแรงจนผิวหนังมีการลอกเปอย
ทั้งตัว คลายถูกไฟลวก ผิวหนังผุพอง เปนหนอง ปากเปอย ตาอักเสบ ทอปสสาวะอักเสบเรียกกลุม
อาการนี้วา Steven-Johnson Syndrome ทั้งนี้หากพบวามีอาการแพยาควรหยุดยาทันทีและรีบ
กลับมาพบแพทย เพื่อรักษาอาการแพยาที่เกิดขึ้น หลังจากนั้นควรสอบถามชื่อยา พกบัตรแพยาติดตัว
ไวเสมอ และแจงบุคลากรทางการแพทยทุกครั้งเมื่อตองใชยา
สรุป
เภสัชวิทยาเปนการศึกษาปฏิสัมพันธระหวางยากับรางกาย โดยพิจารณาสิ่งที่รางกายกระทํา
ตอยาและฤทธิ์ของยาที่มีตอรางกาย ซึ่งเปนองคความรูทางดานเภสัชจลนศาสตรและเภสัชพลศาสตร
ยาในปจจุบันสวนใหญมีกลไกการออกฤทธิ์โดยไปจับกับตัวรับซึ่งเปนโมเลกุลที่อยูบนอวัยวะเปาหมาย
แลวชักนําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงการทํางานของรางกายจึงเห็นผลในการรักษา ซึ่งการเปลี่ยนแปลง
35
ดังกลาวอาจทําใหเกิดผลที่ไมตองการ เชน อาการขางเคียง หรืออาการไมพึงประสงคได ดังนั้นหาก
ผูใชยามีความรูก็จะสามารถปฏิบัติตัวเพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการใชยาได
คําถามทบทวน
1. จงอธิบายความหมายของเภสัชวิทยา เภสัชจลนศาสตร และเภสัชพลศาสตร
2. การศึกษาฤทธิ์ของยาที่มีตอรางกาย เปนองคความรูดานใด
3. เภสัชจลนศาสตรประกอบดวยกี่กระบวนการ อะไรบาง
4. ยาสวนใหญมีกลไกการออกฤทธิ์แบบใด
5. หากตองการประเมินความปลอดภัยในการใชยา ควรพิจารณาจากคาใด
6. ลักษณะของอาการขางเคียงแตกตางจากอาการไมพึงประสงคอยางไร
7. จงอธิบายความหมายของคําวา Affinity และ Efficacy
8. จงอธิบายความหมายของคําวา Agonist, Partial agonist และ Antagonist พรอมทั้ง
ระบุความแตกตาง
9. จงอธิบายการเสริมฤทธิ์กันและการขัดขวางการออกฤทธิ์แบบตางๆ มาพอสังเขป
เอกสารอางอิง
Kutzung, Bertram G., Susan B. Masters and Anthony J. Trevor. (2012). Basic & Clinical
Pharmacology. 12th
ed. San Francisco : McGraw-Hill.
Ritter, James M., et al. (2008). A Textbook of Clinical Pharmacology and
Therapeutics. 5th
ed. London : Hodder Arnold.

More Related Content

What's hot

คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554Utai Sukviwatsirikul
 
3 ยาสามัญประจำบ้าน
3 ยาสามัญประจำบ้าน3 ยาสามัญประจำบ้าน
3 ยาสามัญประจำบ้านPa'rig Prig
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาPa'rig Prig
 
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านบทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านPa'rig Prig
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58Junee Sara
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดPa'rig Prig
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPrachaya Sriswang
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาkrulam007
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์Utai Sukviwatsirikul
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาวคัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาวdawnythipsuda
 
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 
3 ยาสามัญประจำบ้าน
3 ยาสามัญประจำบ้าน3 ยาสามัญประจำบ้าน
3 ยาสามัญประจำบ้าน
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
 
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านบทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
 
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
Drug
DrugDrug
Drug
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาวคัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
 
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 

Viewers also liked

1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาPa'rig Prig
 
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Sirinoot Jantharangkul
 
Pharmacy guide
Pharmacy guidePharmacy guide
Pharmacy guideKaow Jaow
 
6 ยาคุมกำเนิด
6 ยาคุมกำเนิด6 ยาคุมกำเนิด
6 ยาคุมกำเนิดPa'rig Prig
 
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงPa'rig Prig
 
รู้เท่าทันการบริหารพัสดุ อ.สามารถ
รู้เท่าทันการบริหารพัสดุ อ.สามารถ รู้เท่าทันการบริหารพัสดุ อ.สามารถ
รู้เท่าทันการบริหารพัสดุ อ.สามารถ คืนเคียง ฟ้าฟื้น
 
สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค ปีงบประมาณ 2555
สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค ปีงบประมาณ 2555สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค ปีงบประมาณ 2555
สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค ปีงบประมาณ 2555Duangkamol Nutrawong
 
4 ยารักษาโรคเบาหวาน
4 ยารักษาโรคเบาหวาน4 ยารักษาโรคเบาหวาน
4 ยารักษาโรคเบาหวานPa'rig Prig
 
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงบทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงPa'rig Prig
 
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียคู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียUtai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานบทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานPa'rig Prig
 
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์ มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์ Utai Sukviwatsirikul
 
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reactionAntibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reactionUtai Sukviwatsirikul
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)Wan Ngamwongwan
 
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ,
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ, เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ,
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ, Utai Sukviwatsirikul
 

Viewers also liked (20)

Antibiotic_1
Antibiotic_1 Antibiotic_1
Antibiotic_1
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
 
Diuretics drugs
 Diuretics drugs Diuretics drugs
Diuretics drugs
 
Cardiovascular drugs
Cardiovascular drugsCardiovascular drugs
Cardiovascular drugs
 
Pharmacy guide
Pharmacy guidePharmacy guide
Pharmacy guide
 
6 ยาคุมกำเนิด
6 ยาคุมกำเนิด6 ยาคุมกำเนิด
6 ยาคุมกำเนิด
 
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
 
รู้เท่าทันการบริหารพัสดุ อ.สามารถ
รู้เท่าทันการบริหารพัสดุ อ.สามารถ รู้เท่าทันการบริหารพัสดุ อ.สามารถ
รู้เท่าทันการบริหารพัสดุ อ.สามารถ
 
สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค ปีงบประมาณ 2555
สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค ปีงบประมาณ 2555สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค ปีงบประมาณ 2555
สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค ปีงบประมาณ 2555
 
4 ยารักษาโรคเบาหวาน
4 ยารักษาโรคเบาหวาน4 ยารักษาโรคเบาหวาน
4 ยารักษาโรคเบาหวาน
 
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงบทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
 
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียคู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
 
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานบทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
 
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์ มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
 
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reactionAntibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 
Ppt. วัณโรค
Ppt. วัณโรคPpt. วัณโรค
Ppt. วัณโรค
 
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ,
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ, เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ,
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ,
 

Similar to บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา

4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.44.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4Kruthai Kidsdee
 
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์Kruthai Kidsdee
 
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์Kruthai Kidsdee
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3korakate
 
Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02korakate
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01korakate
 
บท2ต่อมไร้ท่อ
บท2ต่อมไร้ท่อบท2ต่อมไร้ท่อ
บท2ต่อมไร้ท่อWichai Likitponrak
 
บท2ระบบต่อมไร้ท่อ
บท2ระบบต่อมไร้ท่อบท2ระบบต่อมไร้ท่อ
บท2ระบบต่อมไร้ท่อWichai Likitponrak
 
แผนสุขศึกษาม 6 10
แผนสุขศึกษาม 6 10แผนสุขศึกษาม 6 10
แผนสุขศึกษาม 6 10Kruthai Kidsdee
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนPew Juthiporn
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1Kruthai Kidsdee
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised Nithimar Or
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidasedentyomaraj
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาadriamycin
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2korakate
 
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2krupornpana55
 

Similar to บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา (20)

4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.44.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
 
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
 
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
 
Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01
 
บท2ต่อมไร้ท่อ
บท2ต่อมไร้ท่อบท2ต่อมไร้ท่อ
บท2ต่อมไร้ท่อ
 
บท2ระบบต่อมไร้ท่อ
บท2ระบบต่อมไร้ท่อบท2ระบบต่อมไร้ท่อ
บท2ระบบต่อมไร้ท่อ
 
แผนสุขศึกษาม 6 10
แผนสุขศึกษาม 6 10แผนสุขศึกษาม 6 10
แผนสุขศึกษาม 6 10
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
Curri bio 61m4-6
Curri bio 61m4-6Curri bio 61m4-6
Curri bio 61m4-6
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidase
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
 
Do you-know-green-tea
Do you-know-green-teaDo you-know-green-tea
Do you-know-green-tea
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
 
5 behavi plan
5 behavi plan5 behavi plan
5 behavi plan
 
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
 

More from Pa'rig Prig

ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินPa'rig Prig
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์Pa'rig Prig
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาคPa'rig Prig
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาคPa'rig Prig
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาคPa'rig Prig
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลPa'rig Prig
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตPa'rig Prig
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพPa'rig Prig
 

More from Pa'rig Prig (20)

4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
Eport2
Eport2Eport2
Eport2
 
5
55
5
 
4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
2
22
2
 
1
11
1
 
ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมิน
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาค
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาค
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาค
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาล
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
 

บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา

  • 1. แผนบริหารการสอนบทที่ 2 หัวขอเนื้อหาประจําบท 1. ความหมายของเภสัชวิทยา 2. เภสัชจลนศาสตร 3. เภสัชพลศาสตร 4. คําศัพททางเภสัชวิทยาที่ควรทราบ 5. ผลเสียจากการใชยา วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม เมื่อนักศึกษาไดศึกษาจบบทที่ 2 แลว นักศึกษาควรมีความสามารถดังตอไปนี้ 1. อธิบายความหมายของคําวาเภสัชวิทยา เภสัชจลนศาสตร และเภสัชพลศาสตรได 2. เปรียบเทียบแตกตางระหวางเภสัชจลนศาสตร และเภสัชพลศาสตรได 3. อธิบายกระบวนการทางเภสัชจลนศาสตรได 4. อธิบายหลักการออกฤทธิ์ของยาได 5. ประเมินความปลอดภัยในการใชยาได 6. เปรียบเทียบแตกตางของการเกิดพิษจากการใชยาแบบตาง ๆ ได 7. อธิบายคําศัพททางเภสัชวิทยาที่ควรทราบได วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอน วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนประจําบทที่ 2 ประกอบดวยรายละเอียดดังนี้ 1. บรรยายตามเนื้อหา โดยใชโปรแกรมการนําเสนอ (power point) ประกอบคําอธิบาย 2. ชมวิดีโอคลิป เรื่อง เภสัชจลนศาสตร 3. อภิปรายเกี่ยวกับวิธีการใชยาที่สงผลตอเภสัชจลนศาสตรของยา และการออกฤทธิ์ของยา ที่นักศึกษาเคยใช 4. รวมกันสรุปประเด็นสําคัญของการเรียน 5. มอบหมายงานใหนักศึกษาทําใบงาน เรื่อง เภสัชจลนศาสตรและเภสัชพลศาสตร สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา เภสัชวิทยาเบื้องตน บทที่ 2 หลักการทางเภสัชวิทยา 2. โปรแกรมนําเสนอ เรื่อง หลักการทางเภสัชวิทยา
  • 2. 22 3. วิดีโอคลิป เรื่อง เภสัชจลนศาสตร วิธีวัดผลและการประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมผูเรียน 1.1 พฤติกรรมความตรงตอเวลาในการเขาเรียน 1.2 พฤติกรรมการมีสวนรวมแสดงความคิดเห็นของผูเรียนในระหวางเรียน 2. ประเมินผลงานที่มอบหมาย 2.1 ใบงาน
  • 3. 23 บทที่ 2 หลักการทางเภสัชวิทยา การใชยาโดยทั่วไปมีวัตถุประสงคเพื่อปองกัน รักษา และควบคุมอาการของโรค ดังนั้นจึง จําเปนตองมีปริมาณยาที่เพียงพอและเหมาะสมไปถึงอวัยวะเปาหมายเพื่อใหเกิดผลในการรักษาและ ไมเกิดพิษ การใชยาใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดไดควรตองมีความรูพื้นฐานเกี่ยวกับทางดานเภสัชวิทยา ซึ่งจะทําใหเขาใจกลไกการออกฤทธิ์ของยา รวมถึงกระบวนการที่เปนตัวกําหนดความเร็วและปริมาณ ยาที่ไปยังตําแหนงออกฤทธิ์ เพื่อประโยชนในการใชยาใหเปนไปตามแผนการรักษา ความหมายของเภสัชวิทยา เภสัชวิทยา (Pharmacology) เปนการศึกษาเกี่ยวกับยาซึ่งประกอบดวยองคความรูทางดาน เภสัชจลนศาสตร (Pharmacokinetics) และเภสัชพลศาสตร (Pharmacodyamics) ไดแก การศึกษา สิ่งที่รางกายกระทําตอยาและศึกษาผลของยาที่มีตอรางกาย ทั้งนี้องคความรูดังกลาวจะทําใหบุคลากร ทางดานสุขภาพมีความรูเกี่ยวกับยา มีความเขาใจเหตุผลในการใหยาผูปวย รวมถึงมีความรูเพื่อสังเกต ผลที่เกิดขึ้นจากการใชยาและใหคําแนะนําการใชยาที่ถูกตอง เพื่อชวยใหการใชยานั้นเปนไปตาม วัตถุประสงคและมีประสิทธิภาพ เภสัชจลนศาสตร เภสัชจลนศาสตร เปนองคความรูที่ศึกษาความเปนไปของยาเมื่อเขาสูรางกาย โดยพิจารณา จากสิ่งที่รางกายไดกระทําตอยาที่ไดรับหรือกระบวนการที่รางกายจัดการกับยา ซึ่งประกอบดวย การ ดูดซึมของยาเขาสูรางกาย การกระจายตัวของยา การเปลี่ยนแปลงยา และการขับถายยาออกจาก รางกาย โดยที่กระบวนการเหลานี้รวมกับขนาดยาที่ใหจะเปนสิ่งที่กําหนดถึงความเขมขนของยาใน บริเวณที่ยาไปออกฤทธิ์ และเปนตัวกําหนดถึงความสําเร็จในการรักษา เพราะหากความเขมขนของยา ต่ําเกินไปอาจทําใหไมเห็นผลในการรักษา หรือความเขมขนของยาที่สูงเกินไปอาจทําใหเกิดพิษจากยา ได อัตราเร็ว ปริมาณยาที่ไปยังตําแหนงออกฤทธิ์ และระยะเวลาที่ยาอยูในรางกายขึ้นอยูกับกระบวน การทางเภสัชจลนศาสตร 4 กระบวนการ ดังนี้
  • 4. 24 1. การดูดซึมยา การดูดซึมยา (Drug absorption) เปนกระบวนการที่ยาจะถูกดูดซึมจากตําแหนงที่ไดรับ ยาเขาสูระบบไหลเวียนเลือด จัดเปนกระบวนการแรกที่มีความสําคัญสําหรับการใหยาทุกวิธี ยกเวน การฉีดยาเขาหลอดเลือดดําที่ไมตองอาศัยการดูดซึมยา อัตราการดูดซึมยาจะแตกตางกันไปตามวิธี การบริหารยา ดังนี้ 1.1 การใหยาโดยการรับประทาน ยาจะถูกดูดซึมมากที่สุดบริเวณลําไสเล็ก โดยมีปจจัยที่ สงผลตอการดูดซึมยาในทางเดินอาหาร ไดแก 1.1.1 การเคลื่อนไหวของทางเดินอาหาร (Gastrointestinal motility) เนื่องจาก บริเวณที่มีการดูดซึมยาสูงอยูที่ลําไสเล็ก ดังนั้นหากยามีการเดินทางมายังลําไสเล็กไดเร็วการดูดซึมยา ก็จะเกิดขึ้นไดเร็ว เพราะฉะนั้นการไดรับยาที่มีผลตอการทํางานของระบบทางเดินอาหารก็อาจลดหรือ เพิ่มการดูดซึมยาได 1.1.2 การไหลเวียนเลือดผานระบบทางเดินอาหาร (Splanchnic blood flow) หากระบบทางเดินอาหารมีการไหลเวียนเลือดดียาก็จะถูกดูดซึมไดดี 1.1.3 ขนาดอนุภาคของยาและตํารับยา (Particle size and formulation) มี ความสําคัญตอการดูดซึมยา แมวาจะเปนยาชนิดเดียวกันและขนาดยาที่เทากัน เมื่อใหในผูปวยคน เดียวกัน แตเปนยาที่มีขนาดและสูตรตํารับที่แตกตาง ก็อาจทําใหการดูดซึมมีความแตกตางกันได 1.1.4 ปจจัยทางดานฟสิกสและเคมีของยา (Physicochemical factor) พบวา อาหารหรือยาบางชนิดอาจมีคุณสมบัติที่รบกวนตอการดูดซึมยาชนิดอื่น เชน หากรับประทานนม รวมกับการใชยา Tetracycline ซึ่งตัวยาจะจับกับแคลเซียมและสงผลใหการดูดซึมยาลดลง 1.2 การใหยาโดยการอมใตลิ้น เปนการดูดซึมยาโดยตรง ซึ่งยาที่ถูกดูดซึมผานวิธีนี้จะเขา สูระบบไหลเวียนเลือดไดโดยไมตองผานไปที่ตับกอน จึงไมเกิดการทําลายยาครั้งแรกที่ตับ (First pass metabolism) เหมือนการใหยาโดยการรับประทาน 1.3 การใหยาทางทวารหนัก ใชในกรณีที่ตองการใหยาออกฤทธิ์เฉพาะที่ แตการดูดซึมยา โดยวิธีการนี้จะไมแนนอน 1.4 การใหยาผานผิวหนัง โดยทั่วไปยาจะถูกดูดซึมจากผิวหนังผานเขาสูระบบไหลเวียน เลือดไดนอยมาก ยกเวนยาบางชนิดที่สามารถละลายในไขมันไดสูงอาจถูกดูดซึมได 1.5 การใหยาโดยการสูดดม วิธีการนี้ทําใหไดระดับยาในเลือดสูงขึ้นอยางรวดเร็ว เพราะ ปอดมีพื้นที่ผิวของการดูดซึมและมีการไหลเวียนของเลือดมาก รวมถึงยาบางชนิดที่ตองการใหออก ฤทธิ์บริเวณหลอดลมหรือทางเดินหายใจโดยตรง เมื่อใหยาโดยการสูดดมก็จะชวยลดผลขางเคียงทั่ว รางกายลงได
  • 5. 25 1.6 การฉีดยาเขาทางหลอดเลือดดํา เปนวิธีการใหยาที่ไดผลรวดเร็วที่สุด เนื่องจากยา สามารถเขาสูระบบไหลเวียนเลือดไดโดยตรง ทั้งนี้ อัตราการดูดซึมยาสามารถพิจารณาจากคา Bioavailability ซึ่งเปนคาที่แสดงถึง อัตราเร็วและปริมาณยาที่จะไปถึงตําแหนงออกฤทธิ์ ดังนั้นหากพบวาคาดังกลาวสูงแสดงวายาถูกดูด ซึมไดดีและมีปริมาณยาไปยังตําแหนงออกฤทธิ์สูงเมื่อเทียบกับขนาดยาที่ให สําหรับการดูดซึมยาที่ให โดยการรับประทาน เมื่อยาถูกดูดซึมจากทางเดินอาหารจะเขาสูระบบไหลเวียนเลือด portal system ซึ่งตองเขาไปที่ตับกอนไปยังตําแหนงออกฤทธิ์ และภายในตับจะมีเอนไซมที่สามารถทําลายยาสงผลให ยาที่จะไปออกฤทธิ์มีปริมาณลดลง เรียกวาการเกิด First pass metabolism คาอัตราการดูดซึมยาจึง อาจต่ํากวาการใหยาโดยวิธีอื่น ภาพที่ 2.1 การเกิด First pass metabolism ที่มา : Ritter, et. al. 2008 : 29 2. การกระจายตัวของยา การกระจายตัวของยา (Drug distribution) เปนกระบวนการหลังจากที่ยาเขาสูระบบ ไหลเวียนเลือดแลว ยาจะมีการกระจายตัวไปยังสวนตาง ๆ ของรางกาย โดยที่การกระจายตัวของยา นั้นขึ้นอยูกับปจจัยทางดานสรีรวิทยา หรือคุณสมบัติทางฟสิกสและเคมีของยา ซึ่งการกระจายตัวของ ยาในชวงแรกจะขึ้นกับปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจและการไหลเวียนเลือดไปยังอวัยวะที่มีเลือดไป เลี้ยงมาก เชน ตับ ไต สมอง และหัวใจ สวนอวัยวะอื่น ๆ เชน กลามเนื้อ ผิวหนัง เนื้อเยื่อไขมัน ยาจะ กระจายตัวไปถึงในระยะตอมา ทั้งนี้ปจจัยที่มีผลตอการกระจายตัวของยา ไดแก 2.1 ความสามารถในการเคลื่อนที่ผานหลอดเลือดฝอยของยา พบวาสวนมากยากระจาย
  • 6. 26 ตัวไดอยางรวดเร็ว เนื่องจากเยื่อหุมเซลลของหลอดเลือดฝอยมีความสามารถในการยอมใหสารตาง ๆ ซึมผานไดงาย ยกเวน สารที่ละลายในไขมันไดนอย สารที่มีการแตกตัวเปนประจุ หรือสารที่มีขนาด ใหญ ซึ่งซึมผานไดยากทําใหการกระจายตัวของยาถูกจํากัด 2.2 การจับกับสารอื่นของยา (Drug binding) ยาที่กระจายตัวอยูในระบบไหลเวียนเลือด จะอยูทั้งในรูปอิสระ (Free form) และไมอิสระหรือจับกับสารอื่น (Bound form) โดยยาที่อยูในรูป อิสระเทานั้นที่จะสามารถกระจายตัวไปยังสวนตาง ๆ ได ดังนั้นหากยาใดมีการจับกับโปรตีนในเลือด สูงจะทําใหการกระจายตัวไปยังตําแหนงที่ออกฤทธิ์ไดชา สําหรับโปรตีนในเลือดที่มีบทบาทสําคัญใน การจับกับยาและมีผลตอการกระจายตัวของยามากที่สุดคือ อัลบูมิน (Albumin) 2.3 ความสามารถของยาในการละลายในน้ําและไขมัน ยาที่ละลายในไขมันไดดีอาจถูก เก็บสะสมในไขมัน ซึ่งทําหนาที่เหมือนเปนแหลงสะสมยาและคอนขางเสถียร เนื่องจากมีการไหลเวียน เลือดต่ํา 3. การเปลี่ยนแปลงยา การเปลี่ยนแปลงยา (Drug metabolism) เปนกระบวนการหลังจากที่ยาไปยังตําแหนง ออกฤทธิ์และมีผลตออวัยวะเปาหมายแลว ยาจะเขาสูกระบวนการเปลี่ยนแปลงยาโดยอาศัยปฏิกิริยา ทางเคมีระหวางยากับเอนไซมตาง ๆ เพื่อเปลี่ยนยาใหเปนเมแทบอไลต (Metabolite) ที่มีความเปน ขั้วสูงขึ้น สงผลทําใหยามีความสามารถในการละลายในไขมันลดลง ความสามารถในการดูดซึมลดลง และถูกกําจัดออกไปทางไตไดดีขึ้น 3.1 ปฏิกิริยาการเปลี่ยนแปลงยา สามารถแบงออกเปน 2 ระยะ ไดแก 3.1.1 ปฏิกิริยาระยะที่ 1 (Phase I reaction) ระยะนี้ยาจะถูกทําปฏิกิริยาตาง ๆ โดยอาศัยเอนไซมจากตับ โดยปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น เชน เกิดการสูญเสียอิเล็กตรอนจากโมเลกุลของยา (Oxidation) การไดรับอิเล็กตรอนของโมเลกุลยา (Reduction) หรือปฏิกิริยาที่มีน้ําเปนตัวสลาย โมเลกุลของยา (Hydrolysis) ผลที่เกิดขึ้นกับยาคือ ทําใหมีความเปนขั้วมากขึ้น อาจจะทําใหยาหมด ฤทธิ์ มีฤทธิ์ลดลง หรือมีฤทธิ์มากขึ้นก็ได 3.1.2 ปฏิกิริยาระยะที่ 2 (Phase II reaction) ระยะนี้จะเกิดปฏิกิริยาการรวมตัว ของยากับสารประกอบในรางกาย (Conjugation) ซึ่งเปนการเติมเขาไปยังโมเลกุลของยา ผลที่เกิด ขึ้นกับยาคือ ยาละลายในไขมันไดลดลง การกระจายตัวของยาลดลง และออกฤทธิ์ไดนอยลง ทําใหยา ถูกขับออกจากรางกายไดดีขึ้น สารประกอบในรางกาย เชน กรดกลูโคโรนิค (Glucoronic acid) ซัลเฟต (Sulfate) กลูตาไธโอน (Glutathione) เปนตน
  • 7. 27 ภาพที่ 2.2 ปฏิกิริยาการเปลี่ยนแปลงยา ที่มา : Ritter, et. al. 2008 : 25. 3.2 ปจจัยที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงยา 3.2.1 การเหนี่ยวนําเอนไซม (Enzyme Induction) เปนการชักนําใหเอนไซมที่ใชใน การเปลี่ยนแปลงยาออกฤทธิ์เพิ่มขึ้น โดยที่สารเคมีจากสิ่งแวดลอมและยาบางชนิดสามารถเหนี่ยวนํา ทําใหเกิดการสรางเอนไซมที่ใชเปลี่ยนแปลงยาได ซึ่งการที่มีเอนไซมเพิ่มขึ้นจะทําใหอัตราการเปลี่ยน แปลงของยาเพิ่มขึ้นและเร็วขึ้น หากเปนเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับตัวยาที่ออกฤทธิ์ ก็อาจทําใหมีโอกาส เกิดความเปนพิษไดมากขึ้น หรืออาจทําใหระดับยาในเลือดลดลงอยางรวดเร็ว และทําใหยาหมดฤทธิ์ เร็วได ยาหรือสารเคมีที่มีฤทธิ์เปนสารเหนี่ยวนําเอนไซม เชน Carbamazepine ควันบุหรี่ เปนตน 3.2.2 การยับยั้งเอนไซม (Enzyme Inhibition) เปนการยับยั้งเอนไซมที่ใชในการ เปลี่ยนแปลงยา สงผลใหระดับยาเพิ่มสูงขึ้นมีฤทธิ์ยาวนานขึ้น ซึ่งอาจกอใหเกิดอาการไมพึงประสงค จากตัวยาเองได ยาหรือสารเคมีที่มีฤทธิ์เปนสารยับยั้งเอนไซม เชน Cimetidine Ketoconazole เปน ตน 3.2.3 ความแตกตางทางพันธุกรรม (Genetic polymorphisms) เปนปจจัยหนึ่งที่ ทําใหแตละบุคคล มีความสามารถในการเปลี่ยนแปลงยาแตกตางกันไป 3.2.4 โรคหรือความผิดปกติที่ตับ ตับเปนอวัยวะหลักในการเปลี่ยนแปลงยา หากตับ มีพยาธิสภาพหรือทําหนาที่ไดไมสมบูรณ รวมทั้งการไหลเวียนเลือดที่ตับลดลง อาจสงผลตอกระบวน
  • 8. 28 การเปลี่ยนแปลงยาได เชน โรคตับอักเสบ (Hepatitis) ตับแข็ง (Cirrhosis) เปนตน โรคดังกลาวทําให การเปลี่ยนแปลงยาเกิดขึ้นไดนอยลง ซึ่งจะลดลงมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับความรุนแรงของโรค 3.2.5 อายุ ปจจัยดานอายุมีผลตอความสามารถในการเปลี่ยนแปลงยาโดยเฉพาะ อยางยิ่งในทารกแรกเกิดและผูสูงอายุ สําหรับทารกแรกเกิดจะเปลี่ยนแปลงยาโดยปฏิกิริยาระยะที่ 1 เกิดไดในอัตราที่ชากวาผูใหญมาก และยังไมสามารถเปลี่ยนแปลงยาโดยปฏิกิริยาระยะที่ 2 ได สวน ผูสูงอายุการไหลเวียนเลือดที่ตับและการทํางานของเอนไซมจากตับลดลง สงผลใหความสามารถใน การเปลี่ยนแปลงยาลดลงได 4. การขับถายยา การขับถายยา (Drug excretion) รางกายสามารถกําจัดยาออกทางปสสาวะโดยอาศัย การทํางานของไตเปนหลัก ยาที่ถูกกําจัดออกจากรางกายจะอยูในรูปที่ถูกเปลี่ยนแปลงแลวหรืออยูใน รูปเดิมก็ได โดยสารที่มีคุณสมบัติในการละลายน้ําจะถูกกําจัดออกไดดีกวาสารที่ละลายในไขมัน ดังนั้น ยาตองถูกทําใหเปนสารที่สามารถละลายน้ําไดกอนจึงจะถูกขับออกมาได ไตเปนอวัยวะที่มีความสําคัญกับการขับถายยาออกจากรางกายทางปสสาวะ โดยอาศัย การทํางานที่ประกอบดวย 3 กระบวนการ คือ การกรองที่โกลเมอรูลัส (Glomerular filtration) การ หลั่งสารที่หลอดไตฝอย (Tubular reabsorption) และการดูดกลับที่หลอดไตฝอย (Tubular secretion) ทําใหยาถูกขับออกจากรางกายทางปสสาวะได สวนการขับถายยาออกโดยวิธีอื่น ๆ ไดแก ทางเหงื่อ น้ําลาย น้ําตา น้ํานม การขับถายยาจะเปนการแพรของยาผานเซลลเยื่อบุผิวของตอมตาง ๆ ซึ่งยาที่ถูกขับออกโดยวิธีเหลานี้มีปริมาณนอยมาก การขับยาออกทางอุจจาระโดยผานมากับน้ําดีที่ หลั่งมาจากตับ และการขับยาออกทางลมหายใจออกโดยอาศัยการทํางานของปอดมักพบกับการใชยา ที่เปนกาซหรือของเหลวที่ระเหยได เชน ยาสลบ แอลกอฮอล เปนตน เภสัชพลศาสตร เภสัชพลศาสตร (Pharmacodyamic) เปนองคความรูที่เกี่ยวของกับผลของยาที่กระทําหรือ ออกฤทธิ์ตอรางกาย โดยศึกษาความสัมพันธระหวางความเขมขนของยาในตําแหนงที่ออกฤทธิ์และ การตอบสนองตอการรักษา ซึ่งเกี่ยวของกับผลของยาตอรางกายทั้งทางดานชีวเคมี และสรีรวิทยาที่ยา ไปมีผลเปลี่ยนแปลงการทํางานของรางกายทั้งในดานที่พึงประสงคและไมพึงประสงค
  • 9. 29 1. กลไกการออกฤทธิ์ของยา กลไกการออกฤทธิ์ของยา (Mechanism of drug action) สามารถแบงตามลักษณะการ จับกับตัวรับ (Receptors) ไดเปน 2 ประเภท ดังนี้ 1.1 การออกฤทธิ์ของยาโดยไมผานตัวรับ เปนกลไกการออกฤทธิ์ของยาที่อาศัยคุณสมบัติ ทางกายภาพหรือเคมีของยา การออกฤทธิ์มักไมมีความจําเพาะตอชนิดของเนื้อเยื่อ และตองการตัวยา ออกฤทธิ์ปริมาณมาก โดยเกิดจากการที่ยาทําปฏิกิริยาเคมีกับสารในรางกายแลวเกิดผลรักษาทันที เชน อาศัยฤทธิ์ที่เปนดางของยาลดกรดในกระเพาะอาหาร ฤทธิ์ที่มีคุณสมบัติในการดูดซับของยาผง ถาน (Activated carbon) เปนตน 1.2 การออกฤทธิ์ของยาโดยผานตัวรับ เปนกลไกการออกฤทธิ์ของยาสวนใหญ โมเลกุล ของตัวรับที่สําคัญคือโปรตีนซึ่งเปนเปาหมายที่สําคัญในการออกฤทธิ์ของยาหลายชนิด โดยยาจะมี ความจําเพาะตอตัวรับสูง ออกฤทธิ์ไดแมในความเขมขนต่ํา และการเปลี่ยนแปลงโครงสรางเคมีของยา อาจมีผลตอฤทธิ์ยา โดยปกติภายในรางกายจะมีตัวรับหลายชนิด ยาจะไปออกฤทธิ์โดยเลือกจับกับตัว รับอยางจําเพาะเจาะจงแลวเกิดเปนสารประกอบใหม (Drug - receptor complex) ซึ่งสารประกอบ ที่เกิดขึ้นนี้จะชักนําใหเกิดผลทางสรีรวิทยาของรางกายและมีผลตอการรักษาโรค ยาที่สามารถจับกับ ตัวรับไดดีจะเปนยาที่มีความแรงสูง กลาวคือใชยาเพียงเล็กนอยก็ออกฤทธิ์ไดดี แตหากเพิ่มขนาดของ ยามากขึ้นจนตัวรับถูกจับหมดก็ไมไดเพิ่มผลในการรักษาแตอยางใด และอาจกอใหเกิดพิษกับรางกาย ได การจับของยากับตัวรับจะทําใหเกิดผลทางเภสัชวิทยาตามชนิดของตัวรับนั้น ๆ โดยยาที่เขาจับกับ ตัวรับสามารถแบงเปน 2 ลักษณะ ไดแก 1.2.1 Agonist คือยาที่เมื่อจับเขากับตัวรับแลวเกิดการกระตุนตัวรับนั้น และกอให เกิดฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาขึ้น 1.2.2 Antagonist คือยาที่เมื่อจับกับตัวรับแลวไมทําใหเกิดการกระตุน แตจะไป ยับยั้งหรือปองกันการจับของตัวรับกับ Agonist อื่น 2. ความสัมพันธระหวางขนาดยาและการตอบสนองของยา ความสัมพันธระหวางขนาดยาและการตอบสนองของยา พบวาการออกฤทธิ์ของยา เกิดขึ้นตั้งแตในระดับของเซลลเปาหมาย เมื่อเซลลเปาหมายมีการตอบสนองจํานวนมากเพียงพอ จะทําใหเห็นการตอบสนองของเนื้อเยื่อและระบบ โดยความสัมพันธระหวางขนาดยาและการตอบ สนองของเซลล พิจารณาไดจากคาดังตอไปนี้ 2.1 Potency คือความแรงของยาที่ทําใหเนื้อเยื่อเปาหมายตอบสนอง มักใชเปรียบเทียบ ระหวางยาตางชนิดกัน ซึ่งวัดไดจากความแตกตางของขนาดยาที่ใชแลวทําใหไดผลหรือฤทธิ์ที่เทากัน
  • 10. 30 โดยที่ยาใดที่ใชความเขมขนของยานอยกวาแตใหผลตอบสนองเทากับยาอื่น แสดงวายานั้นมีความแรง มากกวา 2.2 Maximum Efficacy คือความสามารถในการชักนําใหเกิดการตอบสนองสูงสุดของ ยา เนื่องจากยาแมออกฤทธิ์ตอตัวรับชนิดเดียวกัน แตอาจชักนําใหเกิดผลสนองสูงสุดไดไมเทากัน ยาที่ สามารถใหผลสนองสูงกวา ถือวามีประสิทธิภาพมากกวา 3. ปฏิกิริยาระหวางกันของยา ปฏิกิริยาระหวางกันของยา เปนเหตุการณที่พบไดเมื่อใชยาตัวหนึ่งรวมกับยาหรือสารอีก ตัวหนึ่งในชวงเวลาเดียวกันหรือใกลเคียงกัน ซึ่งอาจสงผลที่ดีหรือผลเสียตอรางกายได กลไกการเกิด ปฏิกิริยาระหวางยา เชน การดูดซึมของยาตัวหนึ่งลดลงเนื่องจากไปจับกับสารประกอบอื่น ยาตัวหนึ่ง มีผลเรงหรือยับยั้งการขับถายยาอีกชนิด ยาแยงจับที่ตัวรับตัวเดียวกัน เปนตน โดยผลที่เกิดขึ้นจาก ปฏิกิริยาระหวางยาสามารถแบง เปน 2 ประเภทใหญ ไดดังนี้ 3.1. การเสริมฤทธิ์กันของยา (Enhancement of Drug Effects) เปนปฏิกิริยาที่สงผล ทําใหตัวยาออกฤทธิ์เพิ่มขึ้น แบงไดเปน 3 ลักษณะดังนี้ 3.1.1 Additive effects ปฏิกิริยาระหวางยาที่ทําใหผลของยาเพิ่มขึ้น เทากับ ผลรวมของฤทธิ์ยาเมื่อใชเดี่ยว ๆ เชน ยา A ทําใหเกิดผลเทากับ 1 และยา B ทําใหเกิดผลเทากับ 1 เมื่อใชยา ยา A และยา B รวมกันจะทําใหเกิดผลเทากับ 1+1 = 2 3.1.2 Synergistic effect ปฏิกิริยาระหวางยาที่ทําใหผลของยาเพิ่มขึ้น มากกวา ผลรวมของฤทธิ์ยาเมื่อใชเดี่ยว ๆ หลายเทา เชน ยา A ทําใหเกิดผลเทากับ 1 และยา B ทําใหเกิดผล เทากับ 1 เมื่อใชยา A และยา B รวมกันจะทําใหเกิดผลเทากับ 1+1 = 3 3.1.3 Potentiation ปฏิกิริยาระหวางยาที่เกิดจากการที่ยาตัวหนึ่งที่เมื่อใชเดี่ยว ๆ จะไมเกิดผลสนอง แตเมื่อใชรวมกับยาอีกตัวหนึ่งจะเสริมฤทธิ์ของยาตัวที่สองนั้น เชน ยา C ทําให เกิดผลเทากับ 0 และยา A ทําใหเกิดผลเทากับ 1 เมื่อใชรวมกันจะทําใหเกิดผลเทากับ 0+1 = 2 ตารางที่ 2.1 ตัวอยางยาที่มีการเสริมฤทธิ์กันแบบตาง ๆ ชนิดของการเสริมฤทธิ์ ตัวอยางยา ผลที่เกิดขึ้น Additive effect Diazepam + Alcohol งวงซึมมากขึ้น Synergistic effect Sulfamethoxazole + Trimetroprim ออกฤทธิ์ฆาเชื้อไดดีขึ้น Potentiation Clavunic acid + Amoxicillin ออกฤทธิ์ฆาเชื้อดื้อยากลุม เพนนิซิลินไดดีขึ้น
  • 11. 31 3.2 การตานฤทธิ์กันของยา (Drug Antagonisms) เปนปฏิกิริยาที่สงผลขัดขวางการออก ฤทธิ์ของยา แบงไดเปน 3 ลักษณะดังนี้ 3.2.1 การตานฤทธิ์กันทางเคมี (Chemical antagonism) เปนการตานฤทธิ์ที่เกิด ขึ้นเมื่อยา 2 ชนิดเกิดปฏิกิริยาเคมีตอกัน ทําใหยาตัวหนึ่งหมดฤทธิ์และไมสามารถไปออกฤทธิ์ได 3.2.2 การตานฤทธิ์กันทางสรีรวิทยา (Physiological antagonism) เปนการตาน ฤทธิ์ระหวางยาที่จับกับตัวรับที่แตกตางกัน แตมีการตานฤทธิ์กันไดเนื่องจากใหผลทางสรีรวิทยาที่ตรง ขามกัน 3.2.3 การตานฤทธิ์กันทางเภสัชวิทยา (Pharmacological antagonism) เปนการ ตานฤทธิ์ซึ่งเกิดจากยาที่เปน antagonist ไปจับกับตัวรับทําใหยาที่เปน agonist เขาจับกับตัวรับตัว เดียวกันไมได เมื่อ agonist จับกับตัวรับไดลดลงจึงเกิดผลสนองลดลง ตารางที่ 2.2 ตัวอยางยาที่มีการตานฤทธิ์กันแบบตาง ๆ ชนิดของการตานฤทธิ์ ตัวอยางยา ผลที่เกิดขึ้น Chemical antagonism EDTA + ตะกั่ว เกิดสารประกอบเชิงซอน ตะกั่วถูกขับออกจากรางกาย ได Physiological antagonism Histamine + Adrenaline Histamine ทําใหหลอดลม หดตัว สวน Adrenaline ทํา ใหหลอดลมขยายตัว Pharmacological antagonism Histamine + Chlorphenilamine Histamine ถูกหลั่งออกมา ทําใหเกิดอาการแพ สวน Chlorphenilamine เปนยา ตานฮีสตามีน ทําใหลด อาการแพได ความสัมพันธระหวางเภสัชจลนศาสตรและเภสัชพลศาสตร ความสัมพันธระหวางเภสัชจลนศาสตรและเภสัชพลศาสตรนั้น เกิดขึ้นเมื่อใหยาเขาสูรางกาย ในรูปแบบตาง ๆ โดยเฉพาะเมื่อใหยาเม็ดรับประทานจะมีการแตกตัวของยา (Disintegration) เปน เม็ดเล็กๆ (Granule) และกลายเปนอนุภาคเล็กๆ (Small particle) จากนั้นยาจะถูกละลาย
  • 12. 32 (Dissolution) โดยน้ําและอุณหภูมิภายในรางกาย แลวถูกดูดซึมจากผนังลําไสเขาสูกระแสเลือด ยาที่ ถูกดูดซึมจะอยูในรูปยาอิสระและรูปยาที่มีการจับกับโปรตีนในพลาสมา โดยยาที่อยูในรูปอิสระเทานั้น จะการกระจายไปตามสวนตาง ๆ ของรางกาย หรือไปยังตําแหนงออกฤทธิ์ ยาจะสงผลใหเกิดฤทธิ์ตอ รางกายเกิดการตอบสนองของรางกายตอยา โดยฤทธิ์ของยานี้มีทั้งประโยชนในการรักษา และอาจเกิด ผลขางเคียงหรือผลไมพึงประสงคได หลังจากออกฤทธิ์แลวยาจะถูกสงมาที่ตับและเกิดกระบวนการ เปลี่ยนแปลงยา แลวจึงถูกขับออกจากรางกาย ภาพที่ 2.3 ความสัมพันธระหวางกระบวนการทางเภสัชจลนศาสตรและเภสัชพลศาสตร ที่มา : Katzung, Masters and Trevor. 2012 : 38. คําศัพททางเภสัชวิทยาที่ควรทราบ Clearance คือปริมาตรของเหลวในรางกายที่ถูกทําใหปราศจากยาใน 1 หนวยเวลา ซึ่งเปน คาที่แสดงถึงความสามารถของรางกายในการกําจัดยา Volume of distribution คือปริมาตรการกระจายตัวของยา ซึ่งเปนคาที่แสดงถึง ปริมาตรของเหลวที่ยากระจายตัวไปอยู Bioavailability คืออัตราเร็วและปริมาณยาที่ถูกดูดซึมเขากระแสเลือด ซึ่งเปนคาที่แสดงถึง สัดสวนของยาที่ถูกดูดซึมจนสามารถเขาสูระบบไหลเวียนเลือดทั่วรางกายได Onset of action คือระยะเวลาที่ยาเริ่มออกฤทธิ์ โดยเริ่มนับจากเวลาที่ใหยาจนกระทั่งเวลา ที่ยาออกฤทธิ์ หากยาใดมีระยะเวลาที่เริ่มออกฤทธิ์สั้นแสดงวายานั้นเริ่มออกฤทธิ์เร็ว
  • 13. 33 Duration of action คือชวงเวลาที่ยาสามารถออกฤทธิ์ โดยเริ่มนับจากเวลาที่ยาเริ่มออก ฤทธิ์จนถึงยาหมดฤทธิ์ หากยาใดมีชวงเวลาในการออกฤทธิ์สั้นแสดงวายานั้นหมดฤทธิ์เร็ว Half life (T1/2) คือคาครึ่งชีวิต ซึ่งเปนคาที่แสดงถึงระยะเวลาที่ยาลดระดับความเขมขนใน เลือดลงครึ่งหนึ่ง หากยาตัวใดมีคาครึ่งชีวิตสั้นแสดงวายานั้นจะถูกขับออกจากรางกายเร็วมากขึ้น Affinity คือความเหนียวแนนของการจับกันระหวางยากับตัวรับ หากยาใดที่มีความเหนียว แนนในการจับกับตัวรับสูง เมื่อจับกับตัวรับแลวจะแยกตัวออกไดชา Efficacy คือประสิทธิภาพของยา เปนความสามารถของยาในการชักนําใหเซลลเกิดการตอบ สนอง โดยยาที่มีประสิทธิภาพจะสามารถชักนําใหเซลลตอบสนองไดซึ่งก็คือยาที่มีลักษณะเปน agonist ในขณะที่ยาที่แมจะมีความสามารถในการจับตัวรับแตไมมี efficacy จะไมสามารถกระตุน ตัวรับชักนําใหเกิดการตอบสนองของเซลล ยาดังกลาวจึงมีคุณสมบัติเปน antagonist สําหรับยาที่ สามารถกระตุนตัวรับไดแตไมเกิดผลสูงสูด (Maximum response) จัดวาเปน partial agonist สวน ยาที่กระตุนใหเกิดผลสนองสูงสุดจัดเปน full agonist Mean lethal dose (LD50) คือคาความเขมของยาหรือขนาดของยาที่ทําใหกลุมตัวอยาง รอยละ 50 ไดรับพิษจากยา หรือทําใหตาย Mean effective dose (ED50) คือคาความเขมของยาหรือขนาดของยาที่ทําใหกลุมตัวอยาง รอยละ 50 เห็นผลในการรักษาตามสรรพคุณยา Therapeutic Index (TI) คือชวงที่ใหผลในการรักษา เปนตัวเลขที่บงบอกถึงความปลอดภัย ในการใชยา หากคาดังกลาวนอยแสดงวาขนาดของยาที่เห็นผลในการรักษาและขนาดของยาที่ทําให เกิดพิษมีคาใกลเคียงกันตองระมัดระวังการใชยานี้ ผลเสียจากการใชยา สรรพคุณของยาเกิดจากการที่ยาไปปรับเปลี่ยนการทํางานของรางกาย ซึ่งการเปลี่ยนแปลง ดังกลาวอาจทําใหเกิดผลเสียหรือสิ่งที่ไมพึงประสงคขึ้น ผลเสียดังกลาวอาจเปนอาการเฉพาะที่ หรือ อาการทั้งระบบได ผลเสียจากการใชยาสามารถแบงเปน 3 ลักษณะดังนี้ 1. อาการขางเคียง อาการขางเคียง (Side effect) เปนอาการหรือผลขางเคียงที่ไมตองการ เกิดจากการใช ยาชนิดนั้น ๆ ในขนาดปกติที่ใหผลการรักษา เมื่อหยุดใชยาอาการขางเคียงจะหายไป สาเหตุสวนใหญ เกิดจากการที่ยาไมมีผลเฉพาะเจาะจงกับอวัยวะเปาหมายที่ตองการรักษา แตยายังไปมีผลตออวัยวะ อื่นที่ไมตองการใหยาออกฤทธิ์ดวย เชน ยาแกแพมีอาการขางเคียงทําใหงวงนอนเนื่องจากออกฤทธิ์กด
  • 14. 34 ระบบประสาทสวนกลาง ยาแกปวดและตานการอักเสบกลุม NSAIDs มีอาการขางเคียงทําใหเกิดการ ระคายเคืองกระเพาะอาหารเนื่องจากยาไปมีผลรบกวนการสรางเมือก (Mucous) ของกระเพาะ อาหาร เปนตน อาการขางเคียงเปนสิ่งที่สามารถคาดการณไดวาจะเกิดอะไรขึ้นซึ่งสามารถลดความ รุนแรงหรือวางแผนแกไขได หากผูใชยามีความเขาใจเกี่ยวกับผลขางเคียงของยาที่ใช เชน ยาที่มีผล ระคายเคืองกระเพาะอาหาร ควรรับประทานหลังอาหารทันทีพรอมกับดื่มน้ําตามมาก ๆ เปนตน 2. อาการไมพึงประสงค อาการไมพึงประสงค (Adverse effect) เปนอาการหรือผลจากยาซึ่งไมตองการใหเกิด ระหวางการรักษา ซึ่งกอใหเกิดอันตรายตอรางกายและอาจถึงแกชีวิต อาจเกิดจากการใชยาเกินขนาด หรือใชเปนเวลานาน รางกายกําจัดยาออกไมทันทําใหยาคางอยูในรางกายมาก เชน ยาแอสไพรินกับ การเกิดเลือดออกในกระเพาะอาหาร 3. การแพยา การแพยา (Allergy) เปนปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นจากกลไกการตอบสนองของระบบภูมิคุมกัน เมื่อรางกายเคยไดรับยานั้นมากอนแลวสรางภูมิคุมกันขึ้นตอตานกับยานั้น ตอมาเมื่อไดรับยานั้นอีก ครั้งจึงเกิดการแพยาขึ้น ไมสามารถคาดการณไดลวงหนาวาผูใดจะแพยาตัวไหน อาการแพยา อาจเกิดทันทีทันใดหรือคอยเปนคอยไปก็ได และไมขึ้นกับขนาดของยาแม ไดรับยาเพียงเล็กนอยก็อาจมีอาการได เชน เชน ผื่น คัน ผิวลอก บวมบริเวณใบหนา แสบรอนผิว หลอดลมตีบ หลอดเลือดขยายตัว ความดันโลหิตต่ํา จนมีอาการมากอาจเกิดภาวะช็อคและอาจ เสียชีวิตได เรียกวา Anaphylactic shock หากมีการอาการแพอยางรุนแรงจนผิวหนังมีการลอกเปอย ทั้งตัว คลายถูกไฟลวก ผิวหนังผุพอง เปนหนอง ปากเปอย ตาอักเสบ ทอปสสาวะอักเสบเรียกกลุม อาการนี้วา Steven-Johnson Syndrome ทั้งนี้หากพบวามีอาการแพยาควรหยุดยาทันทีและรีบ กลับมาพบแพทย เพื่อรักษาอาการแพยาที่เกิดขึ้น หลังจากนั้นควรสอบถามชื่อยา พกบัตรแพยาติดตัว ไวเสมอ และแจงบุคลากรทางการแพทยทุกครั้งเมื่อตองใชยา สรุป เภสัชวิทยาเปนการศึกษาปฏิสัมพันธระหวางยากับรางกาย โดยพิจารณาสิ่งที่รางกายกระทํา ตอยาและฤทธิ์ของยาที่มีตอรางกาย ซึ่งเปนองคความรูทางดานเภสัชจลนศาสตรและเภสัชพลศาสตร ยาในปจจุบันสวนใหญมีกลไกการออกฤทธิ์โดยไปจับกับตัวรับซึ่งเปนโมเลกุลที่อยูบนอวัยวะเปาหมาย แลวชักนําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงการทํางานของรางกายจึงเห็นผลในการรักษา ซึ่งการเปลี่ยนแปลง
  • 15. 35 ดังกลาวอาจทําใหเกิดผลที่ไมตองการ เชน อาการขางเคียง หรืออาการไมพึงประสงคได ดังนั้นหาก ผูใชยามีความรูก็จะสามารถปฏิบัติตัวเพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการใชยาได คําถามทบทวน 1. จงอธิบายความหมายของเภสัชวิทยา เภสัชจลนศาสตร และเภสัชพลศาสตร 2. การศึกษาฤทธิ์ของยาที่มีตอรางกาย เปนองคความรูดานใด 3. เภสัชจลนศาสตรประกอบดวยกี่กระบวนการ อะไรบาง 4. ยาสวนใหญมีกลไกการออกฤทธิ์แบบใด 5. หากตองการประเมินความปลอดภัยในการใชยา ควรพิจารณาจากคาใด 6. ลักษณะของอาการขางเคียงแตกตางจากอาการไมพึงประสงคอยางไร 7. จงอธิบายความหมายของคําวา Affinity และ Efficacy 8. จงอธิบายความหมายของคําวา Agonist, Partial agonist และ Antagonist พรอมทั้ง ระบุความแตกตาง 9. จงอธิบายการเสริมฤทธิ์กันและการขัดขวางการออกฤทธิ์แบบตางๆ มาพอสังเขป เอกสารอางอิง Kutzung, Bertram G., Susan B. Masters and Anthony J. Trevor. (2012). Basic & Clinical Pharmacology. 12th ed. San Francisco : McGraw-Hill. Ritter, James M., et al. (2008). A Textbook of Clinical Pharmacology and Therapeutics. 5th ed. London : Hodder Arnold.