SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
B.N.S (2nd class honors)
M.Sc (Pharmacology)
Tarn_ji@yahoo.com
Faculty of Public Health, NRRU
1
OBJECTIVES
2
น้ำตำลต่ำ น้ำตำลสูง
ตับอ่อน
กลูคากอน
หลั่งจาก
อัลฟ่าเซลล์
ตับปล่อยน้ำตำลเข้ำหลอดเลือด
อินซูลินหลั่ง
จากเบต้าเซลล์
น้ำตำลจำกหลอดเลือดเข้ำเซลล์ไขมัน
ระดับน้ำตำลปกติ 3
โรคเบาหวาน (Diabetes Mellitus, DM)
ความหมาย
คือ ภาวะที่ร่างกายมีระดับน้าตาลในเลือดสูงกว่า
ปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนาน้าตาลในเลือดไปใช้ได้
ตามปกติ
=
=
4
5
โรคเบาหวาน (Diabetes Mellitus, DM)
อาการ  ปัสสาวะบ่อย
 กระหายน้า และดื่มน้าในปริมาณมากๆต่อครั้ง
 อ่อนเพลีย เหนื่อยง่ายไม่มีเรี่ยวแรง
 เบื่ออาหาร
 น้าหนักตัวลดโดยไม่ทราบสาเหตุ
 ติดเชื้อบ่อยกว่าปรกติ
 สายตาพร่ามองไม่ชัดเจน
 อาการชาไม่ค่อยมีความรู้สึก
 อาจจะมีอาการของโรคหัวใจ และโรคไต 6
อาการจากภาวะน้าตาลในเลือดสูง
7
ระดับน้าตาลในเลือดในคนปกติ
ถ้าอดอาหาร 8-12 ชั่วโมง ควรอยู่ระหว่าง 70 – 100 mg%
แต่ถ้าตรวจหลังอาหาร 2 ชั่วโมง ควรน้อยกว่า 140 mg%
ระดับน้าตาลในเลือดเท่าไรจึงจะเป็ นโรคเบาหวาน ?
ตามเกณฑ์ขององค์การอนามัยโลกจะวินิจฉัยว่าเป็ นเบาหวานเมื่อ
ระดับน้าตาลในเลือดเมื่ออดอาหาร 8-12 ชั่วโมง ตั้งแต่ 126 mg% ขึ้น
ไป
ระดับน้าตาลในเลือดหลังอาหาร 2 ชั่วโมง หรือเมื่อไม่ได้งดอาหาร
ตั้งแต่ 200 mg% ขึ้นไป 8
โรคเบาหวาน (Diabetes Mellitus,
DM)
ชนิด
โรคเบาหวานชนิดที่ 1 : -cell destruction
โรคเบาหวานชนิดที่ 2 : insulin resistance
เบาหวานจากสาเหตุอื่น ๆ :
Endocrine diseases (hyperthyroid, Cushing’s), Pancreatic
disease, etc.
เบาหวานในคนตั้งครรภ์
9
10
ยาที่ใช้ในปัจจุบันมี 2 กลุ่มคือ
 ยาเม็ดลดระดับน้าตาลในเลือด
(oral hypoglycemic agents)
 ยาฉีด insulin
11
 กลุ่มยาที่เพิ่มการหลั่งของอินซูลิน (Agents Augmentating
the supply of Insulin)
 กลุ่มยาที่เสริมการออกฤทธิ์ของอินซูลิน (Agents Enhancing
the Effectiveness of Insulin)
 กลุ่มยาที่ยับยั้งการดูดซึมอาหารคาร์โบไฮเดรตในลาไส้
(alpha- glucosidase inhibitor)
12
 Sulfonylurea
1. ยาที่เพิ่มการหลั่งของอินซูลิน
13
กระตุ้นการหลั่งอินซูลินจากตับอ่อน
โดยผ่าน sulfonylurea receptor ที่
plasma membrane ของ beta
cell ทาให้ cytosolic calcium
เพิ่มขึ้น ส่งผลให้มีการหลั่งอินซูลิน
ออกจากเซลล์
Chlorpropamide, Glibencamide, Glipizide
14
15
16
 ออกฤทธิ์เช่นเดียวกันกับ sulfonylurea แต่ receptor ต่างกัน
 ประสิทธิภาพใกล้เคียงกับ sulfonylurea แต่ออกฤทธิ์เร็วกว่า
 การเกิด hypoglycemia น้อยกว่า
 ควรเลือกใช้ในผู้ป่ วยที่แพ้ยาซัลฟาหรือผู้ที่ทานอาหารไม่ค่อยเป็ น
เวลาหรือในผู้ป่ วยสูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อการเกิด hypoglycemia
ได้มาก
Repaglinide, Nateglinide
17
2. ยาที่เสริมการออกฤทธิ์ของอินซูลิน
 Biguanides:
 Thiazolidinedione:
18
ออกฤทธิ์ยับยั้งการสร้าง
กลูโคสจากตับเป็ นหลัก
ทาให้อินซูลินออกฤทธิ์ที่
กล้ามเนื้อดีขึ้น
บางส่วนทาให้น้าตาลเข้า
เซลล์กล้ามเนื้อเพิ่มขึ้น
19
ไม่ทาให้เกิด hypoglycemia
น้าหนักตัวจะไม่เพิ่มขึ้นหรืออาจลดลงในบางราย
S/E เบื่ออาหาร ลิ้นไม่รับรส คลื่นไส้ ท้องเสีย ไม่สบายท้อง แต่อาการจะดีขึ้นได้
เมื่อใช้ยาติดต่อกันไปสักระยะ ผลข้างเคียงที่สาคัญคือ lactic acidosis ควร
หลีกเลี่ยงการใช้ในผู้ป่ วยที่มี renal insufficiency
20
 ทาให้อินซูลินออกฤทธิ์ที่กล้ามเนื้อ เป็ นผลทาให้น้าตาลเข้าสู่
เซลล์กล้ามเนื้อเพิ่มขึ้น ทาให้อินสุลินออกฤทธิ์ที่ตับเพิ่มขึ้น
 ยับยั้งการสร้างกลูโคสจากตับ
21
ผลเสียของยากลุ่ม Thiazolidinedione
 น้าหนักเพิ่มขึ้นประมาณ 4-5 kg (น้าคั่ง)
 ระดับ hemoglobin ลดลง
 ทาให้เกิดตับอักเสบได้
(ผู้ป่ วยทุกรายที่ได้รับยากลุ่มนี้ควรได้รับการตรวจเอนไซม์ตับ
ก่อนการใช้ยาและภายหลังได้รับยาเป็ นระยะและถ้าระดับ
เอนไซม์ตับมีค่าสูงขึ้นกว่าค่าปกติเกิน 2 เท่าควรหยุดยา)
22
Acarbose
Voglibose
3. ยาที่ยับยั้งการดูดซึมคาร์โบไฮเดรตในลาไส้
 ยาออกฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ alpha-glucosidase ที่ผนังลาไส้ทาให้การ
ดูดซึมกลูโคสลดลงและช้าลง
 ยาในกลุ่มนี้ถูกดูดซึมเข้าร่างกายน้อยมากทาให้ไม่มี systemic side
effects
23
24
ผลข้างเคียง
 ท้องอืด
 แน่นท้อง
 ผายลมบ่อย
 ถ่ายเหลว
 ปวดท้อง
25
การออกฤทธิ์ยารักษาเบาหวานชนิดรับประทาน
ลดการสร้างน้าตาลจากตับ
Biguanide
Thiazolidinedione
เพิ่มการหลั่งอินซูลินจากตับอ่อน
Sulfonylurea
Glinide
ทาให้น้าตาลเข้าสู่กล้ามเนื้อ
และเนื้อเยื่อไขมัน
Biguanide
Thiazolidinedione
ลดการดูดซึมน้าตาลจากลาใส้
Alpha-glucosidase inhibitor
26
27
HYPOGLYCEMIA จากยารักษาเบาหวานชนิดรับประทาน
o มีโอกาสเกิดได้สูงสาหรับการใช้ยาซัลโฟนิลยูเรีย
o อาการของน้าตาลในเลือดต่า ได้แก่
o ถ้ามีอาการเตือนควรรับประทานน้าหวานหรือขนมแล้ว ตามด้วย
อาหาร ควรปรับถ้าเกิดจากทานอาหารไม่ตรงเวลาและปริมาณไม่
สม่าเสมอ
o ถ้าหมดสติห้ามให้น้าตาลทางปาก เนื่องจากอาจสาลักให้นาส่ง
สถานพยาบาลใกล้บ้านโดยเร็วเพื่อรักษา
28
 ออกฤทธิ์โดยการยับยั้ง
การปล่อยกลูโคสจากตับ
 เพิ่มการใช้กลูโคสโดย
เนื้อเยื่อส่วนปลายที่ไวต่อ
อินซูลิน เช่น กล้ามเนื้อ
หรือไขมัน
 ทาให้เกิดการสะสม
พลังงานในรูปไขมัน
29
ประเภท Insulin ตามระยะเวลาการออกฤทธิ์
 Short acting insulin:
 Intermediate acting insulin:
 Rapid acting insulin analog
 Long acting insulin analog
30
31
 ภาวะน้าตาลในเลือดต่า
 Lipodystrophy
 ภาวะแพ้ยา
 ในระยะแรก ๆ ที่ฉีดยา ผู้ป่ วยอาจมีอาการบวม
เนื่องจากมีการเก็บกักโซเดียมเพิ่มขึ้น อาจมีอาการตา
มัวมากขึ้นเนื่องจากการเปลี่ยนแปลง ความเข้มข้นของ
กลูโคสใน aqueous humor ภายในตา และน้าหนักตัว
เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
32
33
34
35
Thank you for your attention
36

More Related Content

What's hot

คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554Utai Sukviwatsirikul
 
โรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงโรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงbird090533
 
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยาอาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยาLatthapol Winitmanokul
 
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)saowaluk2556
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009taem
 
งานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวานงานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวานMuay Muay Somruthai
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กOzone Thanasak
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด Utai Sukviwatsirikul
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57Sirinoot Jantharangkul
 
TAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - NurseTAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - Nursetaem
 
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)Utai Sukviwatsirikul
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 
โรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงโรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูง
 
Ppt.dm
Ppt.dmPpt.dm
Ppt.dm
 
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยาอาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
 
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
 
Drug
DrugDrug
Drug
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
 
งานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวานงานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวาน
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็ก
 
Ppt.dlp
Ppt.dlpPpt.dlp
Ppt.dlp
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
 
Hypertension
HypertensionHypertension
Hypertension
 
TAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - NurseTAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
Ppt.DLP
Ppt.DLPPpt.DLP
Ppt.DLP
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
 

Viewers also liked

บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงบทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงPa'rig Prig
 
การเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
การเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวานการเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
การเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวานTangMa Salee
 
บัญชียาหลักแห่งชาติ 30 กย 56
บัญชียาหลักแห่งชาติ 30 กย 56บัญชียาหลักแห่งชาติ 30 กย 56
บัญชียาหลักแห่งชาติ 30 กย 56Supanan Inphlang
 
Pharmacy guide
Pharmacy guidePharmacy guide
Pharmacy guideKaow Jaow
 
6 ยาคุมกำเนิด
6 ยาคุมกำเนิด6 ยาคุมกำเนิด
6 ยาคุมกำเนิดPa'rig Prig
 
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดPa'rig Prig
 
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาบทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาPa'rig Prig
 
Drugs used in disorders of coagulation
Drugs used in disorders of coagulationDrugs used in disorders of coagulation
Drugs used in disorders of coagulationSirinoot Jantharangkul
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาPa'rig Prig
 
TAEM10: Endocrine Emergency
TAEM10: Endocrine EmergencyTAEM10: Endocrine Emergency
TAEM10: Endocrine Emergencytaem
 
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Sirinoot Jantharangkul
 
Powerpointความดันโลหิตสูง
PowerpointความดันโลหิตสูงPowerpointความดันโลหิตสูง
Powerpointความดันโลหิตสูงsecret_123
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานjinchuta7
 
Eye, ear, and throat disorders
Eye, ear, and throat disordersEye, ear, and throat disorders
Eye, ear, and throat disordersAhmari Julkarnain
 

Viewers also liked (20)

บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงบทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
 
การเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
การเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวานการเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
การเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
 
บัญชียาหลักแห่งชาติ 30 กย 56
บัญชียาหลักแห่งชาติ 30 กย 56บัญชียาหลักแห่งชาติ 30 กย 56
บัญชียาหลักแห่งชาติ 30 กย 56
 
Antibiotic_1
Antibiotic_1 Antibiotic_1
Antibiotic_1
 
Geriatric Trauma (Thai)
Geriatric Trauma (Thai)Geriatric Trauma (Thai)
Geriatric Trauma (Thai)
 
Pharmacy guide
Pharmacy guidePharmacy guide
Pharmacy guide
 
6 ยาคุมกำเนิด
6 ยาคุมกำเนิด6 ยาคุมกำเนิด
6 ยาคุมกำเนิด
 
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
 
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาบทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
 
Agent used in hyperlipidemia
Agent used in hyperlipidemiaAgent used in hyperlipidemia
Agent used in hyperlipidemia
 
Drugs used in disorders of coagulation
Drugs used in disorders of coagulationDrugs used in disorders of coagulation
Drugs used in disorders of coagulation
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
TAEM10: Endocrine Emergency
TAEM10: Endocrine EmergencyTAEM10: Endocrine Emergency
TAEM10: Endocrine Emergency
 
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
 
Powerpointความดันโลหิตสูง
PowerpointความดันโลหิตสูงPowerpointความดันโลหิตสูง
Powerpointความดันโลหิตสูง
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
Diuretics drugs
 Diuretics drugs Diuretics drugs
Diuretics drugs
 
Cardiovascular drugs
Cardiovascular drugsCardiovascular drugs
Cardiovascular drugs
 
Ppt. HT
Ppt. HTPpt. HT
Ppt. HT
 
Eye, ear, and throat disorders
Eye, ear, and throat disordersEye, ear, and throat disorders
Eye, ear, and throat disorders
 

Similar to 4 ยารักษาโรคเบาหวาน

Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุงMetabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุงUtai Sukviwatsirikul
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน 54321_
 
เรื่องโรคเบาหวาน
เรื่องโรคเบาหวานเรื่องโรคเบาหวาน
เรื่องโรคเบาหวาน54321_
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานweerawatkatsiri
 

Similar to 4 ยารักษาโรคเบาหวาน (7)

Diabetes
DiabetesDiabetes
Diabetes
 
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุงMetabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
เรื่องโรคเบาหวาน
เรื่องโรคเบาหวานเรื่องโรคเบาหวาน
เรื่องโรคเบาหวาน
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
เบาหวาน
เบาหวานเบาหวาน
เบาหวาน
 
Renal Failure
Renal FailureRenal Failure
Renal Failure
 

More from Pa'rig Prig

ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินPa'rig Prig
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์Pa'rig Prig
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาคPa'rig Prig
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาคPa'rig Prig
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาคPa'rig Prig
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลPa'rig Prig
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตPa'rig Prig
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพPa'rig Prig
 

More from Pa'rig Prig (20)

4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
Eport2
Eport2Eport2
Eport2
 
5
55
5
 
4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
2
22
2
 
1
11
1
 
ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมิน
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาค
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาค
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาค
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาล
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
 

4 ยารักษาโรคเบาหวาน

Editor's Notes

  1. มีน้ำตาลในกระแสเลือดสูง แต่ใช้ไม่ได้ และปล่อยทิ้งสารให้พลังงาน ไปทางฉี่เยอะ ทำให้กล้ามเนื้อล้าตัวเหนื่อยเพลียง่าย ขาดพลังงาน สมองทำงานช้า ง่วงนอน กินจุหิวบ่อยน้ำหนักลด สุดท้ายผอมลง(ฉี่บ่อยกลางคืน=DM,ดันไตต่อมพี่ตุ๋ยท่อฉี่อักเสบ) เมื่อน้ำตาลค้างในหลอดเลือดมากและนาน ระดับความเข้มข้นของเลือด (Osmolarity) สูง เพราะน้ำตาลที่ปนอยู่แย่งน้ำไป ทำให้ระดับเกลือรวมตัวกัน เลือดจึงเค็มขึ้น ต้องใช้น้ำเจือจางมากขึ้น ทำให้เกิดสภาวะขาดน้ำ เพื่อให้ร่างกายมีสมดุล จึงเกิดการกระตุ้นศูนย์กระหายน้ำที่สมอง ทำให้คอแห้ง กระหายน้ำบ่อย อยากดื่มน้ำมากขึ้น แต่ผู้ป่วยก็ฉี่บ่อย เสียเกลือแร่ สุดท้ายขาดน้ำผิวเหี่ยวแห้ง