SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
แผนบริหารการสอนบทที่ 6
หัวขอเนื้อหาประจําบท
1. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการคุมกําเนิด
2. ประเภทของยา และกลไกการออกฤทธิ์
3. การพิจารณาเลือกใชยาคุมกําเนิด
4. อาการขางเคียง และแนวทางการดูแลตนเอง
วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม
เมื่อนักศึกษาไดศึกษาจบบทที่ 6 แลว นักศึกษาควรมีความสามารถดังตอไปนี้
1. อธิบายกลไกการปองกันการตั้งครรภของยาคุมกําเนิดได
2. ระบุชนิดของยาที่ใชในความการคุมกําเนิดได
3. บอกความแตกตางของยาคุมกําเนิดชนิดรับประทานได
4. อธิบายวิธีการใชยาคุมกําเนิดชนิดรับประทานได
5. ใหคําแนะนําเรื่องผลขางเคียงที่สําคัญของยาคุมกําเนิดได
วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอน
วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนประจําบทที่ 6 ประกอบดวยรายละเอียดดังนี้
1. บรรยายตามเนื้อหา โดยใชโปรแกรมการนําเสนอ (power point) ประกอบคําอธิบาย
2. แสดงตัวอยางยา และใหนักศึกษาอภิปรายประเด็นเกี่ยวกับชนิดและกลไกการออกฤทธิ์
รวมถึงวิธีการใชยาคุมกําเนิด
3. รวมกันสรุปประเด็นสําคัญของการเรียน
4. มอบหมายงานใหศึกษาคนควาดวยตนเองผานระบบออนไลนที่
http://www.youtube.com/watch?v=exatSuj9Mws และทําใบงาน เรื่อง ยาคุมกําเนิด
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา เภสัชวิทยาเบื้องตน บทที่ 6 ยาคุมกําเนิด
2. โปรแกรมนําเสนอ เรื่อง ยาคุมกําเนิด
3. ตัวอยางยาคุมกําเนิดชนิดรับประทาน
วิธีวัดผลและการประเมินผล
1. สังเกตพฤติกรรมผูเรียน
1.1 พฤติกรรมความตรงตอเวลาในการเขาเรียน และการสงงานที่ไดรับมอบหมาย
1.2 พฤติกรรมการมีสวนรวมแสดงความคิดเห็นของผูเรียนในระหวางเรียน
2. ประเมินผลงานที่มอบหมาย
2.1 ใบงาน
บทที่ 6
ยาคุมกําเนิด
ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการคุมกําเนิด
การคุมกําเนิด เปนวิธีการปองกันการตั้งครรภ โดยอาจเปนการปองกันการปฏิสนธิ หรือ
ปองกันการฝงตัวของตัวออนที่ถูกผสมแลว ซึ่งความปลอดภัยของวิธีการคุมกําเนิดนั้น สามารถ
พิจารณาไดจากองคประกอบ 3 อยาง คือ ประสิทธิภาพของวิธีคุมกําเนิด ประโยชนตอสุขภาพของ
ผูใช และอันตรายตอสุขภาพของผูใช วิธีคุมกําเนิดแตละวิธียอมแตกตางกัน และในสถานการณ
บางอยางวิธีการคุมกําเนิดวิธีนั้น ๆ ยอมใหผลแตกตางกันดวย สามารถแบงกลุมของวิธีการคุมกําเนิด
แบบตาง ๆ ที่ใชบอยออกเปน 5 กลุม ดังนี้
(1) การคุมกําเนิดที่มีประสิทธิภาพสูง ไมมีประโยชนตอสุขภาพ และไมมีอันตรายตอสุขภาพ
ผูใช ไดแก การงดรวมเพศในชวงเวลาหนึ่ง เชน การงดรวมเพศชวงหลังคลอด
(2) การคุมกําเนิดที่มีประสิทธิภาพต่ํา ไมมีประโยชนตอสุขภาพ และไมมีอันตรายตอสุขภาพ
ผูใช ไดแก การหลั่งภายนอกชองคลอด และการงดรวมเพศบางชวงเวลา เชน การนับระยะปลอดภัย
(3) การคุมกําเนิดที่มีประสิทธิภาพปานกลาง มีประโยชนตอผูใชบางแตไมมีอันตรายตอ
สุขภาพ ไดแก การคุมกําเนิดโดยวิธีขวางกั้น เชน ถุงยางอนามัย หมวกยางครอบปากมดลูก เปนตน
สําหรับประโยชนที่พบตอผูใชคือ การปองกันโรคติดตอทางเพศสัมพันธ
(4) การคุมกําเนิดที่มีประสิทธิภาพสูง มีประโยชนและมีอันตรายตอสุขภาพของผูใชอยูบาง
เนื่องจากผลขางเคียงของฮอรโมน ไดแก การคุมกําเนิดโดยใชฮอรโมน เชน ยาเม็ดคุมกําเนิด ยาฉีด
คุมกําเนิด และยาฝงคุมกําเนิด
(5) การคุมกําเนิดที่มีประสิทธิภาพสูง ไมมีประโยชนตอสุขภาพ และมีอันตรายตอสุขภาพ
ของผูใชอยูบาง เนื่องจากเปนหัตถการ ไดแก หวงอนามัย และการทําหมัน
ประเภทของยา และกลไกการออกฤทธิ์
1. ยาคุมกําเนิดชนิดรับประทาน
ยาคุมกําเนิดชนิดรับประทานยา เปนยาชนิดเม็ดที่มีฮอรโมนสังเคราะหซึ่งมีสวน
ประกอบของเอสโตรเจน (Estrogen) และโพรเจสโตเจน (Progestogen) ดังนั้นเมื่อรับประทานยาเขา
ไป ฮอรโมนเหลานี้จึงไปทําหนาที่เลียนแบบฮอรโมนภายในรางกาย ซึ่งปกติมีการควบคุมกันเองโดย
ธรรมชาติสงผลยับยั้งการตกไข ปองกันการเจริญและการสุกของไข มูกที่ปากมดลูกขนเหนียว เชื้ออสุจิ
จึงไมสามารถผานเขาสูโพรงมดลูกได หรือเยื่อบุโพรงมดลูกฝอตัวไมเหมาะตอการเจริญของตัวออน
เปนตน ยาคุมกําเนิดชนิดรับประทาน สามารถแบงออกเปน 3 ประเภท ดังนี้
1.1 ยาคุมกําเนิดชนิดฮอรโมนรวม (Low-dose combined oral contraceptive หรือ
Combination pills) ซึ่งยาแตละเม็ดประกอบดวยฮอรโมนเอสโตรเจนและโพรเจสโตเจนรวมกัน แบง
ออกเปน 2 ชนิดคือ
1.1.1 Monophasic หรือ Fixed dose pills ยาเม็ดคุมกําเนิดชนิดนี้มีฮอรโมน
สังเคราะหของเอสโตรเจนและโปรเจสโตเจนในขนาดเทากันทุกเม็ด ในหนึ่งแผงอาจเปนชนิด 21 เม็ด
ซึ่งมีฮอรโมนทุกเม็ด หรือชนิด 28 เม็ด ซึ่งมีฮอรโมน 21 เม็ดแรกสวน 7 เม็ดสุดทายไมมีฮอรโมน
1.1.2 Multiphasic pills ยาคุมกําเนิดชนิดนี้มีฮอรโมนสังเคราะหของเอสโตรเจน
และโปรเจสโตเจนในขนาดที่ไมเทากันทุกเม็ด สามารถแบงไดเปน 2 ชนิดคือไบเฟสิค (Biphasic) ที่มี
ฮอรโมนตางกัน 2 ระดับและชนิดไตรเฟสิค (Triphasic) มีฮอรโมนตางกัน 3 ระดับ ซึ่งยาคุมกําเนิด
ประเภทนี้ตองรับประทานเรียงตามลําดับ หามรับประทานขามโดยเด็ดขาด
1.2 ยาคุมกําเนิดชนิดฮอรโมนตัวเดียว (Progestogen-only pills หรือ Mini-pill) ซึ่งมี
แตฮอรโมนโพรเจสโตเจนอยางเดียวในขนาดต่ํา ๆ เทากันทุกเม็ด แผงละ 28 หรือ 35 เม็ด ไดผลใน
การตั้งครรภนอยกวายาคุมกําเนิดชนิดฮอรโมนรวม ยานี้เหมาะสําหรับผูที่ไมสามารถรับประทานยาคุม
กําเนิดชนิดฮอรโมนรวมได เชน ขณะใหนมบุตร หรือไมสามารถทนตอผลขางเคียงของเอสโตรเจนได
ตัวอยางยาที่มีใชในประเทศไทยคือ Exluton
บรรจุแผงละ 28 เม็ด ผลขางเคียงคือ บางรายอาจพบ
เลือดออกกระปริบกระปรอย หรือขาดระดูได
1.3 ยาคุมกําเนิดฉุกเฉิน (Postcoital contraception หรือ Morning after pill) เปน
ยาคุมกําเนิดที่ใชสําหรับปองกันการตั้งครรภโดยไมเจตนา สามารถใชไดเมื่อเกิดความลมเหลวที่อาจ
เกิดจากการคุมกําเนิดวิธีอื่น เชน ถุงยางอนามัยหลุดหรือใชไมถูกตอง รับประทานยาคุมกําเนิดชาหรือ
ขาดชวง การขับอุปกรณที่อยูในมดลูกออกบางสวนหรือทั้งหมด ไมไดคุมกําเนิดระหวางการมีเพศ
สัมพันธหรือมีเพศสัมพันธโดยไมปองกัน โดยยาอาจเปนชนิดที่มีโพรเจสโตเจนในปริมาณสูง เชน
Levonorgestrel (Postinor
, Madonna
) ใชรับประทาน 1 เม็ดภายใน 72 ชั่วโมงหลังมี
เพศสัมพันธ และอีก 1 เม็ดหางจากเม็ดแรก 12 ชั่วโมง หากเริ่มรับประทานยาชาประสิทธิภาพของยา
ก็จะลดลงตามชั่วโมงที่ผานไป หลังจากรับประทานยา 4 – 5 วันอาจมีเลือดออกได ใชยานี้แลวอาจทํา
ใหรอบเดือนแปรปรวนได หรือยาที่มีเอสโตรเจนขนาดสูงจะทําใหทอนําไขเคลื่อนไหวมากขึ้น ทําใหไข
ที่ผสมแลวเคลื่อนถึงโพรงมดลูกเร็วกอนที่จะเจริญถึงระยะฝงตัวในมดลูกไดดี และเยื่อบุมดลูกยังอาจ
เจริญมากผิดปกติ (Hyperplasia) ไมเหมาะสมตอการฝงตัวของไข อาการขางเคียงที่พบ เชน คลื่นไส
อาเจียน เลือดออกกระปริบกระปรอย เตานมคัดตึง ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ และเหนื่อยงาย ยาเม็ด
คุมกําเนิดฉุกเฉินใหใชกรณีจําเปนเทานั้น ไมแนะนําใหใชเปนประจํา เพราะอาจเกิดการตั้งครรภและมี
อาการขางเคียงสูง เมื่อเปรียบเทียบกับการใชวิธีคุมกําเนิดทั่วไป
2. ยาฉีดคุมกําเนิด
ยาฉีดคุมกําเนิด สามารถแบงเปน 2 ชนิดดังนี้
2.1 Depo-Provera หรือ Depot-Medroxy-Progesterone-Acetate (DMPA) เปน
โพรเจสโตเจนสังเคราะหชนิดหนึ่งคลายกับฮอรโมนโพรเจสเตอโรนซึ่งผลิตโดยรังไขของรางกาย มีฤทธิ์
อยูไดนาน เมื่อฉีดเขากลามเนื้อ ฮอรโมนจะคอย ๆ ถูกดูดซึมเขาสูกระแสเลือด ฮอรโมนจะปองกันการ
ตกไขถาระดับของฮอรโมนในเลือดสูง 7 นาโนกรัมตอมิลลิลิตร แตถาต่ํากวา 0.5 นาโนกรัมตอ
มิลลิลิตรจะมีการตกไขเกิดขึ้นได ขนาดที่ใช 150 มิลลิกรัม ฉีดเขากลามเนื้อทุก 12 สัปดาห
2.2 Norethisterone enanthate (NET-EN) เปนฮอรโมนโพรเจสโตเจนเหมือน DMPA
แตกตางกันเฉพาะกลุมของสเตียรอยด นิยมใชนอยกวายา DMPA เนื่องจากจะยับยั้งการตกไขไดไม
เกิน 60 วัน ทําใหตองฉีดยาบอย
การฉีดยาคุมกําเนิดจะตองเริ่มฉีดภายใน 5 วันแรกของการมีประจําเดือน หรือหลังคลอด
1 เดือนครึ่ง หามใชยาฉีดคุมกําเนิดในผูที่ยังไมเคยมีบุตร ผูที่มีเลือดออกผิดปกติไมทราบสาเหตุ ผูที่
สงสัยหรือกําลังตั้งครรภ อาการขางเคียงคือ เลือดออกกระปริบกระปรอย ขาดระดู น้ําหนักตัวเพิ่ม
เปนตน
3. ยาคุมกําเนิดชนิดฝงใตผิวหนัง
ยาคุมกําเนิดชนิดฝงใตผิวหนัง มีตัวยาเปนฮอรโมนสังเคราะหโพรเจสเตอโรนที่บรรจุอยู
ในหลอดไซลาสติค (Silastic) ใชฝงใตผิวหนัง และฮอรโมนจะถูกดูดซึมในอัตราที่สม่ําเสมอเปน
เวลานาน อาจอยูในรูปแคปซูลที่ใชฝงไมละลาย (Non-biodegradable implants) หรือในรูปแคปซูล
ที่ใชฝงละลาย (Biodegradable implants) ฮอรโมนที่ฝงอยูจะปองกันการตกไข และเปลี่ยนแปลง
เยื่อบุโพรงมดลูก และเปลี่ยนแปลงมูกบริเวณปากมดลูก ระยะการฝงยาที่เหมาะสมควรทําภายใน 7
วันแรกของการมีประจําเดือน หรือหลังคลอด 4-6 สัปดาห โดยยาชนิดที่นิยมใชคือลีโวนอรเจสเทรล
(Levonorgestrel)
นอรแพลนท (Norplant R) เปนยาคุมกําเนิดชนิดฝงที่ประกอบดวยฮอรโมนลีโวนอรเจส
เทรล บรรจุในหลอดไซลาสติคที่ไมละลายจํานวน 6 หลอด สงผลในการคุมกําเนิดเปนระยะเวลานาน
ติดตอกันถึง 5 ป แตเนื่องจากมีปริมาณหลอดมากและการถอดยากความนิยมในการใชจึงลดลง
ปจจุบันมีการใชยาฝงคุมกําเนิดชนิดหลอดเดียวชื่ออีโทแพลน (Etoplan) หรืออิมพลานอน
(Implanon) ซึ่งประกอบดวยฮอรโมนอีโทโนเจสเทรล (Etonogestrel) โดยยาฝงคุมกําเนิดชนิดนี้
การฝงและถอดออกงายกวา และสามารถคุมกําเนิดไดนาน 3 ป อาการขางเคียงที่พบไดคือ เกิดการ
เปลี่ยนแปลงของรอบระดู มีเลือดออกกระปริบกระปรอย คลื่นไส เบื่ออาหาร ปวดศีรษะ น้ําหนักเพิ่ม
อารมณเปลี่ยนแปลง มีสิวฝาไดในบางราย
4. กลไกการออกฤทธิ์ของยาคุมกําเนิด
4.1 ยับยั้งการตกไข (Inhibit ovulation) เปนกลไกสําคัญที่สุดในการปองกันการ
ตั้งครรภ โดยยาออกฤทธิ์ขัดขวางการหลั่งฮอรโมนของรางกาย ซึ่งถูกควบคุมการทํางานจากไฮโปทา
ลามัส (Hypothalamus) ตอมใตสมอง (Pituitary) และรังไข (Ovary) ทําใหยับยั้งการหลั่งฮอรโมน
FSH และ LH จึงทําใหไมมีการตกไข
4.2 การเปลี่ยนแปลงเยื่อบุมดลูก ยามีผลใหเยื่อบุมดลูกมีลักษณะบางลงและไมเหมาะสม
ตอการฝงตัวของไขที่ไดรับการปฏิสนธิ
4.3 การเปลี่ยนแปลงมูกที่ปากมดลูก ทําใหสารคัดหลั่งบริเวณปากมดลูกขนและเหนียว
มากขึ้น ทําใหอสุจิเคลื่อนที่ผานเขาไปในมดลูกไดยาก
4.4 เปลี่ยนแปลงการเคลื่อนไหวของทอนําไข ทําใหเกิดผลกระทบตอการเดินทางของ
อสุจิหรือไข อาจทําใหไขที่ผสมแลวเดินทางไปถึงมดลูกเร็วผิดปกติจนไมสามารถฝงตัวได รวมทั้งมีผล
ตอความสามารถของอสุจิที่จะผสมกับไขดวย
การพิจารณาเลือกใชยาคุมกําเนิด
สําหรับผูที่เริ่มรับประทานยาควรเริ่มใชยาเม็ดแรกในที่มีประจําเดือนวันแรก สําหรับผูที่
เปลี่ยนชนิดยาเม็ดคุมกําเนิดใหรับประทานยาชนิดเดิมจนหมดแผงกอน จากนั้นจึงเริ่มรับประทานยา
ชนิดใหม โดยรับประทานยาเม็ดแรกในวันแรกที่มีประจําเดือน
การรับประทานยาชนิดที่ยาทุกเม็ดในแผงจะประกอบดวยฮอรโมนทั้งหมด (ชนิด 21 เม็ด)
การเริ่มรับประทานยาเม็ดแรก ใหเริ่มตรงกับวันของสัปดาหที่ระบุบนแผงยา เชน ประจําเดือนมาวัน
แรก คือวันศุกร ก็ใหเริ่มรับประทานยาเม็ดแรกที่ระบุไววา "ศ" รับประทานยาวันละ 1 เม็ด เปน
ประจําทุกวันตามลูกศรชี้จนหมดแผง สําหรับ ชนิด 28 เม็ด เริ่มรับประทานยาแผงใหม โดย
รับประทานยาเม็ดแรกในวันแรกที่มีประจําเดือน ในแผงหนึ่งจะประกอบดวยฮอรโมน 21 เม็ด และ
สวนที่ไมใชฮอรโมนเพศอีก 7 เม็ด ซึ่งจะมีขนาดตางจาก 21 เม็ดแรก การเริ่มรับประทานยาแผงแรก
ใหเริ่มรับประทานยาเม็ดแรกในวันแรกที่มีประจําเดือนมา รับประทานยาเม็ดแรกในสวนที่ระบุบนแผง
วาเปนจุดเริ่มตนใชยา และรับประทานยาวันละ 1 เม็ดเปนประจําทุกวัน ตามลูกศรชี้จนหมดแผง
หากลืมรับประทานยาหรือรับประทานยาไมตรงเวลา อาจมีผลทําใหประสิทธิภาพในการคุม
กําเนิดของยาลดลง และอาจทําใหเกิดเลือดออกกะปริบกระปรอยได จึงควรรับประทานยาเม็ด
คุมกําเนิดในเวลาเดียวกันทุกวัน และควรเก็บยาในบริเวณที่เห็นไดงาย เพื่อชวยเตือนไมใหลืม
รับประทานยา ในกรณีที่ลืมรับประทานยา มีหลักปฏิบัติดังนี้ คือ
1) หากลืมรับประทานยา 1 เม็ด ใหรับประทานยาเม็ดที่ลืมทันทีที่นึกได และรับประทานยา
เม็ดตอไปตามเวลาเดิม
2) หากลืมรับประทานยาตั้งแต 2 เม็ดขึ้นไป ใหรับประทานยา 1 เม็ดทันทีที่นึกได จากนั้นนับ
จํานวนเม็ดยาที่มีฮอรโมนที่เหลืออยูในแผง ถามีตั้งแต 7 เม็ดขึ้นไป ใหรับประทานยาวันละ 1 เม็ด
ตอไปตามปกติ ถามีเหลืออยูนอยกวา 7 เม็ด ใหรับประทานยาที่มีฮอรโมนวันละ 1 เม็ดทุกวันจนหมด
โดยทิ้งยาที่ไมใชฮอรโมนไป และเริ่มรับประทานยาแผงใหมทันที โดยไมตองเวนระยะใหมีประจําเดือน
มา โดยในกรณีที่ลืมรับประทานยาตั้งแต 2 เม็ดขึ้นไป จะตองใชวิธีการคุมกําเนิดอื่นรวมดวย เชน
ถุงยางอนามัยอยางนอย 7 วันในชวงถัดมา
อาการขางเคียง และแนวทางการดูแลตนเอง
ผูที่รับประทานยาเม็ดคุมกําเนิดบางรายอาจมีอาการขางเคียงบางในการใชยาในชวง 3 เดือน
แรก หากมีการใหคําแนะนําในการใชยา ก็จะชวยใหเกิดความเขาใจและไมหยุดการรับประทานเอง
อาการขางเคียง แนวทางการปองกันและแกไข
1. คลื่นไส อาเจียน
สวนมากเกิดจากการรับประทานยาชนิด
ที่มีฮอรโมนเอสโตรเจนขนาดสูง หรือเปน
ผลขางเคียงที่พบไดในระยะเริ่มรับประทานยา 1-
2 แผงแรกของการรับประทานยา อาการนี้จะ
คอย ๆ หายไป
- แนะนําใหรับประทานยาหลังอาหารเย็น หรือ
กอนนอน และอาการคลื่นไส เวียนศีรษะ
อาเจียน จะลดนอยลงหลังจากที่รับประทานยา
ไปแลวประมาณ 1-2 เดือน
- ปรับลดขนาดของยาคุมกําเนิดชนิดฮอรโมน
รวมลง เปลี่ยนเปนชนิดที่มีฮอรโมนเอสโตรเจน
ต่ํา
- ทดสอบการตั้งครรภเมื่อสงสัย ถาตั้งครรภให
ผูรับบริการหยุดรับประทานยา และอธิบายวา
ปริมาณของฮอรโมนที่อยูในยาเม็ดที่รับประทาน
เขาไปกอนหนานี้มีปริมาณนอยมาก ไมเปน
อันตรายตอทารกในครรภ
อาการขางเคียง แนวทางการปองกันและแกไข
2. ปวดศีรษะ ตึงคัดเตานม
อาจเกิดจากฮอรโมนเอสโตรเจน และโป
รเจสโตเจน โดยเฉพาะเอสโตรเจนอาจทําใหมีการ
คั่งของน้ํา และเกลือทําใหเกิดอาการปวดศีรษะ
และตึงคัดเตานมได
- อาการเจ็บคัดเตานม มักพบในระยะแรกของ
การใชยา สวนใหญอาการจะลดลงหรือหายไปใน
เวลาตอมา
- เลือกใชยาเม็ดคุมกําเนิดที่มีเอสโตรเจนต่ํา หรือ
หยุดใชยาเม็ดคุมกําเนิด
3. สิว ฝา
ยาเม็ดคุมกําเนิดที่มีฮอรโมนเอสโตรเจน
สูง อาจกระตุนการทํางานของเซลลที่สกัดสี การ
ถูกแสงแดดเปนประจําทําใหเกิดฝาไดงาย มี
ประมาณ 10-15% ที่จะเกิดฝาจากฤทธิ์ของ
ฮอรโมนไปกระตุนเม็ดสีของ ผิวหนัง และจะมาก
ขึ้นเมื่อถูกแสงแดดจัด อาการนี้จะหายไปเมื่อหยุด
ยา ในขณะที่ฮอรโมน โปรเจสโตเจนอาจทําให
เกิดสิวได
- ถาเปนฝา ควรใชยาเม็ดคุมกําเนิดที่มีเอสโตร
เจนขนาดต่ํา หลีกเลี่ยงการถูกแสงแดด ใชครีม
กันแดด หรือครีมปองกันฝา
- ถาเปนสิว ควรเปลี่ยนเปนยาเม็ดคุมกําเนิดชนิด
ที่มีฮอรโมน โปรเจสโตเจนที่มีฤทธิ์ใกลเคียง
ธรรมชาติมากที่สุด
4. เลือดออกกะปริบกะปรอย
มักเกิดกับผูที่เริ่มใชยาเม็ดคุมกําเนิดแผง
แรกๆ และเปนอาการขางเคียงที่พบไดในการใชยา
เม็ดคุมกําเนิดที่มีเอสโตรเจนต่ํา หรืออาจมาจาก
สาเหตุอื่นๆ เชน รับประทานยาไมตรงเวลา
รับประทานยาไมสม่ําเสมอ ลืมรับรับประทานยา
รวมถึงการใชยาฉีดคุมกําเนิด
- รับประทานยาเม็ดคุมกําเนิดในเวลาเดียวกันทุก
วันและสม่ําเสมอ
- อาการเลือดออกทางชองคลอดเปนสิ่งปกติที่
เกิดขึ้นไดในชวง 3 เดือนแรก หลังจากนั้นก็จะ
ปกติหรือลดนอยลง
- หากมีเลือดออกกะปริบกะปรอย เกิน 3 เดือน
ควรปรึกษาแพทย เพื่อตรวจดูสาเหตุของ
เลือดออกผิดปกติ เชน มะเร็งปากมดลูก และ
เลือดออกผิดปกติ เชน มะเร็งปากมดลูก และ
สาเหตุอื่น ๆ
5. ไมมีประจําเดือน
ผูที่รับประทานยาเม็ดคุมกําเนิดที่มี - ในรายที่สงสัยวามีการตั้งครรภ ควรทดสอบ
อาการขางเคียง แนวทางการปองกันและแกไข
ฮอรโมนต่ํานานๆ อาจทําใหไมมีประจําเดือน
นอกจากนี้ผูที่ใชยาฉีดคุมกําเนิดเปนระยะ
เวลานาน แลวไมมีประจําเดือน เมื่อเปลี่ยนมาใช
ยาเม็ดคุมกําเนิดแผงแรกๆ อาจทําใหยังไมมี
ประจําเดือน เนื่องจากฤทธิ์ของยาฉีดคุมกําเนิด
หรือในบางรายอาจมีการตั้งครรภ จากการ
รับประทานยาไมถูกตอง
การตั้งครรภ
- ถาไมตั้งครรภและรับประทานยาอยางถูกตอง
ยาอาจทําใหยังไมมีประจําเดือน เนื่องจากไมมี
การสรางเยื่อบุมดลูก
- ถาตั้งครรภใหหยุดรับประทานยา ซึ่งปริมาณ
ของฮอรโมนที่อยูในยาเม็ดที่รับประทานเขาไป
กอนหนานี้มีปริมาณนอยมาก จะไมเปนอันตราย
ตอทารกในครรภ
6. การเปลี่ยนแปลงความดันโลหิต
ผูที่รับประทานยาเม็ดคุมกําเนิดนาน
หลายป มีแนวโนมที่จะเกิดความดันโลหิตสูง
- เปลี่ยนไปใชยาเม็ดคุมกําเนิดที่มีเอสโตเจน
ขนาดต่ํา ๆ
- หมั่นตรวจติดตามวัดความดันโลหิตอยาง
สม่ําเสมอ
- ควบคุมและดูแลเรื่องอาหาร การออกกําลังกาย
และการพักผอนลดความเครียด
7. น้ําหนักตัวเพิ่ม
การรับประทานยาเม็ดคุมกําเนิดที่มี
ฮอรโมนเอสโตรเจน ทําใหเกิดการคั่งของน้ําและ
ไขมันใตผิวหนัง จึงมีแนวโนมน้ําหนักตัวเพิ่มขึ้น
และฮอรโมนโปรเจสโตเจนที่มีฤทธิ์ฮอรโมนเพศ
ชาย รวมถึงยาฉีดคุมกําเนิดทําใหอยาก
รับประทานอาหารมากขึ้น
- ควบคุมเรื่องการรับประทานอาหาร และการ
ออกกําลังกาย
- เปลี่ยนไปใชยาเม็ดคุมกําเนิดที่มีเอสโตเจน
ขนาดต่ํา ๆ และโปรเจสโตเจนซึ่งไมมีผลตอการ
คั่งของน้ํา
8. อารมณเปลี่ยนแปลง
บางรายที่รับประทานยาเม็ดคุมกําเนิด
อาจไดรับผลจากโปรเจสโตเจนหรือเอสโตรเจน
ทําใหไดเกิดอาการซึมเศรา วิตกกังวล
- หากมีอาการมากควรหยุดรับประทานยา
- แนะนําใหผูใชยาไปปรึกษาจิตแพทย
9. อาการอาเจียนทองเสียรุนแรง ขณะใชยา
เม็ดคุมกําเนิด
อาเจียนดวยเหตุผลใดก็ตามภายใน 2 ชั่วโมง
หลังรับประทานยาเม็ดที่มีฮอรโมน
- ควรรับประทานยาเม็ดที่มีฮอรโมนซ้ําอีก
อาการขางเคียง แนวทางการปองกันและแกไข
อาเจียนอยางรุนแรง หรือทองเสียเปน
เวลานานกวา 24 ชั่วโมง
- ควรรับประทานยาเม็ดที่มีฮอรโมนตอไป (หาก
ทําได) แมวาจะรูสึกไมสบาย
- หากอาการอาเจียนอยางรุนแรง หรือทองเสีย
ตอเนื่องตั้งแต 2 วันขึ้นไป ควรรับประทานยา
ตามคําแนะนํา สําหรับผูที่ลืมรับประทานยา ใช
วิธีคุมกําเนิดอื่นเสริมจนกวาจะหายอาเจียน
หรือทองเสีย
สําหรับการคุมกําเนิดในเพศชาย วิธีที่ใชกันมากคือ การใชถุงยาง (condom) และการทํา
หมันชายโดยการตัดทอนําเชื้ออสุจิ ซึ่งคอนขางจะมีความยุงยาก ปจจุบันไดมีการวิจัยเพื่อพัฒนายา
หรือสารที่ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ มีผลตอตัวอสุจิแตกตางกัน เพื่อใชเปนยาคุมกําเนิดเพศชาย
เชน ฮอรโมนที่มีผลยับยั้งการสรางตัวอสุจิ โดยการใช GnRH analogues เพื่อกดการทํางานของตอม
ใตสมอง สงผลใหระดับของเทสโทสเตอโรน (Testosterone) และอสุจิลดลง หรือสารที่ไมใชฮอรโมน
ที่มีผลยับยั้งการสรางอสุจิ เปนตน ซึ่งในขณะนี้ก็ยังไมมียาคุมกําเนิดในเพศชายรูปแบบใดที่ใหผล
แนนอนออกมาวางจําหนาย ซึ่งยังอยูในชวงของการศึกษาวิจัย
สรุป
ยาคุมกําเนิด มีประโยชนใชเพื่อปองกันการตั้งครรภ โดยมีสวนประกอบคือฮอรโมนเพศหญิง
ทั้งนี้สามารถปองกันการตั้งครรภไดจากกลไกหลายอยาง เชน การยับยั้งการตกไข การเพิ่มปริมาณ
และความหนืดของมูกบริเวณปากมดลูก สงผลใหลดโอกาสการปฏิสนธิ เปนตน ยาคุมกําเนิดแบงเปน
2 กลุมใหญคือ ยาชนิดรับประทานและยาฉีด การเลือกใชยาจะพิจารณาจากความเหมาะสมของแตละ
บุคคล ผูใชยาควรใชยาใหถูกตองการคําแนะนําเพื่อใหสามารถคุมกําเนิดไดอยางมีประสิทธิภาพ
คําถามทบทวน
1. จงอธิบายกลไกการปองกันการตั้งครรภของยาเม็ดคุมกําเนิด
2. จงระบุชื่อยาที่ใชในการคุมกําเนิดมาจํานวน 2 ชนิด
3. จงอธิบายความแตกตางของยาคุมกําเนิดฮอรโมนรวมชนิด 21 เม็ด และชนิด 28 เม็ด
4. จงอธิบายวิธีการใชยาคุมกําเนิดฉุกเฉิน
5. ยาฉีดคุมกําเนิดชนิด DMPA สามารถคุมกําเนิดไดเปนระยะเวลานานเทาใด
6. ผลขางเคียงที่สําคัญของการใชยาคุมกําเนิดมีอะไรบาง
เอกสารอางอิง
กองอนามัยการเจริญพันธุ กรมอนามัย. (2551). คูมือการใหบริการวางแผนครอบครัวสําหรับ
เจาหนาที่สาธารณสุข. กรุงเทพฯ: โรงพิมพองคการสงเคราะหทหารผานศึก.
ธันยารัตน วงศวนานุรักษ. (ม.ป.ป.). การคุมกําเนิด. [ออนไลน]. แหลงที่มา : http://www.si.
mahidol.ac.th/sidoctor/epl/admin/article_files/575_1.pdf [20 มกราคม 2557].
นันทวรรณ กิติกรรณากรณ. (ม.ป.ป.). ยาคุมกําเนิด. เอกสารประกอบการสอน คณะเภสัชศาสตร
มหาวิทยาลัยนเรศวร.
บุญเกิด คงยิ่งยศ และวีรพล คูคงวิริยพันธุ. (2541). เภสัชวิทยา สําหรับนักศึกษาวิทยาศาสตร
สุขภาพเลม 1. พิมพครั้งที่ 3. ขอนแกน: โรงพิมพ คลังนานาวิทยา.
วิศรุต บูรณสัจจะ. (ม.ป.ป.). ยาเม็ดคุมกําเนิดฉุกเฉิน. [ออนไลน]. แหลงที่มา : http://161.
200.184.9/Clinic101_5/article/Radio110.pdf [20 มกราคม 2557].
อัญชลี งานขยัน. (มิถุนายน 2546). “ยาคุมกําเนิดฉุกเฉิน.” สารสาระจากหองยา. 1(3) : 1-3.

More Related Content

What's hot

27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์Papawee Laonoi
 
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfpraphan khunti
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์Utai Sukviwatsirikul
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทKannika Kerdsiri
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)Junee Sara
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)Sakarin Habusaya
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPrachaya Sriswang
 
Six building blocks pdf 19 มิถุนายน 2557
Six building blocks   pdf 19 มิถุนายน 2557Six building blocks   pdf 19 มิถุนายน 2557
Six building blocks pdf 19 มิถุนายน 2557Kamol Khositrangsikun
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.nhs0
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...Dr.Suradet Chawadet
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)Aiman Sadeeyamu
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดtassanee chaicharoen
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 

What's hot (20)

27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
 
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บท
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านม
 
Six building blocks pdf 19 มิถุนายน 2557
Six building blocks   pdf 19 มิถุนายน 2557Six building blocks   pdf 19 มิถุนายน 2557
Six building blocks pdf 19 มิถุนายน 2557
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
Pc18
Pc18Pc18
Pc18
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาล
 

Viewers also liked

6 ยาคุมกำเนิด
6 ยาคุมกำเนิด6 ยาคุมกำเนิด
6 ยาคุมกำเนิดPa'rig Prig
 
โอกาสตั้งครรภ์ จากการคุมกำเนิดด้วยวิธีต่าง ๆ
โอกาสตั้งครรภ์  จากการคุมกำเนิดด้วยวิธีต่าง ๆโอกาสตั้งครรภ์  จากการคุมกำเนิดด้วยวิธีต่าง ๆ
โอกาสตั้งครรภ์ จากการคุมกำเนิดด้วยวิธีต่าง ๆviriyalekprasert
 
Pharmacy guide
Pharmacy guidePharmacy guide
Pharmacy guideKaow Jaow
 
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงPa'rig Prig
 
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาบทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาPa'rig Prig
 
4 ยารักษาโรคเบาหวาน
4 ยารักษาโรคเบาหวาน4 ยารักษาโรคเบาหวาน
4 ยารักษาโรคเบาหวานPa'rig Prig
 
Chapter4 สื่อการเรียนรู้
Chapter4  สื่อการเรียนรู้Chapter4  สื่อการเรียนรู้
Chapter4 สื่อการเรียนรู้Prakaidao Suebwong
 
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงบทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงPa'rig Prig
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษาWatcharin Chongkonsatit
 
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานบทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานPa'rig Prig
 
การสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาการสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาan1030
 

Viewers also liked (16)

6 ยาคุมกำเนิด
6 ยาคุมกำเนิด6 ยาคุมกำเนิด
6 ยาคุมกำเนิด
 
ยาคุมกำเนิด
ยาคุมกำเนิดยาคุมกำเนิด
ยาคุมกำเนิด
 
โอกาสตั้งครรภ์ จากการคุมกำเนิดด้วยวิธีต่าง ๆ
โอกาสตั้งครรภ์  จากการคุมกำเนิดด้วยวิธีต่าง ๆโอกาสตั้งครรภ์  จากการคุมกำเนิดด้วยวิธีต่าง ๆ
โอกาสตั้งครรภ์ จากการคุมกำเนิดด้วยวิธีต่าง ๆ
 
Pharmacy guide
Pharmacy guidePharmacy guide
Pharmacy guide
 
ทักษะการปฏิเสธ
ทักษะการปฏิเสธทักษะการปฏิเสธ
ทักษะการปฏิเสธ
 
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
 
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาบทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
 
4 ยารักษาโรคเบาหวาน
4 ยารักษาโรคเบาหวาน4 ยารักษาโรคเบาหวาน
4 ยารักษาโรคเบาหวาน
 
Chapter4 สื่อการเรียนรู้
Chapter4  สื่อการเรียนรู้Chapter4  สื่อการเรียนรู้
Chapter4 สื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงบทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา
 
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานบทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
 
การสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาการสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษา
 
Diuretics drugs
 Diuretics drugs Diuretics drugs
Diuretics drugs
 
Cardiovascular drugs
Cardiovascular drugsCardiovascular drugs
Cardiovascular drugs
 
Antibiotic_1
Antibiotic_1 Antibiotic_1
Antibiotic_1
 

Similar to บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด

คำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อย
คำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อยคำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อย
คำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อยUtai Sukviwatsirikul
 
3 ยาสามัญประจำบ้าน
3 ยาสามัญประจำบ้าน3 ยาสามัญประจำบ้าน
3 ยาสามัญประจำบ้านPa'rig Prig
 
การฉีดยาคุมกำเนิด
การฉีดยาคุมกำเนิดการฉีดยาคุมกำเนิด
การฉีดยาคุมกำเนิดSuppakuk Clash
 
บทที่ 7 วัคซีน
บทที่ 7 วัคซีนบทที่ 7 วัคซีน
บทที่ 7 วัคซีนPa'rig Prig
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาadriamycin
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.25554LIFEYES
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์Utai Sukviwatsirikul
 
Topic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisTopic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisBow Aya
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22Napisa22
 
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาสอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาduangkaew
 
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก principle-of-pediatic-care-2014
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก  principle-of-pediatic-care-2014 หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก  principle-of-pediatic-care-2014
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก principle-of-pediatic-care-2014 Utai Sukviwatsirikul
 
ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยาเม็ดเมลาโทนินชนิดออกฤทธ์ยาว ต่อการรักษาอาการนอน...
ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยาเม็ดเมลาโทนินชนิดออกฤทธ์ยาว ต่อการรักษาอาการนอน...ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยาเม็ดเมลาโทนินชนิดออกฤทธ์ยาว ต่อการรักษาอาการนอน...
ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยาเม็ดเมลาโทนินชนิดออกฤทธ์ยาว ต่อการรักษาอาการนอน...Utai Sukviwatsirikul
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคtassanee chaicharoen
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาIntaruechai Intaruechai
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาIntaruechai Intaruechai
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาIntaruechai Intaruechai
 

Similar to บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด (20)

คำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อย
คำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อยคำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อย
คำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อย
 
3 ยาสามัญประจำบ้าน
3 ยาสามัญประจำบ้าน3 ยาสามัญประจำบ้าน
3 ยาสามัญประจำบ้าน
 
การฉีดยาคุมกำเนิด
การฉีดยาคุมกำเนิดการฉีดยาคุมกำเนิด
การฉีดยาคุมกำเนิด
 
บทที่ 7 วัคซีน
บทที่ 7 วัคซีนบทที่ 7 วัคซีน
บทที่ 7 วัคซีน
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
Topic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisTopic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitis
 
Poster Female Birth Control
Poster Female Birth ControlPoster Female Birth Control
Poster Female Birth Control
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาสอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
 
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก principle-of-pediatic-care-2014
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก  principle-of-pediatic-care-2014 หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก  principle-of-pediatic-care-2014
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก principle-of-pediatic-care-2014
 
ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยาเม็ดเมลาโทนินชนิดออกฤทธ์ยาว ต่อการรักษาอาการนอน...
ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยาเม็ดเมลาโทนินชนิดออกฤทธ์ยาว ต่อการรักษาอาการนอน...ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยาเม็ดเมลาโทนินชนิดออกฤทธ์ยาว ต่อการรักษาอาการนอน...
ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยาเม็ดเมลาโทนินชนิดออกฤทธ์ยาว ต่อการรักษาอาการนอน...
 
155344bayer329
155344bayer329155344bayer329
155344bayer329
 
Cpg std aug 2011
Cpg std aug 2011Cpg std aug 2011
Cpg std aug 2011
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 

More from Pa'rig Prig

ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินPa'rig Prig
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์Pa'rig Prig
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาคPa'rig Prig
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาคPa'rig Prig
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาคPa'rig Prig
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลPa'rig Prig
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตPa'rig Prig
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพPa'rig Prig
 

More from Pa'rig Prig (20)

4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
Eport2
Eport2Eport2
Eport2
 
5
55
5
 
4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
2
22
2
 
1
11
1
 
ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมิน
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาค
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาค
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาค
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาล
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
 

บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด

  • 1. แผนบริหารการสอนบทที่ 6 หัวขอเนื้อหาประจําบท 1. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการคุมกําเนิด 2. ประเภทของยา และกลไกการออกฤทธิ์ 3. การพิจารณาเลือกใชยาคุมกําเนิด 4. อาการขางเคียง และแนวทางการดูแลตนเอง วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม เมื่อนักศึกษาไดศึกษาจบบทที่ 6 แลว นักศึกษาควรมีความสามารถดังตอไปนี้ 1. อธิบายกลไกการปองกันการตั้งครรภของยาคุมกําเนิดได 2. ระบุชนิดของยาที่ใชในความการคุมกําเนิดได 3. บอกความแตกตางของยาคุมกําเนิดชนิดรับประทานได 4. อธิบายวิธีการใชยาคุมกําเนิดชนิดรับประทานได 5. ใหคําแนะนําเรื่องผลขางเคียงที่สําคัญของยาคุมกําเนิดได วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอน วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนประจําบทที่ 6 ประกอบดวยรายละเอียดดังนี้ 1. บรรยายตามเนื้อหา โดยใชโปรแกรมการนําเสนอ (power point) ประกอบคําอธิบาย 2. แสดงตัวอยางยา และใหนักศึกษาอภิปรายประเด็นเกี่ยวกับชนิดและกลไกการออกฤทธิ์ รวมถึงวิธีการใชยาคุมกําเนิด 3. รวมกันสรุปประเด็นสําคัญของการเรียน 4. มอบหมายงานใหศึกษาคนควาดวยตนเองผานระบบออนไลนที่ http://www.youtube.com/watch?v=exatSuj9Mws และทําใบงาน เรื่อง ยาคุมกําเนิด สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา เภสัชวิทยาเบื้องตน บทที่ 6 ยาคุมกําเนิด 2. โปรแกรมนําเสนอ เรื่อง ยาคุมกําเนิด 3. ตัวอยางยาคุมกําเนิดชนิดรับประทาน
  • 2. วิธีวัดผลและการประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมผูเรียน 1.1 พฤติกรรมความตรงตอเวลาในการเขาเรียน และการสงงานที่ไดรับมอบหมาย 1.2 พฤติกรรมการมีสวนรวมแสดงความคิดเห็นของผูเรียนในระหวางเรียน 2. ประเมินผลงานที่มอบหมาย 2.1 ใบงาน
  • 3. บทที่ 6 ยาคุมกําเนิด ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการคุมกําเนิด การคุมกําเนิด เปนวิธีการปองกันการตั้งครรภ โดยอาจเปนการปองกันการปฏิสนธิ หรือ ปองกันการฝงตัวของตัวออนที่ถูกผสมแลว ซึ่งความปลอดภัยของวิธีการคุมกําเนิดนั้น สามารถ พิจารณาไดจากองคประกอบ 3 อยาง คือ ประสิทธิภาพของวิธีคุมกําเนิด ประโยชนตอสุขภาพของ ผูใช และอันตรายตอสุขภาพของผูใช วิธีคุมกําเนิดแตละวิธียอมแตกตางกัน และในสถานการณ บางอยางวิธีการคุมกําเนิดวิธีนั้น ๆ ยอมใหผลแตกตางกันดวย สามารถแบงกลุมของวิธีการคุมกําเนิด แบบตาง ๆ ที่ใชบอยออกเปน 5 กลุม ดังนี้ (1) การคุมกําเนิดที่มีประสิทธิภาพสูง ไมมีประโยชนตอสุขภาพ และไมมีอันตรายตอสุขภาพ ผูใช ไดแก การงดรวมเพศในชวงเวลาหนึ่ง เชน การงดรวมเพศชวงหลังคลอด (2) การคุมกําเนิดที่มีประสิทธิภาพต่ํา ไมมีประโยชนตอสุขภาพ และไมมีอันตรายตอสุขภาพ ผูใช ไดแก การหลั่งภายนอกชองคลอด และการงดรวมเพศบางชวงเวลา เชน การนับระยะปลอดภัย (3) การคุมกําเนิดที่มีประสิทธิภาพปานกลาง มีประโยชนตอผูใชบางแตไมมีอันตรายตอ สุขภาพ ไดแก การคุมกําเนิดโดยวิธีขวางกั้น เชน ถุงยางอนามัย หมวกยางครอบปากมดลูก เปนตน สําหรับประโยชนที่พบตอผูใชคือ การปองกันโรคติดตอทางเพศสัมพันธ (4) การคุมกําเนิดที่มีประสิทธิภาพสูง มีประโยชนและมีอันตรายตอสุขภาพของผูใชอยูบาง เนื่องจากผลขางเคียงของฮอรโมน ไดแก การคุมกําเนิดโดยใชฮอรโมน เชน ยาเม็ดคุมกําเนิด ยาฉีด คุมกําเนิด และยาฝงคุมกําเนิด (5) การคุมกําเนิดที่มีประสิทธิภาพสูง ไมมีประโยชนตอสุขภาพ และมีอันตรายตอสุขภาพ ของผูใชอยูบาง เนื่องจากเปนหัตถการ ไดแก หวงอนามัย และการทําหมัน ประเภทของยา และกลไกการออกฤทธิ์ 1. ยาคุมกําเนิดชนิดรับประทาน ยาคุมกําเนิดชนิดรับประทานยา เปนยาชนิดเม็ดที่มีฮอรโมนสังเคราะหซึ่งมีสวน ประกอบของเอสโตรเจน (Estrogen) และโพรเจสโตเจน (Progestogen) ดังนั้นเมื่อรับประทานยาเขา ไป ฮอรโมนเหลานี้จึงไปทําหนาที่เลียนแบบฮอรโมนภายในรางกาย ซึ่งปกติมีการควบคุมกันเองโดย ธรรมชาติสงผลยับยั้งการตกไข ปองกันการเจริญและการสุกของไข มูกที่ปากมดลูกขนเหนียว เชื้ออสุจิ
  • 4. จึงไมสามารถผานเขาสูโพรงมดลูกได หรือเยื่อบุโพรงมดลูกฝอตัวไมเหมาะตอการเจริญของตัวออน เปนตน ยาคุมกําเนิดชนิดรับประทาน สามารถแบงออกเปน 3 ประเภท ดังนี้ 1.1 ยาคุมกําเนิดชนิดฮอรโมนรวม (Low-dose combined oral contraceptive หรือ Combination pills) ซึ่งยาแตละเม็ดประกอบดวยฮอรโมนเอสโตรเจนและโพรเจสโตเจนรวมกัน แบง ออกเปน 2 ชนิดคือ 1.1.1 Monophasic หรือ Fixed dose pills ยาเม็ดคุมกําเนิดชนิดนี้มีฮอรโมน สังเคราะหของเอสโตรเจนและโปรเจสโตเจนในขนาดเทากันทุกเม็ด ในหนึ่งแผงอาจเปนชนิด 21 เม็ด ซึ่งมีฮอรโมนทุกเม็ด หรือชนิด 28 เม็ด ซึ่งมีฮอรโมน 21 เม็ดแรกสวน 7 เม็ดสุดทายไมมีฮอรโมน 1.1.2 Multiphasic pills ยาคุมกําเนิดชนิดนี้มีฮอรโมนสังเคราะหของเอสโตรเจน และโปรเจสโตเจนในขนาดที่ไมเทากันทุกเม็ด สามารถแบงไดเปน 2 ชนิดคือไบเฟสิค (Biphasic) ที่มี ฮอรโมนตางกัน 2 ระดับและชนิดไตรเฟสิค (Triphasic) มีฮอรโมนตางกัน 3 ระดับ ซึ่งยาคุมกําเนิด ประเภทนี้ตองรับประทานเรียงตามลําดับ หามรับประทานขามโดยเด็ดขาด 1.2 ยาคุมกําเนิดชนิดฮอรโมนตัวเดียว (Progestogen-only pills หรือ Mini-pill) ซึ่งมี แตฮอรโมนโพรเจสโตเจนอยางเดียวในขนาดต่ํา ๆ เทากันทุกเม็ด แผงละ 28 หรือ 35 เม็ด ไดผลใน การตั้งครรภนอยกวายาคุมกําเนิดชนิดฮอรโมนรวม ยานี้เหมาะสําหรับผูที่ไมสามารถรับประทานยาคุม กําเนิดชนิดฮอรโมนรวมได เชน ขณะใหนมบุตร หรือไมสามารถทนตอผลขางเคียงของเอสโตรเจนได ตัวอยางยาที่มีใชในประเทศไทยคือ Exluton บรรจุแผงละ 28 เม็ด ผลขางเคียงคือ บางรายอาจพบ เลือดออกกระปริบกระปรอย หรือขาดระดูได 1.3 ยาคุมกําเนิดฉุกเฉิน (Postcoital contraception หรือ Morning after pill) เปน ยาคุมกําเนิดที่ใชสําหรับปองกันการตั้งครรภโดยไมเจตนา สามารถใชไดเมื่อเกิดความลมเหลวที่อาจ เกิดจากการคุมกําเนิดวิธีอื่น เชน ถุงยางอนามัยหลุดหรือใชไมถูกตอง รับประทานยาคุมกําเนิดชาหรือ ขาดชวง การขับอุปกรณที่อยูในมดลูกออกบางสวนหรือทั้งหมด ไมไดคุมกําเนิดระหวางการมีเพศ สัมพันธหรือมีเพศสัมพันธโดยไมปองกัน โดยยาอาจเปนชนิดที่มีโพรเจสโตเจนในปริมาณสูง เชน Levonorgestrel (Postinor , Madonna ) ใชรับประทาน 1 เม็ดภายใน 72 ชั่วโมงหลังมี เพศสัมพันธ และอีก 1 เม็ดหางจากเม็ดแรก 12 ชั่วโมง หากเริ่มรับประทานยาชาประสิทธิภาพของยา ก็จะลดลงตามชั่วโมงที่ผานไป หลังจากรับประทานยา 4 – 5 วันอาจมีเลือดออกได ใชยานี้แลวอาจทํา ใหรอบเดือนแปรปรวนได หรือยาที่มีเอสโตรเจนขนาดสูงจะทําใหทอนําไขเคลื่อนไหวมากขึ้น ทําใหไข ที่ผสมแลวเคลื่อนถึงโพรงมดลูกเร็วกอนที่จะเจริญถึงระยะฝงตัวในมดลูกไดดี และเยื่อบุมดลูกยังอาจ เจริญมากผิดปกติ (Hyperplasia) ไมเหมาะสมตอการฝงตัวของไข อาการขางเคียงที่พบ เชน คลื่นไส อาเจียน เลือดออกกระปริบกระปรอย เตานมคัดตึง ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ และเหนื่อยงาย ยาเม็ด
  • 5. คุมกําเนิดฉุกเฉินใหใชกรณีจําเปนเทานั้น ไมแนะนําใหใชเปนประจํา เพราะอาจเกิดการตั้งครรภและมี อาการขางเคียงสูง เมื่อเปรียบเทียบกับการใชวิธีคุมกําเนิดทั่วไป 2. ยาฉีดคุมกําเนิด ยาฉีดคุมกําเนิด สามารถแบงเปน 2 ชนิดดังนี้ 2.1 Depo-Provera หรือ Depot-Medroxy-Progesterone-Acetate (DMPA) เปน โพรเจสโตเจนสังเคราะหชนิดหนึ่งคลายกับฮอรโมนโพรเจสเตอโรนซึ่งผลิตโดยรังไขของรางกาย มีฤทธิ์ อยูไดนาน เมื่อฉีดเขากลามเนื้อ ฮอรโมนจะคอย ๆ ถูกดูดซึมเขาสูกระแสเลือด ฮอรโมนจะปองกันการ ตกไขถาระดับของฮอรโมนในเลือดสูง 7 นาโนกรัมตอมิลลิลิตร แตถาต่ํากวา 0.5 นาโนกรัมตอ มิลลิลิตรจะมีการตกไขเกิดขึ้นได ขนาดที่ใช 150 มิลลิกรัม ฉีดเขากลามเนื้อทุก 12 สัปดาห 2.2 Norethisterone enanthate (NET-EN) เปนฮอรโมนโพรเจสโตเจนเหมือน DMPA แตกตางกันเฉพาะกลุมของสเตียรอยด นิยมใชนอยกวายา DMPA เนื่องจากจะยับยั้งการตกไขไดไม เกิน 60 วัน ทําใหตองฉีดยาบอย การฉีดยาคุมกําเนิดจะตองเริ่มฉีดภายใน 5 วันแรกของการมีประจําเดือน หรือหลังคลอด 1 เดือนครึ่ง หามใชยาฉีดคุมกําเนิดในผูที่ยังไมเคยมีบุตร ผูที่มีเลือดออกผิดปกติไมทราบสาเหตุ ผูที่ สงสัยหรือกําลังตั้งครรภ อาการขางเคียงคือ เลือดออกกระปริบกระปรอย ขาดระดู น้ําหนักตัวเพิ่ม เปนตน 3. ยาคุมกําเนิดชนิดฝงใตผิวหนัง ยาคุมกําเนิดชนิดฝงใตผิวหนัง มีตัวยาเปนฮอรโมนสังเคราะหโพรเจสเตอโรนที่บรรจุอยู ในหลอดไซลาสติค (Silastic) ใชฝงใตผิวหนัง และฮอรโมนจะถูกดูดซึมในอัตราที่สม่ําเสมอเปน เวลานาน อาจอยูในรูปแคปซูลที่ใชฝงไมละลาย (Non-biodegradable implants) หรือในรูปแคปซูล ที่ใชฝงละลาย (Biodegradable implants) ฮอรโมนที่ฝงอยูจะปองกันการตกไข และเปลี่ยนแปลง เยื่อบุโพรงมดลูก และเปลี่ยนแปลงมูกบริเวณปากมดลูก ระยะการฝงยาที่เหมาะสมควรทําภายใน 7 วันแรกของการมีประจําเดือน หรือหลังคลอด 4-6 สัปดาห โดยยาชนิดที่นิยมใชคือลีโวนอรเจสเทรล (Levonorgestrel) นอรแพลนท (Norplant R) เปนยาคุมกําเนิดชนิดฝงที่ประกอบดวยฮอรโมนลีโวนอรเจส เทรล บรรจุในหลอดไซลาสติคที่ไมละลายจํานวน 6 หลอด สงผลในการคุมกําเนิดเปนระยะเวลานาน ติดตอกันถึง 5 ป แตเนื่องจากมีปริมาณหลอดมากและการถอดยากความนิยมในการใชจึงลดลง ปจจุบันมีการใชยาฝงคุมกําเนิดชนิดหลอดเดียวชื่ออีโทแพลน (Etoplan) หรืออิมพลานอน
  • 6. (Implanon) ซึ่งประกอบดวยฮอรโมนอีโทโนเจสเทรล (Etonogestrel) โดยยาฝงคุมกําเนิดชนิดนี้ การฝงและถอดออกงายกวา และสามารถคุมกําเนิดไดนาน 3 ป อาการขางเคียงที่พบไดคือ เกิดการ เปลี่ยนแปลงของรอบระดู มีเลือดออกกระปริบกระปรอย คลื่นไส เบื่ออาหาร ปวดศีรษะ น้ําหนักเพิ่ม อารมณเปลี่ยนแปลง มีสิวฝาไดในบางราย 4. กลไกการออกฤทธิ์ของยาคุมกําเนิด 4.1 ยับยั้งการตกไข (Inhibit ovulation) เปนกลไกสําคัญที่สุดในการปองกันการ ตั้งครรภ โดยยาออกฤทธิ์ขัดขวางการหลั่งฮอรโมนของรางกาย ซึ่งถูกควบคุมการทํางานจากไฮโปทา ลามัส (Hypothalamus) ตอมใตสมอง (Pituitary) และรังไข (Ovary) ทําใหยับยั้งการหลั่งฮอรโมน FSH และ LH จึงทําใหไมมีการตกไข 4.2 การเปลี่ยนแปลงเยื่อบุมดลูก ยามีผลใหเยื่อบุมดลูกมีลักษณะบางลงและไมเหมาะสม ตอการฝงตัวของไขที่ไดรับการปฏิสนธิ 4.3 การเปลี่ยนแปลงมูกที่ปากมดลูก ทําใหสารคัดหลั่งบริเวณปากมดลูกขนและเหนียว มากขึ้น ทําใหอสุจิเคลื่อนที่ผานเขาไปในมดลูกไดยาก 4.4 เปลี่ยนแปลงการเคลื่อนไหวของทอนําไข ทําใหเกิดผลกระทบตอการเดินทางของ อสุจิหรือไข อาจทําใหไขที่ผสมแลวเดินทางไปถึงมดลูกเร็วผิดปกติจนไมสามารถฝงตัวได รวมทั้งมีผล ตอความสามารถของอสุจิที่จะผสมกับไขดวย การพิจารณาเลือกใชยาคุมกําเนิด สําหรับผูที่เริ่มรับประทานยาควรเริ่มใชยาเม็ดแรกในที่มีประจําเดือนวันแรก สําหรับผูที่ เปลี่ยนชนิดยาเม็ดคุมกําเนิดใหรับประทานยาชนิดเดิมจนหมดแผงกอน จากนั้นจึงเริ่มรับประทานยา ชนิดใหม โดยรับประทานยาเม็ดแรกในวันแรกที่มีประจําเดือน การรับประทานยาชนิดที่ยาทุกเม็ดในแผงจะประกอบดวยฮอรโมนทั้งหมด (ชนิด 21 เม็ด) การเริ่มรับประทานยาเม็ดแรก ใหเริ่มตรงกับวันของสัปดาหที่ระบุบนแผงยา เชน ประจําเดือนมาวัน แรก คือวันศุกร ก็ใหเริ่มรับประทานยาเม็ดแรกที่ระบุไววา "ศ" รับประทานยาวันละ 1 เม็ด เปน ประจําทุกวันตามลูกศรชี้จนหมดแผง สําหรับ ชนิด 28 เม็ด เริ่มรับประทานยาแผงใหม โดย รับประทานยาเม็ดแรกในวันแรกที่มีประจําเดือน ในแผงหนึ่งจะประกอบดวยฮอรโมน 21 เม็ด และ สวนที่ไมใชฮอรโมนเพศอีก 7 เม็ด ซึ่งจะมีขนาดตางจาก 21 เม็ดแรก การเริ่มรับประทานยาแผงแรก ใหเริ่มรับประทานยาเม็ดแรกในวันแรกที่มีประจําเดือนมา รับประทานยาเม็ดแรกในสวนที่ระบุบนแผง วาเปนจุดเริ่มตนใชยา และรับประทานยาวันละ 1 เม็ดเปนประจําทุกวัน ตามลูกศรชี้จนหมดแผง
  • 7. หากลืมรับประทานยาหรือรับประทานยาไมตรงเวลา อาจมีผลทําใหประสิทธิภาพในการคุม กําเนิดของยาลดลง และอาจทําใหเกิดเลือดออกกะปริบกระปรอยได จึงควรรับประทานยาเม็ด คุมกําเนิดในเวลาเดียวกันทุกวัน และควรเก็บยาในบริเวณที่เห็นไดงาย เพื่อชวยเตือนไมใหลืม รับประทานยา ในกรณีที่ลืมรับประทานยา มีหลักปฏิบัติดังนี้ คือ 1) หากลืมรับประทานยา 1 เม็ด ใหรับประทานยาเม็ดที่ลืมทันทีที่นึกได และรับประทานยา เม็ดตอไปตามเวลาเดิม 2) หากลืมรับประทานยาตั้งแต 2 เม็ดขึ้นไป ใหรับประทานยา 1 เม็ดทันทีที่นึกได จากนั้นนับ จํานวนเม็ดยาที่มีฮอรโมนที่เหลืออยูในแผง ถามีตั้งแต 7 เม็ดขึ้นไป ใหรับประทานยาวันละ 1 เม็ด ตอไปตามปกติ ถามีเหลืออยูนอยกวา 7 เม็ด ใหรับประทานยาที่มีฮอรโมนวันละ 1 เม็ดทุกวันจนหมด โดยทิ้งยาที่ไมใชฮอรโมนไป และเริ่มรับประทานยาแผงใหมทันที โดยไมตองเวนระยะใหมีประจําเดือน มา โดยในกรณีที่ลืมรับประทานยาตั้งแต 2 เม็ดขึ้นไป จะตองใชวิธีการคุมกําเนิดอื่นรวมดวย เชน ถุงยางอนามัยอยางนอย 7 วันในชวงถัดมา อาการขางเคียง และแนวทางการดูแลตนเอง ผูที่รับประทานยาเม็ดคุมกําเนิดบางรายอาจมีอาการขางเคียงบางในการใชยาในชวง 3 เดือน แรก หากมีการใหคําแนะนําในการใชยา ก็จะชวยใหเกิดความเขาใจและไมหยุดการรับประทานเอง อาการขางเคียง แนวทางการปองกันและแกไข 1. คลื่นไส อาเจียน สวนมากเกิดจากการรับประทานยาชนิด ที่มีฮอรโมนเอสโตรเจนขนาดสูง หรือเปน ผลขางเคียงที่พบไดในระยะเริ่มรับประทานยา 1- 2 แผงแรกของการรับประทานยา อาการนี้จะ คอย ๆ หายไป - แนะนําใหรับประทานยาหลังอาหารเย็น หรือ กอนนอน และอาการคลื่นไส เวียนศีรษะ อาเจียน จะลดนอยลงหลังจากที่รับประทานยา ไปแลวประมาณ 1-2 เดือน - ปรับลดขนาดของยาคุมกําเนิดชนิดฮอรโมน รวมลง เปลี่ยนเปนชนิดที่มีฮอรโมนเอสโตรเจน ต่ํา - ทดสอบการตั้งครรภเมื่อสงสัย ถาตั้งครรภให ผูรับบริการหยุดรับประทานยา และอธิบายวา ปริมาณของฮอรโมนที่อยูในยาเม็ดที่รับประทาน เขาไปกอนหนานี้มีปริมาณนอยมาก ไมเปน อันตรายตอทารกในครรภ
  • 8. อาการขางเคียง แนวทางการปองกันและแกไข 2. ปวดศีรษะ ตึงคัดเตานม อาจเกิดจากฮอรโมนเอสโตรเจน และโป รเจสโตเจน โดยเฉพาะเอสโตรเจนอาจทําใหมีการ คั่งของน้ํา และเกลือทําใหเกิดอาการปวดศีรษะ และตึงคัดเตานมได - อาการเจ็บคัดเตานม มักพบในระยะแรกของ การใชยา สวนใหญอาการจะลดลงหรือหายไปใน เวลาตอมา - เลือกใชยาเม็ดคุมกําเนิดที่มีเอสโตรเจนต่ํา หรือ หยุดใชยาเม็ดคุมกําเนิด 3. สิว ฝา ยาเม็ดคุมกําเนิดที่มีฮอรโมนเอสโตรเจน สูง อาจกระตุนการทํางานของเซลลที่สกัดสี การ ถูกแสงแดดเปนประจําทําใหเกิดฝาไดงาย มี ประมาณ 10-15% ที่จะเกิดฝาจากฤทธิ์ของ ฮอรโมนไปกระตุนเม็ดสีของ ผิวหนัง และจะมาก ขึ้นเมื่อถูกแสงแดดจัด อาการนี้จะหายไปเมื่อหยุด ยา ในขณะที่ฮอรโมน โปรเจสโตเจนอาจทําให เกิดสิวได - ถาเปนฝา ควรใชยาเม็ดคุมกําเนิดที่มีเอสโตร เจนขนาดต่ํา หลีกเลี่ยงการถูกแสงแดด ใชครีม กันแดด หรือครีมปองกันฝา - ถาเปนสิว ควรเปลี่ยนเปนยาเม็ดคุมกําเนิดชนิด ที่มีฮอรโมน โปรเจสโตเจนที่มีฤทธิ์ใกลเคียง ธรรมชาติมากที่สุด 4. เลือดออกกะปริบกะปรอย มักเกิดกับผูที่เริ่มใชยาเม็ดคุมกําเนิดแผง แรกๆ และเปนอาการขางเคียงที่พบไดในการใชยา เม็ดคุมกําเนิดที่มีเอสโตรเจนต่ํา หรืออาจมาจาก สาเหตุอื่นๆ เชน รับประทานยาไมตรงเวลา รับประทานยาไมสม่ําเสมอ ลืมรับรับประทานยา รวมถึงการใชยาฉีดคุมกําเนิด - รับประทานยาเม็ดคุมกําเนิดในเวลาเดียวกันทุก วันและสม่ําเสมอ - อาการเลือดออกทางชองคลอดเปนสิ่งปกติที่ เกิดขึ้นไดในชวง 3 เดือนแรก หลังจากนั้นก็จะ ปกติหรือลดนอยลง - หากมีเลือดออกกะปริบกะปรอย เกิน 3 เดือน ควรปรึกษาแพทย เพื่อตรวจดูสาเหตุของ เลือดออกผิดปกติ เชน มะเร็งปากมดลูก และ เลือดออกผิดปกติ เชน มะเร็งปากมดลูก และ สาเหตุอื่น ๆ 5. ไมมีประจําเดือน ผูที่รับประทานยาเม็ดคุมกําเนิดที่มี - ในรายที่สงสัยวามีการตั้งครรภ ควรทดสอบ
  • 9. อาการขางเคียง แนวทางการปองกันและแกไข ฮอรโมนต่ํานานๆ อาจทําใหไมมีประจําเดือน นอกจากนี้ผูที่ใชยาฉีดคุมกําเนิดเปนระยะ เวลานาน แลวไมมีประจําเดือน เมื่อเปลี่ยนมาใช ยาเม็ดคุมกําเนิดแผงแรกๆ อาจทําใหยังไมมี ประจําเดือน เนื่องจากฤทธิ์ของยาฉีดคุมกําเนิด หรือในบางรายอาจมีการตั้งครรภ จากการ รับประทานยาไมถูกตอง การตั้งครรภ - ถาไมตั้งครรภและรับประทานยาอยางถูกตอง ยาอาจทําใหยังไมมีประจําเดือน เนื่องจากไมมี การสรางเยื่อบุมดลูก - ถาตั้งครรภใหหยุดรับประทานยา ซึ่งปริมาณ ของฮอรโมนที่อยูในยาเม็ดที่รับประทานเขาไป กอนหนานี้มีปริมาณนอยมาก จะไมเปนอันตราย ตอทารกในครรภ 6. การเปลี่ยนแปลงความดันโลหิต ผูที่รับประทานยาเม็ดคุมกําเนิดนาน หลายป มีแนวโนมที่จะเกิดความดันโลหิตสูง - เปลี่ยนไปใชยาเม็ดคุมกําเนิดที่มีเอสโตเจน ขนาดต่ํา ๆ - หมั่นตรวจติดตามวัดความดันโลหิตอยาง สม่ําเสมอ - ควบคุมและดูแลเรื่องอาหาร การออกกําลังกาย และการพักผอนลดความเครียด 7. น้ําหนักตัวเพิ่ม การรับประทานยาเม็ดคุมกําเนิดที่มี ฮอรโมนเอสโตรเจน ทําใหเกิดการคั่งของน้ําและ ไขมันใตผิวหนัง จึงมีแนวโนมน้ําหนักตัวเพิ่มขึ้น และฮอรโมนโปรเจสโตเจนที่มีฤทธิ์ฮอรโมนเพศ ชาย รวมถึงยาฉีดคุมกําเนิดทําใหอยาก รับประทานอาหารมากขึ้น - ควบคุมเรื่องการรับประทานอาหาร และการ ออกกําลังกาย - เปลี่ยนไปใชยาเม็ดคุมกําเนิดที่มีเอสโตเจน ขนาดต่ํา ๆ และโปรเจสโตเจนซึ่งไมมีผลตอการ คั่งของน้ํา 8. อารมณเปลี่ยนแปลง บางรายที่รับประทานยาเม็ดคุมกําเนิด อาจไดรับผลจากโปรเจสโตเจนหรือเอสโตรเจน ทําใหไดเกิดอาการซึมเศรา วิตกกังวล - หากมีอาการมากควรหยุดรับประทานยา - แนะนําใหผูใชยาไปปรึกษาจิตแพทย 9. อาการอาเจียนทองเสียรุนแรง ขณะใชยา เม็ดคุมกําเนิด อาเจียนดวยเหตุผลใดก็ตามภายใน 2 ชั่วโมง หลังรับประทานยาเม็ดที่มีฮอรโมน - ควรรับประทานยาเม็ดที่มีฮอรโมนซ้ําอีก
  • 10. อาการขางเคียง แนวทางการปองกันและแกไข อาเจียนอยางรุนแรง หรือทองเสียเปน เวลานานกวา 24 ชั่วโมง - ควรรับประทานยาเม็ดที่มีฮอรโมนตอไป (หาก ทําได) แมวาจะรูสึกไมสบาย - หากอาการอาเจียนอยางรุนแรง หรือทองเสีย ตอเนื่องตั้งแต 2 วันขึ้นไป ควรรับประทานยา ตามคําแนะนํา สําหรับผูที่ลืมรับประทานยา ใช วิธีคุมกําเนิดอื่นเสริมจนกวาจะหายอาเจียน หรือทองเสีย สําหรับการคุมกําเนิดในเพศชาย วิธีที่ใชกันมากคือ การใชถุงยาง (condom) และการทํา หมันชายโดยการตัดทอนําเชื้ออสุจิ ซึ่งคอนขางจะมีความยุงยาก ปจจุบันไดมีการวิจัยเพื่อพัฒนายา หรือสารที่ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ มีผลตอตัวอสุจิแตกตางกัน เพื่อใชเปนยาคุมกําเนิดเพศชาย เชน ฮอรโมนที่มีผลยับยั้งการสรางตัวอสุจิ โดยการใช GnRH analogues เพื่อกดการทํางานของตอม ใตสมอง สงผลใหระดับของเทสโทสเตอโรน (Testosterone) และอสุจิลดลง หรือสารที่ไมใชฮอรโมน ที่มีผลยับยั้งการสรางอสุจิ เปนตน ซึ่งในขณะนี้ก็ยังไมมียาคุมกําเนิดในเพศชายรูปแบบใดที่ใหผล แนนอนออกมาวางจําหนาย ซึ่งยังอยูในชวงของการศึกษาวิจัย สรุป ยาคุมกําเนิด มีประโยชนใชเพื่อปองกันการตั้งครรภ โดยมีสวนประกอบคือฮอรโมนเพศหญิง ทั้งนี้สามารถปองกันการตั้งครรภไดจากกลไกหลายอยาง เชน การยับยั้งการตกไข การเพิ่มปริมาณ และความหนืดของมูกบริเวณปากมดลูก สงผลใหลดโอกาสการปฏิสนธิ เปนตน ยาคุมกําเนิดแบงเปน 2 กลุมใหญคือ ยาชนิดรับประทานและยาฉีด การเลือกใชยาจะพิจารณาจากความเหมาะสมของแตละ บุคคล ผูใชยาควรใชยาใหถูกตองการคําแนะนําเพื่อใหสามารถคุมกําเนิดไดอยางมีประสิทธิภาพ คําถามทบทวน 1. จงอธิบายกลไกการปองกันการตั้งครรภของยาเม็ดคุมกําเนิด 2. จงระบุชื่อยาที่ใชในการคุมกําเนิดมาจํานวน 2 ชนิด 3. จงอธิบายความแตกตางของยาคุมกําเนิดฮอรโมนรวมชนิด 21 เม็ด และชนิด 28 เม็ด
  • 11. 4. จงอธิบายวิธีการใชยาคุมกําเนิดฉุกเฉิน 5. ยาฉีดคุมกําเนิดชนิด DMPA สามารถคุมกําเนิดไดเปนระยะเวลานานเทาใด 6. ผลขางเคียงที่สําคัญของการใชยาคุมกําเนิดมีอะไรบาง เอกสารอางอิง กองอนามัยการเจริญพันธุ กรมอนามัย. (2551). คูมือการใหบริการวางแผนครอบครัวสําหรับ เจาหนาที่สาธารณสุข. กรุงเทพฯ: โรงพิมพองคการสงเคราะหทหารผานศึก. ธันยารัตน วงศวนานุรักษ. (ม.ป.ป.). การคุมกําเนิด. [ออนไลน]. แหลงที่มา : http://www.si. mahidol.ac.th/sidoctor/epl/admin/article_files/575_1.pdf [20 มกราคม 2557]. นันทวรรณ กิติกรรณากรณ. (ม.ป.ป.). ยาคุมกําเนิด. เอกสารประกอบการสอน คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร. บุญเกิด คงยิ่งยศ และวีรพล คูคงวิริยพันธุ. (2541). เภสัชวิทยา สําหรับนักศึกษาวิทยาศาสตร สุขภาพเลม 1. พิมพครั้งที่ 3. ขอนแกน: โรงพิมพ คลังนานาวิทยา. วิศรุต บูรณสัจจะ. (ม.ป.ป.). ยาเม็ดคุมกําเนิดฉุกเฉิน. [ออนไลน]. แหลงที่มา : http://161. 200.184.9/Clinic101_5/article/Radio110.pdf [20 มกราคม 2557]. อัญชลี งานขยัน. (มิถุนายน 2546). “ยาคุมกําเนิดฉุกเฉิน.” สารสาระจากหองยา. 1(3) : 1-3.