SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
รู้ทัน...
“การแพ้ยา”
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
(Prince of Songkla University)
นศภ.ปัญญาพร เจริญรุ่งเรืองชัย
นศภ.ปรียานุช แก้วนา
Toxic Epidermal Necrolysis (TEN)
ผื่นจะขยายใหญ่ลุกลามออกอย่าง
รวดเร็วไปทั่วร่างกาย ผิวหนังจะหลุดออกอย่าง
ง่าย มักเกินกว่า 50%ของพื้นที่ผิวหนังทั้งหมด
มีการทาลายบริเวณเยื่อบุผิว เช่นปาก ตา
อวัยวะเพศมีแผล รวมทั้งทวารหนัก
ข้อปฏิบัติเมื่อเกิดอาการแพ้ยา
1. หยุดยาที่ใช้อยู่ทั้งหมดทันที
2. เก็บชื่อยาและตัวอย่างยาที่สงสัย
เอาไว้
3. รีบนาตัวอย่างยามาพบแพทย์
หรือเภสัชกรโดยเร็วที่สุดโดย
เภสัชกรจะเป็ นผู้ออกบัตรแพ้ยา
ให้แก่ผู้ป่ วย
แนวทางป้ องกันการแพ้ยา
สาหรับผู้ป่ วย
1.หากเคยเกิดอาการแพ้ยาและได้รับบัตรแพ้ยาจาก
โรงพยาบาลต้องพกติดตัวไว้และยื่นบัตรแพ้ยาทุก
ครั้งที่มาพบแพทย์
2.แจ้งแพทย์และเภสัชกรว่าแพ้ยา
3.หากมีอาการแพ้ยาเกิดขึ้ นให้ปฏิบัติตาม
วิธีการข้างต้น
เอกสารอ้างอิง
1. พรทิพา อิงคกุล, วสุ กาชัยเสถียร, สุวัฒน์ เบญจพลพิทักษ์. Drug
hypersensitivity syndrome [Internet]. [Cited 26 June 2014].
Available from http://www.med.cmu.ac.th/hospital/nis/km/
cops/knowledge/1409adr.pdf
2. มูนาดา แวนาแว. Adverse Drug Reaction [Internet]. [Cited 26
June 2014]. Available from http://www.pharmyaring.com/
uploadz/ADR_28_6_54.pdf
3. จันทิมา โยธาพิทักษ์. การจัดการผู้ป่วยที่เกิด ADR หรือมีประวัติ
ADR [Internet]. [Cited 1 July 2014]. Available from http://
www.aprchon.com/sites/default/files/Patientmanagement.pdf
หากท่านพบอาการ
 คลื่นไส้
 อาเจียน
 ง่วงนอน
 ท้องเสีย
อาการเหล่านี้ ไม่ใช่อาการที่เกิดจาก
การแพ้ยา แต่เป็นเพียงอาการไม่พึง
ประสงค์จากการใช้ยาเท่านั้น ซึ่ง
สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกคนที่ใช้ยา
การแพ้ยาคืออะไร
“การแพ้ยา” เป็นรูปแบบหนึ่งของ
อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา ที่เกิด
จากปฏิกิริยาภูมิคุ้มกันของร่างกายต่อต้าน
ยาที่ได้รับเข้าไป
ยาที่มักพบว่าทาให้เกิดอาการแพ้
 ยาต้านจุลชีพ หรือปฏิชีวนะ เช่น
Penicillin, Ampicillin,
Tetracycline, Streptomycin เป็นต้น
 ยาแก้ปวด เช่น Ibuprofen, Aspirin,
Mefenamic acid เป็นต้น
 ยาชา เช่น Xylocaine, Procaine
อาการของผื่นแพ้ยา
ผื่นลมพิษ (Urticaria)
รอยนูนแดงๆขนาดเล็ก มี
อาการคันมากผื่นจะค่อยๆขยายออก
มีขอบยกนูน ตรงกลางผื่นจะมีสีซีด
จางกว่าบริเวณรอบๆ
Angioedema (บวมน้ากดแล้วไม่บุ๋ม)
หลอดลมตีบ หนังตาบวม ริมฝีปาก
บวม หน้าบวม เรียกว่า Angioedema
Maculopapular rash (Macular rash and Papular rash)
ผื่นนูน สากมือ อาการคัน
เด่น เกิดร่วมกับผื่นราบโดยสีของ
ผิวหนังจะเปลี่ยนไปจากเดิมอาจเป็น
สีแดง ดา น้าตาล ม่วง
Fixed drug eruptions
เป็นผื่นแพ้ยาชนิดเดียวเท่านั้นที่
มีสาเหตุมาจากยา
ผื่นจะมีรูปร่างกลม ขอบซีด สี
แดงจัด จนตรงกลางของผื่นอาจ
เปลี่ยนเป็นสีแดงคล้าเมื่อได้รับ
ยาที่เป็นสาเหตุอีกในครั้งต่อมา
จะปรากฏผื่นที่บริเวณเดิมทุกครั้ง ผื่นจะเกิดขึ้น 30 นาที
แต่มักไม่นานเกิน 24 ชั่วโมง
Steven Johnson Syndrome
ผื่นแดงและลอก บริเวณเยื่อบุผิว เช่น
ปาก ตา อวัยวะเพศมีแผล รวมทั้งทวารหนัก

More Related Content

Viewers also liked

มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์ มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์ Utai Sukviwatsirikul
 
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาสอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาduangkaew
 
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียคู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียUtai Sukviwatsirikul
 
Antibiotics Smart Use Program
Antibiotics Smart Use ProgramAntibiotics Smart Use Program
Antibiotics Smart Use ProgramSagar Nama
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...Rachanont Hiranwong
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมRachanont Hiranwong
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554Utai Sukviwatsirikul
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 

Viewers also liked (13)

มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์ มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
 
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาสอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
 
Adr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoringAdr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoring
 
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียคู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
 
Antibiotics Smart Use Program
Antibiotics Smart Use ProgramAntibiotics Smart Use Program
Antibiotics Smart Use Program
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
 
Ppt. med error.2
Ppt. med error.2Ppt. med error.2
Ppt. med error.2
 
Antibiotic_1
Antibiotic_1 Antibiotic_1
Antibiotic_1
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 

รู้ทันการแพ้ยา...drug allergy&hypersensitivity^^

  • 1. รู้ทัน... “การแพ้ยา” มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (Prince of Songkla University) นศภ.ปัญญาพร เจริญรุ่งเรืองชัย นศภ.ปรียานุช แก้วนา Toxic Epidermal Necrolysis (TEN) ผื่นจะขยายใหญ่ลุกลามออกอย่าง รวดเร็วไปทั่วร่างกาย ผิวหนังจะหลุดออกอย่าง ง่าย มักเกินกว่า 50%ของพื้นที่ผิวหนังทั้งหมด มีการทาลายบริเวณเยื่อบุผิว เช่นปาก ตา อวัยวะเพศมีแผล รวมทั้งทวารหนัก ข้อปฏิบัติเมื่อเกิดอาการแพ้ยา 1. หยุดยาที่ใช้อยู่ทั้งหมดทันที 2. เก็บชื่อยาและตัวอย่างยาที่สงสัย เอาไว้ 3. รีบนาตัวอย่างยามาพบแพทย์ หรือเภสัชกรโดยเร็วที่สุดโดย เภสัชกรจะเป็ นผู้ออกบัตรแพ้ยา ให้แก่ผู้ป่ วย แนวทางป้ องกันการแพ้ยา สาหรับผู้ป่ วย 1.หากเคยเกิดอาการแพ้ยาและได้รับบัตรแพ้ยาจาก โรงพยาบาลต้องพกติดตัวไว้และยื่นบัตรแพ้ยาทุก ครั้งที่มาพบแพทย์ 2.แจ้งแพทย์และเภสัชกรว่าแพ้ยา 3.หากมีอาการแพ้ยาเกิดขึ้ นให้ปฏิบัติตาม วิธีการข้างต้น เอกสารอ้างอิง 1. พรทิพา อิงคกุล, วสุ กาชัยเสถียร, สุวัฒน์ เบญจพลพิทักษ์. Drug hypersensitivity syndrome [Internet]. [Cited 26 June 2014]. Available from http://www.med.cmu.ac.th/hospital/nis/km/ cops/knowledge/1409adr.pdf 2. มูนาดา แวนาแว. Adverse Drug Reaction [Internet]. [Cited 26 June 2014]. Available from http://www.pharmyaring.com/ uploadz/ADR_28_6_54.pdf 3. จันทิมา โยธาพิทักษ์. การจัดการผู้ป่วยที่เกิด ADR หรือมีประวัติ ADR [Internet]. [Cited 1 July 2014]. Available from http:// www.aprchon.com/sites/default/files/Patientmanagement.pdf
  • 2. หากท่านพบอาการ  คลื่นไส้  อาเจียน  ง่วงนอน  ท้องเสีย อาการเหล่านี้ ไม่ใช่อาการที่เกิดจาก การแพ้ยา แต่เป็นเพียงอาการไม่พึง ประสงค์จากการใช้ยาเท่านั้น ซึ่ง สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกคนที่ใช้ยา การแพ้ยาคืออะไร “การแพ้ยา” เป็นรูปแบบหนึ่งของ อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา ที่เกิด จากปฏิกิริยาภูมิคุ้มกันของร่างกายต่อต้าน ยาที่ได้รับเข้าไป ยาที่มักพบว่าทาให้เกิดอาการแพ้  ยาต้านจุลชีพ หรือปฏิชีวนะ เช่น Penicillin, Ampicillin, Tetracycline, Streptomycin เป็นต้น  ยาแก้ปวด เช่น Ibuprofen, Aspirin, Mefenamic acid เป็นต้น  ยาชา เช่น Xylocaine, Procaine อาการของผื่นแพ้ยา ผื่นลมพิษ (Urticaria) รอยนูนแดงๆขนาดเล็ก มี อาการคันมากผื่นจะค่อยๆขยายออก มีขอบยกนูน ตรงกลางผื่นจะมีสีซีด จางกว่าบริเวณรอบๆ Angioedema (บวมน้ากดแล้วไม่บุ๋ม) หลอดลมตีบ หนังตาบวม ริมฝีปาก บวม หน้าบวม เรียกว่า Angioedema Maculopapular rash (Macular rash and Papular rash) ผื่นนูน สากมือ อาการคัน เด่น เกิดร่วมกับผื่นราบโดยสีของ ผิวหนังจะเปลี่ยนไปจากเดิมอาจเป็น สีแดง ดา น้าตาล ม่วง Fixed drug eruptions เป็นผื่นแพ้ยาชนิดเดียวเท่านั้นที่ มีสาเหตุมาจากยา ผื่นจะมีรูปร่างกลม ขอบซีด สี แดงจัด จนตรงกลางของผื่นอาจ เปลี่ยนเป็นสีแดงคล้าเมื่อได้รับ ยาที่เป็นสาเหตุอีกในครั้งต่อมา จะปรากฏผื่นที่บริเวณเดิมทุกครั้ง ผื่นจะเกิดขึ้น 30 นาที แต่มักไม่นานเกิน 24 ชั่วโมง Steven Johnson Syndrome ผื่นแดงและลอก บริเวณเยื่อบุผิว เช่น ปาก ตา อวัยวะเพศมีแผล รวมทั้งทวารหนัก