SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Chapter 27
Screening for
sexual health
problem
NUNANONG RODCHEUY
3 OCT 2016
ปัญหาสุขภาพทางเพศ
– พบได้บ่อย
– ผู้ป่วยมักมาด้วยอาการหลายหลาย ไม่ตรงไปตรงมา
– แพทย์ควรซักถามข้อมูลเสมือนว่าใครๆก็มีปัญหาอย่างนี้ได้
ปัจจัยที่ทาให้แพทย์ลังเลที่จะคัดกรองปัญหาสุขภาพทางเพศ
1. ไม่มีการสอนทักษะการซักประวัติสุขภาพทางเพศอย่างต่อเนื่อง
2. อายุน้อย ไม่มีประสบการณ์ทางเพศ จึงไม่สะดวกใจที่จะพูดคุยกับผู้ป่วย
3. รู้สึกกระดากอายและเชื่อว่าเป็นเรื่องส่วนตัวที่ไม่เกี่ยวข้องกับอาการสาคัญ
4. กลัวว่าถามแล้วไม่รู้จะทาอย่างไรต่อ
5. สภาพสังคมและวัฒนธรรมทาให้เรื่องเพศเป็นเรื่องที่ควรปกปิด
ความชุกของปัญหาสุขภาพทางเพศในเวชปฏิบัติ
– เกินกว่าครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยใหม่มีปัญหาสุขภาพทางเพศ
– อายุและเพศของผู้ป่วยไม่มีผลต่อความชุกของปัญหาสุขภาพทางเพศ
– แพทย์ที่ถูกฝึกให้ถามคัดกรองปัญหาสุขภาพทางเพศ จะค้นหาปัญหาได้มากกว่า
– แพทย์ทั้ง 2 กลุ่ม มีแนวโน้มจะซักถามปัญหาทางเพศในกลุ่มผู้ป่วยที่มีอายุน้อยกว่า 40ปี
– 90% ของผู้ป่วยรู้สึกว่าเป็นการเหมาะสมที่แพทย์จะถามปัญหาทางเพศในการซักประวัติความเจ็บป่วย
– 40% ต้องการให้แพทย์ติดตามซักถามปัญหาสุขภาพทางเพศอีก
ทาไมต้องคัดกรองปัญหาสุขภาพทางเพศในเวชปฏิบัติ
1. เกี่ยวข้องกับ morbidity และ mortality
2. อาจเป็นการแสดงของความเจ็บป่วยมิติอื่น
3. อาจเป็นผลข้างเคียงจากการใช้ยาโรคประจาตัว เช่น ยาลดความดันโลหิต
4. ปัญหาสุขภาพทางเพศในอดีต อาจเป็นสาเหตุของปัญหาสุขภาพที่เป็นอาการสาคัญในปัจจุบัน
5. เมื่อเกิดปัญหาสุขภาพทางเพศแล้วไม่ได้รับคาปรึกษา อาจก่อปัญหาตลอดชีวิต
6. ส่วนใหญ่ไม่ใช่โรคที่ต้องรักษาด้วยยาเสมอไป มักเป็นเรื่องของความสัมพันธ์ที่ไม่ลงรอยกัน
7. เกี่ยวข้องกับทุกข์หรือสุขในปัจจุบันของผู้ป่วย นับเป็นมิติหนึ่งใน “สุขภาพ”
หลักการถามประวัติสุขภาพทางเพศ
1. สร้างสัมพันธ์อันดี ทาให้รู้สึกว่าเป็นการสัมภาษณ์เพื่อทาความเข้าใจ
2. ขออนุญาตถามเรื่องส่วนตัว หรือเรื่องเพศในโอกาสอันเหมาะสม
3. ใช้ภาษาทางการ เพื่อให้ผู้ป่วยกล้าพูดตรงๆ
4. คานึงถึงความลับส่วนตัวของผู้ป่วย การบันทึกลงเวชระเบียนอย่างเหมาะสม
5. คาถามที่เฉพาะเจาะจงลงรายละเอียดพฤติกรรมทางเพศ อาจรอถามเมื่อผู้ป่วยเริ่มคุ้นชินกับการสัมภาษณ์
6. ระวังท่าทีขณะสัมภาษณ์ที่จะไม่แสดงออกถึงอาการรังเกียจ อึ้ง ทึ่ง ต่อพฤติกรรมที่แพทย์ไม่คุ้นเคย
7. หากผู้ป่วยต้องการคาอธิบายหรือคาปรึกษา จึงค่อยอธบายตามที่ผู้ป่วยต้องการ
8. ซักถามเรื่องความรู้สึกของผู้ป่วย และแนวทางแก้ไข
9. ช่วยให้ผู้ป่วยวิเคราะห์ปัญหาใหม่ ว่าอยู่ที่เพศสัมพันธ์ หรือความสัมพันธ์ด้านอื่นของคู่ครอง
แนวคาถามคัดกรองปัญหาสุขภาพทางเพศ
1. “หมอขอถามประวัติเกี่ยวกับเรื่องเพศของคุณสักหน่อยได้ไหมคะ”
2. “ในช่วงเวลา 2-3 เดือนที่ผ่านมา คุณมีความสัมพันธ์ทางเพศกับใครบ้างหรือเปล่าคะ”
3. “คนคนนั้นมีความสัมพันธ์เป็นอะไรกับคุณคะ และเขาเป็นผู้ชาย ผู้หญิง หรือทั้ง 2 เพศคะ”
4. “แล้วคุณกับเขามีปัญหาเรื่องเพศอะไรที่อยากปรึกษาหมอหรือเปล่าคะ”
การแยกแยะปัญหาสุขภาพเรื่องเพศ
1. Sexual difficulties or dissatisfaction
2. Sexual dysfunction
3. Sexual disorder
การแยกแยะปัญหาสุขภาพเรื่องเพศ
Sexual difficulties or dissatisfaction
– คู่เลือกเวลามีเพศสัมพันธ์ไม่เหมาะสม
– ไม่รู้สึกผ่อนคลายเต็มที่
– นอกใจ
– ไม่สนใจ หรือไม่ชอบเรื่องเพศสัมพันธ์
– รสนิยมการมีเพศสัมพันธ์ไม่ตรงกัน
– ไม่มีการเล้าโลมให้มีอารมร์ร่วมก่อนมีเพศสัมพันธ์
– ไม่ถึงจุดสุดยอด
การแยกแยะปัญหาสุขภาพเรื่องเพศ
Sexual dysfunction
– ไม่สนใจการมีเพศสัมพันธ์เลย
– กลัวความผิดพลาด กลัวทาไม่ได้
– พยายามเอาใจคู่นอนมากเกินไป
– ปัญหาการสื่อสารระหว่างคู่ครอง ไม่บอกสิ่งที่ตัวเองต้องการให้คู่รับทราบ
– ปัญหาความสัมพันธ์คู่ครองด้านอื่นๆนามาก่อน เช่น จับได้ว่านอกใจ
– ประสบการณ์ไม่ดีเกี่ยวกับเรื่องเพศในอดีต เช่น ถูกทาร้าย ถูกข่มขืน ทาแท้ง
– คู่มีลักษณะเหมือนใครบางคนในอดีต (transference)
การแยกแยะปัญหาสุขภาพเรื่องเพศ
Sexual disorder
– มีความต้องการทางเพศมากเกินกว่าปกติ
– พฤติกรรมทางเพศแปลกประหลาด ใช้เครื่องมือหรืออาวุธที่ทาให้อีกฝ่ายหวาดกลัว เจ็บปวด มีความ
รุนแรง ชอบมีเพศัสมพันธ์กับเด็ก สัตว์ สิ่งของ
สิ่งที่ต้องประเมินในปัญหาสุขภาพทางเพศ
1. รายละเอียดของปัญหาสุขภาพทางเพศ
2. วิธีปฏิบัติของการมีเพศสัมพันธ์
3. อารมณ์และพฤติกรรมที่เกิดขึ้น
4. ความสัมพันธ์ด้านต่างๆกับคู่
5. ประวัติการมีเพศสัมพันธ์เดิม หรือพัฒนาการทางเพศในอดีต
6. ประวัติความเจ็บป่วยด้านอื่น โรคประจาตัว
7. ตรวจร่างกายและตรวจเพิ่มเติมทางห้องปฏิบัติการเท่าที่จาเป็น
รายละเอียดของปัญหาสุขภาพเรื่องเพศ
1. ระยะเวลาที่เริ่มรู้สึกว่ามีปัญหา : life-long, acquired
2. เหตุการณ์ในขณะที่เกิดปัญหา : generalization, situational
3. คาบรรยายลักษณะของปัญหาที่เกิดขึ้น
4. การตอบสนองทางเพศของผู้ป่วยติดขัดในระยะใด (Patient’s sex response cycle)
5. การตอบสนองทางเพศของคู่ติดขัดที่ระยะใด (Partner’s sex response cycle)
6. ผู้ป่วยและคู่มีปฏิกิริยาอย่างไรต่อปัญหาที่เกิดขึ้น
7. ความต้องการที่จะแก้ไขปัญหาสุขภาพทางเพศ
กรณีศึกษา
กรณีที่ 1
หญิงไทยคู่อายุ 29 ปี มีอาการปวดท้องน้อยก่อนมาโรงพยาบาล เป็นๆหายๆ ตรวจมาหลาย
โรงพยาบาลไม่พบสาเหตุ เมื่อสอบถามเรื่องทั่วๆไป เช่น ปัจจุบันทางานอะไร ความเจ็บป่วยมีผลต่อการ
ทางานหรือไม่ อาศัยอยู่กับใครบ้าง สมาชิกครอบครัวรับทราบความเจ็บป่วยหรือไม่
“กับสามีไม่มีอะไรทะเลาะกันนะคะ เขาก็ดีกับเรามากๆ จนรู้สึกไม่ดีว่าทาหน้าที่เป็นภรรยาที่ดี
ให้เขาไม่ได้”
“เกิดอะไรขึ้นคะ”
“คือตอนนี้ย้ายกลับมาอยู่กับแม่ตัวเอง กาลังคิดอยู่ว่าชีวิตจะเอาอย่างไรต่อไปดี ปกติเวลาสามี
ทางานกลับมาบ้าน ก็ดูแลเราดี แต่เวลาเขาอยากแล้วเราให้เขาไม่ได้ มันเจ็บมาก ไม่อยากเข้าบ้านเลย”
กรณีศึกษา
กรณีที่ 1
เมื่อซักถามจึงได้ข้อมูลเพิ่มเติมว่า มีบุตรด้วยกันแล้ว 4 คน เป็นหญิงล้วน มารดาของสามี
เป็นคนจีน ต้องการได้หลานชายอย่างมาก ทั้งยังคอยกากับให้ลูกชายให้มีหลานชายไวๆ ถ้าได้
หลานชายย่าจะเอาไปเลี้ยงเอง
ขณะนี้ลูกสาววัยซน 4 คน ผู้ป่วยต้องเป็นคนเลี้ยงเองทั้งหมด สามีทางานนอกบ้าน ผู้ป่วย
รู้สึกว่าสามีไม่ร่วมรับผิดชอบในการเลี้ยงลูก ทาให้ไม่อยากมีลูกเพิ่มขึ้น ทั้งยังกลัวว่ามารดาของสามีจะ
มาแย่งลูกชายไป เวลามีเพศสัมพันธ์บางทีก็อยากมี มีแล้วมีความสุข แต่เมื่อนึกถึงว่ามารดาสามีอยากได้
หลานชายและจะมาแย่งไป ทาให้ไม่อยากมีเพศสัมพันธ์
กรณีศึกษา
กรณีที่ 2
หญิงไทยคู่ อายุ 52 ปี มาปรึกษาแพทย์ด้วยเรื่องอาการเจ็บป่วยที่ไม่จาเพาะเจาะจงบ่อยครั้ง
เมื่อสอบถามเรื่องส่วนตัวพบว่า
“กับสามีก็เป็นคนดี แต่เรื่องอย่างว่ามากไปหน่อย วันๆสากิดจนไม่เป็นอันทาอะไร ทางาน
บ้านอยู่ ขายของหน้าร้านอยู่ คุยกับคนอื่นอยู่ก็มาสะกิดได้วันละ 4-5ครั้ง เมื่อไหร่เขาจะวัยทองซะที ยิ่ง
ระยะหลังมานี่ต้องการถี่ขึ้นอีก เคยขอให้ไปมีเมียน้อยก็ไม่ยอม จนฉันต้องหาเมียน้อยวัย 23 ไว้ให้ใน
บ้าน เลี้ยงอย่างดีเลยนะ อยู่มาได้ไม่กี่น้า เมื่อวานซืนเมียน้อยบอกขอคืนให้ รับไม่ไหวแล้ว จะกลับบ้าน
แล้ว กลุ้มใจไม่รู้จะทายังไง ถ้าเมียน้อยไม่อยู่ ฉันก็แย่น่ะสิ ให้ไปเที่ยวก็ไม่เอา เขากลัวเอดส์ ฉันก็กลัว
เมียน้อยที่หามาให้นี่เช็คให้แล้วนะ”

More Related Content

Similar to Handbook chapter 27

รายการสาคดี
รายการสาคดีรายการสาคดี
รายการสาคดีWichuta Junkhaw
 
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11wichien wongwan
 
Ebook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่น
Ebook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่นEbook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่น
Ebook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่นPanda Jing
 
Ebook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่น
Ebook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่นEbook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่น
Ebook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่นPanda Jing
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Nan Natni
 
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาPICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาsongsri
 
การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยOzone Thanasak
 
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชเรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชKanti Bkk
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
โรคเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ
โรคเสื่อมสมรรถภาพทางเพศโรคเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ
โรคเสื่อมสมรรถภาพทางเพศWan Ngamwongwan
 
เด็กพิการซ้ำซ็อน
เด็กพิการซ้ำซ็อนเด็กพิการซ้ำซ็อน
เด็กพิการซ้ำซ็อนDarika Roopdee
 
อ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อนอ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อนNooa Love
 
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยาศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยาUtai Sukviwatsirikul
 

Similar to Handbook chapter 27 (20)

รายการสาคดี
รายการสาคดีรายการสาคดี
รายการสาคดี
 
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
 
Ebook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่น
Ebook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่นEbook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่น
Ebook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่น
 
Ebook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่น
Ebook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่นEbook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่น
Ebook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่น
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
 
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาPICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
 
การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วย
 
Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
Case schizophrenia 28 ก.ย. 54Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
 
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชเรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
 
Example osce
Example osceExample osce
Example osce
 
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลายสุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
โรคเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ
โรคเสื่อมสมรรถภาพทางเพศโรคเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ
โรคเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ
 
เด็กพิการซ้ำซ็อน
เด็กพิการซ้ำซ็อนเด็กพิการซ้ำซ็อน
เด็กพิการซ้ำซ็อน
 
อ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อนอ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อน
 
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยาศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
 
สุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษาสุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษา
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 4
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 4ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 4
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 4
 

Handbook chapter 27