SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
Chapter33-34
การแจ้งข่าวร้าย
ไม่ให้ร้าย
NUNANONG RODCHEUY
23 AUGUST 2016
การแจ้งข่าวร้ายไม่ให้ร้าย
Family medicine handbook
Chapter 33
การแจ้งข่าวร้ายไม่ให้ร้าย
– ปัจจุบันเทคโนโลยีทางการแพทย์ก้าวล้าหน้าไปมากมาย
– แพทย์จึงเผชิญกับภาวะที่ผู้ป่วยและญาติควาดหวังสูงขึ้น
– ความกลัวของแพทย์เป็นปัจจัยสาคัญอย่างหนึ่งที่ทาให้เกิดความห่างเหิน และขาดการ
สื่อสารระหว่างกัน
– จริงหรือที่ผู้ป่วยไม่ต้องการรับรู้วินิจฉัยโรคของตนเอง?
ความแตกต่างระหว่างความปรารถนาของผู้รับข่าว(ผู้ป่วย)
กับความกลัวของผู้แจ้งข่าว(แพทย์)
– เมื่อป่วยด้วยโรคมะเร็งขั้นลุกลาม
– แพทย์ทุกคนต้องการรู้วินิจฉัยโรค
– 26%ของแพทย์ชาวยุโรป และ18%ของแพทย์ชาวอเมริกาใต้ คิดว่าผู้ป่วยต้องการรู้
วินิจฉัยโรค
– แพทย์ควรประเมินความต้องการที่จะรับทราบข้อมูลของผู้ป่วยเป็นรายบุคคล ซึ่งจะขึ้นอยู่
กับทักษะการแก้ไขปัญหาชีวิตของบุคคลนั้นๆ
– การปิดบังข่าวร้าย จะส่งผลให้ผู้ป่วยจมอยู่กับความกังวล อาจมีผลต่อการดาเนินของโรค
และบดบังความเจ็บป่วยอื่นที่ไม่ได้ถูกสื่อสารออกมา
ข่าวร้ายคืออะไร
– ข่าวที่ก่อให้เกิดผลกระทบอย่างใหญ่หลวงต่อการมองอนาคตของบุคคลหนึ่งๆ
– หลักการ โดย Robert Buckman
1. ข่าวนั้นจะ “ร้าย” เพียงใดขึ้นอยู่กับ สิ่งที่คาดหวังไว้ แตกต่างจาก ความเป็นจริง มากเท่าใด
2. วิธีที่จะแจ้งข่าวนั้นให้“ร้าย” เพียงใด ก็ขึ้นกับถามก่อนหรือเปล่าว่าผู้นั้นคาดหวังอะไรไว้
วัตถุประสงค์ของการแจ้งข่าวร้าย
– เพื่อให้ตนเองโล่งอก?
– เพื่อเป็นประโยชน์กับผู้ป่วย?
– ประเมินผู้ป่วยแล้วหรือยังว่าจะสามารถนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ได้จริง
– ความคิดความอ่าน เรื่องราวต่างๆ และความคาดหวัง
– ไม่ใช่การปลดภาระหน้าที่และทิ้งให้ผู้ป่วยเผชิญชะตากรรมตามลาพัง
– มุ่งเน้นการรักษาคน แม้ว่าโรครักษาไม่ได้ แต่คนยังรักษาได้ ยังไม่ตาย
ขั้นตอนการแจ้งข่าวร้ายด้วย SPIKES
1. Setting
2. Perception
3. Invitation
4. Knowledge
5. Empathy
6. Summary and strategy
1. Setting
– สถานที่ส่วนตัว
– ปิดโทรศัพท์
– อาจให้มีบุคคลที่ผู้ป่วยคิดว่าสาคัญ และต้องการให้อยู่รับรู้ด้วย หรือเป็นกาลังใจ
– นั่งในระดับเดียวกัน สบตา ตั้งใจพูดคุย ไม่วอกแวก
– แสดงท่าทีเป็นมิตร ให้เกียรติผู้ป่วย
– ควรหาเวลาที่ไม่รีบร้อน เพื่อให้เวลาผู้ป่วยเต็มที่
2. Perception
– ประเมินผู้ป่วย
– คิดอย่างไรต่อการเจ็บป่วย เป็นโรคอะไร รุนแรงเพียงใด ทาไมจึงคิดเช่นนั้นมีอาการ
อะไรบ้างที่ทาให้คิดเช่นนั้น
– เคยมีประสบการณ์หรือรู้อะไรมาก่อนหน้าเกี่ยวกับโรคนั้นบ้าง แล้วรู้สึกอย่างไรกับโรค
นั้นๆ
3. Invitation
– ถามโดยตรง หรือประเมินว่าผู้ป่วยต้องการรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับความเจ็บป่วยของตนเอง
– ผู้ป่วยบางรายอาจแสดงท่าทีหลีกเลี่ยงที่จะรับรู้
– เปลี่ยนประเด็นการพูด
– ใช้คาที่มีความหมายนัยๆแทนชื่อโรค
ทาให้ประเมินได้ว่าขณะนั้นผู้ป่วยอาจยังไม่พร้อมจะรับฟังข่าวร้าย
4. Knowledge
– ก่อนแจ้งข่าวร้าย ให้ส่งสัญญาณเตือนก่อนเพื่อให้ได้ทาใจขั้นต้น
“ผลการตรวจเพิ่งกลับมา หมอดูผลแล้วค่อนข้างเป็นห่วง”
– หลีกเลี่ยงศัพท์ทางการแพทย์ที่ฟังแล้วไม่เข้าใจ
– การแจ้งข่าวร้ายให้ทาไปทีละขั้นตอน พร้อมตรวจสอบว่าผู้ป่วยเข้าใจอย่างไร
– คอยสังเกตอากัปกิริยาของผู้ป่วย ประเมินว่ายังต้องการจะทราบต่ออีกหรือไม่ และมี
ประโยชน์ที่จะแจ้งต่อหรือไม่
5. Empathy
– เงียบฟัง และสังเกตปฏิกิริยาหลังแจ้งข่าวร้าย
– สะท้อนความรู้สึกที่ตรงกับผู้ป่วย ณ เวลานั้น
– หากผู้ป่วยร้องไห้เงียบๆ เสียงเครือๆ ให้ยื่นกระดาษทิชชูโดยเร็ว
– ผู้ป่วยไม่ผิดที่จะรู้สึกเสียใจต่อข่าวร้ายของตนเอง ไม่ผิดที่จะร้องไห้
“หมอเข้าใจว่ามันยากที่จะยอมรับมัน”
6. Summary and Strategy
– เมื่อผู้ป่วยมีท่าทีที่สบายขึ้น ควรเริ่มสรุปข้อมูลที่กระชับ และเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยถาม
– วางแผนระยะสั้นเพื่อการดูแลต่อเนื่องร่วมกัน
– การตรวจเพิ่มเติม
– การรักษา ทางเลือกการรักษา
– การส่งปรึกษาต่อ
– การนัดหมายครั้งต่อไป
– การติดต่อกันหากมีคาถามเพิ่มเติม
– ยืนยันว่าจะอยู่เคียงข้าง พร้อมหาทางเลือกทุกอย่างที่เป็นไปได้มาดูแลโดยไม่ทอดทิ้ง
ตัวอย่างบทสนทนาเรื่องการแจ้งข่าวร้าย
– ผู้ป่วยชายไทย 74ปี มีอาการปวดท้องทะลุหลังเรื้อรังมาหลายเดือน รักษาหลายที่ไม่ดีขึ้น
กินได้น้อย ผอมลง ในการตรวจครั้งนี้แพทย์สงสัยว่าจะเป็นมะเร็งตับอ่อน เนื่องจาก
ประวัติเจ็บป่วยยาวนาน และมีอาการน่าสงสัยหลายอย่าง ระหว่างการตรวจร่างกายคลา
พบก้อนกลางท้องขนาดใหญ่ ผู้ป่วยเอะใจกับท่าทีของแพทย์
ผู้ป่ วย: “หมอ บอกมาเลยว่าผมเป็นอะไรแน่ ผมรับได้ผมคิดแล้วว่ามันต้องไม่ดี ไอ้หมอที่
ผ่านมามันชุ่ย ตัวผมมันยังไม่จับต้องอะไรเลย แล้วมาบอกว่าไม่เป็นอะไร ถ้าเป็นอะไรละก็
ผมฟ้องเป็นหางว่าวแน่ เอาให้เป็นคดีตัวอย่าง จะได้ไม่ชุ่ยกันอย่างนี้อีก”
แพทย์: “ใจเย็นๆค่ะ หมอยังไม่มั่นใจนัก คงต้องรอส่งตรวจเพิ่มเติมก่อน หมอเข้าใจว่าคุณคง
โกรธและผิดหวังที่รักษามานานแล้วยังไม่ได้คาตอบ ถ้ามาได้คาตอบที่ไม่ค่อยดีตอนนี้ มันคง
ยากจะยอมรับ แต่ที่คุณคิดอยู่แล้วนี่ มันเป็นโรคอะไรคะ”
ผู้ป่ วย: “โธ่ หมอ ผมอายุปูนนี้แล้ว เห็นมาหมดแล้ว พ่อผมก็เสียด้วยมะเร็งตับ อาการมันก็
เหมือนกันอย่างนี้ เพียงแต่ท่านตัวเหลือง ท้องโตมากด้วย แต่เริ่มแรกก็อาการเหมือนกัน ผม
พาพ่อไปรักษา และเฝ้าพยาบาลจนท่านสิ้นลมไปกับมือตัวเอง”
แพทย์: “หมอเสียใจด้วยค่ะ เหตุการณ์นั้นนานหรือยังคะ”
ผู้ป่ วย: “เกือบ 10ปีแล้วหมอ แต่ยังติดตาอยู่ตลอด พ่อผมตายเพราะหมอชุ่ย ผ่าตัดเสร็จท่านก็
สิ้นลม ไม่ได้กลับบ้านอีกเลย ท่านบ่นอยากกลับบ้านแต่ผมตื๊อให้ท่านผ่าตัดตามคาแนะนา
ของหมอ หมอไม่บอกสักคาว่าผ่าตัดอาจไม่สาเร็จ ถ้ารู้ว่าเสี่ยงก็จะไม่ให้ท่านผ่า ท่านอยู่ของ
ท่านมาได้ตั้งนาน ถ้าให้ตายไปพร้อมกับมะเร็ง ก็อาจจะอยู่ได้นานกว่านี้”
แพทย์: “คุณเลยรู้สึกผิด และเสียใจกับเหตุการณ์นั้น แม้ว่าตอนนี้เรายังต้องรอผลตรวจ
เพิ่มเติมของคุณ แต่คุณคิดอย่างไรบ้างคะ ถ้าโรคที่คุณคิด เช่นมะเร็งแบบพ่อคุณมันเป็นขึ้นมา
จริงๆ”
ผู้ป่ วย: “ไม่เป็นไรหรอกหมอ อะไรจะเกิดมันก็ต้องเกิด ขอเพียงแต่ให้หมอบอกผมตรงๆก็
พอ อย่าหลอกผมเหมือนที่พ่อผมโดน มีอะไรก็ให้บอก ผมจะได้เลือกทางของผมได้ ไม่ใช่ให้
คนอื่นมาเลือกให้ผม ผมยังมีอะไรอีกหลายอย่างที่ต้องจัดการก่อนตาย คนอื่นทาแทนไม่ได้
ตอนนี้ก็เริ่มสะสางไปบ้างแล้ว”
แพทย์: “ได้ค่ะ เอาไว้เมื่อผลตรวจกลับมา หมอจะแจ้งให้คุณทราบเป็นคนแรก และเราค่อย
คิดหาหนทางกันอีกที ว่าแต่คุณอยากให้ใครรับรู้เรื่องนี้อีกหรือเปล่าคะ คุณพาเขามาฟังด้วยก็
ได้คราวหน้า เข้าจะได้ไม่ตกอกตกใจภายหลังหรือถ้าต้องอยู่ดูแลคุณ”
วิเคราะห์
ตัวอย่างบทสนทนาเรื่องการแจ้งข่าวร้าย
– ผู้ป่วยชายไทย 74ปี มีอาการปวดท้องทะลุหลังเรื้อรังมาหลายเดือน รักษาหลายที่ไม่ดีขึ้น
กินได้น้อย ผอมลง ในการตรวจครั้งนี้แพทย์สงสัยว่าจะเป็นมะเร็งตับอ่อน เนื่องจาก
ประวัติเจ็บป่วยยาวนาน และมีอาการน่าสงสัยหลายอย่าง ระหว่างการตรวจร่างกายคลา
พบก้อนกลางท้องขนาดใหญ่ ผู้ป่ วยเอะใจกับท่าทีของแพทย์
Perception
ผู้ป่ วย: “หมอ บอกมาเลยว่าผมเป็นอะไรแน่ ผมรับได้ผมคิดแล้วว่ามันต้องไม่ดี ไอ้หมอที่
ผ่านมามันชุ่ย ตัวผมมันยังไม่จับต้องอะไรเลย แล้วมาบอกว่าไม่เป็นอะไร ถ้าเป็นอะไรละก็
ผมฟ้องเป็นหางว่าวแน่ เอาให้เป็นคดีตัวอย่าง จะได้ไม่ชุ่ยกันอย่างนี้อีก”
แพทย์: “ใจเย็นๆค่ะ หมอยังไม่มั่นใจนัก คงต้องรอส่งตรวจเพิ่มเติมก่อน หมอเข้าใจว่าคุณคง
โกรธและผิดหวังที่รักษามานานแล้วยังไม่ได้คาตอบ ถ้ามาได้คาตอบที่ไม่ค่อยดีตอนนี้ มันคง
ยากจะยอมรับ แต่ที่คุณคิดอยู่แล้วนี่ มันเป็นโรคอะไรคะ”
Perception
Perception
Empathy
ผู้ป่ วย: “โธ่ หมอ ผมอายุปูนนี้แล้ว เห็นมาหมดแล้ว พ่อผมก็เสียด้วยมะเร็งตับ อาการมันก็
เหมือนกันอย่างนี้ เพียงแต่ท่านตัวเหลือง ท้องโตมากด้วย แต่เริ่มแรกก็อาการเหมือนกัน ผม
พาพ่อไปรักษา และเฝ้าพยาบาลจนท่านสิ้นลมไปกับมือตัวเอง”
แพทย์: “หมอเสียใจด้วยค่ะ เหตุการณ์นั้นนานหรือยังคะ”
ผู้ป่ วย: “เกือบ 10ปีแล้วหมอ แต่ยังติดตาอยู่ตลอด พ่อผมตายเพราะหมอชุ่ย ผ่าตัดเสร็จท่านก็
สิ้นลม ไม่ได้กลับบ้านอีกเลย ท่านบ่นอยากกลับบ้านแต่ผมตื๊อให้ท่านผ่าตัดตามคาแนะนา
ของหมอ หมอไม่บอกสักคาว่าผ่าตัดอาจไม่สาเร็จ ถ้ารู้ว่าเสี่ยงก็จะไม่ให้ท่านผ่า ท่านอยู่ของ
ท่านมาได้ตั้งนาน ถ้าให้ตายไปพร้อมกับมะเร็ง ก็อาจจะอยู่ได้นานกว่านี้”
Knowledge
แพทย์: “คุณเลยรู้สึกผิด และเสียใจกับเหตุการณ์นั้น แม้ว่าตอนนี้เรายังต้องรอผลตรวจ
เพิ่มเติมของคุณ แต่คุณคิดอย่างไรบ้างคะ ถ้าโรคที่คุณคิด เช่นมะเร็งแบบพ่อคุณมันเป็นขึ้นมา
จริงๆ”
ผู้ป่ วย: “ไม่เป็นไรหรอกหมอ อะไรจะเกิดมันก็ต้องเกิด ขอเพียงแต่ให้หมอบอกผมตรงๆก็พอ
อย่าหลอกผมเหมือนที่พ่อผมโดน มีอะไรก็ให้บอก ผมจะได้เลือกทางของผมได้ ไม่ใช่ให้คน
อื่นมาเลือกให้ผม ผมยังมีอะไรอีกหลายอย่างที่ต้องจัดการก่อนตาย คนอื่นทาแทนไม่ได้
ตอนนี้ก็เริ่มสะสางไปบ้างแล้ว”
Empathy
Invitation
Invitation
แพทย์: “ได้ค่ะ เอาไว้เมื่อผลตรวจกลับมา หมอจะแจ้งให้คุณทราบเป็นคนแรก และเราค่อย
คิดหาหนทางกันอีกที ว่าแต่คุณอยากให้ใครรับรู้เรื่องนี้อีกหรือเปล่าคะ คุณพาเขามาฟังด้วยก็
ได้คราวหน้า เข้าจะได้ไม่ตกอกตกใจภายหลังหรือถ้าต้องอยู่ดูแลคุณ”
Summary and Strategy
ทาอย่างไร
เมื่อญาติไม่ให้แจ้งข่าวร้ายให้ผู้ป่วยทราบ
Family medicine handbook
Chapter 34
ทาอย่างไร เมื่อญาติไม่ให้แจ้งข่าวร้ายให้ผู้ป่วยทราบ
– เป็นสถานการณ์ที่พบบ่อยในการดูแลผู้ป่วยด้วยโรคที่หมดหวัง
– คนไทยมักใช้คาอุปมาอุปไมย
– แพทย์เมื่อมีเหตุการณ์ที่ต้องแจ้งข่าวร้ายมักไม่บอกผู้ป่วยตรงๆ แต่จะใช้วิธีทางอ้อมโดย
เรียกญาติเข้ามาแทน บอกข่ายร้ายผ่านญาติ และให้ญาติตัดสินใจในการรักษาแทนผู้ป่วย
ความแตกต่างระหว่าง “ญาติ” กับ “ผู้ป่วย”
– ญาติและผู้ป่วยเป็นบุคคลคนละคนกัน มีความคิด ความต้องการกันคนละแบบ
– การแจ้งข่าวร้ายแก่ญาติโดยที่ไม่รู้จักญาติ จะปลอดภัยแก่ญาติ และเป็นประโยชน์ต่อ
ผู้ป่วยอย่างแท้จริงหรือไม่
– หลายครั้งที่แพทย์พบว่าญาติหลายคนมีความต้องการที่จะรักษาผู้ป่วยไม่ตรงกัน
– แพทย์จึงควรคานึงถึงสิทธิของผู้ป่วยเป็นหลัก และใช้การประนีประนอมเป็นหลัก ไม่ใช่
ทาตามความต้องการของญาติก่อนความต้องการของผู้ป่วย
ภาวะที่ครอบครัวเงียบงันกับข่าวร้าย
(Conspiracy of silence)
– เป็นปฏิกิริยาตอบสนองต่อข่าวร้ายของครอบครัว
– สมาชิกจะเกิดความตระหนกและเกิดการเงียบงัน เพื่อพยายามรักษาบรรยากาศในบ้าน
ไม่ให้ดูหดหู่จนเกินไป เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความสะเทือนใจแก่ผู้ป่วย
– ครอบครัวที่มีพยาธิสภาพ จะเกิดภาวะนี้ยาวนาน ทาให้ระบบการสื่อสารภายในครอบครัว
ถูกตัดขาด (Family communication shutdown)
– ยิ่งคนในครอบครัวไม่สื่อสารกัน เวลาที่จะอยู่ด้วยกันแบบจริงใจก็น้อยลง
– อาการทุกข์ทรมานต่างๆอาจถูกกลบเกลื่อนไป เพราะไม่ถูกสื่อสารออกมา
การประเมินครอบครัวเมื่อเกิดข่าวร้าย
(Family system assessment)
1. ประกอบด้วยใครบ้าง
– ครอบครัวเดี่ยว/ครอบครัวขยาย
– เครือข่ายทางสังคม
2. ลักษณะของระบบครอบครัว
2.1 Life-cycle related issue
2.2 Relationship: enmeshed, disengaged, alliances, coalition, triangulation,
scapegoat, isolation, in charge
2.3 Past ability to cope with crisis
2.4 Response to current illness
การประเมินครอบครัวเมื่อเกิดข่าวร้าย
(Family system assessment)
2. ลักษณะของระบบครอบครัว
2.5 Resources
2.6 Risk of troubled bereavement
– Parental grief
– Social isolation
– Ambivalent relationship
– Concurrent life crisis
– Short preparation time of loss
– Cultural or family repression of grief
– Disenfranchised grief
แนวทางการดูแลญาติที่ขอร้องไม่ให้แพทย์แจ้งข่าว
ร้ายแก่ผู้ป่วย
1. สะท้อนความรู้สึกปรารถนาดีของญาติ ที่ไม่อยากให้ผู้ป่วยสะเทือนใจ (Acknowledge
the conspiracy of silence in family)
2. ไถ่ถามว่าญาติเป็นใคร มีความผูกพันกับผู้ป่วยอย่างไร รู้จักผู้ป่วยว่าเป็นคนที่มีนิสัย
อย่างไร
3. ค่อยๆถามให้ญาติเห็นว่าจากนิสัยผู้ป่วย เมื่อมีความเจ็บป่วยเช่นนี้ น่าจะกาลังคิดอะไร
และต้องการจะทาอะไรบ้าง
4. ถามกลับว่าหากผู้ป่วยสงสัยและอยากรู้เกี่ยวกับความเจ็บป่วยของตนเอง จะให้แพทย์
บอกอย่างไรที่จะไม่เป็นการโกหกผู้ป่วย
5. ช่วยให้ญาติมองเห็นความจริงที่ว่าความลับเรื่องโรคร้ายมันไม่ได้อยู่ที่คนภายนอกอย่าง
แพทย์หรือญาติ
6. ค่อยๆถามให้ญาติได้คิดว่าผู้ป่วยจะรู้สึกอย่างไรหากรู้ว่าแพทย์และญาติร่วมกันปิดบังความ
จริงจากเขา ผู้ป่วยอาจอยากทราบความจริงเพื่อเอาเวลาที่เหลือน้อยไปทาอย่างอื่น
7. สะท้อนความรักที่ญาติมีต่อผู้ป่วยอีกครั้ง ให้เวลาญาติในการทาใจ
8. เสนอความช่วยเหลือ หรือให้ช่องทางติดต่อแก่ญาติ แพทย์ควรนับว่าญาติเป็นผู้ป่วยราย
ใหม่ที่ต้องประเมินและให้ความช่วยเหลือแยกจากผู้ป่วยคนแรก
แนวทางในการช่วยเหลือครอบครัวที่ชะงักงันกับข่าวร้าย
1. วินิจฉัยภาวะการณ์สื่อสารขาดตอน หรือภาวะเงียบงันในขณะที่ครอบครัววิกฤตให้ได้แต่เนิ่นๆ
2. แสดงถึงความเข้าใจถึงความปรารถนาดีของแต่ละฝ่าย ทั้งผู้ป่วย และญาติ
3. ประสานความสัมพันธ์ให้ผู้ป่วยและญาติกล้าสื่อสารกันตรงๆในเรื่องความเจ็บป่วยที่ถึงแม้จะ
เป็นโรคร้ายแรง
4. เฝ้าระวังการสื่อสารที่อาจมีปัญหาระหว่างกันแล้วเข้าแทรกแซงเพื่อให้ครอบครัวผ่านพ้น
ปัญหาความขัดแย้ง
5. ยึดถือความซื่อสัตย์ต่อผู้ป่วยเป็นเกณฑ์เพื่อความไว้วางใจ
6. จัดตั้งทีมบุคคลากรที่เข้าใจในการช่วยเหลือผู้ป่วยและญาติในห้วงเวลาวิกฤติที่เหลืออยู่น้อย
Handbook chapter33 34

More Related Content

What's hot

คำแนะนำการวินิจฉัยและการรักษาไข้เดงกีและไข้เลือดออกเดงกีในผู้ใหญ่ Rcpt 2013
คำแนะนำการวินิจฉัยและการรักษาไข้เดงกีและไข้เลือดออกเดงกีในผู้ใหญ่ Rcpt 2013คำแนะนำการวินิจฉัยและการรักษาไข้เดงกีและไข้เลือดออกเดงกีในผู้ใหญ่ Rcpt 2013
คำแนะนำการวินิจฉัยและการรักษาไข้เดงกีและไข้เลือดออกเดงกีในผู้ใหญ่ Rcpt 2013Utai Sukviwatsirikul
 
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายการดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายชนิกานต์ บุญชู
 
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSESPATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSESAphisit Aunbusdumberdor
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57Sirinoot Jantharangkul
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคข้ออักเสบสะเก็ดเงิน (Guideline for management ...
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคข้ออักเสบสะเก็ดเงิน (Guideline for management ...แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคข้ออักเสบสะเก็ดเงิน (Guideline for management ...
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคข้ออักเสบสะเก็ดเงิน (Guideline for management ...Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557Utai Sukviwatsirikul
 
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์Utai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
การบาดเจ็บจากกระสุนปืน 2
การบาดเจ็บจากกระสุนปืน 2การบาดเจ็บจากกระสุนปืน 2
การบาดเจ็บจากกระสุนปืน 2taem
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกPatamaporn Seajoho
 
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่ CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่ Thorsang Chayovan
 
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์Net Thanagon
 
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

คำแนะนำการวินิจฉัยและการรักษาไข้เดงกีและไข้เลือดออกเดงกีในผู้ใหญ่ Rcpt 2013
คำแนะนำการวินิจฉัยและการรักษาไข้เดงกีและไข้เลือดออกเดงกีในผู้ใหญ่ Rcpt 2013คำแนะนำการวินิจฉัยและการรักษาไข้เดงกีและไข้เลือดออกเดงกีในผู้ใหญ่ Rcpt 2013
คำแนะนำการวินิจฉัยและการรักษาไข้เดงกีและไข้เลือดออกเดงกีในผู้ใหญ่ Rcpt 2013
 
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายการดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
 
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSESPATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
 
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการเกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคข้ออักเสบสะเก็ดเงิน (Guideline for management ...
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคข้ออักเสบสะเก็ดเงิน (Guideline for management ...แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคข้ออักเสบสะเก็ดเงิน (Guideline for management ...
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคข้ออักเสบสะเก็ดเงิน (Guideline for management ...
 
Snake Bite
Snake BiteSnake Bite
Snake Bite
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
 
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
 
PDSA
PDSAPDSA
PDSA
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
Low Back Pain
Low Back PainLow Back Pain
Low Back Pain
 
Ppt.dlp
Ppt.dlpPpt.dlp
Ppt.dlp
 
การบาดเจ็บจากกระสุนปืน 2
การบาดเจ็บจากกระสุนปืน 2การบาดเจ็บจากกระสุนปืน 2
การบาดเจ็บจากกระสุนปืน 2
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
 
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่ CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่
 
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
 
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
 
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
 

Similar to Handbook chapter33 34

Papillary thyroid carcinoma (Thai)
Papillary thyroid carcinoma (Thai)Papillary thyroid carcinoma (Thai)
Papillary thyroid carcinoma (Thai)Patinya Yutchawit
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์vveerapong
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์vveerapong
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf60941
 
Topic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisTopic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisBow Aya
 
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่duangkaew
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557 แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557 Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานVorawut Wongumpornpinit
 
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็ก
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็กโรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็ก
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็กUtai Sukviwatsirikul
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)Wan Ngamwongwan
 
PC10:Last hours of life
PC10:Last hours of lifePC10:Last hours of life
PC10:Last hours of lifeCAPD AngThong
 
Palliativecaretopic 1311489380-phpapp01-110724013855-phpapp01
Palliativecaretopic 1311489380-phpapp01-110724013855-phpapp01Palliativecaretopic 1311489380-phpapp01-110724013855-phpapp01
Palliativecaretopic 1311489380-phpapp01-110724013855-phpapp01Angkana Chongjarearn
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมRoongroeng
 
คู่มือมะเร็งชุด1
คู่มือมะเร็งชุด1คู่มือมะเร็งชุด1
คู่มือมะเร็งชุด1THANAKORN
 
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยาศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยาUtai Sukviwatsirikul
 

Similar to Handbook chapter33 34 (20)

Rdu
RduRdu
Rdu
 
Papillary thyroid carcinoma (Thai)
Papillary thyroid carcinoma (Thai)Papillary thyroid carcinoma (Thai)
Papillary thyroid carcinoma (Thai)
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
 
Home visit palliative care
 Home visit   palliative care Home visit   palliative care
Home visit palliative care
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
 
Topic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisTopic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitis
 
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557 แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
 
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็ก
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็กโรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็ก
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็ก
 
We can do palliative care
We can do palliative careWe can do palliative care
We can do palliative care
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 
PC10:Last hours of life
PC10:Last hours of lifePC10:Last hours of life
PC10:Last hours of life
 
Sample 4 lifeyes
Sample 4 lifeyesSample 4 lifeyes
Sample 4 lifeyes
 
Palliativecaretopic 1311489380-phpapp01-110724013855-phpapp01
Palliativecaretopic 1311489380-phpapp01-110724013855-phpapp01Palliativecaretopic 1311489380-phpapp01-110724013855-phpapp01
Palliativecaretopic 1311489380-phpapp01-110724013855-phpapp01
 
Clu1
Clu1Clu1
Clu1
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
คู่มือมะเร็งชุด1
คู่มือมะเร็งชุด1คู่มือมะเร็งชุด1
คู่มือมะเร็งชุด1
 
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยาศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
 

Handbook chapter33 34

  • 2.
  • 4. การแจ้งข่าวร้ายไม่ให้ร้าย – ปัจจุบันเทคโนโลยีทางการแพทย์ก้าวล้าหน้าไปมากมาย – แพทย์จึงเผชิญกับภาวะที่ผู้ป่วยและญาติควาดหวังสูงขึ้น – ความกลัวของแพทย์เป็นปัจจัยสาคัญอย่างหนึ่งที่ทาให้เกิดความห่างเหิน และขาดการ สื่อสารระหว่างกัน – จริงหรือที่ผู้ป่วยไม่ต้องการรับรู้วินิจฉัยโรคของตนเอง?
  • 5. ความแตกต่างระหว่างความปรารถนาของผู้รับข่าว(ผู้ป่วย) กับความกลัวของผู้แจ้งข่าว(แพทย์) – เมื่อป่วยด้วยโรคมะเร็งขั้นลุกลาม – แพทย์ทุกคนต้องการรู้วินิจฉัยโรค – 26%ของแพทย์ชาวยุโรป และ18%ของแพทย์ชาวอเมริกาใต้ คิดว่าผู้ป่วยต้องการรู้ วินิจฉัยโรค – แพทย์ควรประเมินความต้องการที่จะรับทราบข้อมูลของผู้ป่วยเป็นรายบุคคล ซึ่งจะขึ้นอยู่ กับทักษะการแก้ไขปัญหาชีวิตของบุคคลนั้นๆ – การปิดบังข่าวร้าย จะส่งผลให้ผู้ป่วยจมอยู่กับความกังวล อาจมีผลต่อการดาเนินของโรค และบดบังความเจ็บป่วยอื่นที่ไม่ได้ถูกสื่อสารออกมา
  • 6. ข่าวร้ายคืออะไร – ข่าวที่ก่อให้เกิดผลกระทบอย่างใหญ่หลวงต่อการมองอนาคตของบุคคลหนึ่งๆ – หลักการ โดย Robert Buckman 1. ข่าวนั้นจะ “ร้าย” เพียงใดขึ้นอยู่กับ สิ่งที่คาดหวังไว้ แตกต่างจาก ความเป็นจริง มากเท่าใด 2. วิธีที่จะแจ้งข่าวนั้นให้“ร้าย” เพียงใด ก็ขึ้นกับถามก่อนหรือเปล่าว่าผู้นั้นคาดหวังอะไรไว้
  • 7. วัตถุประสงค์ของการแจ้งข่าวร้าย – เพื่อให้ตนเองโล่งอก? – เพื่อเป็นประโยชน์กับผู้ป่วย? – ประเมินผู้ป่วยแล้วหรือยังว่าจะสามารถนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ได้จริง – ความคิดความอ่าน เรื่องราวต่างๆ และความคาดหวัง – ไม่ใช่การปลดภาระหน้าที่และทิ้งให้ผู้ป่วยเผชิญชะตากรรมตามลาพัง – มุ่งเน้นการรักษาคน แม้ว่าโรครักษาไม่ได้ แต่คนยังรักษาได้ ยังไม่ตาย
  • 8. ขั้นตอนการแจ้งข่าวร้ายด้วย SPIKES 1. Setting 2. Perception 3. Invitation 4. Knowledge 5. Empathy 6. Summary and strategy
  • 9. 1. Setting – สถานที่ส่วนตัว – ปิดโทรศัพท์ – อาจให้มีบุคคลที่ผู้ป่วยคิดว่าสาคัญ และต้องการให้อยู่รับรู้ด้วย หรือเป็นกาลังใจ – นั่งในระดับเดียวกัน สบตา ตั้งใจพูดคุย ไม่วอกแวก – แสดงท่าทีเป็นมิตร ให้เกียรติผู้ป่วย – ควรหาเวลาที่ไม่รีบร้อน เพื่อให้เวลาผู้ป่วยเต็มที่
  • 10. 2. Perception – ประเมินผู้ป่วย – คิดอย่างไรต่อการเจ็บป่วย เป็นโรคอะไร รุนแรงเพียงใด ทาไมจึงคิดเช่นนั้นมีอาการ อะไรบ้างที่ทาให้คิดเช่นนั้น – เคยมีประสบการณ์หรือรู้อะไรมาก่อนหน้าเกี่ยวกับโรคนั้นบ้าง แล้วรู้สึกอย่างไรกับโรค นั้นๆ
  • 11. 3. Invitation – ถามโดยตรง หรือประเมินว่าผู้ป่วยต้องการรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับความเจ็บป่วยของตนเอง – ผู้ป่วยบางรายอาจแสดงท่าทีหลีกเลี่ยงที่จะรับรู้ – เปลี่ยนประเด็นการพูด – ใช้คาที่มีความหมายนัยๆแทนชื่อโรค ทาให้ประเมินได้ว่าขณะนั้นผู้ป่วยอาจยังไม่พร้อมจะรับฟังข่าวร้าย
  • 12. 4. Knowledge – ก่อนแจ้งข่าวร้าย ให้ส่งสัญญาณเตือนก่อนเพื่อให้ได้ทาใจขั้นต้น “ผลการตรวจเพิ่งกลับมา หมอดูผลแล้วค่อนข้างเป็นห่วง” – หลีกเลี่ยงศัพท์ทางการแพทย์ที่ฟังแล้วไม่เข้าใจ – การแจ้งข่าวร้ายให้ทาไปทีละขั้นตอน พร้อมตรวจสอบว่าผู้ป่วยเข้าใจอย่างไร – คอยสังเกตอากัปกิริยาของผู้ป่วย ประเมินว่ายังต้องการจะทราบต่ออีกหรือไม่ และมี ประโยชน์ที่จะแจ้งต่อหรือไม่
  • 13. 5. Empathy – เงียบฟัง และสังเกตปฏิกิริยาหลังแจ้งข่าวร้าย – สะท้อนความรู้สึกที่ตรงกับผู้ป่วย ณ เวลานั้น – หากผู้ป่วยร้องไห้เงียบๆ เสียงเครือๆ ให้ยื่นกระดาษทิชชูโดยเร็ว – ผู้ป่วยไม่ผิดที่จะรู้สึกเสียใจต่อข่าวร้ายของตนเอง ไม่ผิดที่จะร้องไห้ “หมอเข้าใจว่ามันยากที่จะยอมรับมัน”
  • 14. 6. Summary and Strategy – เมื่อผู้ป่วยมีท่าทีที่สบายขึ้น ควรเริ่มสรุปข้อมูลที่กระชับ และเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยถาม – วางแผนระยะสั้นเพื่อการดูแลต่อเนื่องร่วมกัน – การตรวจเพิ่มเติม – การรักษา ทางเลือกการรักษา – การส่งปรึกษาต่อ – การนัดหมายครั้งต่อไป – การติดต่อกันหากมีคาถามเพิ่มเติม – ยืนยันว่าจะอยู่เคียงข้าง พร้อมหาทางเลือกทุกอย่างที่เป็นไปได้มาดูแลโดยไม่ทอดทิ้ง
  • 15. ตัวอย่างบทสนทนาเรื่องการแจ้งข่าวร้าย – ผู้ป่วยชายไทย 74ปี มีอาการปวดท้องทะลุหลังเรื้อรังมาหลายเดือน รักษาหลายที่ไม่ดีขึ้น กินได้น้อย ผอมลง ในการตรวจครั้งนี้แพทย์สงสัยว่าจะเป็นมะเร็งตับอ่อน เนื่องจาก ประวัติเจ็บป่วยยาวนาน และมีอาการน่าสงสัยหลายอย่าง ระหว่างการตรวจร่างกายคลา พบก้อนกลางท้องขนาดใหญ่ ผู้ป่วยเอะใจกับท่าทีของแพทย์
  • 16. ผู้ป่ วย: “หมอ บอกมาเลยว่าผมเป็นอะไรแน่ ผมรับได้ผมคิดแล้วว่ามันต้องไม่ดี ไอ้หมอที่ ผ่านมามันชุ่ย ตัวผมมันยังไม่จับต้องอะไรเลย แล้วมาบอกว่าไม่เป็นอะไร ถ้าเป็นอะไรละก็ ผมฟ้องเป็นหางว่าวแน่ เอาให้เป็นคดีตัวอย่าง จะได้ไม่ชุ่ยกันอย่างนี้อีก” แพทย์: “ใจเย็นๆค่ะ หมอยังไม่มั่นใจนัก คงต้องรอส่งตรวจเพิ่มเติมก่อน หมอเข้าใจว่าคุณคง โกรธและผิดหวังที่รักษามานานแล้วยังไม่ได้คาตอบ ถ้ามาได้คาตอบที่ไม่ค่อยดีตอนนี้ มันคง ยากจะยอมรับ แต่ที่คุณคิดอยู่แล้วนี่ มันเป็นโรคอะไรคะ”
  • 17. ผู้ป่ วย: “โธ่ หมอ ผมอายุปูนนี้แล้ว เห็นมาหมดแล้ว พ่อผมก็เสียด้วยมะเร็งตับ อาการมันก็ เหมือนกันอย่างนี้ เพียงแต่ท่านตัวเหลือง ท้องโตมากด้วย แต่เริ่มแรกก็อาการเหมือนกัน ผม พาพ่อไปรักษา และเฝ้าพยาบาลจนท่านสิ้นลมไปกับมือตัวเอง” แพทย์: “หมอเสียใจด้วยค่ะ เหตุการณ์นั้นนานหรือยังคะ” ผู้ป่ วย: “เกือบ 10ปีแล้วหมอ แต่ยังติดตาอยู่ตลอด พ่อผมตายเพราะหมอชุ่ย ผ่าตัดเสร็จท่านก็ สิ้นลม ไม่ได้กลับบ้านอีกเลย ท่านบ่นอยากกลับบ้านแต่ผมตื๊อให้ท่านผ่าตัดตามคาแนะนา ของหมอ หมอไม่บอกสักคาว่าผ่าตัดอาจไม่สาเร็จ ถ้ารู้ว่าเสี่ยงก็จะไม่ให้ท่านผ่า ท่านอยู่ของ ท่านมาได้ตั้งนาน ถ้าให้ตายไปพร้อมกับมะเร็ง ก็อาจจะอยู่ได้นานกว่านี้”
  • 18. แพทย์: “คุณเลยรู้สึกผิด และเสียใจกับเหตุการณ์นั้น แม้ว่าตอนนี้เรายังต้องรอผลตรวจ เพิ่มเติมของคุณ แต่คุณคิดอย่างไรบ้างคะ ถ้าโรคที่คุณคิด เช่นมะเร็งแบบพ่อคุณมันเป็นขึ้นมา จริงๆ” ผู้ป่ วย: “ไม่เป็นไรหรอกหมอ อะไรจะเกิดมันก็ต้องเกิด ขอเพียงแต่ให้หมอบอกผมตรงๆก็ พอ อย่าหลอกผมเหมือนที่พ่อผมโดน มีอะไรก็ให้บอก ผมจะได้เลือกทางของผมได้ ไม่ใช่ให้ คนอื่นมาเลือกให้ผม ผมยังมีอะไรอีกหลายอย่างที่ต้องจัดการก่อนตาย คนอื่นทาแทนไม่ได้ ตอนนี้ก็เริ่มสะสางไปบ้างแล้ว”
  • 19. แพทย์: “ได้ค่ะ เอาไว้เมื่อผลตรวจกลับมา หมอจะแจ้งให้คุณทราบเป็นคนแรก และเราค่อย คิดหาหนทางกันอีกที ว่าแต่คุณอยากให้ใครรับรู้เรื่องนี้อีกหรือเปล่าคะ คุณพาเขามาฟังด้วยก็ ได้คราวหน้า เข้าจะได้ไม่ตกอกตกใจภายหลังหรือถ้าต้องอยู่ดูแลคุณ”
  • 20. วิเคราะห์ ตัวอย่างบทสนทนาเรื่องการแจ้งข่าวร้าย – ผู้ป่วยชายไทย 74ปี มีอาการปวดท้องทะลุหลังเรื้อรังมาหลายเดือน รักษาหลายที่ไม่ดีขึ้น กินได้น้อย ผอมลง ในการตรวจครั้งนี้แพทย์สงสัยว่าจะเป็นมะเร็งตับอ่อน เนื่องจาก ประวัติเจ็บป่วยยาวนาน และมีอาการน่าสงสัยหลายอย่าง ระหว่างการตรวจร่างกายคลา พบก้อนกลางท้องขนาดใหญ่ ผู้ป่ วยเอะใจกับท่าทีของแพทย์ Perception
  • 21. ผู้ป่ วย: “หมอ บอกมาเลยว่าผมเป็นอะไรแน่ ผมรับได้ผมคิดแล้วว่ามันต้องไม่ดี ไอ้หมอที่ ผ่านมามันชุ่ย ตัวผมมันยังไม่จับต้องอะไรเลย แล้วมาบอกว่าไม่เป็นอะไร ถ้าเป็นอะไรละก็ ผมฟ้องเป็นหางว่าวแน่ เอาให้เป็นคดีตัวอย่าง จะได้ไม่ชุ่ยกันอย่างนี้อีก” แพทย์: “ใจเย็นๆค่ะ หมอยังไม่มั่นใจนัก คงต้องรอส่งตรวจเพิ่มเติมก่อน หมอเข้าใจว่าคุณคง โกรธและผิดหวังที่รักษามานานแล้วยังไม่ได้คาตอบ ถ้ามาได้คาตอบที่ไม่ค่อยดีตอนนี้ มันคง ยากจะยอมรับ แต่ที่คุณคิดอยู่แล้วนี่ มันเป็นโรคอะไรคะ” Perception Perception Empathy
  • 22. ผู้ป่ วย: “โธ่ หมอ ผมอายุปูนนี้แล้ว เห็นมาหมดแล้ว พ่อผมก็เสียด้วยมะเร็งตับ อาการมันก็ เหมือนกันอย่างนี้ เพียงแต่ท่านตัวเหลือง ท้องโตมากด้วย แต่เริ่มแรกก็อาการเหมือนกัน ผม พาพ่อไปรักษา และเฝ้าพยาบาลจนท่านสิ้นลมไปกับมือตัวเอง” แพทย์: “หมอเสียใจด้วยค่ะ เหตุการณ์นั้นนานหรือยังคะ” ผู้ป่ วย: “เกือบ 10ปีแล้วหมอ แต่ยังติดตาอยู่ตลอด พ่อผมตายเพราะหมอชุ่ย ผ่าตัดเสร็จท่านก็ สิ้นลม ไม่ได้กลับบ้านอีกเลย ท่านบ่นอยากกลับบ้านแต่ผมตื๊อให้ท่านผ่าตัดตามคาแนะนา ของหมอ หมอไม่บอกสักคาว่าผ่าตัดอาจไม่สาเร็จ ถ้ารู้ว่าเสี่ยงก็จะไม่ให้ท่านผ่า ท่านอยู่ของ ท่านมาได้ตั้งนาน ถ้าให้ตายไปพร้อมกับมะเร็ง ก็อาจจะอยู่ได้นานกว่านี้” Knowledge
  • 23. แพทย์: “คุณเลยรู้สึกผิด และเสียใจกับเหตุการณ์นั้น แม้ว่าตอนนี้เรายังต้องรอผลตรวจ เพิ่มเติมของคุณ แต่คุณคิดอย่างไรบ้างคะ ถ้าโรคที่คุณคิด เช่นมะเร็งแบบพ่อคุณมันเป็นขึ้นมา จริงๆ” ผู้ป่ วย: “ไม่เป็นไรหรอกหมอ อะไรจะเกิดมันก็ต้องเกิด ขอเพียงแต่ให้หมอบอกผมตรงๆก็พอ อย่าหลอกผมเหมือนที่พ่อผมโดน มีอะไรก็ให้บอก ผมจะได้เลือกทางของผมได้ ไม่ใช่ให้คน อื่นมาเลือกให้ผม ผมยังมีอะไรอีกหลายอย่างที่ต้องจัดการก่อนตาย คนอื่นทาแทนไม่ได้ ตอนนี้ก็เริ่มสะสางไปบ้างแล้ว” Empathy Invitation Invitation
  • 24. แพทย์: “ได้ค่ะ เอาไว้เมื่อผลตรวจกลับมา หมอจะแจ้งให้คุณทราบเป็นคนแรก และเราค่อย คิดหาหนทางกันอีกที ว่าแต่คุณอยากให้ใครรับรู้เรื่องนี้อีกหรือเปล่าคะ คุณพาเขามาฟังด้วยก็ ได้คราวหน้า เข้าจะได้ไม่ตกอกตกใจภายหลังหรือถ้าต้องอยู่ดูแลคุณ” Summary and Strategy
  • 26. ทาอย่างไร เมื่อญาติไม่ให้แจ้งข่าวร้ายให้ผู้ป่วยทราบ – เป็นสถานการณ์ที่พบบ่อยในการดูแลผู้ป่วยด้วยโรคที่หมดหวัง – คนไทยมักใช้คาอุปมาอุปไมย – แพทย์เมื่อมีเหตุการณ์ที่ต้องแจ้งข่าวร้ายมักไม่บอกผู้ป่วยตรงๆ แต่จะใช้วิธีทางอ้อมโดย เรียกญาติเข้ามาแทน บอกข่ายร้ายผ่านญาติ และให้ญาติตัดสินใจในการรักษาแทนผู้ป่วย
  • 27. ความแตกต่างระหว่าง “ญาติ” กับ “ผู้ป่วย” – ญาติและผู้ป่วยเป็นบุคคลคนละคนกัน มีความคิด ความต้องการกันคนละแบบ – การแจ้งข่าวร้ายแก่ญาติโดยที่ไม่รู้จักญาติ จะปลอดภัยแก่ญาติ และเป็นประโยชน์ต่อ ผู้ป่วยอย่างแท้จริงหรือไม่ – หลายครั้งที่แพทย์พบว่าญาติหลายคนมีความต้องการที่จะรักษาผู้ป่วยไม่ตรงกัน – แพทย์จึงควรคานึงถึงสิทธิของผู้ป่วยเป็นหลัก และใช้การประนีประนอมเป็นหลัก ไม่ใช่ ทาตามความต้องการของญาติก่อนความต้องการของผู้ป่วย
  • 28. ภาวะที่ครอบครัวเงียบงันกับข่าวร้าย (Conspiracy of silence) – เป็นปฏิกิริยาตอบสนองต่อข่าวร้ายของครอบครัว – สมาชิกจะเกิดความตระหนกและเกิดการเงียบงัน เพื่อพยายามรักษาบรรยากาศในบ้าน ไม่ให้ดูหดหู่จนเกินไป เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความสะเทือนใจแก่ผู้ป่วย – ครอบครัวที่มีพยาธิสภาพ จะเกิดภาวะนี้ยาวนาน ทาให้ระบบการสื่อสารภายในครอบครัว ถูกตัดขาด (Family communication shutdown) – ยิ่งคนในครอบครัวไม่สื่อสารกัน เวลาที่จะอยู่ด้วยกันแบบจริงใจก็น้อยลง – อาการทุกข์ทรมานต่างๆอาจถูกกลบเกลื่อนไป เพราะไม่ถูกสื่อสารออกมา
  • 29. การประเมินครอบครัวเมื่อเกิดข่าวร้าย (Family system assessment) 1. ประกอบด้วยใครบ้าง – ครอบครัวเดี่ยว/ครอบครัวขยาย – เครือข่ายทางสังคม 2. ลักษณะของระบบครอบครัว 2.1 Life-cycle related issue 2.2 Relationship: enmeshed, disengaged, alliances, coalition, triangulation, scapegoat, isolation, in charge 2.3 Past ability to cope with crisis 2.4 Response to current illness
  • 30. การประเมินครอบครัวเมื่อเกิดข่าวร้าย (Family system assessment) 2. ลักษณะของระบบครอบครัว 2.5 Resources 2.6 Risk of troubled bereavement – Parental grief – Social isolation – Ambivalent relationship – Concurrent life crisis – Short preparation time of loss – Cultural or family repression of grief – Disenfranchised grief
  • 31. แนวทางการดูแลญาติที่ขอร้องไม่ให้แพทย์แจ้งข่าว ร้ายแก่ผู้ป่วย 1. สะท้อนความรู้สึกปรารถนาดีของญาติ ที่ไม่อยากให้ผู้ป่วยสะเทือนใจ (Acknowledge the conspiracy of silence in family) 2. ไถ่ถามว่าญาติเป็นใคร มีความผูกพันกับผู้ป่วยอย่างไร รู้จักผู้ป่วยว่าเป็นคนที่มีนิสัย อย่างไร 3. ค่อยๆถามให้ญาติเห็นว่าจากนิสัยผู้ป่วย เมื่อมีความเจ็บป่วยเช่นนี้ น่าจะกาลังคิดอะไร และต้องการจะทาอะไรบ้าง 4. ถามกลับว่าหากผู้ป่วยสงสัยและอยากรู้เกี่ยวกับความเจ็บป่วยของตนเอง จะให้แพทย์ บอกอย่างไรที่จะไม่เป็นการโกหกผู้ป่วย
  • 32. 5. ช่วยให้ญาติมองเห็นความจริงที่ว่าความลับเรื่องโรคร้ายมันไม่ได้อยู่ที่คนภายนอกอย่าง แพทย์หรือญาติ 6. ค่อยๆถามให้ญาติได้คิดว่าผู้ป่วยจะรู้สึกอย่างไรหากรู้ว่าแพทย์และญาติร่วมกันปิดบังความ จริงจากเขา ผู้ป่วยอาจอยากทราบความจริงเพื่อเอาเวลาที่เหลือน้อยไปทาอย่างอื่น 7. สะท้อนความรักที่ญาติมีต่อผู้ป่วยอีกครั้ง ให้เวลาญาติในการทาใจ 8. เสนอความช่วยเหลือ หรือให้ช่องทางติดต่อแก่ญาติ แพทย์ควรนับว่าญาติเป็นผู้ป่วยราย ใหม่ที่ต้องประเมินและให้ความช่วยเหลือแยกจากผู้ป่วยคนแรก
  • 33. แนวทางในการช่วยเหลือครอบครัวที่ชะงักงันกับข่าวร้าย 1. วินิจฉัยภาวะการณ์สื่อสารขาดตอน หรือภาวะเงียบงันในขณะที่ครอบครัววิกฤตให้ได้แต่เนิ่นๆ 2. แสดงถึงความเข้าใจถึงความปรารถนาดีของแต่ละฝ่าย ทั้งผู้ป่วย และญาติ 3. ประสานความสัมพันธ์ให้ผู้ป่วยและญาติกล้าสื่อสารกันตรงๆในเรื่องความเจ็บป่วยที่ถึงแม้จะ เป็นโรคร้ายแรง 4. เฝ้าระวังการสื่อสารที่อาจมีปัญหาระหว่างกันแล้วเข้าแทรกแซงเพื่อให้ครอบครัวผ่านพ้น ปัญหาความขัดแย้ง 5. ยึดถือความซื่อสัตย์ต่อผู้ป่วยเป็นเกณฑ์เพื่อความไว้วางใจ 6. จัดตั้งทีมบุคคลากรที่เข้าใจในการช่วยเหลือผู้ป่วยและญาติในห้วงเวลาวิกฤติที่เหลืออยู่น้อย