SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
เนืÊอหาทีÉจะต้องเรียนใน บททีÉ 8 กรด- เบส มีดังนีÊ 
8.1 สารละลายอิเล็กโตรไลต์และนอนอิเล็กโตรไลต์ 
8.2 สารละลายกรดและสารละลายเบส 
8.3 ทฤษฎีกรด – เบส 
8.4 คู่กรด – เบส 
8.5 การแตกตัวของกรดและเบส 
8.6 การแตกตัวเป็นไอออนของนÊำ 
8.7 pH ของสารละลาย 
8.8 อินดิเคเตอร์สำหรับกรด – เบส 
8.9 สารละลายกรด – เบสในชีวิตประจำวันและในสิÉงมีชีวิต 
8.10 ปฏิกิริยาของกรดและเบส 
8.11 การไทเทรตกรด – เบส 
8.12 สารละลายบัฟเฟอร์ 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 1
บททีÉ 8 กรด - เบส 
สมบัติทัÉวไปของกรด- เบส มีดังนีÊ 
กรด เบส 
มีรสเปรีÊยว เปลÉียนสีกระดาษลิตมัส นÊำเงิน แดง มีรสขม ลักษณะลÉืน ๆ เปลÉียนสีกระดาษลิตมัส แดง นÊำเงิน 
ในบทนีÊนักเรียนจะได้ศึกษาสมบัติของกรด-เบส ดังหัวข้อตํÉาไปนีÊ 
8.1 สารละลายอิเล็กโตรไลต์และนอนอิเล็กโตรไลต์ 8.7 pH ของสารละลาย 
8.2 สารละลายกรด และสารละลายเบส 8.8 อินดิเคเตอร์สำหรับกรด – เบส 
8.3 ทฤษฏี กรด – เบส 8.9 ปฏิกิริยาของกรดและเบส 
8.4 คู่กรด – เบส 8.ř0 การไทเทรต กรด- เบส 
8.5 การแตกตัวของกรด – เบส 8.řř สารละลายบัฟเฟอร์ 
8.6 การแตกตัวเป็นไอออนของนÊำ 
8.ř สารละลายอิเล็กโตรไลต์และนอนอิเล็กโตรไลต์ 
 เมÉือผสมสารเข้ากับนÊำ สารบางชนิดไม่ละลายในนÊำ และสารบางชนิดละลายนÊำได้ เป็น สารละลาย 
 ถ้าตัวละลายเป็นสารประกอบไอออนิก เช่น โซเดียมคลอไรด์ เมÉือละลายนÊำจะแตกตัวเป็นไอออนได้ 
- สารละลายทÉีสามารถนำไฟฟ้าได้ อาจมีสมบัติเป็นกรด เป็นเบส หรือเป็นกลางก็ได้ 
Na+ 
Cl- 
สารประกอบไอออนิก เช่น เกลือ (NaCl) สารประกอบโคเวเลนต์ เช่น นÊำตาลทราย (C12H22O11) 
ละลายนÊำได้ ละลายนÊำได้ 
แตกตัวเป็นไอออนได้ ไม่แตกตัวเป็นไอออน 
นำไฟฟ้าได้ ไม่นำไฟฟ้า 
(ให้กระแสไฟฟ้าเข้าไป แล้วทำให้หลอดไฟสว่าง) (ให้กระแสไฟฟ้าเข้าไป แล้วทำให้หลอดไฟไม่สว่าง) 
เรียก สารละลายอิเล็กโตรไลต์ (Electrolyte) เรียก สารละลายนอน-อิเล็กโตรไลต์ (non- Electrolyte) 
แตกตัวเป็นไอออนได้มาก 
(แตกตัวหมด) นำไฟฟ้าได้มาก 
(หลอดไฟสว่างมาก) 
เรียก อิเล็กโตรไลต์แก่ 
แตกตัวเป็นไอออนได้น้อย 
(แตกตัวบางส่วน) นำไฟฟ้าได้น้อย 
(หลอดไฟสว่างน้อย) 
เรียก อิเล็กโตรไลต์อ่อน 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 2
8.2 สารละลายกรด - สารละลายเบส 
การทีÉสารละลายกรด และ สารละลายเบส สามารถนำไฟฟ้าได้ แสดงว่า มีไอออนอยใู่นสารละลายนัÊน 
แต่การเปลÉียนสีกระดาษลิตมัสของกรดและเบสแตกต่างกัน ดังนัÊน ไอออนในกรด และเบส จึงมีแตกต่างกันด้วย ดังนีÊ 
 ไอออนในสารละลายกรด 
สารละลายกรดทุกชนิดเป็นสารอิเล็กโตรไลต์ (แตกตัวเป็นไอออนและนำไฟฟ้าได้) เปลÉียนสีกระดาษลิตมัส นÊำเงิน เป็น แดง 
เมÉือนำสารละลายกรดมาศึกษา สามารเขียนสมการได้ดังนีÊ 
HCl (g) + H2O (l) H3O+ (aq) + Cl- (aq) 
กรดไฮโดรคลอริก นÊำ ไฮโดรเนียมไอออน คลอไรด์ไอออน 
จากสมการนีÊ พบว่า HCl เป็นอิเล็กโตรไลต์แก่ (กรดแก่) เพราะละลายนํÊาแล้วแตกตัวเป็นไอออนได้หมด 
เกิดไอออน H3O+ และ Cl- ซึÉงไม่สามารถเกิดย้อนกลับได้ 
CH3COOH (aq) + H2O (l) H3O+ (aq) + CH3COO- (aq) 
กรดแอซิติก นÊำ ไฮโดรเนียมไอออน คลอไรด์ไอออน 
จากสมการนีÊ พบว่า CH3COOH เป็นอิเล็กโตรไลต์อ่อน (กรดอ่อน) เพราะละลายนํÊาแล้วแตกตัวเป็นไอออนได้บางส่วน 
เกิดไอออน H3O+ และ CH3COO- ซึÉงสามารถเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับได้ และมีภาวะสมดุลเกิดขึÊน 
สรุป เมÉือพิจารณาการเปลÉียนแปลงของแก๊สไฮโดรเจนคลอไรด์ในนÊำ กับ กรดแอซิติกในนÊำ 
พบว่า เกิดไอออนทีÉเหมือนกัน คือ ไฮโดรเนียมไอออน (H3O+) 
ดังนัÊน ไอออนในสารละลายกรด คือ ไฮโดรเนียมไอออน (H3O+) 
 ไอออนในสารละลายเบส 
สารละลายเบสทุกชนิดเป็นสารอิเล็กโตรไลต์ (แตกตัวเป็นไอออนและนำไฟฟ้าได้) เปลÉียนสีกระดาษลิตมัส แดง เป็น นÊำเงิน 
เมÉือนำสารละลายเบสมาศึกษา สามารเขียนสมการได้ดังนีÊ 
NaOH (s) H2O (l) Na+ (aq) + OH- (aq) 
โซเดียมไฮดรอกไซด์ โซเดียมไอออน ไฮดรอกไซด์ไอออน 
จากสมการนีÊ พบว่า NaOH เป็นอิเล็กโตรไลต์แก่ (เบสแก่) เพราะละลายนํÊาแล้วแตกตัวเป็นไอออนได้หมด 
เกิดไอออน Na+ และ OH- ซึÉงไม่สามารถเกิดย้อนกลับได้ 
NH3 (g) H2O (l) NH3 (aq) 
แอมโมเนีย สารละลายแอมโมเนีย 
NH3 (aq) + H2O (l) NH4 
+ (aq) + OH- (aq) 
แอมโมเนีย นÊำ แอมโมเนียมไอออน ไฮดรอกไซด์ไอออน 
จากสมการนีÊ พบว่า NH3 เป็นอิเล็กโตรไลต์อ่อน (เบสอ่อน) เพราะละลายนํÊาแล้วแตกตัวเป็นไอออนได้บางส่วน 
เกิดไอออน NH4 
+ และ OH- ซึÉงสามารถเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับได้ และมีภาวะสมดุลเกิดขึÊน 
สรุป เมÉือพิจารณาการเปลÉียนแปลงของโซเดียมไฮดรอกไซด์ในนÊำ กับ แอมโมเนียในนÊำ 
พบว่า เกิดไอออนทีÉเหมือนกัน คือ ไฮดรอกไซด์ไอออน (OH-) 
ดังนัÊน สารละลายเบสมีไอออน คือ ไฮดรอกไซด์ไอออน (OH-) 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 3
8.3 ทฤษฏีกรด - เบส 
1. ทฤษฏีกรด – เบสอาร์เรเนียส ผู้คิดกฎนีÊคือ สวันเต เอากุสต์ อาร์เรเนียส ให้คำนิยามว่า 
กรด คือ สารทÉีละลายนÊำ แล้วแตกตัวให้ไฮโดรเจนไอออน (H+) 
เบส คือ สารทÉีละลายนÊำ แล้วแตกตัวให้ ไฮดรอกไซด์ไอออน (OH-) 
เขียนสมการได้เป็น 
H2O H2O 
กรด : HA H+ + A - เบส : BOH B+ + OH- 
จากสมการนีÊ สูตรทัวÉไปของกรด คือ HA เช่น HCl , HNO3 , HClO4 
ส่วนสูตรทัวÉไปของเบสคือ BOH เช่น NaOH , KOH 
ทฤษฏีกรด- เบสอาร์เรเนียส มีข้อจำกัดคือ สารทÉีเป็นกรด หรือเบส ต้องละลายนÊำได้เท่านัÊน 
2. ทฤษฏีกรด – เบสเบรินสเตต-ลาวรี ผู้คิดกฎนีÊคือ โยฮันเนส นิโคเลาส์ เบนินสเตต 
และ ทอมัส มาร์ติน ลาวรี ให้คำนิยามว่า 
กรด คือ สารทÉี ให้ โปรตอน แก่สารอÉืนได้ 
เบส คือ สารทÉี รับ โปรตอน จากสารอÉืนได้ 
ให้ H+ 
HCl (aq) + H2O (l) H3O+ (aq) + Cl- (aq) 
กรดไฮโดรคลอริก นÊำ ไฮโดรเนียมไอออน คลอไรด์ไอออน 
(กรด) (เบส) 
จากสมการ HCl เป็นสารอิเล็กโตรไลต์แก่ ซึÉงแตกตัวเป็นไอออนได้หมด ซึÉง HCl เป็นกรด 
ส่วน H2O เป็นเบส เพราะ HCl ให้ H+ แก่นÊำ 
ให้ H+ ให้ H+ 
CH3COOH (aq) + H2O (l) H3O+ (aq) + CH3COO- (aq) 
กรดแอซิติก นÊำ ไฮโดรเนียมไอออน คลอไรด์ไอออน 
(กรด) (เบส) (กรด) (เบส) 
จากสมการ CH3COOH เป็นสารอิเล็กโตรไลต์อ่อน แตกตัวเป็นไอออนได้บางส่วน ดังนัÊน 
ปฏิกิริยาไปข้างหน้า จะเห็นว่า CH3COOH ให้ H+ แก่ H2O แล้วกลายเป็น CH3COO- 
ดังนัÊน CH3COOH เป็นกรด และ H2O เป็นเบส 
ปฏิกิริยาย้อนกลับ จากนัÊน H3O+ จะให้ H+ แก่ CH3COO- ดังนัÊน H3O+ เป็นกรด ส่วน CH3COO- เป็นเบส 
กรดแก่ 
กรดอ่อน 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 4
NaOH (s) + H2O (l) Na+ (aq) + OH- (aq) 
โซเดียมไฮดรอกไซด์ นÊำ โซเดียมไอออน ไฮดรอกไซด์ไอออน 
(เบส) (กรด) 
จากสมการ NaOH เป็นสารอิเล็กโตรไลต์แก่ ซึÉงแตกตัวเป็นไอออนได้หมด ซึÉง NaOH เป็นเบส 
ส่วน H2O เป็นกรด เพราะ NaOH รับ H+ จากนÊำ 
NH3 (aq) + H2O (l) NH4 
+ (aq) + OH- (aq) 
แอมโมเนีย นÊำ แอมโมเนียมไอออน ไฮดรอกไซด์ไอออน 
(เบส) (กรด) (กรด) (เบส) 
จากสมการ NH3 เป็นสารอิเล็กโตรไลต์อ่อน แตกตัวเป็นไอออนได้บางส่วน ดังนัÊน 
ปฏิกิริยาไปข้างหน้า จะเห็นว่า NH3 รับ H+ จาก H2O แล้วกลายเป็น NH4 
+ ดังนัÊน NH3 เป็นเบส 
และ H2O เป็นกรด 
ปฏิกิริยาย้อนกลับ จากนัÊน OH- จะรับ H+ จาก NH4 
+ ดังนัÊน OH- เป็นเบส ส่วน NH4 
+ เป็นกรด 
 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสตามทฤษฏีของเบรินสเตต- ลาวรี สามารถเขียนเป็นสมการทัÉวไปได้ ดังนีÊ 
กรด 1 + เบส 2 กรด 2 + เบส 1 
หรือ เบส 1 + กรด 2 เบส 2 + กรด 1 
 ข้อจำกัดของทฤษฏีเบรินสเตต-ลาวรี 
แม้ว่าทฤษฏีเบรินสเตต-ลาวรี จะกว้างกว่าทฤษฏีกรด-เบสของอาร์เรเนียส แต่ก็มีข้อจำกัดคือ 
สารทีÉเป็นกรดได้ จะต้องเป็นให้โปรตอน (H+) แก่สารอืÉน ส่วนสารทีÉเป็นเบสได้ 
จะต้องรับโปรตอน (H+) จากสารอÉืนได้ 
แต่สารทÉีไม่สามารถให้หรือรับโปรตอน (H+) จากสารอÉืนได้ จะไม่สามารถบอกได้ว่าเป็นกรดหรือเบส 
ดังนัÊนจึงมีผู้เสนอทฤษฏีเกÉียวกับกรด-เบสใหม่ เพÉือให้ครอบคลุมถึงสารจำพวกนีÊด้วย คือ ลิวอิส 
เบสแก่ 
เบสอ่อน 
รับ H+ 
รับ H+ รับ H+ 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 5
ความรู้เพมÉิเติม 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 6 
 สารหรือไอออนทÉีเป็นทÊงักรดและเบส 
- สารหรือไอออนบางชนิดสามารถให้และรับโปรตอน (H+) สารหรือไอออนนีÊจึงเป็นได้ทัÊงกรดและเบส 
เรียกว่า สารแอมฟิโปรติก หรือสารแอมโฟเทอริก (Amphiprotic or Amphotheric substance) 
สารหรือไอออนพวกนีÊ เช่น H2O , NH3 , CH3COOH เป็นต้น 
สารแอมฟิโปรติก สมบัติของสารหรือไอออนตามทฤษฏีของเบรินสเตต-ลาวรี 
H2O 
CH3COOH + H2O H3O+ + CH3COO- 
กรด เบส กรด เบส 
NH3 + H2O NH4 
+ + OH- 
เบส กรด กรด เบส 
NH3 
NH3 + H2O NH4 
+ + OH- 
เบส กรด กรด เบส 
NH2 
- + H2 O NH3 + OH- 
เบส กรด กรด เบส 
CH3COOH 
CH3COOH + H2O H3O+ + CH3COO- 
กรด เบส กรด เบส 
CH3COOH + HClO4 CH3COOH2 
+ + ClO4 
- 
เบส กรด กรด เบส
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 7 
3. ทฤษฏีกรด – เบส ของลิวอิส กิลเบิร์ด นิวตัน ลิวอิส นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกันได้เสนอทฤษฏีกรด-เบส ขึÊนใหม่ โดยให้คำนิยามดังนีÊ 
กรด คือ สารทีÉสามารถรับอิเล็กตรอนคู่โดดเดีÉยวได้ในการเกิดพันธะโคเวเลนต์ 
เบส คือ สารทีÉสามารถให้อิเล็กตรอนคู่โดดเดีÉยวได้ในการเกิดพันธะโคเวเลนต์ 
ตัวอย่างกรด – เบส ตามทฤษฏีของลิวอิส เช่น 
H+ + 
H 
. . 
: N : H 
. . 
H 
H 
. . 
H : N : H 
. . 
H 
+ 
รับ e- 
กรด เบส 
ปฏิกิริยานÊี H+ เป็นกรด ส่วน NH3 เป็นเบส เพราะ H+ รับอิเล็กตรอนคู่โดดเดÉียวจาก NH3 แล้วเกิดพันธะโคเวเลนต์ 
+ 
H 
. . 
: N : H 
. . 
H 
รับ e- 
. . 
: F : 
. . 
: F : B 
. . 
: F : 
. . 
กรด เบส 
. . 
: F : H 
. . . . 
: F : B : N : H 
. . . . 
: F : H 
. . 
ปฏิกิริยานÊี BF3 ซÉึง B ยังขาดอิเล็กตรอนอีก 1 คู่ จึงครบกฎออกเตต (ครบ 8) B จึงรับอิเล็กตรอนคู่โดดเดÉียวจาก NH3 
ซÉึง N มีอิเล็กตอรนคู่โดดเดÉียวเดÉียวเหลือ 1 คู่ ดังนัÊน BF3 เป็นกรด ส่วน NH3 เป็นเบส 
+ 
ให้ e- 
. . 
: O : 
. . 
2- 
. . 2- 
O : 
. . 
. . . . 
S : O : 
. . . . 
: O : 
. . 
เบส กรด 
. . 
: O : 
. . . . . . 
: O : S : O : 
. . . . . . 
: O : 
. . 
ปฏิกิริยานÊี O2- เป็นเบส ส่วน SO3 เป็นกรด เพราะ O2- ให้อิเล็กตรอนคู่โดดเดÉียวแก่ SO3 (ให้แก่ S) แล้วเกิดพันธะโคเวเลนต์ 
ทฤษฏีกรด – เบสของลิวอิส สามารถนำมาใช้กับสารต่าง ๆ เพิÉมขึÊนจากทฤษฏีกรด – เบสของเบรินสเตต- ลาวรี 
แต่การพิจารณาว่าสารใดเป็นกรด หรือ เบส ตามทฤษฏีนีÊ จะต้องทราบโครงสร้างทางอิเล็กตรอนของสารนัÊนด้วย 
จึงไม่ค่อยสะดวก และยุ่งยาก
8.4 คู่กรด - เบส 
 ในปฏิกิริยาผันกลับได้ ระหว่างกรด – เบส ของทฤษฏีกรด – เบสของเบรินสเตต-ลาวรี จะเห็นว่า 
ทัÊงปฏิกิริยาไปข้างหน้าและย้อนกลับ ต่างก็เป็นปฏิกิริยาระหว่างกรดและเบส 
สารทÉีทำหน้าทÉีเป็นกรดในปฏิกิริยาไปข้างหน้า กับ สารทÉีทำหน้าทÉีเป็นเบสในปฏิกิริยาย้อนกลับ 
สารทÉีทำหน้าทÉีเป็นเบสในปฏิกิริยาไปข้างหน้า กับ สารทÉีทำหน้าทÉีเป็นกรดในปฏิกิริยาย้อนกลับ 
เราเรียกปฏิกิริยาดังกล่าวว่า คู่กรด – เบส 
 ตัวอย่าง 1 
คู่กรด - เบส 
CH3COOH + H2O H3O+ + CH3COO- 
กรด 1 เบส 2 กรด 2 เบส 1 
คู่กรด - เบส 
CH3COOH เป็นคู่กรดของเบส (CH3COO-) 
CH3COO- เป็นคู่เบสของกรด (CH3COOH) 
H3O+ เป็นคู่กรดของเบส (H2O ) 
H2O เป็นคู่เบสของกรด (H3O+) 
 ตัวอย่าง 2 
คู่กรด - เบส 
NH3 + H2O NH4 
+ + OH- 
เบส 1 กรด 2 กรด 1 เบส 2 
NH3 เป็นคู่เบสของของกรด (NH4 
+) 
NH4 
+ เป็นคู่กรดของเบส (NH3) 
OH- เป็นคู่เบสของกรด (H2O) 
H2O เป็นคู่กรดของเบส (OH-) 
คู่กรด - เบส 
ตัวอย่าง 3 จงเขียนปฏิกิริยาของกรด HCN (aq) กับ H2O (l) และเขียน คู่กรด – เบส ของปฏิกิริยานีÊ 
คู่กรด - เบส 
HCN (aq) + H2O (l) H3O+ (aq) + CN- (aq) 
กรด 1 เบส 2 กรด 2 เบส 1 
คู่กรด - เบส 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 8
ตัวอย่าง 4 จงเขียนปฏิกิริยาของเบส CH3COO- (aq) กับ H2O (l) และ เขียน คู่กรด – เบส ของปฏิกิริยานีÊ 
คู่กรด - เบส 
CH3COO- (aq) + H2O (l) CH3COOH (aq) + OH- (aq) 
เบส 1 กรด 2 กรด 1 เบส 2 
ตัวอย่าง 5 จงเขียนปฏิกิริยาของกรด H2CO3 (aq) กับ H2O (l) และเขียน คู่กรด – เบส ของปฏิกิริยานีÊ 
คู่กรด - เบส 
H2CO3 (aq) + H2O (l) H3O+ (aq) + HCO3 
- (aq) 
กรด 1 เบส 2 กรด 2 เบส 1 
คู่กรด - เบส 
ตัวอย่าง 6 จากปฏิกิริยาต่อไปนีÊ สารนีÊเป็นกรด หรือ เบส 
1) H2SO3 + H2O H3O+ + HSO3 
- กรด หรือ เบส ??? 
2) NH3 + H2O NH4 
+ + OH- กรด หรือ เบส ??? 
3) NH2 
- + H2 O NH3 + OH- กรด หรือ เบส ??? 
4) CH3COOH + H2O H3O+ + CH3COO- กรด หรือ เบส ??? 
นักเรียนคิดว่า สารอิเล็กโตรไลต์แก่ มีคู่กรด – เบส หรือไม่ เพราะเหตุใด 
 ดังนัÊน คู่กรดของเบส คือ สารทÉีมีโปรตอน (H+) มากกว่า คู่เบส 1 โปรตอน (เพราะรับโปรตอน (H+) มา) 
ส่วน คู่เบสของกรด คือ สารทÉีมีโปรตอน (H+) น้อยกว่า คู่กรด 1 โปรตอน (เพราะให้โปรตอน (H+) ไป) 
ตัวอย่าง คู่กรดของเบสต่อไปนÊี คือสารใด ตัวอย่าง คู่เบสของกรดต่อไปนÊี คือสารใด 
ก. H2O คู่กรดของเบส H2O คือ H3O+ ก. H2O คู่เบสของกรด H2O คือ OH- 
ข. HS- คู่กรดของเบส HS- คือ H2S ข. H2S คู่เบสของกรด H2S คือ HS- 
ค. NH3 คู่กรดของเบส NH3 คือ NH4 
+ ค. NH4 
+ คู่เบสของกรด NH4 
+ คือ NH3 
ง. H2PO4 
- คู่กรดของเบส H2PO4 
- คือ H3PO4 ง. H2PO4 
- คู่เบสของกรด H2PO4 
- คือ HPO4 2- 
จ. CO3 
2- คู่กรดของเบส CO3 
2- คือ HCO3 
- จ. HCO3 
- คู่เบสของกรด HCO3 
- คือ CO3 
2- - 
+ ฉ. CH3COOH คู่เบสของกรด CH3COOH คือ CH3COO- 
ฉ. CH3COOH คู่กรดของเบส CH3COOH คือ CH3COOH2 
คู่กรด - เบส 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 9
1) การแตกตัวของกรดแก่ และ เบสแก่ 
- กรดแก่ และเบสแก่ เมÉือละลายนÊำเป็นสารละลาย จะแตกตัวเป็นไอออนได้หมด ดังนัÊน 
เมÉือกรดแก่ หรืเบสแก่ละลายนÊำจึงมีเฉพาะการเปลÉียนแปลงไปข้างหน้าเพียงอย่างเดียว 
การละลายนÊำของกรดแก่ เช่น HCl (g) , HClO4 (l) เขียนสมการแสดงการเปลÉียนแปลงได้ ดังนีÊ 
HCl (g) + H2O (l) H3O+ (aq) + Cl- (aq) 
HClO4 (g) + H2O (l) H3O+ (aq) + ClO4 
- (aq) 
การละลายนÊำของเบสแก่ เช่น NaOH (s) , KOH (s) เขียนสมการแสดงการเปลÉียนแปลงได้ ดังนีÊ 
NaOH (s) H2O (l) Na+ (aq) + OH- (aq) 
KOH (s) H2O (l) K+ (aq) + OH- (aq) 
ดังนัÊน สูตรทÉัวไปของกรดแก่ คือ HA และสูตรทÉัวไปของเบสแก่ คือ MOH เมÉือละลายนÊำ เขียนสมการทÉัวไป ได้ดังนÊี 
HA + H2O (l) H3O+ (aq) + A- (aq) กรดแก่ 
MOH H2O (l) M+ (aq) + OH- (aq) เบสแก่ 
ตาราง แสดงตัวอย่างกรดแก่ และเบสแก่ 
กรดแก่ เบสแก่ 
HClO4 
HI 
HBr 
HCl 
HNO3 
H2SO4 
CsOH 
RbOH 
KOH 
NaOH 
LiOH 
Ra(OH)2 
Ba(OH)2 
Ca(OH)2 
8.5 การแตกตัวของกรด - เบส 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 10
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 11 
 การคำนวณค่าการแตกตัวของกรดแก่ และ เบสแก่ 
 เนืÉองจากกรดแก่และเบสแก่เป็นอิเล็กโตรไลต์แก่ ทีÉแตกตัวเป็นไอออนได้มาก หรือแตกตัวเป็นไอออนได้อย่างสมบูรณ์ 
จึงเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าเพียงอย่างเดียว 
 ถ้าทราบความเข้มข้นของกรดแก่ หรือเบสแก่ จะสามารถคำนวณหาความเข้มข้นไฮโดรเนียมไอออน และ ไฮดรอกไซด์ไอออนได้ 
ตัวอย่าง 1 กรดไนตริก (HNO3) เป็นกรดแก่ ถ้ากรดนีÊ 0.3 โมล ละลายในนÊำ 600 cm3 ความเข้มข้นของ 
ไฮโดรเนียมไอออน (H3O+) เป็นกีÉโมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร 
วิธีทำ HNO3 เป็นกรดแก่ แตกตัวได้หมด จึงเขียนปฏิกิริยาได้ดังนีÊ 
HNO3 (l) + H2O (l) H3O+ (aq) + NO3 
- (aq) 
0.3 mol 600 cm3 ? ? 
จากสมการ 
เนืÊอกรด HNO3 1 mol แตกตัวให้ H3O+ 1 mol 
ดังนัÊน เนืÊอกรด HNO3 0.3 mol แตกตัวให้ H3O+ 1 mol x 0.3 mol = 0.3 mol 
1 mol 
แต่โจทย์ถาม ความเข้มข้นไฮโดรเนียมไอออน (mol / dm3) 
สารละลาย HNO3 600 cm3 มี H3O+ 0.3 mol 
ดังนัÊน สารละลาย HNO3 1000 cm3 มี H3O+ 0.3 mol x 1000 cm3 = 0.5 mol 
600 cm3 
ตอบ ความเข้มข้น H3O+ คือ 0.5 mol / dm3 
ตัวอย่าง 2 สารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl) เข้มข้น 0.5 mol/dm3 จำนวน 250 cm3 มีไฮโดรเนียมไอออน (H3O+) 
และคลอไรด์ไอออน (Cl-) อย่างละกีÉโมล 
วิธีทำ สารละลาย HCl เข้มข้น 0.5 mol/dm3 หมายความว่า 
สารละลาย HCl 1000 cm3 มีเนืÊอ HCl 0.5 mol 
ถ้า สารละลาย HCl 250 cm3 มีเนืÊอ HCl 0.5 mol x 250 cm3 = 0.125 mol 
1000 cm3 
HCl เป็นกรดแก่ แตกตัวได้หมด จึงเขียนปฏิกิริยาได้ดังนีÊ 
HCl (aq) + H2O (l) H3O+ (aq) + Cl- (aq) 
1 mol 1 mol 1 mol 1 mol 
จากสมการ 
HCl 1 mol แตกตัวให้ H3O+ = 1 mol และ Cl- = 1 mol 
ดังนัÊน HCl 0.125 mol แตกตัวให้ H3O+ = 0.125 mol และ Cl- = 0.125 mol 
ตอบ มีไฮโดรเนียมไอออน (H3O+ ) 0.125 mol และคลอไรด์ไอออน (Cl- ) 0.125 mol
2) การแตกตัวของกรดอ่อน 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 12 
 กรดอ่อนเมÉือละลายนÊำแล้ว แตกตัวเป็นไอออนได้ไม่หมด ในสารละลายจึงมีทัÊงไอออนและโมเลกุลทÉีแตกตัวไม่หมด จึง 
ทำให้เกิดปฏิกิริยาผันกลับ เมÉืออัตราการเปลÉียนแปลงไปข้างหน้าและย้อนกลับเกิดในอัตราเท่ากัน ระบบจะเข้าสู่ภาวะสมดุล 
 ถ้าให้ HA เป็นกรดอ่อน เมÉือละลายนÊำ สามารถเขียนสมการแสดงการเปลÉียนแปลงได้ ดังนีÊ 
HA (aq) + H2O (l) H3O+ (aq) + A- (aq) 
Ka = [ H3O+] [A-] โดย Ka เรียกว่า ค่าคงทีÉการแตกตัวของกรด 
[HA] 
 เนÉืองจากกรดอ่อนแตกตัวเป็นไอออนได้ไม่หมด ดังนัÊน ในการบอกปริมาณการแตกตัวของกรดอ่อนจึงนิยมบอกเป็นร้อยละ 
ซึÉงคำนวณได้จากสูตรดังนีÊ 
ร้อยละของการแตกตัวของกรด = จำนวนโมล (ความเข้มข้น) ของกรดทีÉแตกตัวได้ x 100 
จำนวนโมล (ความเข้มข้น) ของกรดทัÊงหมด 
ตัวอย่าง 1 สารละลายกรด HB เข้มข้น 0.2 mol / dm3 แตกตัวเป็นไอออนได้เพียง 0.05 mol / dm3 
จงคำนวณหาปริมาณการแตกตัวเป็นร้อยละ 
วิธีทำ การแตกตัวของกรดอ่อน HB เป็นดังสมการ 
HB (aq) + H2O (l) H3O+ (aq) + B- (aq) 
ร้อยละของการแตกตัวของกรด HB = 0.05 mol / dm3 x 100 = 25 
0.2 mol / dm3 
ตอบ สารละลายกรด HB แตกตัวได้ร้อยละ 25 
 ปริมาณการแตกตัวของกรดอ่อน นอกจากจะบอกเป็นร้อยละแล้ว ยังสามารถบอกโดยใช้ค่าคงทÉีสมดุลก็ได้ 
คือ ถ้าค่าคงทสÉีมดุลของกรดใดมีค่ามาก แสดงว่า กรดนัÊนมีการแตกตัวเป็นปริมาณมาก เรียก ค่าคงทÉีสมดุลของกรด (Ka) 
ตัวอย่าง 2 สารละลายกรด HA เข้มข้น 0.01 mol / dm3 แตกตัวได้ร้อยละ 2 ค่าคงทÉีการแตกตัวของกรดนีÊมีค่าเท่าใด 
วิธีทำ ปริมาณการแตกตัวของกรด HA = 2 x 0.01 = 0.0002 = 2 x 10-4 mol / dm3 
100 
สมการทีÉภาวะสมดุล ดังนีÊ 
HA (aq) + H2O (l) H3O+ (aq) + B- (aq) 
0.01 mol / dm3 2 x 10-4 mol / dm3 2 x 10-4 mol / dm3 
คำนวณค่าคงทีÉการแตกตัวของกรดได้ดังนีÊ 
Ka = [H3O+ ] [ B- ] = (2 x 10-4 ) (2 x 10-4 ) = 4 x 10-8 = 4 x 10-6 
[HA ] 0.01 10-2 
ตอบ ค่าคงทีÉการแตกตัวของกรด HA เท่ากับ 4 x 10-6 
กรดอ่อนมี 2 ประเภท ได้แก่ 
1. กรดโมโนโปรติก (monoprotic acid) คือ กรดทÉีมีสูตรทัวÉไปเป็น HA จะแตกตัวได้ 1 ขัÊน 
2. กรดไดโปรติก (diprotic acid) คือ กรดทÉีมีสูตรทัวÉไปเป็น H2A จะแตกตัวได้ 2 ขัÊน 
H2A (aq) + H2O (l) H3O+ (aq) + HA- (aq) Ka1 
HA (aq) + H2O (l) H3O+ (aq) + A- (aq) Ka2 
ดังนัÊน Ka = Ka1 . Ka2
3) การแตกตัวของเบสอ่อน 
 เบสอ่อนเมÉือละลายนÊำแล้ว แตกตัวเป็นไอออนได้ไม่หมด จึงเกิดปฏิกิริยาผันกลับได้ เช่นเดียวกับกรดอ่อน 
 ถ้าให้ NH3 เป็นเบสอ่อน เมÉือละลายนÊำ สามารถเขียนสมการแสดงการเปลÉียนแปลงได้ ดังนีÊ 
NH3 (aq) + H2O (l) NH4 
+ (aq) + OH- (aq) 
 ค่าคงทีÉการแตกตัวของเบสอ่อน จะบอกให้ทราบถึงความสามารถในการแตกตัวเป็นไอออนในสารละลายได้เช่นเดียวกับ 
ค่าคงทีÉการแตกตัวของกรดอ่อน 
+] [OH-] โดย Kb เรียกว่า ค่าคงทีÉการแตกตัวของเบส 
[NH3] 
Kb = [NH4 
ร้อยละของการแตกตัวของเบส = จำนวนโมลของเบสทีÉแตกตัวได้ x 100 
จำนวนโมลของเบสทัÊงหมด 
ตัวอย่าง 1 สารละลาย XOH เข้มข้น 0.2 mol / dm3 แตกตัวได้ร้อยละ 5 จงหาความเข้มข้นของ OH- ในสารละลาย 
และหาค่าคงทีÉการแตกตัวของเบส 
ปริมาณการแตกตัวของเบส XOH = 5 x 0.2 = 0.01 mol / dm3 
100 
สมการทÉีภาวะสมดุล ดังนีÊ 
XOH (aq) + H2O (l) X+ (aq) + OH- (aq) 
0.2 mol / dm3 0.01 mol / dm3 0.01 mol / dm3 
ดังนัÊน ความเข้มข้นของ OH- เท่ากับ 0.01 mol / dm3 
คำนวณค่าการแตกตัวของเบส ดังนีÊ 
Kb = [X+] [OH- ] = ( 0.01 ) ( 0.01 ) = 0.0005 = 5 x 10-4 
[XOH] 0.2 
ตอบ ความเข้มข้นของ OH- เท่ากับ 0.01 mol / dm3 และค่าคงทีÉการแตกตัวของเบส XOH เท่ากับ 5 x 10-4 
ตัวอย่าง 2 จงคำนวณร้อยละของการแตกตัวของสารละลายเบส XOH ทÉีมีความเข้มข้น 0.02 mol / dm3 
(Kb ของ XOH = 2.0 x 10-4) 
วิธีทำ XOH (aq) + H2O (l) X+ (aq) + OH- (aq) 
0.25 mol / dm3 
Kb = [X+] [OH- ] 
[XOH] 
2.0 x 10-4 = [X+] [OH- ] 
0.02 
0.04 x 10-4 = [X+] [OH- ] เนืÉองจาก [X+] = [OH- ] 
4 x 10-6 = [X+] [OH- ] = [X+]2 = [OH- ]2 
ดังนัÊน [X+] = 4 x 10 -6 = 2 x 10 -3 
[OH- ] = 4 x 10 -6 = 2 x 10 -3 
ร้อยละการแตกตัวของเบส XOH = จำนวนโมล (ความเข้มข้น) ของกรดทีÉแตกตัวได้ x 100 
จำนวนโมล (ความเข้มข้น) ของกรดทัÊงหมด 
= 0.002 x 100 = 10 
0.02 
ตอบ ร้อยละการแตกตัวของสาระลายเบส XOH เท่ากับ 10 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 13
8.6 การแตกตัวเป็นไอออนของนํÊา 
 จากทีÉเคยศึกษา ทราบแล้วว่า นÊำ เป็นโมเลกุลโคเวเลนต์มีขัÊว และเป็นตัวทำละลายทÉีดี 
 นÊำบริสุทธิÍ เช่น นÊำกลันÉ นักเรียนคิดว่าจะแตกตัวเป็นไอออนได้หรือไม่ มีวิธีการทดสอบอย่างไร 
 ทำการทดลอง การนำไฟฟ้าของนÊำ ได้ผลดังนีÊ 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 14 
 นÊำบริสุทธิÍ สามารถนำไฟฟ้าได้น้อยมาก จนไม่สามารถตรวจการนำไฟฟ้าด้วยเครÉืองธรรมดาได้ (ตรวจความสว่างหลอดไฟ) 
 แต่เมÉือใช้เครÉืองแอมมิเตอร์พบว่า เข็มของแอมมิเตอร์เบนเพียงเล็กน้อยเท่านัÊน 
 แสดงว่า นÊำบริสุทธิÍแตกตัวได้ (เพราะเข็มของแอมมิเตอร์เบนเล็กน้อย แสดงว่ามีการนำไฟฟ้า) ดังสมการ 
H2O (l) + H2O (l) H3O+ (aq) + OH- (aq) 
จะเห็นว่า นÊำบริสุทธิÍสามารถนำไฟฟ้าได้เล็กน้อย และแตกตัวเป็นไอออนไฮโดรเนียมไอออน (H3O+ ) 
และไฮดรอกไซด์ไอออน (OH- ) ได้เล็กน้อย 
เขียนสมการแสดงค่าคงทÉีสมดุลของนÊำได้ดังนีÊ 
Kw = [ H3O+ ] [ OH- ] 
เรียก Kw ว่า ค่าคงทÉีการแตกตัวของนÊำ 
 เมÉือทดลองการนำไฟฟ้าของนÊำทÉีอุณหภูมิตํÉา (25OC) และนÊำทÉีอุณหภูมิสูง (60OC) พบว่า นÊำทÉีอุณหภูมิตํÉา 
แตกตัวเป็นไอออนได้น้อยกว่า นÊำทÉีอุณหภูมิสูง ดังนีÊ 
Kw ทีÉอุณหภูมิ 25OC มีค่าเท่ากับ 1.0 x 10-14 mol2/dm6 
Kw ทีÉอุณหภูมิ 60OC มีค่าเท่ากับ 9.5 x 10-14 mol2/dm6 
ดังนัÊน การบอกค่า Kw จึงต้องระบุอุณหภูมิด้วย และปกติเราไม่กล่าวถึงหน่วยของ Kw เหมือนค่าคงทÉีสมดุลอÉืนๆ 
 จากสมการการแตกตัวของนÊำ จะเห็นว่า ได้ไฮโดรเนียมไอออน และ ไฮดรอกไซด์ไอออน เกิดขึÊน จำนวนโมลเท่ากัน 
H2O (l) + H2O (l) H3O+ (aq) + OH- (aq) 
ดังนัÊน [ H3O+ ] = [ OH- ] 
จาก Kw = [ H3O+ ] [ OH- ] 
หรือ Kw = [ H3O+ ]2 หรือ Kw = [ OH- ]2 
จะได้ Kw = [ H3O+ ] หรือ Kw = [ OH- ] 
จาก Kw = 1.0 x 10-14 ทีÉอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส 
ดังนัÊน Kw = 1.0 x 10-14 mol2/dm6 = 1.0 x 10-7 mol/dm3 
Kw = [ H3O+ ] = [ OH- ] = 1.0 x 10-7 mol/dm3 
 สรุปได้ว่า นÊำบริสุทธิÍ มีค่าคงทÉีการแตกตัวของนÊำ เท่ากับ 1.0 x 10-14 (Kw = 1.0 x 10-14) ทÉี 25OC 
 และมีความเข้มข้น ไฮโดรเนียมไอออน เท่ากับ ความเข้มข้นไฮดรอกไซด์ไอออน คือ 1.0 x 10-7 mol/dm3 
H2O (l) + H2O (l) H3O+ (aq) + OH- (aq) 
1.0 x 10-7 mol/dm3 1.0 x 10-7 mol/dm3 
คำถาม ถ้าเติมกรดหรือเบสลงไปในนÊำ จะทำให้ความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออนและ ไฮดรอกไซด์ไอออนเปลÉียนแปลงอย่างไร (หน้าหลัง)
 การเปลีÉยนความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออนและไฮดรอกไซด์ไอออน ในนํÊา จะมีผลดังนีÊ 
 เมืÉอเติมกรดในนํÊา (ความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออน (H3O+) เพิÉมขึÊน ) 
เมืÉอปริมาณ H3O+ ในสารละลายเพิÉมขึÊน ซึÉงทำให้สมดุลของนÊำถูกรบกวน 
ความเข้มข้น H3O+ จะมากกว่า 1.0 x 10-7 mol/dm3 ส่วนความเข้มข้น OH- น้อยกว่า 1.0 x 10-7 mol/ 
ตามหลักเลอชาเตอริเอ ระบบจะปรับตัวเพÉือลดการรบกวนนัÊน (เพÉือลดปริมาณ H3O+ ) โดย H3O+ จะรวมตัวกับ OH- 
เกิดเป็น H2O และเข้าสู่ภาวะสมดุลอีกครัÊงหนึÉง 
 เมืÉอเติมเบสในนํÊา (ความเข้มข้นของไฮดรอกไซด์ไอออน (OH-) เพิÉมขึÊน ) 
เมÉือปริมาณ OH- ในสารละลายเพิÉมขึÊน ซึÉงทำให้สมดุลของนÊำถูกรบกวน 
ความเข้มข้น OH- จะมากกว่า 1.0 x 10-7 mol/dm3 ส่วนความเข้มข้น H3O+ น้อยกว่า 1.0 x 10-7 mol/dm3 
ตามหลักเลอชาเตอริเอ ระบบจะปรับตัวเพÉือลดการรบกวนนัÊน (เพÉือลดปริมาณ OH-) โดย OH- จะรวมตัวกับ H3O+ 
เกิดเป็น H2O และเข้าสู่ภาวะสมดุลอีกครัÊงหนึÉง 
8.7 pH ของสารละลาย 
 ในสารละลายกรด หรือ เบส จะมีทัÊง H3O+ (ไอออนของกรด) และ OH- (ไอออนของเบส) ปริมาณแตกต่างกัน 
จึงใช้ความเข้มข้นของ H3O+ หรือ OH- ในสารละลายเป็นเกณฑ์บอกความเป็นกรด – เบส 
 เพÉือความสะดวก จึงกำหนดให้ใช้ ความเข้มข้น H3O+ เป็นเกณฑ์ ดังนีÊ 
 สารละลายทีÉเป็นกรด จะมีความเข้มข้น H3O+ มากกว่า 1.0 x 10-7 mol/dm3 
 สารละลายทีÉเป็นเบส จะมี ความเข้มข้น H3O+ น้อยกว่า 1.0 x 10-7 mol/dm3 
 สารละลายทีÉเป็นกลาง จะมี ความเข้มข้น H3O+ เท่ากับ 1.0 x 10-7 mol/dm3 
 แต่ความเข้มข้นของ H3O+ มีค่าน้อย จึงไม่สะดวกต่อการนำมาใช้ นักชีวเคมีชาวสวีเดน ชืÉอ ซอเรสซัน 
ได้เสนอเปลÉียนค่าความเข้มข้นของ H3O+ ให้อยใู่นรูปทÉีใช้งานได้สะดวก และเรียกค่าใหม่นีÊว่า pH ดังนีÊ 
pH = - log [ H3O+ ] 
เมÉือคำนวณ pH สารละลายทÉีเป็นกลาง [ H3O+ ] = 1.0 x 10-7 mol/dm3 
pH = - log (1.0 x 10-7 ) 
= - log 1.0 - log 10-7 
pH = - 0 + 7 log 10 = 0 + 7(1) = 7 
ดังนัÊน ในสารละลายทÉีเป็นกลาง มี pH เท่ากับ 7 
เมÉือคำนวณวิธีการเดียวกันในสารละลายกรด และ เบส จะได้ผลแสดงดังนีÊ 
 สารละลายทีÉเป็นกรด จะมี pH น้อยกว่า 7 
 สารละลายทีÉเป็นเบส จะมี pH มากกว่า 7 
 สารละลายทีÉเป็นกลาง จะมี pH เท่ากับ 7 
 ทำนองเดียวกัน ถ้ากล่าวถึง [OH-] เราก็สามารถเปลÉียนเป็น pOH ได้ 
pOH = - log [OH-] 
pH + pOH = 14 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 15
ตัวอย่าง 1 สารละลายกรดทีÉมีความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออน 2.0 x 10-7 mol/dm3 จะมี pH เท่าไร (กำหนด log2 = 0.301) 
วิธีทำ จาก pH = - log [ H3O+ ] 
= - log (2.0 x 10-7) 
= - log 2.0 - log 10-7 
= - 0.301 + 7 log 10 = - 0.301 + 7 (1) 
= - 0.301 + 7 = 6.699 
ตอบ สารละลายนีÊมี pH ประมาณ 6.7 
ตัวอย่าง 2 สารละลายเบสมีความเข้มข้นของไฮดรอกไซด์ไอออน (OH-) 1.0 x 10-6 mol/dm3 จะมี pH เท่าใด ทีÉ 25OC 
วิธีทำ จาก pH = - log [ H3O+ ] 
หาค่า [ H3O+ ] 
จาก Kw = [ H3O+ ] [ OH- ] = 1.0 x 10-14 mol2/dm6 
[ H3O+ ] (1.0 x 10-6 mol/dm3) = 1.0 x 10-14 mol2/dm6 
[ H3O+ ] = 1.0 x 10-14 mol2/dm6 = 1.0 x 10-8 mol/ dm3 
1.0 x 10-6 mol/ dm3 
จาก pH = - log [ H3O+ ] 
= - log (1.0 x 10-8 ) 
= - log 1.0 - log 10-8 
= - 0 + 8 log10 = 0 + 8(1) = 8 
ตอบ สารละลายนีÊ มี pH เท่ากับ 8 
ตัวอย่าง 3 สารละลาย HX เข้มข้น 0.01 mol/dm3 แตกตัวเป็นไอออนได้ร้อยละ 2 มีค่าคงทีÉสมดุลเท่าไร และมี pH เท่าไร (log2=0.301) 
วิธีทำ คำนวณปริมาณการแตกตัวของ HX = 2 x 0.01 mol/dm3 = 0.0002 mol/dm3 หรือ 2 x 10-4 mol/dm3 
100 
ดังนัÊน HX แตกตัวเป็นไอออน 2 x 10-4 mol/dm3 
เขียนสมการได้ดังนีÊ 
HX (aq) + H2O (l) H3O+ (aq) + X- (aq) 
0.01 mol/dm3 2 x 10-4 mol/dm3 2 x 10-4 mol/dm3 
หาค่า K = [H3O+] [X-] = (2 x 10-4 ) (2 x 10-4 ) = 4 x 10-8 = 4 x 10-6 
[HX] ( 0.01) 10-2 
หาค่า pH = - log [ H3O+ ] 
= - log ( 2 x 10-4 ) 
= - log 2 - log 10-4 
= - 0.301 + 4 log 10 = - 0.301 + 4 (1) = - 0.301 + 4 = 3.699 
ตอบ สารละลาย HX นีÊ มีค่าคงทÉีสมดุลเท่ากับ 4 x 10-6 และมี pH 3.7 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 16
ตัวอย่าง 4 สารละลาย NaOH มี pH 9 มีความเข้มข้น H3O+ เท่าใด 
pH = - log [ H3O+ ] 
นัÉนคือ 9 = - log 10- 9 (- log 10- 9 = 9 log10 = 9(1) = 9 ) 
9 = - log [ H3O+ ] 
ดังนัÊน [ H3O+ ] = 10- 9 
ตอบ สารละลายนีÊมี ความเข้มข้น H3O+ เท่ากับ 10- 9 mol/dm3 
ตัวอย่าง 5 จากตัวอย่างทีÉ 4 ความเข้มข้นของ OH- เป็นเท่าใด 
ตัวอย่าง 6 สารละลาย KOH เข้มข้น 0.05 mol/dm3 จะมี pH เท่าใด (กำหนด log2 = 0.301) 
ตัวอย่าง 7 สารละลาย A มี pOH 9 จงหา pH 
ตัวอย่าง 8 HA เข้มข้น 0.02 mol/dm3 แตกตัวเป็นไอออนได้ร้อยละ 1 มี pH เท่าไร (log2=0.301) 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 17
8.8 อินดิเคเตอร์สำหรับกรด - เบส 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 18 
 การใช้กระดาษลิตมัสบอกให้ทราบแต่เพียงว่าสารละลายเป็นกรดหรือเบสเท่านัÊน แต่ไม่สามารถบอกได้ว่ามีความเป็นกรดหรือเบสมาก 
น้อยเพียงใด 
 นอกจากระดาษลิตมัสยังมีสารอีกหลายชนิดทÉีใช้ตรวจสอบความเป็นกรด-เบสของสารละลายได้ 
 สารทีÉใช้ตรวจสอบความเป็นกรด-เบสของสารละลายเรียกว่า อินดิเคเตอร์สำหรับกรด – เบส 
 สมบัติของอินดิเคเตอร์ 
 มีสูตรโครงสร้างซับซ้อน จึงใช้ HIn แทนสูตรอินดิเคเตอร์ 
 มีสมบัติเป็นกรดอ่อน 
 เมืÉออินดิเคเตอร์อยู่ในสารละลาย จะเกิดสมดุล ดังสมการ 
HIn (aq) + H2O (l) H3O+ (aq) + In- (aq) 
กรด เบส 
 เมืÉอความเข้มข้นของไอออน หรือ pH เปลีÉยนไป สีของอินดิเคเตอร์ในสารละลายจะเปลีÉยนไป 
ตัวอย่างอินดิเคเตอร์ และช่วง pH ทีÉเปลีÉยนสี 
อินดิเคเตอร์ ช่วง pH ทีÉเปลีÉยนสี สีทีÉเปลีÉยน 
ไทมอลบลู (กรด) 
โบรโมฟีนอลบลู 
เมทิลออเรนจ์ 
เมทิลเรด 
อะโซลิตมิน (ลิตมัส) 
โบรโมไทมอลบลู 
ฟีนอลเรด 
ไทมอลบลู (เบส) 
ฟีนอล์ฟทาลีน 
1.2 – 2.8 
3.0 – 4.6 
3.2 – 4.4 
4.2 – 6.3 
5.0 – 8.0 
6.0 – 7.6 
6.8 – 8.4 
8.0 – 9.6 
8.3 – 10.0 
แดง – เหลือง 
เหลือง – นÊำเงิน 
แดง – เหลือง 
แดง – เหลือง 
แดง – นÊำเงิน 
เหลือง – นÊำเงิน 
เหลือง – แดง 
เหลือง – นÊำเงิน 
ไม่มีสี - ชมพู 
ตัวอย่าง เช่น เมทิลออเรนจ์ เปลีÉยนสีทีÉ pH 3.2 – 4.4 หมายความว่า 
ทÉี pH 3.2 หรือตํÉากว่า จะมีสีแดง 
ทีÉ pH 4.4 หรือสูงกว่า จะมีสีเหลือง 
ทีÉ pH ระหว่าง 3.2 ถึง 4.4 จะมีสีส้ม (สีผสมแดงกับเหลือง 
เมÉือต้องการตรวจสอบสารละลายชนิดหนึÉง เลือกใช้ เมทิลออเรนจ์ เป็นอินดิเคเตอร์ โดยหยดลงไปในสารละลาย 2-3 หยด 
ปรากฏว่า เกิดสี แดง แสดงว่า สารละลายนีÊ pH 3.2 หรือ ตํÉากว่า 3.2 
คำถาม มีสารละลาย A อยากทราบว่ามี pH เท่าใด จึงใช้ เมทิลเรด หยดลงไปในสารละลาย 2 หยด เกิดสีเหลือง 
 อินดิเคเตอร์แต่ละชนิดเปลÉียนสีในช่วง pH ทÉีมีค่าเฉพาะและแตกต่างกัน ซึÉงการใช้อินดิเคเตอร์เพียงชนิดเดียวทดสอบ 
ความเป็นกรด – เบส จะบอก pH ได้ช่วงกว้าง ๆ 
 ดังนัÊน จึงมีการนำอินดิเคเตอร์หลายชนิด และแต่ละชนิดเปลÉียนสีในช่วง pH แตกต่างกัน มาผสมกัน จะได้อินดิเคเตอร์ 
ทÉีบอกค่า pH ได้ละเอียดขึÊน เรียก อินดิเคเตอร์ผสมนีÊว่า ยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์
 สารละลายกรด – เบส ในชีวิตประจำวันและในสิÉงมีชีวิต 
ในชีวิตประจำวันเราใช้สารทีÉมีสมบัติเป็นกรด หรือ เบส หรือ กลาง หลายชนิด เช่น 
 อาหาร หรือเครÉืองดÉืม เช่น นÊำส้มสายชู นÊำมะนาว นÊำอัดลม (กรด) 
 สารทำความสะอาด สารซักล้าง เครÉืองสำอาง (เบส) 
 ของเหลวในสิÉงมีชีวิต เช่น เลือดจะต้องรักษาระดับ pH ให้คงทÉี (pH = 7.35 – 7.45) ถ้าเลือดมี pH ตํÉากว่า 7.35 
อาจทำให้คลÉืนไส้ อาเจียน หมดสติ หรืออาจเสียชีวิตได้ แต่ในภาวะปกติ ร่างกายจะมีระบบควบคุม pH ให้เกือบคงทÉี 
 นÊำฝน มี pH 5.5 – 6.0 
 นÊำประปา มี pH 6.5 - 8.0 
 นÊำทะเล มี pH 7.8 – 8.2 
ทำไม นÊำฝนจึงมี pH ตํÉากว่า 7 ??? 
โดยทัวÉไป นÊำฝนมีความเป็นกรดเล็กน้อย และมี pH ประมาณ 5.5 - 6.0 
ถ้าในพืÊนทÉีทÉีมีโรงงานอุตสาหกรรม นÊำฝนอาจมี pH ประมาณ 2.8 เนÉืองจาก ในอากาศมี 
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) 
ไนโตรเจนมอนอกไซด์ (NO) เมÉือฝนตกลงมา แก๊สเหล่านีÊจะทำปฏิกิริยากับฝน ดังนีÊ 
CO2 (g) + H2O (l) H2CO3 (aq) 
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ กรดคาร์บอนิก 
SO2 (g) + H2O (l) H2SO3 (aq) 
แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ กรดซัลฟิวริก 
2SO2 (g) + O2 (g) 2 SO3 (g) 
แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ แก๊สซัลเฟต 
SO3 (g) + H2O (l) H2SO4 (aq) 
แก๊สซัลเฟต กรดซัลฟิวเรต 
2NO (g) + O2 (g) 2 NO2 (g) 
แก๊สไนโตรเจนมอนอกไซด์ แก๊สไนไตรด์ 
2 NO2 (g) + H2O (l) HNO2 (aq) + HNO3 (aq) 
แก๊สไนไตรด์ กรดไนไตรด์ กรดไนตริก 
นÊำฝนจึงมีสภาพเป็นกรด และมี pH ตํÉา เรียกว่า ฝนกรด ซึÉงสามารถกัดกร่อนสิÉงปลูกสร้าง หรืออาคารบ้านเรือนทÉี 
เป็นหินปูน หรือทำปฏิกิริยากับโลหะเกิดเป็นสนิม 
 ทางการเกษตร ความเป็นกรด – เบส มีผลต่อการละลายของแร่ธาตุในดิน พืชบางชนิดเจริญเติบโตได้ดีในดินทีÉเป็นกรดเล็กน้อย 
เช่น ข้าว หรือดอกไม้บางชนิด ดังนัÊน การปลูกพืชเพÉือให้ได้ผลดีจำเป็นต้องปรับสภาพความเป็นกรด – เบสของดินให้เหมาะสม 
กับพืชทÉีปลูก เช่น ถ้าดินมีความเป็นกรดสูง ซึÉงไม่เหมาะแก่การเพาะปลูก จำเป็นต้องลดความเป็นกรดของดิน โดยการ 
เติมปูนขาวหรือขีÊเถ้าลงไป 
คำถาม ปูนขาว หรือ ขีÊเถ้า ช่วยลดความเป็นกรดในดินได้อย่างไร 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 19
8.9 ปฏิกิริยาของกรดและเบส 
ปฏิกิริยาของกรดและเบส เกิดขึÊนระหว่าง H3O+ จากกรด ทำปฏิกิริยากับ OH- จากเบสได้ H2O ดังสมการ 
H3O+ (aq) + OH- (aq) H2O (l) 
ดังนัÊน ปฏิกิริยาระหว่าง ไฮโดรเนียมไอออน (H3O+) จากกรด กับไฮดรอกไซด์ไอออน (OH-) จากเบส เกิดเป็นนÊำ 
เรียกว่า ปฏิกิริยาการสะเทิน เพราะฉะนัÊน ปฏิกิริยาของกรดและเบส ส่วนใหญ่จะเกิด นÊำด้วย 
 ปฏิกิริยาระหว่างกรด กับ เบส 
เช่น HCl (aq) + NaOH (aq) NaCl (aq) + H2O (l) 
กรดแก่ เบสแก่ เกลือ นํÊา 
ถ้านำเกลือทÉีได้ เช่น NaCl (s) มาละลายนÊำ สารละลายนัÊนจะมีสมบัติเป็น กลาง 
HCl (aq) + NH3 (aq) NH4Cl (aq) 
กรดแก่ เบสอ่อน เกลือ 
ถ้านำเกลือทÉีได้ เช่น NH4Cl (s) มาละลายนÊำ สารละลายนัÊนจะมีสมบัติเป็น กรด 
CH3COOH (aq) + NaOH (aq) CH3COONa (aq) + H2O (l) 
กรดอ่อน เบสแก่ เกลือ นํÊา 
ถ้านำเกลือทÉีได้ เช่น CH3COONa (s) มาละลายนÊำ สารละลายนัÊนจะมีสมบัติเป็น เบส 
CH3COOH (aq) + NH3 (aq) CH3COONH4 (aq) 
กรดอ่อน เบสอ่อน เกลือ 
ถ้านำเกลือทÉีได้ เช่น CH3COONH4 (s) มาละลายนÊำ สาระลายนัÊนจะมีสมบัติเป็นกรด หรือ เป็นเบส หรือเป็นกลาง 
ขÊึนอยู่กับค่า Ka กับ Kb ของกรดและเบสนัÊน โดย Ka > Kb สารละลายจะเป็นกรด เช่น NH4CN 
Ka < Kb สารละลายจะเป็นเบส เช่น NH4Cl 
Ka = Kb สารละลายจะเป็นกลาง เช่น CH3COONH4 
 ปฏิกิริยาระหว่างกรดหรือเบส กับ สารบางชนิด 
 ปฏิกิริยาระหว่างกรด กับเบส ได้ผลิตภัณฑ์เป็นเกลือ กับนÊำ แต่ถ้าให้กรดหรือเบส ทำปฏิกิริยากับสารบางชนิด 
เช่น แคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) สารละลายไอร์ออน (III) คลอไรด์ (FeCl3) จะเกิดปฏิกิริยาดังสมการต่อไปนีÊ 
CaCO3 (s) + 2HCl (aq) CaCl2 (aq) + H2O (l) + CO2 (g) 
แคลเซียมคาร์บอเนต (หินปูน) กรดแก่ เกลือ นÊำ แกส๊คาร์บอนไดออกไซด์ 
FeCl3 (aq) + 3NaOH (aq) Fe(OH3) (g) + 3NaCl (l) 
ไอร์ออน (III) คลอไรด์ เบสแก่ ตะกอน เกลือ 
Mg (s) + 2HCl (aq) MgCl2 (aq) + H2 (g) 
โลหะแมกนีเซียม กรดแก่ เกลือ แก๊สไฮโดรเจน 
 กรดและเบสนอกจากทำปฏิกิริยาได้โดยตรงแล้ว ยังสามารถทำปฏิกิริยากับสารอÉืน เช่น CaCO3 , FeCl3 , โลหะ Mg 
ได้ผลิตภัณฑ์เป็นเกลือ 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 20
 ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 21 
ปฏิกิริยาทีÉเกิดจากไอออนบวก หรือไอออนลบของเกลือ กับนÊำ ได้ผลิตภัณฑ์เป็น H3O+ หรือ OH- เรียก ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส 
ตัวอย่าง 
NH4Cl (s) H2O NH4 
+ (aq) + Cl- (aq) 
เกลือ 
NH4 
+ (aq) + H2O (l) H3O+ (aq) + NH3 (aq) 
Cl- (aq) + H2O (l) 
ดังนัÊนเกลือ NH4Cl เกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของเกลือ เพราะ ไอออนบวกทำปฏิกิริยากับนÊำ ได้ผลิตภัณฑ์ H3O+ 
CH3COONa (s) H2O Na+ (aq) + CH3COO- (aq) 
เกลือ 
Na+ (aq) + H2O (l) 
CH3COO- (aq) + H2O (l) CH3COOH (aq) + OH- (aq) 
ดังนัÊนเกลือ CH3COONa เกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของเกลือ เพราะ ไอออนลบทำปฏิกิริยากับนÊำ ได้ผลิตภัณฑ์ OH-NaCl 
(s) H2O Na+ (aq) + Cl- (aq) 
เกลือ 
Na+ (aq) + H2O (l) 
Cl- (aq) + H2O (l) 
ดังนัÊนเกลือ NaCl ไม่เกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส เพราะไอออนบวกหรือไอออนลบ ทำปฏิกิริยากับนÊำ ไม่ได้ H3O+ หรือ OH- 
8.10 การไทเทรตกรด – เบส (Acid-base titration) 
 การไทเทรตกรด-เบส หมายถึง กระบวนการหาปริมาณสาร โดยวิธีใช้สารละลายมาตรฐานทีÉทราบค่าความเข้มข้นทีÉแน่นอน 
ให้ทำปฏิกิริยากับสารตัวอย่าง โดยอาศัยหลักการเกิดปฏิกิริยาระหว่างสารละลายกรดและเบสทÉีเข้าทาปฏิกิริยากันพอดี 
ทำให้คำนวณหาความเข้มข้นหรือปริมาณของสารตัวอย่างดังกล่าวได้ 
 วิธีการไทเทรตกรด-เบส คือ การนำสารละลายกรดหรือเบส(ตัวอย่าง)ทÉีต้องการวิเคราะห์หาปริมาณ มาทำการไทเทรตกับ 
สารละลายเบสหรือกรดมาตรฐานทีÉทราบค่าความเข้มข้นทีÉแน่นอน 
กล่าวคือ ถ้าสารละลายตัวอย่างเป็นสารละลายกรด ก็ต้องใช้สารละลายมาตรฐานเป็นเบส นำมาทาการไทเทรต 
แล้วบันทึกปริมาตรของสารละลายมาตรฐานทÉีใช้ในการทาปฏิกิริยาพอดีกัน จากนัÊนนำไปคำนวณหาปริมาณของสารตัวอย่างต่อไป 
หรือทางตรงกันข้าม ถ้าใช้สารละลายตัวอย่างเป็นเบส ก็ต้องใช้สารละลายมาตรฐานเป็นกรด 
 อุปกรณ์ทีÉใช้ 
ขวดวัดปริมาตร (volumetric flask) ปิเปตต์ (pipette) ขวดรูปชมพู่ (flask) บิวเรตต์ (burette)
รูปแสดงการใช้ปิเปตต์ 
รูปแสดงการตัÊงบิวเรตต์และการไทเทรต 
 ปฏิกิริยาในการไทเทรตกรด-เบส ปฏิกิริยา ทีÉเกีÉยวข้อง ในการไทเทรตกรด-เบสต่างๆ ได้แก่ 
1. ปฏิกิริยาระหว่างกรดแก่กับเบสแก่ 
2. ปฏิกิริยาระหว่างกรดแก่กับเบสอ่อน 
3. ปฏิกิริยาระหว่างกรดอ่อนกับเบสแก่ 
สำหรับปฏิกิริยาระหว่างกรดอ่อนกับเบสอ่อนไม่นิยมนามาใช้ในการไทเทรตกรด-เบส 
เพราะทีÉจุดสมมูล หรือจุดทีÉกรดและเบสทำปฏิกิริยาพอดีกัน สังเกตการณ์เปลีÉยนแปลงได้ไม่ชัดเจน 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 22
 จุดสมมูล (Equivalence point) 
 ในการไทเทรตกรด-เบส จุดทÉีกรดและเบสทำปฏิกิริยากันพอดี (จุดสมมูล) 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 23 
หรือจุดท ÉีH3O+ (หรือ H+ ) ทำปฏิกิริยาพอดีกับ OH- ด้วยจำนวนโมลทÉีเท่ากัน เรียกว่า จุดสมมูล 
 ถ้าใช้พีเอชมิเตอร์ วัดหาค่า pH ณ จุดสมมูล จะพบว่า จุดสมมูลของปฏิกิริยาระหว่างกรด - เบส แต่ละปฏิกิริยา 
หรือแต่ละคู่จะมี pH ทÉีจุดสมมูลแตกต่างกัน ขึÊนอยกูั่บชนิดของกรดและเบสทÉีเข้า ทาปฏิกิริยากัน แต่สามารถระบุ 
อย่างคร่าวๆ ได้ ดังนีÊ 
- การไทเทรตระหว่างกรดแก่กับเบสแก่ pH ของสารละลาย ณ จุดสมมูลประมาณ 7 (กลาง) 
- การไทเทรตระหว่างกรดแก่กับเบสอ่อน pH ของสารละลาย ณ จุดสมมูลจะน้อยกว่า 7 (กรด) 
- การไทเทรตระหว่างกรดอ่อนกับเบสแก่ pH ของสารละลาย ณ จุดสมมูลจะมากกว่า 7 (เบส) 
 จุดยุติ (End point) 
 การทÉีจะทราบว่า ปฏิกิริยาการไทเทรต ถึงจุดสมมูลหรือยังนัÊน จะต้องมีวิธีการทÉีจะหาจุดสมมูล วิธีการหนึÉง 
คือ การใช้อินดิเคเตอร์ 
 โดยอินดิเคเตอร์จะต้องเปลีÉยนสีทีÉจุดทีÉพอดีหรือใกล้เคียง กับจุดสมมูล นัÉนคือ จุดทีÉอินดิเคเตอร์เปลีÉยนสี จะเรียกว่า จุดยุติ 
ดังนัÊน จึงต้องเลือกอินดิเคเตอร์ ให้เหมาะสมทÉีจะให้เห็นการเปลÉียนสีทÉีจุดสมมูลพอดี ถ้าเลือกใช้อินดิเคเตอร์ 
ไม่เหมาะสม จะทำให้ เกิดความคลาดเคลÉือนของการไทเทรต (titration error) ซึÉงเกิดจากการทÉีมีความแตกต่างระหว่างจุด สมมูล 
และจุดยุติของการไทเทรต กล่าวคือ จุดสมมูลและจุดยุติ ไม่ได้อยู่ในช่วง pH เดียวกัน ทาให้ เกิดการเปลีÉยนสีของอินดิเคเตอร์ 
ก่อนหรือหลังจุดสมมูล 
 อินดิเคเตอร์กับการไทเทรตกรด-เบส 
 อินดิเคเตอร์ ทÉีเหมาะสมกับปฏิกิริยาการไทเทรตจะต้องมีค่า pH ทÉีจุดกÉึงกลางช่วงการเปลÉียนสีใกล้เคียงหรือเท่ากับ pH 
ทÉีจุดสมมูลของปฏิกิริยา นอกจากนีÊ การเลือกใช้อินดิเคเตอร์กรด-เบส ต้องพิจารณาสีทÉีปรากฎ จะต้องมีความเข้มมากพอ 
ทีÉจะมองเห็นได้ง่าย หรือเห็นการเปลีÉยนสีได้ชัดเจน 
ตัวอย่างเช่น ต้องการไทเทรต กรดแก่ กับเบสแก่ 
 ผลิตภัณฑ์ทีÉเกิดการปฏิกิริยาของกรดแก่กับเบสแก่ เมืÉอถึงจุดสมมูลมีค่าประมาณหรือใกล้เคียง ş (เป็นกลาง) 
 ดังนัÊน เลือกใช้อินดิเคเตอร์ทÉีมีช่วง pH ของการเปลÉียนสีใกล้เคียงกับ 7 
 เช่น อาจใช้ โบรโมไทมอลบลู หรือ ฟีนอล์ฟทาลีน (pH 8.20-10.00) ซึÉงจะเปลÉียนจากไม่มีสีเป็นสีชมพู 
 ดังนัÊน ถ้าทราบ pH ของสารละลายทÉีจุดสมมูลของปฏิกิริยาการไทเทรตก็สามารถเลือกอินดิเคเตอร์ทÉีเหมาะสมได้ 
การเลือกอินดิเคเตอร์ ก็ขึÊนอยกูั่บชนิดของปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส เพราะทÉีจุดสมมูลของแต่ละปฏิกิริยานัÊน มีค่า pH ทÉีต่างกัน 
ตารางแสดงช่วง pH ทีÉเปลีÉยนสีของอินดิเคเตอร์แต่ละชนิด 
อินดิเคเตอร์ ช่วง pH ทีเปÉลีÉยนสี สีทีเปÉลีÉยน 
ไทมอลบลู (กรด) 
1.2 – 2.8 
โบรโมฟีนอลบลู 
3.0 – 4.6 
เมทิลออเรนจ์ 
3.2 – 4.4 
เมทิลเรด 
4.2 – 6.3 
อะโซลิตมิน (ลิตมัส) 
5.0 – 8.0 
โบรโมไทมอลบลู 
6.0 – 7.6 
ฟีนอลเรด 
6.8 – 8.4 
ไทมอลบลู (เบส) 
8.0 – 9.6 
ฟีนอล์ฟทาลีน 
8.3 – 10.0 
แดง – เหลือง 
เหลือง – นÊำเงิน 
แดง – เหลือง 
แดง – เหลือง 
แดง – นÊำเงิน 
เหลือง – นÊำเงิน 
เหลือง – แดง 
เหลือง – นÊำเงิน 
ไม่มีสี - ชมพู 
คำถาม 
1. ถ้าต้องการไทเทรต กรดแก่ กับเบสอ่อน 
ควรเลือกใช้อินดิเคเตอร์ชนิดใด 
2. ถ้าต้องการไทเทรต กรดอ่อน กับเบสแก่ 
ควรเลือกใช้อินดิเคเตอร์ชนิดใด
 การประยุกต์การไทเทรตกรด-เบสเพืÉอหาปริมาณสารในชีวิตประจาวัน 
 การไทเทรตกรด-เบส ใช้ประยุกต์หาปริมาณสารทีÉเป็นสารอินทรีย์ สารอนินทรีย์ และสารชีวโมเลกุลได้ 
 ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ ได้แก่ การหาปริมาณกรดอ่อนในนÊำส้ม นÊำมะนาว และในไวน์ 
 การหาปริมาณเบส Mg(OH)2 , MgO ในยาลดกรด หรือการหาปริมาณโปรตีน ในอาหาร เป็นต้น 
 วิธีการไทเทรต 
ตัวอย่าง คุณครูมี HC l ซึÉงเป็นกรดแก่ แต่ไม่ทราบความเข้มข้น ....จงหาความเข้มข้นของ HCl นีÊ 
จะเห็นว่า HCl (สารตัวอย่าง ) เป็นกรดแก่ สามารถเลือกใช้สารละลายมาตรฐานเป็นเบสแก่หรือเบสอ่อนก็ได้ 
 เลือกใช้เบสแก่ คือ NaOH เข้มข้น Ř.ř mol/dm3 เป็นสารละลายมาตรฐาน 
 ผลิตภัณฑ์ทีÉได้จากปฏิกิริยาของกรดแก่กับเบสแก่ เมืÉอถึงจุดสมมูลมีค่าประมาณหรือใกล้เคียง ş (เป็นกลาง) 
 จึงเลือกใช้อินดิเคเตอร์ คือ ฟีนอล์ฟทาลีน (pH 8.3 - 10.0 ---ใกล้เคียงş) ซึÉงจะเปลÉียนจาก ไม่มีสีเป็นสีชมพู 
วิธีทำ 
 ปิเปตต์สารละลายตัวอย่าง (HCl) ปริมาตร Śŝ cm3 (25 ml ) ลงในขวดรูปชมพู่ 
 หยดฟีนอล์ฟทาลีน (อินดิเคเตอร์) Ś – ś หยด ลงไปในสารละลายตัวอย่าง (HCl) ทÉีต้องการหาความเข้มข้น 
(HCl เป็นสารละลายไม่มีสี หยดฟีนอล์ฟทาลีนซึÉงไม่มีสีเหมือนกัน ดังนัÊน สารละลายทÉีหยดฟีนอล์ฟทาลีนจะไม่มีสี ) 
 นำสารละลายมาตรฐาน NaOH เข้มข้น Ř.ř mol/dm3 (แล้วแต่จะเตรียมความเข้มข้นไว้เท่าใดก็ได้) 
 ใส่ลงในบิวเรตต์ (สมมุติว่าใช้บิวเรตต์ ขนาด řŘŘ ml (100cm3) ) และติดตัÊงบิวเรตต์ ดังรูป 
ใส่สารละลายมาตรฐานทีÉทราบความเข้มข้น ในบิวเรตต์ 
สารละลายตัวอย่างทีÉจะหาความเข้มข้น 
 บันทึกปริมาณสารละลายมาตรฐานในบิวเรตต์ ก่อนไขก๊อกให้ไหลออก 
 ไขก๊อก ปล่อยสารละลายมาตรฐานในบิวเรตต์ (NaOH) ลงในสารละลายตัวอย่าง (HCl) ในขวดรูปชมพู่ 
ค่อย ๆ ปล่อยให้ไหลทีละหยด พร้อมเขย่าไปด้วย จนกระทังÉ สารละลายเปลÉียนสี จาก ไม่มีสี เป็นสีชมพู 
แสดงว่าถึงจุดยุติ (จุดทÉี กรด-เบสทำปฏิกิริยากันอย่างพอดี เกิดเกลือทÉีละลายนÊำแล้วมี pH เป็นกลาง (ประมาณ ş)) 
(ฟีนอล์ฟทาลีน มี pH 8.3 - 10.0 มีช่วงการเปลีÉยนสีจาก ไม่มีสี เป็นสีชมพู) 
 เมÉือถึงจุดยุติแล้ว (เปลÉียนเป็นสีชมพู) ให้จดบันทึกปริมาตรทÉีใช้ไป ดังนีÊ (ข้อมูลสมมุติ) 
 ทำซÊำ ś ครัÊง (เพÉือป้องกันความคลาดเคลÉือน) แล้วหาค่าเฉลÉีย 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 24
ตารางบันทึกปริมาตรการใช้สารละลายมาตรฐาน (ข้อมูลสมมุติ) 
ครัÊงทÉี ปริมาตรสารละลายมาตรฐาน 
ก่อนจุดยุติ เมืÉอถึงจุดยุติ ปริมาตรทีÉใช้ไป 
ř 100 ml 85 ml řŝ ml 
Ś 85 ml 68 ml 17 ml 
ś 68 ml 55 ml 13 ml 
ปริมาตรทีใช้ไปเฉลีÉย řŝ ml หรือ řŝ cm3 
 คำนวณหาความเข้มข้นของสารละลายตัวอย่าง 
 ใช้สูตรการคำนวณ c1v1 = c2v2 โดย c1 = ความเข้มข้นของสารตัวอย่าง 
c1 x Śŝ cm3 = (0.1 mol/dm3) (15 cm3) v1 = ปริมาตรของสารตัวอย่าง 
c1 = (0.1 mol/dm3) (15 cm3) c2 = ความเข้มข้นของสารละลายมาตรฐาน 
Śŝ cm3 v2 = ปริมาตรของสารมาตรฐาน 
c1 = 0.06 mol/dm3 (อ่านจากบิวเรตต์เมืÉอถึงจุดสมมูล 
ตอบ ดังนัÊน กรด HCl นีÊ มีความเข้มข้น 0.06 mol/dm3 หรือ 0.06 mol/l 
ตัวอย่างกราฟการไทเทรต แสดงจุดสมมูล (จุดทีÉกรด – เบส ทำปฏิกิริยาพอดีกัน) 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 25
8.11 สารละลายบัฟเฟอร์ 
 คือ สารละลายทีÉประกอบด้วยของผสมระหว่าง กรดอ่อน กับ เกลือของกรดอ่อน (คู่เบสของกรด) หรือ 
เบสอ่อน กับ เกลือของเบสอ่อน (คู่กรดของเบส) จะได้สารละลายทีÉมีไอออนร่วม 
 สมบัติพิเศษของสารละลายบัฟเฟอร์ คือ 
สามารถรักษา pH ของสารละลายไว้เกือบคงทÉี แม้จะเติมนÊำ กรดแก่, เบสแก่ ลงไปเล็กน้อย 
ก็ไม่ทำให้ pH ของสารละลายเปลÉียนแปลงไปมากนัก ทÉีเป็นเช่นนีÊเพราะ ในสารละลายบัฟเฟอร์จะมีสารหรือไอออนทÉีทำหน้าทÉีคอยควบคุม 
ความเข้มข้นของ H3O+ และ OH- ในระบบให้คงที 
เราเรียกความสามารถในการต้านทานการเปลÉียนแปลง pH นีÊว่า ความจุบัฟเฟอร์ (buffer capacity) 
 สารละลายบัฟเฟอร์มี 2 ประเภท 
1) สารละลายของกรดอ่อน กับ เกลือของกรดอ่อน (Acid buffer solution) สารละลายบัฟเฟอร์แบบนีÊมี pH < 7 (เป็นกรด) เช่น 
กรดอ่อน + เกลือของกรดอ่อนนัÊน 
CH3COOH CH3COONa 
ปฏิกิริยาการควบคุม pH ในสารละลายบัฟเฟอร์ 
ในระบบจะมีสมดุล ดังนีÊ CH3COOH + H2O CH3COO- + H3O+ 
CH3COONa CH3COO- + Na+ 
ถ้าเติมกรดแก่ (เช่น HCl) ลงไป HCl จะแตกตัว ดังสมการ 
HCl H+ + Cl- 
H+ ทีÉแตกตัวได้ จะรวมตัวกับ CH3COO- กลายเป็น CH3COOH 
ทำให้ความเข้มข้น CH3COO- ลดลง ส่วน ความเข้มข้น CH3COOH เพิÉมขึÊน 
นÉันคือ H+ หรือ H3O+ จากกรดแก่ทÉีเติมลงไป (ทÉีจะทำให้ pH ของบัฟเฟอร์เปลÉียนไป) ถูกกำจัดโดย CH3COO- ทÉีมีอยมู่าก 
เพราะ CH3COO- ได้มาจากกรด CH3COOH และจากการแตกตัวของ CH3COONa ดังสมการ 
H+ + CH3COO- CH3COOH 
และถึงแม้จะมี CH3COOH เพิÉมขึÊน แต่เนÉืองจาก CH3COOH แตกตัวได้น้อยมาก (เป็นกรดอ่อน แตกตัวได้บางส่วน) 
ดังนัÊนจึงไม่ทำให้ H3O+ ในระบบบัฟเฟอร์เปลÉียนแปลงไป จึงทำให้ pH ของระบบเปลÉียนแปลงน้อยมาก 
ถ้าเติมเบสแก่ (เช่น NaOH) ลงไป NaOH จะแตกตัว ดังสมการ 
NaOH Na+ + OH-OH- 
ทีÉแตกตัวได้ จะรวมตัวกับ CH3COOH กลายเป็น CH3COO- ดังสมการ 
OH- + CH3COOH CH3COO- + H2O 
ทำให้ความเข้มข้น CH3COOH ลดลง ส่วนความเข้มข้น CH3COO- เพิÉมขึÊน 
นÉันคือ OH- จากเบสแก่ทÉีเติมลงไป (ทÉีจะทำให้ pH ของบัฟเฟอร์เปลÉียนไป) ถูกกำจัดโดย CH3COOH ทÉีมีอยมู่าก 
ส่วน CH3COO- ทÉีเกิดจะรวมกับ H3O+ ในระบบบัฟเฟอร์ เกิดเป็น CH3COOH ทำให้ pH ของระบบเปลÉียนแปลงน้อยมาก 
CH3COO- + H3O+ CH3COOH 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 26
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 27 
2) สารละลายของเบสอ่อน กับ เกลือของเบสอ่อน (Basic buffer solution) สารละลายบัฟเฟอร์แบบนีÊมี pH > 7 (เป็นเบส) เช่น 
เบสอ่อน + เกลือของเบสอ่อนนัÊน 
NH3 NH4Cl 
ปฏิกิริยาการควบคุม pH ในสารละลายบัฟเฟอร์ 
ในระบบจะมีสมดุล ดังนีÊ NH3 + H2O NH4 
+ + OH-NH 
4Cl NH4 
+ + Cl- 
ถ้าเติมกรดแก่ (เช่น HCl) ลงไป HCl จะแตกตัว ดังสมการ 
HCl H+ + Cl- 
H+ หรือ H3O+ ทีÉแตกตัวได้ จะรวมตัวกับ NH3 กลายเป็น NH4 
+ ดังสมการ 
H3O+ + NH3 NH4 
+ + H2O 
ทำให้ความเข้มข้น NH3 ลดลง ส่วน ความเข้มข้น NH4 
+ เพิÉมขึÊน 
นÉันคือ H+ หรือ H3O+ จากกรดแก่ทÉีเติมลงไป (ทÉีจะทำให้ pH ของบัฟเฟอร์เปลÉียนไป) ถูกกำจัดโดย NH3 
ส่วน NH4 
+ ทีÉเกิดจะรวมกับ OH+ ในระบบบัฟเฟอร์ เกิดเป็น NH3 ทำให้ pH ของระบบเปลÉียนแปลงน้อยมาก 
NH4 
+ + OH+ NH3 
ถ้าเติมเบสแก่ (เช่น NaOH) ลงไป NaOH จะแตกตัว ดังสมการ 
NaOH Na+ + OH-OH- 
ทีÉแตกตัวได้ จะรวมตัวกับ NH4 
+ กลายเป็น NH3 
OH- + NH4 
+ NH3 + H2O 
ทำให้ความเข้มข้น NH4 
+ ลดลง ส่วน ความเข้มข้น NH3 เพิÉมขึÊน 
นÉันคือ OH- จากเบสแก่ทÉีเติมลงไป (ทÉีจะทำให้ pH ของบัฟเฟอร์เปลÉียนไป) ถูกกำจัดโดย NH4 
+ ทำให้เกิด NH3 
และถึงแม้จะมี NH3 เพิมÉขึÊน แต่เนÉืองจาก NH3 แตกตัวได้น้อยมาก (เป็นเบสอ่อน แตกตัวได้บางส่วน) 
ดังนัÊนจึงไม่ทำให้ OH- ในระบบบัฟเฟอร์เปลÉียนแปลงไป จึงทำให้ pH ของระบบเปลÉียนแปลงน้อยมาก 
 สารละลายบัฟเฟอร์ในสิÉงมีชีวิต 
1) ฟอสเฟตบัฟเฟอร์ H2PO4 
- / HPO4 
2- จะเกÉียวข้องกับการทำงานของไต 
เมÉือเราออกกำลังกายนาน ๆ จ ะมีกรดเกิดขึÊนทำให้ pH ของ เลือดเปลÉียนไป 
ระบบบัฟเฟอร์ H2PO4 
- / HPO4 
2- ในเลือดจะเข้าทำปฏิกิริยา เพÉือลดความเข้มข้นของกรดได้ 
- + H3O+ H2PO4 
H2PO4 
- + H2O 
และ H2PO4 
- จะถูกกำจัดออกมาทางปัสสาวะ 
2) ระบบ H2CO3/HCO3 
- (กรดคาร์บอนิก / ไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออน) 
จะควบคุม pH ของพลาสมาในเลือดให้มีค่าอยรู่ะหว่าง 7.35 - 7.45 ซึÉงเกิดปฏิกิริยาดังนีÊ 
HCO3 
- + H3O+ H2CO3 + H2O 
H2CO3 H2O + CO2 
เนืÉองจากความเป็นกรด-เบสในร่างกายของ สิÉงมีชีวิตเป็นเรืÉองทีÉสำคัญมาก ถ้า pH เปลีÉยนแปลงไป เพียง 0.2 หน่วย 
จากช่วง 7.35-7.45 อาจทำให้เจ็บป่วยได้ ร่างกายจึงต้องมีระบบบัฟเฟอร์เพÉือรักษาระดับ pH ให้คงทÉีอยู่เสมอ

More Related Content

What's hot

บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีพัน พัน
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์Kapom K.S.
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1Tanchanok Pps
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223Preeyapat Lengrabam
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมีcrazygno
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)oraneehussem
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกลPhanuwat Somvongs
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีwebsite22556
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้pornpimonnuy
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงานPinutchaya Nakchumroon
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีSutisa Tantikulwijit
 

What's hot (20)

บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
Esterification
Esterification Esterification
Esterification
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
 
โมล ม.4
โมล ม.4โมล ม.4
โมล ม.4
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
 

Similar to บทที่ 8 กรด เบส

กรด เบส เกลือ
 กรด เบส เกลือ กรด เบส เกลือ
กรด เบส เกลือnn ning
 
Acid base1
Acid base1Acid base1
Acid base1Benny BC
 
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibriumกรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion EquilibriumDr.Woravith Chansuvarn
 
-เบส-612.pptx
-เบส-612.pptx-เบส-612.pptx
-เบส-612.pptxJoySarocha
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2Tanchanok Pps
 
acid-base_1.ppt
acid-base_1.pptacid-base_1.ppt
acid-base_1.pptChewJa
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีTutor Ferry
 
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณสื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณพัน พัน
 
ข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมีข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมีzweetiiz
 
เคมี
เคมี เคมี
เคมี Mu PPu
 

Similar to บทที่ 8 กรด เบส (20)

กรด เบส เกลือ
 กรด เบส เกลือ กรด เบส เกลือ
กรด เบส เกลือ
 
Acid base1
Acid base1Acid base1
Acid base1
 
กรด เบส 2
กรด เบส 2กรด เบส 2
กรด เบส 2
 
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibriumกรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
 
Acid1
Acid1Acid1
Acid1
 
Acid1
Acid1Acid1
Acid1
 
Acid base
Acid baseAcid base
Acid base
 
Acid base
Acid baseAcid base
Acid base
 
-เบส-612.pptx
-เบส-612.pptx-เบส-612.pptx
-เบส-612.pptx
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 
กรดเบส
กรดเบสกรดเบส
กรดเบส
 
กรด เบส 6
กรด เบส 6กรด เบส 6
กรด เบส 6
 
กรด เบส 1
กรด เบส 1กรด เบส 1
กรด เบส 1
 
acid-base_1.ppt
acid-base_1.pptacid-base_1.ppt
acid-base_1.ppt
 
Acid base 1
Acid base 1Acid base 1
Acid base 1
 
Acid and base
Acid and baseAcid and base
Acid and base
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมี
 
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณสื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
 
ข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมีข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมี
 
เคมี
เคมี เคมี
เคมี
 

More from oraneehussem

ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3oraneehussem
 
ใบงาน 15.1
ใบงาน 15.1ใบงาน 15.1
ใบงาน 15.1oraneehussem
 
ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3oraneehussem
 
ใบงาน 12.1
ใบงาน 12.1ใบงาน 12.1
ใบงาน 12.1oraneehussem
 
ใบงาน 11.1
ใบงาน 11.1ใบงาน 11.1
ใบงาน 11.1oraneehussem
 
ใบงาน 10.1 10.2
ใบงาน 10.1 10.2ใบงาน 10.1 10.2
ใบงาน 10.1 10.2oraneehussem
 
ใบงาน 9.1 9.3
ใบงาน 9.1 9.3ใบงาน 9.1 9.3
ใบงาน 9.1 9.3oraneehussem
 
ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2oraneehussem
 
ใบงาน 7.1 7.3
ใบงาน 7.1 7.3ใบงาน 7.1 7.3
ใบงาน 7.1 7.3oraneehussem
 
ใบงาน 6.1 6.4
ใบงาน 6.1 6.4ใบงาน 6.1 6.4
ใบงาน 6.1 6.4oraneehussem
 
ใบงาน 2.1 2.3
ใบงาน 2.1 2.3ใบงาน 2.1 2.3
ใบงาน 2.1 2.3oraneehussem
 
ใบงาน 4.1 4.3
ใบงาน 4.1 4.3ใบงาน 4.1 4.3
ใบงาน 4.1 4.3oraneehussem
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2oraneehussem
 
ใบงาน 2.1
ใบงาน 2.1ใบงาน 2.1
ใบงาน 2.1oraneehussem
 
ใบงาน 1.1
ใบงาน 1.1ใบงาน 1.1
ใบงาน 1.1oraneehussem
 
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557oraneehussem
 
สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556oraneehussem
 
Onet เคมี M6
Onet เคมี M6Onet เคมี M6
Onet เคมี M6oraneehussem
 
บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุบทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุoraneehussem
 
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลoraneehussem
 

More from oraneehussem (20)

ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3
 
ใบงาน 15.1
ใบงาน 15.1ใบงาน 15.1
ใบงาน 15.1
 
ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3
 
ใบงาน 12.1
ใบงาน 12.1ใบงาน 12.1
ใบงาน 12.1
 
ใบงาน 11.1
ใบงาน 11.1ใบงาน 11.1
ใบงาน 11.1
 
ใบงาน 10.1 10.2
ใบงาน 10.1 10.2ใบงาน 10.1 10.2
ใบงาน 10.1 10.2
 
ใบงาน 9.1 9.3
ใบงาน 9.1 9.3ใบงาน 9.1 9.3
ใบงาน 9.1 9.3
 
ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2
 
ใบงาน 7.1 7.3
ใบงาน 7.1 7.3ใบงาน 7.1 7.3
ใบงาน 7.1 7.3
 
ใบงาน 6.1 6.4
ใบงาน 6.1 6.4ใบงาน 6.1 6.4
ใบงาน 6.1 6.4
 
ใบงาน 2.1 2.3
ใบงาน 2.1 2.3ใบงาน 2.1 2.3
ใบงาน 2.1 2.3
 
ใบงาน 4.1 4.3
ใบงาน 4.1 4.3ใบงาน 4.1 4.3
ใบงาน 4.1 4.3
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
ใบงาน 2.1
ใบงาน 2.1ใบงาน 2.1
ใบงาน 2.1
 
ใบงาน 1.1
ใบงาน 1.1ใบงาน 1.1
ใบงาน 1.1
 
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
 
สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556
 
Onet เคมี M6
Onet เคมี M6Onet เคมี M6
Onet เคมี M6
 
บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุบทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
 
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
 

บทที่ 8 กรด เบส

  • 1. เนืÊอหาทีÉจะต้องเรียนใน บททีÉ 8 กรด- เบส มีดังนีÊ 8.1 สารละลายอิเล็กโตรไลต์และนอนอิเล็กโตรไลต์ 8.2 สารละลายกรดและสารละลายเบส 8.3 ทฤษฎีกรด – เบส 8.4 คู่กรด – เบส 8.5 การแตกตัวของกรดและเบส 8.6 การแตกตัวเป็นไอออนของนÊำ 8.7 pH ของสารละลาย 8.8 อินดิเคเตอร์สำหรับกรด – เบส 8.9 สารละลายกรด – เบสในชีวิตประจำวันและในสิÉงมีชีวิต 8.10 ปฏิกิริยาของกรดและเบส 8.11 การไทเทรตกรด – เบส 8.12 สารละลายบัฟเฟอร์ โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 1
  • 2. บททีÉ 8 กรด - เบส สมบัติทัÉวไปของกรด- เบส มีดังนีÊ กรด เบส มีรสเปรีÊยว เปลÉียนสีกระดาษลิตมัส นÊำเงิน แดง มีรสขม ลักษณะลÉืน ๆ เปลÉียนสีกระดาษลิตมัส แดง นÊำเงิน ในบทนีÊนักเรียนจะได้ศึกษาสมบัติของกรด-เบส ดังหัวข้อตํÉาไปนีÊ 8.1 สารละลายอิเล็กโตรไลต์และนอนอิเล็กโตรไลต์ 8.7 pH ของสารละลาย 8.2 สารละลายกรด และสารละลายเบส 8.8 อินดิเคเตอร์สำหรับกรด – เบส 8.3 ทฤษฏี กรด – เบส 8.9 ปฏิกิริยาของกรดและเบส 8.4 คู่กรด – เบส 8.ř0 การไทเทรต กรด- เบส 8.5 การแตกตัวของกรด – เบส 8.řř สารละลายบัฟเฟอร์ 8.6 การแตกตัวเป็นไอออนของนÊำ 8.ř สารละลายอิเล็กโตรไลต์และนอนอิเล็กโตรไลต์  เมÉือผสมสารเข้ากับนÊำ สารบางชนิดไม่ละลายในนÊำ และสารบางชนิดละลายนÊำได้ เป็น สารละลาย  ถ้าตัวละลายเป็นสารประกอบไอออนิก เช่น โซเดียมคลอไรด์ เมÉือละลายนÊำจะแตกตัวเป็นไอออนได้ - สารละลายทÉีสามารถนำไฟฟ้าได้ อาจมีสมบัติเป็นกรด เป็นเบส หรือเป็นกลางก็ได้ Na+ Cl- สารประกอบไอออนิก เช่น เกลือ (NaCl) สารประกอบโคเวเลนต์ เช่น นÊำตาลทราย (C12H22O11) ละลายนÊำได้ ละลายนÊำได้ แตกตัวเป็นไอออนได้ ไม่แตกตัวเป็นไอออน นำไฟฟ้าได้ ไม่นำไฟฟ้า (ให้กระแสไฟฟ้าเข้าไป แล้วทำให้หลอดไฟสว่าง) (ให้กระแสไฟฟ้าเข้าไป แล้วทำให้หลอดไฟไม่สว่าง) เรียก สารละลายอิเล็กโตรไลต์ (Electrolyte) เรียก สารละลายนอน-อิเล็กโตรไลต์ (non- Electrolyte) แตกตัวเป็นไอออนได้มาก (แตกตัวหมด) นำไฟฟ้าได้มาก (หลอดไฟสว่างมาก) เรียก อิเล็กโตรไลต์แก่ แตกตัวเป็นไอออนได้น้อย (แตกตัวบางส่วน) นำไฟฟ้าได้น้อย (หลอดไฟสว่างน้อย) เรียก อิเล็กโตรไลต์อ่อน โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 2
  • 3. 8.2 สารละลายกรด - สารละลายเบส การทีÉสารละลายกรด และ สารละลายเบส สามารถนำไฟฟ้าได้ แสดงว่า มีไอออนอยใู่นสารละลายนัÊน แต่การเปลÉียนสีกระดาษลิตมัสของกรดและเบสแตกต่างกัน ดังนัÊน ไอออนในกรด และเบส จึงมีแตกต่างกันด้วย ดังนีÊ  ไอออนในสารละลายกรด สารละลายกรดทุกชนิดเป็นสารอิเล็กโตรไลต์ (แตกตัวเป็นไอออนและนำไฟฟ้าได้) เปลÉียนสีกระดาษลิตมัส นÊำเงิน เป็น แดง เมÉือนำสารละลายกรดมาศึกษา สามารเขียนสมการได้ดังนีÊ HCl (g) + H2O (l) H3O+ (aq) + Cl- (aq) กรดไฮโดรคลอริก นÊำ ไฮโดรเนียมไอออน คลอไรด์ไอออน จากสมการนีÊ พบว่า HCl เป็นอิเล็กโตรไลต์แก่ (กรดแก่) เพราะละลายนํÊาแล้วแตกตัวเป็นไอออนได้หมด เกิดไอออน H3O+ และ Cl- ซึÉงไม่สามารถเกิดย้อนกลับได้ CH3COOH (aq) + H2O (l) H3O+ (aq) + CH3COO- (aq) กรดแอซิติก นÊำ ไฮโดรเนียมไอออน คลอไรด์ไอออน จากสมการนีÊ พบว่า CH3COOH เป็นอิเล็กโตรไลต์อ่อน (กรดอ่อน) เพราะละลายนํÊาแล้วแตกตัวเป็นไอออนได้บางส่วน เกิดไอออน H3O+ และ CH3COO- ซึÉงสามารถเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับได้ และมีภาวะสมดุลเกิดขึÊน สรุป เมÉือพิจารณาการเปลÉียนแปลงของแก๊สไฮโดรเจนคลอไรด์ในนÊำ กับ กรดแอซิติกในนÊำ พบว่า เกิดไอออนทีÉเหมือนกัน คือ ไฮโดรเนียมไอออน (H3O+) ดังนัÊน ไอออนในสารละลายกรด คือ ไฮโดรเนียมไอออน (H3O+)  ไอออนในสารละลายเบส สารละลายเบสทุกชนิดเป็นสารอิเล็กโตรไลต์ (แตกตัวเป็นไอออนและนำไฟฟ้าได้) เปลÉียนสีกระดาษลิตมัส แดง เป็น นÊำเงิน เมÉือนำสารละลายเบสมาศึกษา สามารเขียนสมการได้ดังนีÊ NaOH (s) H2O (l) Na+ (aq) + OH- (aq) โซเดียมไฮดรอกไซด์ โซเดียมไอออน ไฮดรอกไซด์ไอออน จากสมการนีÊ พบว่า NaOH เป็นอิเล็กโตรไลต์แก่ (เบสแก่) เพราะละลายนํÊาแล้วแตกตัวเป็นไอออนได้หมด เกิดไอออน Na+ และ OH- ซึÉงไม่สามารถเกิดย้อนกลับได้ NH3 (g) H2O (l) NH3 (aq) แอมโมเนีย สารละลายแอมโมเนีย NH3 (aq) + H2O (l) NH4 + (aq) + OH- (aq) แอมโมเนีย นÊำ แอมโมเนียมไอออน ไฮดรอกไซด์ไอออน จากสมการนีÊ พบว่า NH3 เป็นอิเล็กโตรไลต์อ่อน (เบสอ่อน) เพราะละลายนํÊาแล้วแตกตัวเป็นไอออนได้บางส่วน เกิดไอออน NH4 + และ OH- ซึÉงสามารถเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับได้ และมีภาวะสมดุลเกิดขึÊน สรุป เมÉือพิจารณาการเปลÉียนแปลงของโซเดียมไฮดรอกไซด์ในนÊำ กับ แอมโมเนียในนÊำ พบว่า เกิดไอออนทีÉเหมือนกัน คือ ไฮดรอกไซด์ไอออน (OH-) ดังนัÊน สารละลายเบสมีไอออน คือ ไฮดรอกไซด์ไอออน (OH-) โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 3
  • 4. 8.3 ทฤษฏีกรด - เบส 1. ทฤษฏีกรด – เบสอาร์เรเนียส ผู้คิดกฎนีÊคือ สวันเต เอากุสต์ อาร์เรเนียส ให้คำนิยามว่า กรด คือ สารทÉีละลายนÊำ แล้วแตกตัวให้ไฮโดรเจนไอออน (H+) เบส คือ สารทÉีละลายนÊำ แล้วแตกตัวให้ ไฮดรอกไซด์ไอออน (OH-) เขียนสมการได้เป็น H2O H2O กรด : HA H+ + A - เบส : BOH B+ + OH- จากสมการนีÊ สูตรทัวÉไปของกรด คือ HA เช่น HCl , HNO3 , HClO4 ส่วนสูตรทัวÉไปของเบสคือ BOH เช่น NaOH , KOH ทฤษฏีกรด- เบสอาร์เรเนียส มีข้อจำกัดคือ สารทÉีเป็นกรด หรือเบส ต้องละลายนÊำได้เท่านัÊน 2. ทฤษฏีกรด – เบสเบรินสเตต-ลาวรี ผู้คิดกฎนีÊคือ โยฮันเนส นิโคเลาส์ เบนินสเตต และ ทอมัส มาร์ติน ลาวรี ให้คำนิยามว่า กรด คือ สารทÉี ให้ โปรตอน แก่สารอÉืนได้ เบส คือ สารทÉี รับ โปรตอน จากสารอÉืนได้ ให้ H+ HCl (aq) + H2O (l) H3O+ (aq) + Cl- (aq) กรดไฮโดรคลอริก นÊำ ไฮโดรเนียมไอออน คลอไรด์ไอออน (กรด) (เบส) จากสมการ HCl เป็นสารอิเล็กโตรไลต์แก่ ซึÉงแตกตัวเป็นไอออนได้หมด ซึÉง HCl เป็นกรด ส่วน H2O เป็นเบส เพราะ HCl ให้ H+ แก่นÊำ ให้ H+ ให้ H+ CH3COOH (aq) + H2O (l) H3O+ (aq) + CH3COO- (aq) กรดแอซิติก นÊำ ไฮโดรเนียมไอออน คลอไรด์ไอออน (กรด) (เบส) (กรด) (เบส) จากสมการ CH3COOH เป็นสารอิเล็กโตรไลต์อ่อน แตกตัวเป็นไอออนได้บางส่วน ดังนัÊน ปฏิกิริยาไปข้างหน้า จะเห็นว่า CH3COOH ให้ H+ แก่ H2O แล้วกลายเป็น CH3COO- ดังนัÊน CH3COOH เป็นกรด และ H2O เป็นเบส ปฏิกิริยาย้อนกลับ จากนัÊน H3O+ จะให้ H+ แก่ CH3COO- ดังนัÊน H3O+ เป็นกรด ส่วน CH3COO- เป็นเบส กรดแก่ กรดอ่อน โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 4
  • 5. NaOH (s) + H2O (l) Na+ (aq) + OH- (aq) โซเดียมไฮดรอกไซด์ นÊำ โซเดียมไอออน ไฮดรอกไซด์ไอออน (เบส) (กรด) จากสมการ NaOH เป็นสารอิเล็กโตรไลต์แก่ ซึÉงแตกตัวเป็นไอออนได้หมด ซึÉง NaOH เป็นเบส ส่วน H2O เป็นกรด เพราะ NaOH รับ H+ จากนÊำ NH3 (aq) + H2O (l) NH4 + (aq) + OH- (aq) แอมโมเนีย นÊำ แอมโมเนียมไอออน ไฮดรอกไซด์ไอออน (เบส) (กรด) (กรด) (เบส) จากสมการ NH3 เป็นสารอิเล็กโตรไลต์อ่อน แตกตัวเป็นไอออนได้บางส่วน ดังนัÊน ปฏิกิริยาไปข้างหน้า จะเห็นว่า NH3 รับ H+ จาก H2O แล้วกลายเป็น NH4 + ดังนัÊน NH3 เป็นเบส และ H2O เป็นกรด ปฏิกิริยาย้อนกลับ จากนัÊน OH- จะรับ H+ จาก NH4 + ดังนัÊน OH- เป็นเบส ส่วน NH4 + เป็นกรด  ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสตามทฤษฏีของเบรินสเตต- ลาวรี สามารถเขียนเป็นสมการทัÉวไปได้ ดังนีÊ กรด 1 + เบส 2 กรด 2 + เบส 1 หรือ เบส 1 + กรด 2 เบส 2 + กรด 1  ข้อจำกัดของทฤษฏีเบรินสเตต-ลาวรี แม้ว่าทฤษฏีเบรินสเตต-ลาวรี จะกว้างกว่าทฤษฏีกรด-เบสของอาร์เรเนียส แต่ก็มีข้อจำกัดคือ สารทีÉเป็นกรดได้ จะต้องเป็นให้โปรตอน (H+) แก่สารอืÉน ส่วนสารทีÉเป็นเบสได้ จะต้องรับโปรตอน (H+) จากสารอÉืนได้ แต่สารทÉีไม่สามารถให้หรือรับโปรตอน (H+) จากสารอÉืนได้ จะไม่สามารถบอกได้ว่าเป็นกรดหรือเบส ดังนัÊนจึงมีผู้เสนอทฤษฏีเกÉียวกับกรด-เบสใหม่ เพÉือให้ครอบคลุมถึงสารจำพวกนีÊด้วย คือ ลิวอิส เบสแก่ เบสอ่อน รับ H+ รับ H+ รับ H+ โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 5
  • 6. ความรู้เพมÉิเติม โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 6  สารหรือไอออนทÉีเป็นทÊงักรดและเบส - สารหรือไอออนบางชนิดสามารถให้และรับโปรตอน (H+) สารหรือไอออนนีÊจึงเป็นได้ทัÊงกรดและเบส เรียกว่า สารแอมฟิโปรติก หรือสารแอมโฟเทอริก (Amphiprotic or Amphotheric substance) สารหรือไอออนพวกนีÊ เช่น H2O , NH3 , CH3COOH เป็นต้น สารแอมฟิโปรติก สมบัติของสารหรือไอออนตามทฤษฏีของเบรินสเตต-ลาวรี H2O CH3COOH + H2O H3O+ + CH3COO- กรด เบส กรด เบส NH3 + H2O NH4 + + OH- เบส กรด กรด เบส NH3 NH3 + H2O NH4 + + OH- เบส กรด กรด เบส NH2 - + H2 O NH3 + OH- เบส กรด กรด เบส CH3COOH CH3COOH + H2O H3O+ + CH3COO- กรด เบส กรด เบส CH3COOH + HClO4 CH3COOH2 + + ClO4 - เบส กรด กรด เบส
  • 7. โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 7 3. ทฤษฏีกรด – เบส ของลิวอิส กิลเบิร์ด นิวตัน ลิวอิส นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกันได้เสนอทฤษฏีกรด-เบส ขึÊนใหม่ โดยให้คำนิยามดังนีÊ กรด คือ สารทีÉสามารถรับอิเล็กตรอนคู่โดดเดีÉยวได้ในการเกิดพันธะโคเวเลนต์ เบส คือ สารทีÉสามารถให้อิเล็กตรอนคู่โดดเดีÉยวได้ในการเกิดพันธะโคเวเลนต์ ตัวอย่างกรด – เบส ตามทฤษฏีของลิวอิส เช่น H+ + H . . : N : H . . H H . . H : N : H . . H + รับ e- กรด เบส ปฏิกิริยานÊี H+ เป็นกรด ส่วน NH3 เป็นเบส เพราะ H+ รับอิเล็กตรอนคู่โดดเดÉียวจาก NH3 แล้วเกิดพันธะโคเวเลนต์ + H . . : N : H . . H รับ e- . . : F : . . : F : B . . : F : . . กรด เบส . . : F : H . . . . : F : B : N : H . . . . : F : H . . ปฏิกิริยานÊี BF3 ซÉึง B ยังขาดอิเล็กตรอนอีก 1 คู่ จึงครบกฎออกเตต (ครบ 8) B จึงรับอิเล็กตรอนคู่โดดเดÉียวจาก NH3 ซÉึง N มีอิเล็กตอรนคู่โดดเดÉียวเดÉียวเหลือ 1 คู่ ดังนัÊน BF3 เป็นกรด ส่วน NH3 เป็นเบส + ให้ e- . . : O : . . 2- . . 2- O : . . . . . . S : O : . . . . : O : . . เบส กรด . . : O : . . . . . . : O : S : O : . . . . . . : O : . . ปฏิกิริยานÊี O2- เป็นเบส ส่วน SO3 เป็นกรด เพราะ O2- ให้อิเล็กตรอนคู่โดดเดÉียวแก่ SO3 (ให้แก่ S) แล้วเกิดพันธะโคเวเลนต์ ทฤษฏีกรด – เบสของลิวอิส สามารถนำมาใช้กับสารต่าง ๆ เพิÉมขึÊนจากทฤษฏีกรด – เบสของเบรินสเตต- ลาวรี แต่การพิจารณาว่าสารใดเป็นกรด หรือ เบส ตามทฤษฏีนีÊ จะต้องทราบโครงสร้างทางอิเล็กตรอนของสารนัÊนด้วย จึงไม่ค่อยสะดวก และยุ่งยาก
  • 8. 8.4 คู่กรด - เบส  ในปฏิกิริยาผันกลับได้ ระหว่างกรด – เบส ของทฤษฏีกรด – เบสของเบรินสเตต-ลาวรี จะเห็นว่า ทัÊงปฏิกิริยาไปข้างหน้าและย้อนกลับ ต่างก็เป็นปฏิกิริยาระหว่างกรดและเบส สารทÉีทำหน้าทÉีเป็นกรดในปฏิกิริยาไปข้างหน้า กับ สารทÉีทำหน้าทÉีเป็นเบสในปฏิกิริยาย้อนกลับ สารทÉีทำหน้าทÉีเป็นเบสในปฏิกิริยาไปข้างหน้า กับ สารทÉีทำหน้าทÉีเป็นกรดในปฏิกิริยาย้อนกลับ เราเรียกปฏิกิริยาดังกล่าวว่า คู่กรด – เบส  ตัวอย่าง 1 คู่กรด - เบส CH3COOH + H2O H3O+ + CH3COO- กรด 1 เบส 2 กรด 2 เบส 1 คู่กรด - เบส CH3COOH เป็นคู่กรดของเบส (CH3COO-) CH3COO- เป็นคู่เบสของกรด (CH3COOH) H3O+ เป็นคู่กรดของเบส (H2O ) H2O เป็นคู่เบสของกรด (H3O+)  ตัวอย่าง 2 คู่กรด - เบส NH3 + H2O NH4 + + OH- เบส 1 กรด 2 กรด 1 เบส 2 NH3 เป็นคู่เบสของของกรด (NH4 +) NH4 + เป็นคู่กรดของเบส (NH3) OH- เป็นคู่เบสของกรด (H2O) H2O เป็นคู่กรดของเบส (OH-) คู่กรด - เบส ตัวอย่าง 3 จงเขียนปฏิกิริยาของกรด HCN (aq) กับ H2O (l) และเขียน คู่กรด – เบส ของปฏิกิริยานีÊ คู่กรด - เบส HCN (aq) + H2O (l) H3O+ (aq) + CN- (aq) กรด 1 เบส 2 กรด 2 เบส 1 คู่กรด - เบส โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 8
  • 9. ตัวอย่าง 4 จงเขียนปฏิกิริยาของเบส CH3COO- (aq) กับ H2O (l) และ เขียน คู่กรด – เบส ของปฏิกิริยานีÊ คู่กรด - เบส CH3COO- (aq) + H2O (l) CH3COOH (aq) + OH- (aq) เบส 1 กรด 2 กรด 1 เบส 2 ตัวอย่าง 5 จงเขียนปฏิกิริยาของกรด H2CO3 (aq) กับ H2O (l) และเขียน คู่กรด – เบส ของปฏิกิริยานีÊ คู่กรด - เบส H2CO3 (aq) + H2O (l) H3O+ (aq) + HCO3 - (aq) กรด 1 เบส 2 กรด 2 เบส 1 คู่กรด - เบส ตัวอย่าง 6 จากปฏิกิริยาต่อไปนีÊ สารนีÊเป็นกรด หรือ เบส 1) H2SO3 + H2O H3O+ + HSO3 - กรด หรือ เบส ??? 2) NH3 + H2O NH4 + + OH- กรด หรือ เบส ??? 3) NH2 - + H2 O NH3 + OH- กรด หรือ เบส ??? 4) CH3COOH + H2O H3O+ + CH3COO- กรด หรือ เบส ??? นักเรียนคิดว่า สารอิเล็กโตรไลต์แก่ มีคู่กรด – เบส หรือไม่ เพราะเหตุใด  ดังนัÊน คู่กรดของเบส คือ สารทÉีมีโปรตอน (H+) มากกว่า คู่เบส 1 โปรตอน (เพราะรับโปรตอน (H+) มา) ส่วน คู่เบสของกรด คือ สารทÉีมีโปรตอน (H+) น้อยกว่า คู่กรด 1 โปรตอน (เพราะให้โปรตอน (H+) ไป) ตัวอย่าง คู่กรดของเบสต่อไปนÊี คือสารใด ตัวอย่าง คู่เบสของกรดต่อไปนÊี คือสารใด ก. H2O คู่กรดของเบส H2O คือ H3O+ ก. H2O คู่เบสของกรด H2O คือ OH- ข. HS- คู่กรดของเบส HS- คือ H2S ข. H2S คู่เบสของกรด H2S คือ HS- ค. NH3 คู่กรดของเบส NH3 คือ NH4 + ค. NH4 + คู่เบสของกรด NH4 + คือ NH3 ง. H2PO4 - คู่กรดของเบส H2PO4 - คือ H3PO4 ง. H2PO4 - คู่เบสของกรด H2PO4 - คือ HPO4 2- จ. CO3 2- คู่กรดของเบส CO3 2- คือ HCO3 - จ. HCO3 - คู่เบสของกรด HCO3 - คือ CO3 2- - + ฉ. CH3COOH คู่เบสของกรด CH3COOH คือ CH3COO- ฉ. CH3COOH คู่กรดของเบส CH3COOH คือ CH3COOH2 คู่กรด - เบส โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 9
  • 10. 1) การแตกตัวของกรดแก่ และ เบสแก่ - กรดแก่ และเบสแก่ เมÉือละลายนÊำเป็นสารละลาย จะแตกตัวเป็นไอออนได้หมด ดังนัÊน เมÉือกรดแก่ หรืเบสแก่ละลายนÊำจึงมีเฉพาะการเปลÉียนแปลงไปข้างหน้าเพียงอย่างเดียว การละลายนÊำของกรดแก่ เช่น HCl (g) , HClO4 (l) เขียนสมการแสดงการเปลÉียนแปลงได้ ดังนีÊ HCl (g) + H2O (l) H3O+ (aq) + Cl- (aq) HClO4 (g) + H2O (l) H3O+ (aq) + ClO4 - (aq) การละลายนÊำของเบสแก่ เช่น NaOH (s) , KOH (s) เขียนสมการแสดงการเปลÉียนแปลงได้ ดังนีÊ NaOH (s) H2O (l) Na+ (aq) + OH- (aq) KOH (s) H2O (l) K+ (aq) + OH- (aq) ดังนัÊน สูตรทÉัวไปของกรดแก่ คือ HA และสูตรทÉัวไปของเบสแก่ คือ MOH เมÉือละลายนÊำ เขียนสมการทÉัวไป ได้ดังนÊี HA + H2O (l) H3O+ (aq) + A- (aq) กรดแก่ MOH H2O (l) M+ (aq) + OH- (aq) เบสแก่ ตาราง แสดงตัวอย่างกรดแก่ และเบสแก่ กรดแก่ เบสแก่ HClO4 HI HBr HCl HNO3 H2SO4 CsOH RbOH KOH NaOH LiOH Ra(OH)2 Ba(OH)2 Ca(OH)2 8.5 การแตกตัวของกรด - เบส โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 10
  • 11. โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 11  การคำนวณค่าการแตกตัวของกรดแก่ และ เบสแก่  เนืÉองจากกรดแก่และเบสแก่เป็นอิเล็กโตรไลต์แก่ ทีÉแตกตัวเป็นไอออนได้มาก หรือแตกตัวเป็นไอออนได้อย่างสมบูรณ์ จึงเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าเพียงอย่างเดียว  ถ้าทราบความเข้มข้นของกรดแก่ หรือเบสแก่ จะสามารถคำนวณหาความเข้มข้นไฮโดรเนียมไอออน และ ไฮดรอกไซด์ไอออนได้ ตัวอย่าง 1 กรดไนตริก (HNO3) เป็นกรดแก่ ถ้ากรดนีÊ 0.3 โมล ละลายในนÊำ 600 cm3 ความเข้มข้นของ ไฮโดรเนียมไอออน (H3O+) เป็นกีÉโมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร วิธีทำ HNO3 เป็นกรดแก่ แตกตัวได้หมด จึงเขียนปฏิกิริยาได้ดังนีÊ HNO3 (l) + H2O (l) H3O+ (aq) + NO3 - (aq) 0.3 mol 600 cm3 ? ? จากสมการ เนืÊอกรด HNO3 1 mol แตกตัวให้ H3O+ 1 mol ดังนัÊน เนืÊอกรด HNO3 0.3 mol แตกตัวให้ H3O+ 1 mol x 0.3 mol = 0.3 mol 1 mol แต่โจทย์ถาม ความเข้มข้นไฮโดรเนียมไอออน (mol / dm3) สารละลาย HNO3 600 cm3 มี H3O+ 0.3 mol ดังนัÊน สารละลาย HNO3 1000 cm3 มี H3O+ 0.3 mol x 1000 cm3 = 0.5 mol 600 cm3 ตอบ ความเข้มข้น H3O+ คือ 0.5 mol / dm3 ตัวอย่าง 2 สารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl) เข้มข้น 0.5 mol/dm3 จำนวน 250 cm3 มีไฮโดรเนียมไอออน (H3O+) และคลอไรด์ไอออน (Cl-) อย่างละกีÉโมล วิธีทำ สารละลาย HCl เข้มข้น 0.5 mol/dm3 หมายความว่า สารละลาย HCl 1000 cm3 มีเนืÊอ HCl 0.5 mol ถ้า สารละลาย HCl 250 cm3 มีเนืÊอ HCl 0.5 mol x 250 cm3 = 0.125 mol 1000 cm3 HCl เป็นกรดแก่ แตกตัวได้หมด จึงเขียนปฏิกิริยาได้ดังนีÊ HCl (aq) + H2O (l) H3O+ (aq) + Cl- (aq) 1 mol 1 mol 1 mol 1 mol จากสมการ HCl 1 mol แตกตัวให้ H3O+ = 1 mol และ Cl- = 1 mol ดังนัÊน HCl 0.125 mol แตกตัวให้ H3O+ = 0.125 mol และ Cl- = 0.125 mol ตอบ มีไฮโดรเนียมไอออน (H3O+ ) 0.125 mol และคลอไรด์ไอออน (Cl- ) 0.125 mol
  • 12. 2) การแตกตัวของกรดอ่อน โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 12  กรดอ่อนเมÉือละลายนÊำแล้ว แตกตัวเป็นไอออนได้ไม่หมด ในสารละลายจึงมีทัÊงไอออนและโมเลกุลทÉีแตกตัวไม่หมด จึง ทำให้เกิดปฏิกิริยาผันกลับ เมÉืออัตราการเปลÉียนแปลงไปข้างหน้าและย้อนกลับเกิดในอัตราเท่ากัน ระบบจะเข้าสู่ภาวะสมดุล  ถ้าให้ HA เป็นกรดอ่อน เมÉือละลายนÊำ สามารถเขียนสมการแสดงการเปลÉียนแปลงได้ ดังนีÊ HA (aq) + H2O (l) H3O+ (aq) + A- (aq) Ka = [ H3O+] [A-] โดย Ka เรียกว่า ค่าคงทีÉการแตกตัวของกรด [HA]  เนÉืองจากกรดอ่อนแตกตัวเป็นไอออนได้ไม่หมด ดังนัÊน ในการบอกปริมาณการแตกตัวของกรดอ่อนจึงนิยมบอกเป็นร้อยละ ซึÉงคำนวณได้จากสูตรดังนีÊ ร้อยละของการแตกตัวของกรด = จำนวนโมล (ความเข้มข้น) ของกรดทีÉแตกตัวได้ x 100 จำนวนโมล (ความเข้มข้น) ของกรดทัÊงหมด ตัวอย่าง 1 สารละลายกรด HB เข้มข้น 0.2 mol / dm3 แตกตัวเป็นไอออนได้เพียง 0.05 mol / dm3 จงคำนวณหาปริมาณการแตกตัวเป็นร้อยละ วิธีทำ การแตกตัวของกรดอ่อน HB เป็นดังสมการ HB (aq) + H2O (l) H3O+ (aq) + B- (aq) ร้อยละของการแตกตัวของกรด HB = 0.05 mol / dm3 x 100 = 25 0.2 mol / dm3 ตอบ สารละลายกรด HB แตกตัวได้ร้อยละ 25  ปริมาณการแตกตัวของกรดอ่อน นอกจากจะบอกเป็นร้อยละแล้ว ยังสามารถบอกโดยใช้ค่าคงทÉีสมดุลก็ได้ คือ ถ้าค่าคงทสÉีมดุลของกรดใดมีค่ามาก แสดงว่า กรดนัÊนมีการแตกตัวเป็นปริมาณมาก เรียก ค่าคงทÉีสมดุลของกรด (Ka) ตัวอย่าง 2 สารละลายกรด HA เข้มข้น 0.01 mol / dm3 แตกตัวได้ร้อยละ 2 ค่าคงทÉีการแตกตัวของกรดนีÊมีค่าเท่าใด วิธีทำ ปริมาณการแตกตัวของกรด HA = 2 x 0.01 = 0.0002 = 2 x 10-4 mol / dm3 100 สมการทีÉภาวะสมดุล ดังนีÊ HA (aq) + H2O (l) H3O+ (aq) + B- (aq) 0.01 mol / dm3 2 x 10-4 mol / dm3 2 x 10-4 mol / dm3 คำนวณค่าคงทีÉการแตกตัวของกรดได้ดังนีÊ Ka = [H3O+ ] [ B- ] = (2 x 10-4 ) (2 x 10-4 ) = 4 x 10-8 = 4 x 10-6 [HA ] 0.01 10-2 ตอบ ค่าคงทีÉการแตกตัวของกรด HA เท่ากับ 4 x 10-6 กรดอ่อนมี 2 ประเภท ได้แก่ 1. กรดโมโนโปรติก (monoprotic acid) คือ กรดทÉีมีสูตรทัวÉไปเป็น HA จะแตกตัวได้ 1 ขัÊน 2. กรดไดโปรติก (diprotic acid) คือ กรดทÉีมีสูตรทัวÉไปเป็น H2A จะแตกตัวได้ 2 ขัÊน H2A (aq) + H2O (l) H3O+ (aq) + HA- (aq) Ka1 HA (aq) + H2O (l) H3O+ (aq) + A- (aq) Ka2 ดังนัÊน Ka = Ka1 . Ka2
  • 13. 3) การแตกตัวของเบสอ่อน  เบสอ่อนเมÉือละลายนÊำแล้ว แตกตัวเป็นไอออนได้ไม่หมด จึงเกิดปฏิกิริยาผันกลับได้ เช่นเดียวกับกรดอ่อน  ถ้าให้ NH3 เป็นเบสอ่อน เมÉือละลายนÊำ สามารถเขียนสมการแสดงการเปลÉียนแปลงได้ ดังนีÊ NH3 (aq) + H2O (l) NH4 + (aq) + OH- (aq)  ค่าคงทีÉการแตกตัวของเบสอ่อน จะบอกให้ทราบถึงความสามารถในการแตกตัวเป็นไอออนในสารละลายได้เช่นเดียวกับ ค่าคงทีÉการแตกตัวของกรดอ่อน +] [OH-] โดย Kb เรียกว่า ค่าคงทีÉการแตกตัวของเบส [NH3] Kb = [NH4 ร้อยละของการแตกตัวของเบส = จำนวนโมลของเบสทีÉแตกตัวได้ x 100 จำนวนโมลของเบสทัÊงหมด ตัวอย่าง 1 สารละลาย XOH เข้มข้น 0.2 mol / dm3 แตกตัวได้ร้อยละ 5 จงหาความเข้มข้นของ OH- ในสารละลาย และหาค่าคงทีÉการแตกตัวของเบส ปริมาณการแตกตัวของเบส XOH = 5 x 0.2 = 0.01 mol / dm3 100 สมการทÉีภาวะสมดุล ดังนีÊ XOH (aq) + H2O (l) X+ (aq) + OH- (aq) 0.2 mol / dm3 0.01 mol / dm3 0.01 mol / dm3 ดังนัÊน ความเข้มข้นของ OH- เท่ากับ 0.01 mol / dm3 คำนวณค่าการแตกตัวของเบส ดังนีÊ Kb = [X+] [OH- ] = ( 0.01 ) ( 0.01 ) = 0.0005 = 5 x 10-4 [XOH] 0.2 ตอบ ความเข้มข้นของ OH- เท่ากับ 0.01 mol / dm3 และค่าคงทีÉการแตกตัวของเบส XOH เท่ากับ 5 x 10-4 ตัวอย่าง 2 จงคำนวณร้อยละของการแตกตัวของสารละลายเบส XOH ทÉีมีความเข้มข้น 0.02 mol / dm3 (Kb ของ XOH = 2.0 x 10-4) วิธีทำ XOH (aq) + H2O (l) X+ (aq) + OH- (aq) 0.25 mol / dm3 Kb = [X+] [OH- ] [XOH] 2.0 x 10-4 = [X+] [OH- ] 0.02 0.04 x 10-4 = [X+] [OH- ] เนืÉองจาก [X+] = [OH- ] 4 x 10-6 = [X+] [OH- ] = [X+]2 = [OH- ]2 ดังนัÊน [X+] = 4 x 10 -6 = 2 x 10 -3 [OH- ] = 4 x 10 -6 = 2 x 10 -3 ร้อยละการแตกตัวของเบส XOH = จำนวนโมล (ความเข้มข้น) ของกรดทีÉแตกตัวได้ x 100 จำนวนโมล (ความเข้มข้น) ของกรดทัÊงหมด = 0.002 x 100 = 10 0.02 ตอบ ร้อยละการแตกตัวของสาระลายเบส XOH เท่ากับ 10 โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 13
  • 14. 8.6 การแตกตัวเป็นไอออนของนํÊา  จากทีÉเคยศึกษา ทราบแล้วว่า นÊำ เป็นโมเลกุลโคเวเลนต์มีขัÊว และเป็นตัวทำละลายทÉีดี  นÊำบริสุทธิÍ เช่น นÊำกลันÉ นักเรียนคิดว่าจะแตกตัวเป็นไอออนได้หรือไม่ มีวิธีการทดสอบอย่างไร  ทำการทดลอง การนำไฟฟ้าของนÊำ ได้ผลดังนีÊ โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 14  นÊำบริสุทธิÍ สามารถนำไฟฟ้าได้น้อยมาก จนไม่สามารถตรวจการนำไฟฟ้าด้วยเครÉืองธรรมดาได้ (ตรวจความสว่างหลอดไฟ)  แต่เมÉือใช้เครÉืองแอมมิเตอร์พบว่า เข็มของแอมมิเตอร์เบนเพียงเล็กน้อยเท่านัÊน  แสดงว่า นÊำบริสุทธิÍแตกตัวได้ (เพราะเข็มของแอมมิเตอร์เบนเล็กน้อย แสดงว่ามีการนำไฟฟ้า) ดังสมการ H2O (l) + H2O (l) H3O+ (aq) + OH- (aq) จะเห็นว่า นÊำบริสุทธิÍสามารถนำไฟฟ้าได้เล็กน้อย และแตกตัวเป็นไอออนไฮโดรเนียมไอออน (H3O+ ) และไฮดรอกไซด์ไอออน (OH- ) ได้เล็กน้อย เขียนสมการแสดงค่าคงทÉีสมดุลของนÊำได้ดังนีÊ Kw = [ H3O+ ] [ OH- ] เรียก Kw ว่า ค่าคงทÉีการแตกตัวของนÊำ  เมÉือทดลองการนำไฟฟ้าของนÊำทÉีอุณหภูมิตํÉา (25OC) และนÊำทÉีอุณหภูมิสูง (60OC) พบว่า นÊำทÉีอุณหภูมิตํÉา แตกตัวเป็นไอออนได้น้อยกว่า นÊำทÉีอุณหภูมิสูง ดังนีÊ Kw ทีÉอุณหภูมิ 25OC มีค่าเท่ากับ 1.0 x 10-14 mol2/dm6 Kw ทีÉอุณหภูมิ 60OC มีค่าเท่ากับ 9.5 x 10-14 mol2/dm6 ดังนัÊน การบอกค่า Kw จึงต้องระบุอุณหภูมิด้วย และปกติเราไม่กล่าวถึงหน่วยของ Kw เหมือนค่าคงทÉีสมดุลอÉืนๆ  จากสมการการแตกตัวของนÊำ จะเห็นว่า ได้ไฮโดรเนียมไอออน และ ไฮดรอกไซด์ไอออน เกิดขึÊน จำนวนโมลเท่ากัน H2O (l) + H2O (l) H3O+ (aq) + OH- (aq) ดังนัÊน [ H3O+ ] = [ OH- ] จาก Kw = [ H3O+ ] [ OH- ] หรือ Kw = [ H3O+ ]2 หรือ Kw = [ OH- ]2 จะได้ Kw = [ H3O+ ] หรือ Kw = [ OH- ] จาก Kw = 1.0 x 10-14 ทีÉอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ดังนัÊน Kw = 1.0 x 10-14 mol2/dm6 = 1.0 x 10-7 mol/dm3 Kw = [ H3O+ ] = [ OH- ] = 1.0 x 10-7 mol/dm3  สรุปได้ว่า นÊำบริสุทธิÍ มีค่าคงทÉีการแตกตัวของนÊำ เท่ากับ 1.0 x 10-14 (Kw = 1.0 x 10-14) ทÉี 25OC  และมีความเข้มข้น ไฮโดรเนียมไอออน เท่ากับ ความเข้มข้นไฮดรอกไซด์ไอออน คือ 1.0 x 10-7 mol/dm3 H2O (l) + H2O (l) H3O+ (aq) + OH- (aq) 1.0 x 10-7 mol/dm3 1.0 x 10-7 mol/dm3 คำถาม ถ้าเติมกรดหรือเบสลงไปในนÊำ จะทำให้ความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออนและ ไฮดรอกไซด์ไอออนเปลÉียนแปลงอย่างไร (หน้าหลัง)
  • 15.  การเปลีÉยนความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออนและไฮดรอกไซด์ไอออน ในนํÊา จะมีผลดังนีÊ  เมืÉอเติมกรดในนํÊา (ความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออน (H3O+) เพิÉมขึÊน ) เมืÉอปริมาณ H3O+ ในสารละลายเพิÉมขึÊน ซึÉงทำให้สมดุลของนÊำถูกรบกวน ความเข้มข้น H3O+ จะมากกว่า 1.0 x 10-7 mol/dm3 ส่วนความเข้มข้น OH- น้อยกว่า 1.0 x 10-7 mol/ ตามหลักเลอชาเตอริเอ ระบบจะปรับตัวเพÉือลดการรบกวนนัÊน (เพÉือลดปริมาณ H3O+ ) โดย H3O+ จะรวมตัวกับ OH- เกิดเป็น H2O และเข้าสู่ภาวะสมดุลอีกครัÊงหนึÉง  เมืÉอเติมเบสในนํÊา (ความเข้มข้นของไฮดรอกไซด์ไอออน (OH-) เพิÉมขึÊน ) เมÉือปริมาณ OH- ในสารละลายเพิÉมขึÊน ซึÉงทำให้สมดุลของนÊำถูกรบกวน ความเข้มข้น OH- จะมากกว่า 1.0 x 10-7 mol/dm3 ส่วนความเข้มข้น H3O+ น้อยกว่า 1.0 x 10-7 mol/dm3 ตามหลักเลอชาเตอริเอ ระบบจะปรับตัวเพÉือลดการรบกวนนัÊน (เพÉือลดปริมาณ OH-) โดย OH- จะรวมตัวกับ H3O+ เกิดเป็น H2O และเข้าสู่ภาวะสมดุลอีกครัÊงหนึÉง 8.7 pH ของสารละลาย  ในสารละลายกรด หรือ เบส จะมีทัÊง H3O+ (ไอออนของกรด) และ OH- (ไอออนของเบส) ปริมาณแตกต่างกัน จึงใช้ความเข้มข้นของ H3O+ หรือ OH- ในสารละลายเป็นเกณฑ์บอกความเป็นกรด – เบส  เพÉือความสะดวก จึงกำหนดให้ใช้ ความเข้มข้น H3O+ เป็นเกณฑ์ ดังนีÊ  สารละลายทีÉเป็นกรด จะมีความเข้มข้น H3O+ มากกว่า 1.0 x 10-7 mol/dm3  สารละลายทีÉเป็นเบส จะมี ความเข้มข้น H3O+ น้อยกว่า 1.0 x 10-7 mol/dm3  สารละลายทีÉเป็นกลาง จะมี ความเข้มข้น H3O+ เท่ากับ 1.0 x 10-7 mol/dm3  แต่ความเข้มข้นของ H3O+ มีค่าน้อย จึงไม่สะดวกต่อการนำมาใช้ นักชีวเคมีชาวสวีเดน ชืÉอ ซอเรสซัน ได้เสนอเปลÉียนค่าความเข้มข้นของ H3O+ ให้อยใู่นรูปทÉีใช้งานได้สะดวก และเรียกค่าใหม่นีÊว่า pH ดังนีÊ pH = - log [ H3O+ ] เมÉือคำนวณ pH สารละลายทÉีเป็นกลาง [ H3O+ ] = 1.0 x 10-7 mol/dm3 pH = - log (1.0 x 10-7 ) = - log 1.0 - log 10-7 pH = - 0 + 7 log 10 = 0 + 7(1) = 7 ดังนัÊน ในสารละลายทÉีเป็นกลาง มี pH เท่ากับ 7 เมÉือคำนวณวิธีการเดียวกันในสารละลายกรด และ เบส จะได้ผลแสดงดังนีÊ  สารละลายทีÉเป็นกรด จะมี pH น้อยกว่า 7  สารละลายทีÉเป็นเบส จะมี pH มากกว่า 7  สารละลายทีÉเป็นกลาง จะมี pH เท่ากับ 7  ทำนองเดียวกัน ถ้ากล่าวถึง [OH-] เราก็สามารถเปลÉียนเป็น pOH ได้ pOH = - log [OH-] pH + pOH = 14 โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 15
  • 16. ตัวอย่าง 1 สารละลายกรดทีÉมีความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออน 2.0 x 10-7 mol/dm3 จะมี pH เท่าไร (กำหนด log2 = 0.301) วิธีทำ จาก pH = - log [ H3O+ ] = - log (2.0 x 10-7) = - log 2.0 - log 10-7 = - 0.301 + 7 log 10 = - 0.301 + 7 (1) = - 0.301 + 7 = 6.699 ตอบ สารละลายนีÊมี pH ประมาณ 6.7 ตัวอย่าง 2 สารละลายเบสมีความเข้มข้นของไฮดรอกไซด์ไอออน (OH-) 1.0 x 10-6 mol/dm3 จะมี pH เท่าใด ทีÉ 25OC วิธีทำ จาก pH = - log [ H3O+ ] หาค่า [ H3O+ ] จาก Kw = [ H3O+ ] [ OH- ] = 1.0 x 10-14 mol2/dm6 [ H3O+ ] (1.0 x 10-6 mol/dm3) = 1.0 x 10-14 mol2/dm6 [ H3O+ ] = 1.0 x 10-14 mol2/dm6 = 1.0 x 10-8 mol/ dm3 1.0 x 10-6 mol/ dm3 จาก pH = - log [ H3O+ ] = - log (1.0 x 10-8 ) = - log 1.0 - log 10-8 = - 0 + 8 log10 = 0 + 8(1) = 8 ตอบ สารละลายนีÊ มี pH เท่ากับ 8 ตัวอย่าง 3 สารละลาย HX เข้มข้น 0.01 mol/dm3 แตกตัวเป็นไอออนได้ร้อยละ 2 มีค่าคงทีÉสมดุลเท่าไร และมี pH เท่าไร (log2=0.301) วิธีทำ คำนวณปริมาณการแตกตัวของ HX = 2 x 0.01 mol/dm3 = 0.0002 mol/dm3 หรือ 2 x 10-4 mol/dm3 100 ดังนัÊน HX แตกตัวเป็นไอออน 2 x 10-4 mol/dm3 เขียนสมการได้ดังนีÊ HX (aq) + H2O (l) H3O+ (aq) + X- (aq) 0.01 mol/dm3 2 x 10-4 mol/dm3 2 x 10-4 mol/dm3 หาค่า K = [H3O+] [X-] = (2 x 10-4 ) (2 x 10-4 ) = 4 x 10-8 = 4 x 10-6 [HX] ( 0.01) 10-2 หาค่า pH = - log [ H3O+ ] = - log ( 2 x 10-4 ) = - log 2 - log 10-4 = - 0.301 + 4 log 10 = - 0.301 + 4 (1) = - 0.301 + 4 = 3.699 ตอบ สารละลาย HX นีÊ มีค่าคงทÉีสมดุลเท่ากับ 4 x 10-6 และมี pH 3.7 โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 16
  • 17. ตัวอย่าง 4 สารละลาย NaOH มี pH 9 มีความเข้มข้น H3O+ เท่าใด pH = - log [ H3O+ ] นัÉนคือ 9 = - log 10- 9 (- log 10- 9 = 9 log10 = 9(1) = 9 ) 9 = - log [ H3O+ ] ดังนัÊน [ H3O+ ] = 10- 9 ตอบ สารละลายนีÊมี ความเข้มข้น H3O+ เท่ากับ 10- 9 mol/dm3 ตัวอย่าง 5 จากตัวอย่างทีÉ 4 ความเข้มข้นของ OH- เป็นเท่าใด ตัวอย่าง 6 สารละลาย KOH เข้มข้น 0.05 mol/dm3 จะมี pH เท่าใด (กำหนด log2 = 0.301) ตัวอย่าง 7 สารละลาย A มี pOH 9 จงหา pH ตัวอย่าง 8 HA เข้มข้น 0.02 mol/dm3 แตกตัวเป็นไอออนได้ร้อยละ 1 มี pH เท่าไร (log2=0.301) โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 17
  • 18. 8.8 อินดิเคเตอร์สำหรับกรด - เบส โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 18  การใช้กระดาษลิตมัสบอกให้ทราบแต่เพียงว่าสารละลายเป็นกรดหรือเบสเท่านัÊน แต่ไม่สามารถบอกได้ว่ามีความเป็นกรดหรือเบสมาก น้อยเพียงใด  นอกจากระดาษลิตมัสยังมีสารอีกหลายชนิดทÉีใช้ตรวจสอบความเป็นกรด-เบสของสารละลายได้  สารทีÉใช้ตรวจสอบความเป็นกรด-เบสของสารละลายเรียกว่า อินดิเคเตอร์สำหรับกรด – เบส  สมบัติของอินดิเคเตอร์  มีสูตรโครงสร้างซับซ้อน จึงใช้ HIn แทนสูตรอินดิเคเตอร์  มีสมบัติเป็นกรดอ่อน  เมืÉออินดิเคเตอร์อยู่ในสารละลาย จะเกิดสมดุล ดังสมการ HIn (aq) + H2O (l) H3O+ (aq) + In- (aq) กรด เบส  เมืÉอความเข้มข้นของไอออน หรือ pH เปลีÉยนไป สีของอินดิเคเตอร์ในสารละลายจะเปลีÉยนไป ตัวอย่างอินดิเคเตอร์ และช่วง pH ทีÉเปลีÉยนสี อินดิเคเตอร์ ช่วง pH ทีÉเปลีÉยนสี สีทีÉเปลีÉยน ไทมอลบลู (กรด) โบรโมฟีนอลบลู เมทิลออเรนจ์ เมทิลเรด อะโซลิตมิน (ลิตมัส) โบรโมไทมอลบลู ฟีนอลเรด ไทมอลบลู (เบส) ฟีนอล์ฟทาลีน 1.2 – 2.8 3.0 – 4.6 3.2 – 4.4 4.2 – 6.3 5.0 – 8.0 6.0 – 7.6 6.8 – 8.4 8.0 – 9.6 8.3 – 10.0 แดง – เหลือง เหลือง – นÊำเงิน แดง – เหลือง แดง – เหลือง แดง – นÊำเงิน เหลือง – นÊำเงิน เหลือง – แดง เหลือง – นÊำเงิน ไม่มีสี - ชมพู ตัวอย่าง เช่น เมทิลออเรนจ์ เปลีÉยนสีทีÉ pH 3.2 – 4.4 หมายความว่า ทÉี pH 3.2 หรือตํÉากว่า จะมีสีแดง ทีÉ pH 4.4 หรือสูงกว่า จะมีสีเหลือง ทีÉ pH ระหว่าง 3.2 ถึง 4.4 จะมีสีส้ม (สีผสมแดงกับเหลือง เมÉือต้องการตรวจสอบสารละลายชนิดหนึÉง เลือกใช้ เมทิลออเรนจ์ เป็นอินดิเคเตอร์ โดยหยดลงไปในสารละลาย 2-3 หยด ปรากฏว่า เกิดสี แดง แสดงว่า สารละลายนีÊ pH 3.2 หรือ ตํÉากว่า 3.2 คำถาม มีสารละลาย A อยากทราบว่ามี pH เท่าใด จึงใช้ เมทิลเรด หยดลงไปในสารละลาย 2 หยด เกิดสีเหลือง  อินดิเคเตอร์แต่ละชนิดเปลÉียนสีในช่วง pH ทÉีมีค่าเฉพาะและแตกต่างกัน ซึÉงการใช้อินดิเคเตอร์เพียงชนิดเดียวทดสอบ ความเป็นกรด – เบส จะบอก pH ได้ช่วงกว้าง ๆ  ดังนัÊน จึงมีการนำอินดิเคเตอร์หลายชนิด และแต่ละชนิดเปลÉียนสีในช่วง pH แตกต่างกัน มาผสมกัน จะได้อินดิเคเตอร์ ทÉีบอกค่า pH ได้ละเอียดขึÊน เรียก อินดิเคเตอร์ผสมนีÊว่า ยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์
  • 19.  สารละลายกรด – เบส ในชีวิตประจำวันและในสิÉงมีชีวิต ในชีวิตประจำวันเราใช้สารทีÉมีสมบัติเป็นกรด หรือ เบส หรือ กลาง หลายชนิด เช่น  อาหาร หรือเครÉืองดÉืม เช่น นÊำส้มสายชู นÊำมะนาว นÊำอัดลม (กรด)  สารทำความสะอาด สารซักล้าง เครÉืองสำอาง (เบส)  ของเหลวในสิÉงมีชีวิต เช่น เลือดจะต้องรักษาระดับ pH ให้คงทÉี (pH = 7.35 – 7.45) ถ้าเลือดมี pH ตํÉากว่า 7.35 อาจทำให้คลÉืนไส้ อาเจียน หมดสติ หรืออาจเสียชีวิตได้ แต่ในภาวะปกติ ร่างกายจะมีระบบควบคุม pH ให้เกือบคงทÉี  นÊำฝน มี pH 5.5 – 6.0  นÊำประปา มี pH 6.5 - 8.0  นÊำทะเล มี pH 7.8 – 8.2 ทำไม นÊำฝนจึงมี pH ตํÉากว่า 7 ??? โดยทัวÉไป นÊำฝนมีความเป็นกรดเล็กน้อย และมี pH ประมาณ 5.5 - 6.0 ถ้าในพืÊนทÉีทÉีมีโรงงานอุตสาหกรรม นÊำฝนอาจมี pH ประมาณ 2.8 เนÉืองจาก ในอากาศมี แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) ไนโตรเจนมอนอกไซด์ (NO) เมÉือฝนตกลงมา แก๊สเหล่านีÊจะทำปฏิกิริยากับฝน ดังนีÊ CO2 (g) + H2O (l) H2CO3 (aq) แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ กรดคาร์บอนิก SO2 (g) + H2O (l) H2SO3 (aq) แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ กรดซัลฟิวริก 2SO2 (g) + O2 (g) 2 SO3 (g) แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ แก๊สซัลเฟต SO3 (g) + H2O (l) H2SO4 (aq) แก๊สซัลเฟต กรดซัลฟิวเรต 2NO (g) + O2 (g) 2 NO2 (g) แก๊สไนโตรเจนมอนอกไซด์ แก๊สไนไตรด์ 2 NO2 (g) + H2O (l) HNO2 (aq) + HNO3 (aq) แก๊สไนไตรด์ กรดไนไตรด์ กรดไนตริก นÊำฝนจึงมีสภาพเป็นกรด และมี pH ตํÉา เรียกว่า ฝนกรด ซึÉงสามารถกัดกร่อนสิÉงปลูกสร้าง หรืออาคารบ้านเรือนทÉี เป็นหินปูน หรือทำปฏิกิริยากับโลหะเกิดเป็นสนิม  ทางการเกษตร ความเป็นกรด – เบส มีผลต่อการละลายของแร่ธาตุในดิน พืชบางชนิดเจริญเติบโตได้ดีในดินทีÉเป็นกรดเล็กน้อย เช่น ข้าว หรือดอกไม้บางชนิด ดังนัÊน การปลูกพืชเพÉือให้ได้ผลดีจำเป็นต้องปรับสภาพความเป็นกรด – เบสของดินให้เหมาะสม กับพืชทÉีปลูก เช่น ถ้าดินมีความเป็นกรดสูง ซึÉงไม่เหมาะแก่การเพาะปลูก จำเป็นต้องลดความเป็นกรดของดิน โดยการ เติมปูนขาวหรือขีÊเถ้าลงไป คำถาม ปูนขาว หรือ ขีÊเถ้า ช่วยลดความเป็นกรดในดินได้อย่างไร โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 19
  • 20. 8.9 ปฏิกิริยาของกรดและเบส ปฏิกิริยาของกรดและเบส เกิดขึÊนระหว่าง H3O+ จากกรด ทำปฏิกิริยากับ OH- จากเบสได้ H2O ดังสมการ H3O+ (aq) + OH- (aq) H2O (l) ดังนัÊน ปฏิกิริยาระหว่าง ไฮโดรเนียมไอออน (H3O+) จากกรด กับไฮดรอกไซด์ไอออน (OH-) จากเบส เกิดเป็นนÊำ เรียกว่า ปฏิกิริยาการสะเทิน เพราะฉะนัÊน ปฏิกิริยาของกรดและเบส ส่วนใหญ่จะเกิด นÊำด้วย  ปฏิกิริยาระหว่างกรด กับ เบส เช่น HCl (aq) + NaOH (aq) NaCl (aq) + H2O (l) กรดแก่ เบสแก่ เกลือ นํÊา ถ้านำเกลือทÉีได้ เช่น NaCl (s) มาละลายนÊำ สารละลายนัÊนจะมีสมบัติเป็น กลาง HCl (aq) + NH3 (aq) NH4Cl (aq) กรดแก่ เบสอ่อน เกลือ ถ้านำเกลือทÉีได้ เช่น NH4Cl (s) มาละลายนÊำ สารละลายนัÊนจะมีสมบัติเป็น กรด CH3COOH (aq) + NaOH (aq) CH3COONa (aq) + H2O (l) กรดอ่อน เบสแก่ เกลือ นํÊา ถ้านำเกลือทÉีได้ เช่น CH3COONa (s) มาละลายนÊำ สารละลายนัÊนจะมีสมบัติเป็น เบส CH3COOH (aq) + NH3 (aq) CH3COONH4 (aq) กรดอ่อน เบสอ่อน เกลือ ถ้านำเกลือทÉีได้ เช่น CH3COONH4 (s) มาละลายนÊำ สาระลายนัÊนจะมีสมบัติเป็นกรด หรือ เป็นเบส หรือเป็นกลาง ขÊึนอยู่กับค่า Ka กับ Kb ของกรดและเบสนัÊน โดย Ka > Kb สารละลายจะเป็นกรด เช่น NH4CN Ka < Kb สารละลายจะเป็นเบส เช่น NH4Cl Ka = Kb สารละลายจะเป็นกลาง เช่น CH3COONH4  ปฏิกิริยาระหว่างกรดหรือเบส กับ สารบางชนิด  ปฏิกิริยาระหว่างกรด กับเบส ได้ผลิตภัณฑ์เป็นเกลือ กับนÊำ แต่ถ้าให้กรดหรือเบส ทำปฏิกิริยากับสารบางชนิด เช่น แคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) สารละลายไอร์ออน (III) คลอไรด์ (FeCl3) จะเกิดปฏิกิริยาดังสมการต่อไปนีÊ CaCO3 (s) + 2HCl (aq) CaCl2 (aq) + H2O (l) + CO2 (g) แคลเซียมคาร์บอเนต (หินปูน) กรดแก่ เกลือ นÊำ แกส๊คาร์บอนไดออกไซด์ FeCl3 (aq) + 3NaOH (aq) Fe(OH3) (g) + 3NaCl (l) ไอร์ออน (III) คลอไรด์ เบสแก่ ตะกอน เกลือ Mg (s) + 2HCl (aq) MgCl2 (aq) + H2 (g) โลหะแมกนีเซียม กรดแก่ เกลือ แก๊สไฮโดรเจน  กรดและเบสนอกจากทำปฏิกิริยาได้โดยตรงแล้ว ยังสามารถทำปฏิกิริยากับสารอÉืน เช่น CaCO3 , FeCl3 , โลหะ Mg ได้ผลิตภัณฑ์เป็นเกลือ โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 20
  • 21.  ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 21 ปฏิกิริยาทีÉเกิดจากไอออนบวก หรือไอออนลบของเกลือ กับนÊำ ได้ผลิตภัณฑ์เป็น H3O+ หรือ OH- เรียก ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส ตัวอย่าง NH4Cl (s) H2O NH4 + (aq) + Cl- (aq) เกลือ NH4 + (aq) + H2O (l) H3O+ (aq) + NH3 (aq) Cl- (aq) + H2O (l) ดังนัÊนเกลือ NH4Cl เกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของเกลือ เพราะ ไอออนบวกทำปฏิกิริยากับนÊำ ได้ผลิตภัณฑ์ H3O+ CH3COONa (s) H2O Na+ (aq) + CH3COO- (aq) เกลือ Na+ (aq) + H2O (l) CH3COO- (aq) + H2O (l) CH3COOH (aq) + OH- (aq) ดังนัÊนเกลือ CH3COONa เกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของเกลือ เพราะ ไอออนลบทำปฏิกิริยากับนÊำ ได้ผลิตภัณฑ์ OH-NaCl (s) H2O Na+ (aq) + Cl- (aq) เกลือ Na+ (aq) + H2O (l) Cl- (aq) + H2O (l) ดังนัÊนเกลือ NaCl ไม่เกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส เพราะไอออนบวกหรือไอออนลบ ทำปฏิกิริยากับนÊำ ไม่ได้ H3O+ หรือ OH- 8.10 การไทเทรตกรด – เบส (Acid-base titration)  การไทเทรตกรด-เบส หมายถึง กระบวนการหาปริมาณสาร โดยวิธีใช้สารละลายมาตรฐานทีÉทราบค่าความเข้มข้นทีÉแน่นอน ให้ทำปฏิกิริยากับสารตัวอย่าง โดยอาศัยหลักการเกิดปฏิกิริยาระหว่างสารละลายกรดและเบสทÉีเข้าทาปฏิกิริยากันพอดี ทำให้คำนวณหาความเข้มข้นหรือปริมาณของสารตัวอย่างดังกล่าวได้  วิธีการไทเทรตกรด-เบส คือ การนำสารละลายกรดหรือเบส(ตัวอย่าง)ทÉีต้องการวิเคราะห์หาปริมาณ มาทำการไทเทรตกับ สารละลายเบสหรือกรดมาตรฐานทีÉทราบค่าความเข้มข้นทีÉแน่นอน กล่าวคือ ถ้าสารละลายตัวอย่างเป็นสารละลายกรด ก็ต้องใช้สารละลายมาตรฐานเป็นเบส นำมาทาการไทเทรต แล้วบันทึกปริมาตรของสารละลายมาตรฐานทÉีใช้ในการทาปฏิกิริยาพอดีกัน จากนัÊนนำไปคำนวณหาปริมาณของสารตัวอย่างต่อไป หรือทางตรงกันข้าม ถ้าใช้สารละลายตัวอย่างเป็นเบส ก็ต้องใช้สารละลายมาตรฐานเป็นกรด  อุปกรณ์ทีÉใช้ ขวดวัดปริมาตร (volumetric flask) ปิเปตต์ (pipette) ขวดรูปชมพู่ (flask) บิวเรตต์ (burette)
  • 22. รูปแสดงการใช้ปิเปตต์ รูปแสดงการตัÊงบิวเรตต์และการไทเทรต  ปฏิกิริยาในการไทเทรตกรด-เบส ปฏิกิริยา ทีÉเกีÉยวข้อง ในการไทเทรตกรด-เบสต่างๆ ได้แก่ 1. ปฏิกิริยาระหว่างกรดแก่กับเบสแก่ 2. ปฏิกิริยาระหว่างกรดแก่กับเบสอ่อน 3. ปฏิกิริยาระหว่างกรดอ่อนกับเบสแก่ สำหรับปฏิกิริยาระหว่างกรดอ่อนกับเบสอ่อนไม่นิยมนามาใช้ในการไทเทรตกรด-เบส เพราะทีÉจุดสมมูล หรือจุดทีÉกรดและเบสทำปฏิกิริยาพอดีกัน สังเกตการณ์เปลีÉยนแปลงได้ไม่ชัดเจน โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 22
  • 23.  จุดสมมูล (Equivalence point)  ในการไทเทรตกรด-เบส จุดทÉีกรดและเบสทำปฏิกิริยากันพอดี (จุดสมมูล) โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 23 หรือจุดท ÉีH3O+ (หรือ H+ ) ทำปฏิกิริยาพอดีกับ OH- ด้วยจำนวนโมลทÉีเท่ากัน เรียกว่า จุดสมมูล  ถ้าใช้พีเอชมิเตอร์ วัดหาค่า pH ณ จุดสมมูล จะพบว่า จุดสมมูลของปฏิกิริยาระหว่างกรด - เบส แต่ละปฏิกิริยา หรือแต่ละคู่จะมี pH ทÉีจุดสมมูลแตกต่างกัน ขึÊนอยกูั่บชนิดของกรดและเบสทÉีเข้า ทาปฏิกิริยากัน แต่สามารถระบุ อย่างคร่าวๆ ได้ ดังนีÊ - การไทเทรตระหว่างกรดแก่กับเบสแก่ pH ของสารละลาย ณ จุดสมมูลประมาณ 7 (กลาง) - การไทเทรตระหว่างกรดแก่กับเบสอ่อน pH ของสารละลาย ณ จุดสมมูลจะน้อยกว่า 7 (กรด) - การไทเทรตระหว่างกรดอ่อนกับเบสแก่ pH ของสารละลาย ณ จุดสมมูลจะมากกว่า 7 (เบส)  จุดยุติ (End point)  การทÉีจะทราบว่า ปฏิกิริยาการไทเทรต ถึงจุดสมมูลหรือยังนัÊน จะต้องมีวิธีการทÉีจะหาจุดสมมูล วิธีการหนึÉง คือ การใช้อินดิเคเตอร์  โดยอินดิเคเตอร์จะต้องเปลีÉยนสีทีÉจุดทีÉพอดีหรือใกล้เคียง กับจุดสมมูล นัÉนคือ จุดทีÉอินดิเคเตอร์เปลีÉยนสี จะเรียกว่า จุดยุติ ดังนัÊน จึงต้องเลือกอินดิเคเตอร์ ให้เหมาะสมทÉีจะให้เห็นการเปลÉียนสีทÉีจุดสมมูลพอดี ถ้าเลือกใช้อินดิเคเตอร์ ไม่เหมาะสม จะทำให้ เกิดความคลาดเคลÉือนของการไทเทรต (titration error) ซึÉงเกิดจากการทÉีมีความแตกต่างระหว่างจุด สมมูล และจุดยุติของการไทเทรต กล่าวคือ จุดสมมูลและจุดยุติ ไม่ได้อยู่ในช่วง pH เดียวกัน ทาให้ เกิดการเปลีÉยนสีของอินดิเคเตอร์ ก่อนหรือหลังจุดสมมูล  อินดิเคเตอร์กับการไทเทรตกรด-เบส  อินดิเคเตอร์ ทÉีเหมาะสมกับปฏิกิริยาการไทเทรตจะต้องมีค่า pH ทÉีจุดกÉึงกลางช่วงการเปลÉียนสีใกล้เคียงหรือเท่ากับ pH ทÉีจุดสมมูลของปฏิกิริยา นอกจากนีÊ การเลือกใช้อินดิเคเตอร์กรด-เบส ต้องพิจารณาสีทÉีปรากฎ จะต้องมีความเข้มมากพอ ทีÉจะมองเห็นได้ง่าย หรือเห็นการเปลีÉยนสีได้ชัดเจน ตัวอย่างเช่น ต้องการไทเทรต กรดแก่ กับเบสแก่  ผลิตภัณฑ์ทีÉเกิดการปฏิกิริยาของกรดแก่กับเบสแก่ เมืÉอถึงจุดสมมูลมีค่าประมาณหรือใกล้เคียง ş (เป็นกลาง)  ดังนัÊน เลือกใช้อินดิเคเตอร์ทÉีมีช่วง pH ของการเปลÉียนสีใกล้เคียงกับ 7  เช่น อาจใช้ โบรโมไทมอลบลู หรือ ฟีนอล์ฟทาลีน (pH 8.20-10.00) ซึÉงจะเปลÉียนจากไม่มีสีเป็นสีชมพู  ดังนัÊน ถ้าทราบ pH ของสารละลายทÉีจุดสมมูลของปฏิกิริยาการไทเทรตก็สามารถเลือกอินดิเคเตอร์ทÉีเหมาะสมได้ การเลือกอินดิเคเตอร์ ก็ขึÊนอยกูั่บชนิดของปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส เพราะทÉีจุดสมมูลของแต่ละปฏิกิริยานัÊน มีค่า pH ทÉีต่างกัน ตารางแสดงช่วง pH ทีÉเปลีÉยนสีของอินดิเคเตอร์แต่ละชนิด อินดิเคเตอร์ ช่วง pH ทีเปÉลีÉยนสี สีทีเปÉลีÉยน ไทมอลบลู (กรด) 1.2 – 2.8 โบรโมฟีนอลบลู 3.0 – 4.6 เมทิลออเรนจ์ 3.2 – 4.4 เมทิลเรด 4.2 – 6.3 อะโซลิตมิน (ลิตมัส) 5.0 – 8.0 โบรโมไทมอลบลู 6.0 – 7.6 ฟีนอลเรด 6.8 – 8.4 ไทมอลบลู (เบส) 8.0 – 9.6 ฟีนอล์ฟทาลีน 8.3 – 10.0 แดง – เหลือง เหลือง – นÊำเงิน แดง – เหลือง แดง – เหลือง แดง – นÊำเงิน เหลือง – นÊำเงิน เหลือง – แดง เหลือง – นÊำเงิน ไม่มีสี - ชมพู คำถาม 1. ถ้าต้องการไทเทรต กรดแก่ กับเบสอ่อน ควรเลือกใช้อินดิเคเตอร์ชนิดใด 2. ถ้าต้องการไทเทรต กรดอ่อน กับเบสแก่ ควรเลือกใช้อินดิเคเตอร์ชนิดใด
  • 24.  การประยุกต์การไทเทรตกรด-เบสเพืÉอหาปริมาณสารในชีวิตประจาวัน  การไทเทรตกรด-เบส ใช้ประยุกต์หาปริมาณสารทีÉเป็นสารอินทรีย์ สารอนินทรีย์ และสารชีวโมเลกุลได้  ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ ได้แก่ การหาปริมาณกรดอ่อนในนÊำส้ม นÊำมะนาว และในไวน์  การหาปริมาณเบส Mg(OH)2 , MgO ในยาลดกรด หรือการหาปริมาณโปรตีน ในอาหาร เป็นต้น  วิธีการไทเทรต ตัวอย่าง คุณครูมี HC l ซึÉงเป็นกรดแก่ แต่ไม่ทราบความเข้มข้น ....จงหาความเข้มข้นของ HCl นีÊ จะเห็นว่า HCl (สารตัวอย่าง ) เป็นกรดแก่ สามารถเลือกใช้สารละลายมาตรฐานเป็นเบสแก่หรือเบสอ่อนก็ได้  เลือกใช้เบสแก่ คือ NaOH เข้มข้น Ř.ř mol/dm3 เป็นสารละลายมาตรฐาน  ผลิตภัณฑ์ทีÉได้จากปฏิกิริยาของกรดแก่กับเบสแก่ เมืÉอถึงจุดสมมูลมีค่าประมาณหรือใกล้เคียง ş (เป็นกลาง)  จึงเลือกใช้อินดิเคเตอร์ คือ ฟีนอล์ฟทาลีน (pH 8.3 - 10.0 ---ใกล้เคียงş) ซึÉงจะเปลÉียนจาก ไม่มีสีเป็นสีชมพู วิธีทำ  ปิเปตต์สารละลายตัวอย่าง (HCl) ปริมาตร Śŝ cm3 (25 ml ) ลงในขวดรูปชมพู่  หยดฟีนอล์ฟทาลีน (อินดิเคเตอร์) Ś – ś หยด ลงไปในสารละลายตัวอย่าง (HCl) ทÉีต้องการหาความเข้มข้น (HCl เป็นสารละลายไม่มีสี หยดฟีนอล์ฟทาลีนซึÉงไม่มีสีเหมือนกัน ดังนัÊน สารละลายทÉีหยดฟีนอล์ฟทาลีนจะไม่มีสี )  นำสารละลายมาตรฐาน NaOH เข้มข้น Ř.ř mol/dm3 (แล้วแต่จะเตรียมความเข้มข้นไว้เท่าใดก็ได้)  ใส่ลงในบิวเรตต์ (สมมุติว่าใช้บิวเรตต์ ขนาด řŘŘ ml (100cm3) ) และติดตัÊงบิวเรตต์ ดังรูป ใส่สารละลายมาตรฐานทีÉทราบความเข้มข้น ในบิวเรตต์ สารละลายตัวอย่างทีÉจะหาความเข้มข้น  บันทึกปริมาณสารละลายมาตรฐานในบิวเรตต์ ก่อนไขก๊อกให้ไหลออก  ไขก๊อก ปล่อยสารละลายมาตรฐานในบิวเรตต์ (NaOH) ลงในสารละลายตัวอย่าง (HCl) ในขวดรูปชมพู่ ค่อย ๆ ปล่อยให้ไหลทีละหยด พร้อมเขย่าไปด้วย จนกระทังÉ สารละลายเปลÉียนสี จาก ไม่มีสี เป็นสีชมพู แสดงว่าถึงจุดยุติ (จุดทÉี กรด-เบสทำปฏิกิริยากันอย่างพอดี เกิดเกลือทÉีละลายนÊำแล้วมี pH เป็นกลาง (ประมาณ ş)) (ฟีนอล์ฟทาลีน มี pH 8.3 - 10.0 มีช่วงการเปลีÉยนสีจาก ไม่มีสี เป็นสีชมพู)  เมÉือถึงจุดยุติแล้ว (เปลÉียนเป็นสีชมพู) ให้จดบันทึกปริมาตรทÉีใช้ไป ดังนีÊ (ข้อมูลสมมุติ)  ทำซÊำ ś ครัÊง (เพÉือป้องกันความคลาดเคลÉือน) แล้วหาค่าเฉลÉีย โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 24
  • 25. ตารางบันทึกปริมาตรการใช้สารละลายมาตรฐาน (ข้อมูลสมมุติ) ครัÊงทÉี ปริมาตรสารละลายมาตรฐาน ก่อนจุดยุติ เมืÉอถึงจุดยุติ ปริมาตรทีÉใช้ไป ř 100 ml 85 ml řŝ ml Ś 85 ml 68 ml 17 ml ś 68 ml 55 ml 13 ml ปริมาตรทีใช้ไปเฉลีÉย řŝ ml หรือ řŝ cm3  คำนวณหาความเข้มข้นของสารละลายตัวอย่าง  ใช้สูตรการคำนวณ c1v1 = c2v2 โดย c1 = ความเข้มข้นของสารตัวอย่าง c1 x Śŝ cm3 = (0.1 mol/dm3) (15 cm3) v1 = ปริมาตรของสารตัวอย่าง c1 = (0.1 mol/dm3) (15 cm3) c2 = ความเข้มข้นของสารละลายมาตรฐาน Śŝ cm3 v2 = ปริมาตรของสารมาตรฐาน c1 = 0.06 mol/dm3 (อ่านจากบิวเรตต์เมืÉอถึงจุดสมมูล ตอบ ดังนัÊน กรด HCl นีÊ มีความเข้มข้น 0.06 mol/dm3 หรือ 0.06 mol/l ตัวอย่างกราฟการไทเทรต แสดงจุดสมมูล (จุดทีÉกรด – เบส ทำปฏิกิริยาพอดีกัน) โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 25
  • 26. 8.11 สารละลายบัฟเฟอร์  คือ สารละลายทีÉประกอบด้วยของผสมระหว่าง กรดอ่อน กับ เกลือของกรดอ่อน (คู่เบสของกรด) หรือ เบสอ่อน กับ เกลือของเบสอ่อน (คู่กรดของเบส) จะได้สารละลายทีÉมีไอออนร่วม  สมบัติพิเศษของสารละลายบัฟเฟอร์ คือ สามารถรักษา pH ของสารละลายไว้เกือบคงทÉี แม้จะเติมนÊำ กรดแก่, เบสแก่ ลงไปเล็กน้อย ก็ไม่ทำให้ pH ของสารละลายเปลÉียนแปลงไปมากนัก ทÉีเป็นเช่นนีÊเพราะ ในสารละลายบัฟเฟอร์จะมีสารหรือไอออนทÉีทำหน้าทÉีคอยควบคุม ความเข้มข้นของ H3O+ และ OH- ในระบบให้คงที เราเรียกความสามารถในการต้านทานการเปลÉียนแปลง pH นีÊว่า ความจุบัฟเฟอร์ (buffer capacity)  สารละลายบัฟเฟอร์มี 2 ประเภท 1) สารละลายของกรดอ่อน กับ เกลือของกรดอ่อน (Acid buffer solution) สารละลายบัฟเฟอร์แบบนีÊมี pH < 7 (เป็นกรด) เช่น กรดอ่อน + เกลือของกรดอ่อนนัÊน CH3COOH CH3COONa ปฏิกิริยาการควบคุม pH ในสารละลายบัฟเฟอร์ ในระบบจะมีสมดุล ดังนีÊ CH3COOH + H2O CH3COO- + H3O+ CH3COONa CH3COO- + Na+ ถ้าเติมกรดแก่ (เช่น HCl) ลงไป HCl จะแตกตัว ดังสมการ HCl H+ + Cl- H+ ทีÉแตกตัวได้ จะรวมตัวกับ CH3COO- กลายเป็น CH3COOH ทำให้ความเข้มข้น CH3COO- ลดลง ส่วน ความเข้มข้น CH3COOH เพิÉมขึÊน นÉันคือ H+ หรือ H3O+ จากกรดแก่ทÉีเติมลงไป (ทÉีจะทำให้ pH ของบัฟเฟอร์เปลÉียนไป) ถูกกำจัดโดย CH3COO- ทÉีมีอยมู่าก เพราะ CH3COO- ได้มาจากกรด CH3COOH และจากการแตกตัวของ CH3COONa ดังสมการ H+ + CH3COO- CH3COOH และถึงแม้จะมี CH3COOH เพิÉมขึÊน แต่เนÉืองจาก CH3COOH แตกตัวได้น้อยมาก (เป็นกรดอ่อน แตกตัวได้บางส่วน) ดังนัÊนจึงไม่ทำให้ H3O+ ในระบบบัฟเฟอร์เปลÉียนแปลงไป จึงทำให้ pH ของระบบเปลÉียนแปลงน้อยมาก ถ้าเติมเบสแก่ (เช่น NaOH) ลงไป NaOH จะแตกตัว ดังสมการ NaOH Na+ + OH-OH- ทีÉแตกตัวได้ จะรวมตัวกับ CH3COOH กลายเป็น CH3COO- ดังสมการ OH- + CH3COOH CH3COO- + H2O ทำให้ความเข้มข้น CH3COOH ลดลง ส่วนความเข้มข้น CH3COO- เพิÉมขึÊน นÉันคือ OH- จากเบสแก่ทÉีเติมลงไป (ทÉีจะทำให้ pH ของบัฟเฟอร์เปลÉียนไป) ถูกกำจัดโดย CH3COOH ทÉีมีอยมู่าก ส่วน CH3COO- ทÉีเกิดจะรวมกับ H3O+ ในระบบบัฟเฟอร์ เกิดเป็น CH3COOH ทำให้ pH ของระบบเปลÉียนแปลงน้อยมาก CH3COO- + H3O+ CH3COOH โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 26
  • 27. โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 27 2) สารละลายของเบสอ่อน กับ เกลือของเบสอ่อน (Basic buffer solution) สารละลายบัฟเฟอร์แบบนีÊมี pH > 7 (เป็นเบส) เช่น เบสอ่อน + เกลือของเบสอ่อนนัÊน NH3 NH4Cl ปฏิกิริยาการควบคุม pH ในสารละลายบัฟเฟอร์ ในระบบจะมีสมดุล ดังนีÊ NH3 + H2O NH4 + + OH-NH 4Cl NH4 + + Cl- ถ้าเติมกรดแก่ (เช่น HCl) ลงไป HCl จะแตกตัว ดังสมการ HCl H+ + Cl- H+ หรือ H3O+ ทีÉแตกตัวได้ จะรวมตัวกับ NH3 กลายเป็น NH4 + ดังสมการ H3O+ + NH3 NH4 + + H2O ทำให้ความเข้มข้น NH3 ลดลง ส่วน ความเข้มข้น NH4 + เพิÉมขึÊน นÉันคือ H+ หรือ H3O+ จากกรดแก่ทÉีเติมลงไป (ทÉีจะทำให้ pH ของบัฟเฟอร์เปลÉียนไป) ถูกกำจัดโดย NH3 ส่วน NH4 + ทีÉเกิดจะรวมกับ OH+ ในระบบบัฟเฟอร์ เกิดเป็น NH3 ทำให้ pH ของระบบเปลÉียนแปลงน้อยมาก NH4 + + OH+ NH3 ถ้าเติมเบสแก่ (เช่น NaOH) ลงไป NaOH จะแตกตัว ดังสมการ NaOH Na+ + OH-OH- ทีÉแตกตัวได้ จะรวมตัวกับ NH4 + กลายเป็น NH3 OH- + NH4 + NH3 + H2O ทำให้ความเข้มข้น NH4 + ลดลง ส่วน ความเข้มข้น NH3 เพิÉมขึÊน นÉันคือ OH- จากเบสแก่ทÉีเติมลงไป (ทÉีจะทำให้ pH ของบัฟเฟอร์เปลÉียนไป) ถูกกำจัดโดย NH4 + ทำให้เกิด NH3 และถึงแม้จะมี NH3 เพิมÉขึÊน แต่เนÉืองจาก NH3 แตกตัวได้น้อยมาก (เป็นเบสอ่อน แตกตัวได้บางส่วน) ดังนัÊนจึงไม่ทำให้ OH- ในระบบบัฟเฟอร์เปลÉียนแปลงไป จึงทำให้ pH ของระบบเปลÉียนแปลงน้อยมาก  สารละลายบัฟเฟอร์ในสิÉงมีชีวิต 1) ฟอสเฟตบัฟเฟอร์ H2PO4 - / HPO4 2- จะเกÉียวข้องกับการทำงานของไต เมÉือเราออกกำลังกายนาน ๆ จ ะมีกรดเกิดขึÊนทำให้ pH ของ เลือดเปลÉียนไป ระบบบัฟเฟอร์ H2PO4 - / HPO4 2- ในเลือดจะเข้าทำปฏิกิริยา เพÉือลดความเข้มข้นของกรดได้ - + H3O+ H2PO4 H2PO4 - + H2O และ H2PO4 - จะถูกกำจัดออกมาทางปัสสาวะ 2) ระบบ H2CO3/HCO3 - (กรดคาร์บอนิก / ไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออน) จะควบคุม pH ของพลาสมาในเลือดให้มีค่าอยรู่ะหว่าง 7.35 - 7.45 ซึÉงเกิดปฏิกิริยาดังนีÊ HCO3 - + H3O+ H2CO3 + H2O H2CO3 H2O + CO2 เนืÉองจากความเป็นกรด-เบสในร่างกายของ สิÉงมีชีวิตเป็นเรืÉองทีÉสำคัญมาก ถ้า pH เปลีÉยนแปลงไป เพียง 0.2 หน่วย จากช่วง 7.35-7.45 อาจทำให้เจ็บป่วยได้ ร่างกายจึงต้องมีระบบบัฟเฟอร์เพÉือรักษาระดับ pH ให้คงทÉีอยู่เสมอ