SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
ดร.ไพรภ รัตนชูวงศ์
การบริหารจัดการชั้นเรียน (Classroom
Management)
ความหมายของการจัดการชั้นเรียน
 Susan Colville-Hall (2004) ได้ให้ความหมายของการจัดการ
ชั้นเรียนไว้ว่า เป็นพฤติกรรมการสอนที่ครูสร้างและคงสภาพเงื่อนไขของการ
เรียนรู้เพื่อช่วยให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลขึ้นใน
ชั้นเรียน
ดร.ไพรภ รัตนชูวงศ์
ความหมายของการจัดการชั้นเรียน
 Moore (2001) ให้คาจากัดความว่า การบริหารจัดการชั้นเรียนเป็น
กระบวนการของการจัดระบบระเบียบ และนากิจการของห้องเรียนให้เกิดการ
เรียนรู้ การบริหารจัดการชั้นเรียนมักจะถูกรับรู้ว่าเกี่ยวข้องกับการรักษา
ระเบียบวินัยและควบคุมชั้น
ดร.ไพรภ รัตนชูวงศ์
ความหมายของการจัดการชั้นเรียน
 Moore (2001) ให้คาจากัดความว่า การบริหารจัดการชั้นเรียนเป็น
กระบวนการของการจัดระบบระเบียบ และนากิจการของห้องเรียนให้เกิดการ
เรียนรู้ การบริหารจัดการชั้นเรียนมักจะถูกรับรู้ว่าเกี่ยวข้องกับการรักษา
ระเบียบวินัยและควบคุมชั้น
ดร.ไพรภ รัตนชูวงศ์
ความหมายของการจัดการชั้นเรียน
 KAUCHAK and EGGEN (1998) ให้คาจากัด ความว่า
การบริหารการจัดชั้นเรียน ประกอบด้วย ความคิด การวางแผน และการปฏิบัติ
ทั้งหลายทั้งปวงของครูที่สร้างสรรค์ภาพแวดล้อมอย่างเป็นระบบระเบียบ และ
ส่งเสริมการเรียนรู้
ดร.ไพรภ รัตนชูวงศ์
ความหมายของการจัดการชั้นเรียน
Jere Brophy (1996:5) กล่าวถึงการจัดการชั้นเรียนไว้ว่า
หมายถึง การที่ครูสร้างและคงสภาพสิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้ที่นาไปสู่การ
จัดการเรียนการสอนที่ประสบความสาเร็จทั้งในด้านสิ่งแวดล้อม การสร้าง
กฎระเบียบและการดาเนินการที่ทาให้บทเรียนมีความน่าสนใจอย่างต่อเนื่อง
รวมทั้งการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางวิชาการในชั้นเรียน
ดร.ไพรภ รัตนชูวงศ์
ความหมายของการจัดการชั้นเรียน
 Paul Burden (1993:3) ให้คาจากัดความของการจัดการชั้น
เรียนไว้ว่า เป็นยุทธศาสตร์และการปฏิบัติที่ครูใช้เพื่อคงสภาพความเป็น
ระเบียบเรียบร้อย
ดร.ไพรภ รัตนชูวงศ์
ความหมายของการจัดการชั้นเรียน
 สุรางค์ โค้วตระกูล (2548 : 436) ได้อธิบายความหมายของการ
จัดการห้องเรียนอย่างมีประสิทธิภาพว่า หมายถึงการสร้างและการรักษา
สิ่งแวดล้อมของห้องเรียนเพื่อเอื้อต่อการเรียนรู้ของนักเรียน หรือหมายถึง
กิจกรรมทุกอย่างที่ครูทาเพื่อจะช่วยให้การสอนมีประสิทธิภาพและนักเรียนมี
ผลสัมฤทธิ์ในการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ดร.ไพรภ รัตนชูวงศ์
ความหมายของการจัดการชั้นเรียน
 สรุป : การบริหารจัดการชั้นเรียน หมายถึง การจัดสภาพแวดล้อมทั้ง
ภายในและภายนอก ห้องเรียน เพื่อสนับสนุนให้เด็กเกิดการเรียนรู้อย่างมี
ความสุข
ดร.ไพรภ รัตนชูวงศ์
เป้ าหมายของการจัดการชั้นเรียน
เป้ าหมายของการบริหารจัดการ (MANAGEMENT GOALS) มี 2
ประการสาคัญ
รังสรรค์สิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ที่จะส่งเสริมให้การเรียนรู้มีความเป็นไปได้ มากที่สุด
พัฒนานักเรียนให้มีศักยภาพในการจัดการและนาตนเองให้สามารถเรียนรู้ได้
ด้วยตนเอง
ดร.ไพรภ รัตนชูวงศ์
การจัดการสภาพชั้นเรียน
1. ความสะอาด ความปลอดภัย
2. ความมีอิสระอย่างมีขอบเขตในการเล่น
3. ความสะดวกในการทากิจกรรม
4. ความพร้อมของอาคารสถานที่ เช่น ห้องเรียน ห้องน้าห้องส้วม สนามเด็กเล่น ลลล
5. ความเพียงพอเหมาะสมในเรื่องขนาด น้าหนัก จานวน สีของสื่อและเครื่องเล่น
6. บรรยากาศในการเรียนรู้ การจัดที่เล่นและมุมประสบการณ์ต่างๆ
ดร.ไพรภ รัตนชูวงศ์
การจัดการชั้นเรียน
การจัดการชั้นเรียนจึงมีความหมายกว้าง นับตั้งแต่การจัดสภาพแวดล้อมทาง
กายภาพในห้องเรียน การจัดการกับพฤติกรรมที่เป็นปัญหาของนักเรียน การ
สร้างวินัยในชั้นเรียนตลอดจนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครู และการ
พัฒนาทักษะการสอนของครูให้สามารถกระตุ้นพร้อมทั้งสร้างแรงจูงใจในการ
เรียน เพื่อให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ดร.ไพรภ รัตนชูวงศ์
ความสาคัญของการจัดการชั้นเรียน
1.ช่วยส่งเสริมให้การเรียนการสอนดาเนินไปอย่างราบรื่น
2. ช่วย สร้างเสริมลักษณะนิสัยที่ดีงามและความมีระเบียบวินัยให้แก่ผู้เรียน
3. ช่วย ส่งเสริมสุขภาพที่ดีให้แก่ผู้เรียน
4. ช่วย ส่งเสริมการเรียนรู้ และสร้างความสนใจในบทเรียนมากยิ่งขึ้น
5. ช่วยส่งเสริมการเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม
6. ช่วย สร้างเจตคติที่ดีต่อการเรียน
ดร.ไพรภ รัตนชูวงศ์
ความสาคัญของการจัดการชั้นเรียน
 สรุป : การจัดบรรยากาศในชั้นเรียนจะช่วยส่งเสริมและสร้างเสริมผู้เรียน
ใน ด้านสติปัญญา ร่างกาย อารมณ์ และสังคมได้เป็นอย่างดี ทาให้นักเรียน
เรียนด้วยความสุข รักการเรียน และเป็นคนใฝ่เรียนใฝ่รู้ในที่สุด
ดร.ไพรภ รัตนชูวงศ์
เป้ าหมายของการจัดการชั้นเรียน
 เป็นช่วยให้นักเรียนพัฒนาในการควบคุมตนเองเพื่อให้มีชีวิตและทางาน
ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างมีความสุข
ดร.ไพรภ รัตนชูวงศ์
แนวคิดของการจัดการชั้นเรียน
 การบริหารจัดการชั้นเรียน และการเรียนการสอนเป็นสิ่งที่มีความสัมพันธ์ ซึ่ง
กันและกัน
 รูปแบบการสอนหรือกลยุทธ์ที่ครูเลือกใช้แต่ละรูปแบบก็มีระบบการบริหาร
จัดการของมันเองและมีภารกิจเฉพาะของรูปแบบหรือกลยุทธ์นั้น ๆ ที่จะมี
อิทธิพลต่อพฤติกรรมทั้งของครูและนักเรียน
 การบริหารชั้นเรียนเป็นความท้าทายของการเป็นครูมืออาชีพ
ดร.ไพรภ รัตนชูวงศ์
การจัดการชั้นเรียนเพื่อส่งเสริมบรรยากาศการเรียนรู้
 พรรณี ชูทัย (2522) กล่าวถึงบรรยากาศในชั้นเรียนที่จะนาไปสู่ความสาเร็จในการสอน
จัดแบ่งได้ 6 ลักษณะ
1. บรรยากาศที่ท้าทาย (Challenge)
2. บรรยากาศที่มีอิสระ (Freedom)
3. บรรยากาศที่มีการยอมรับนับถือ (Respect)
4. บรรยากาศที่มีความอบอุ่น (Warmth)
5. บรรยากาศแห่งการควบคุม (Control)
6. บรรยากาศแห่งความสาเร็จ (Success)
ดร.ไพรภ รัตนชูวงศ์
ประเภทของบรรยากาศในชั้นเรียน
บรรยากาศทางกายภาพ
บรรยากาศทางจิตวิทยา
ดร.ไพรภ รัตนชูวงศ์
บรรยากาศทางกายภาพ
การจัดโต๊ะเรียนและเก้าอี้ของนักเรียน
การจัดโต๊ะครู
การจัดป้ ายนิเทศ
การจัดสภาพห้องเรียน ต้องให้ถูกสุขลักษณะ
การจัดมุมต่าง ๆ ในห้องเรียน
ดร.ไพรภ รัตนชูวงศ์
บรรยากาศทางจิตวิทยา
หมายถึง บรรยากาศทางด้านจิตใจที่นักเรียนรู้สึกสบายใจ มีความอบอุ่น มี
ความเป็นกันเอง มีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน และมีความรักความศรัทธาต่อ
ผู้สอน ตลอดจนมีอิสระในความกล้าแสดงออกอย่างมีระเบียบวินัยในชั้นเรียน
ดร.ไพรภ รัตนชูวงศ์
บรรยากาศทางจิตวิทยา
1.บุคลิกภาพ
2.พฤติกรรมการสอน
3.เทคนิคการปกครองชั้นเรียน
4.ปฏิสัมพันธ์ในห้องเรียน
ดร.ไพรภ รัตนชูวงศ์
หลักการจัดชั้นเรียน
การจัดชั้นเรียนควรให้ยืดหยุ่นได้ตามความเหมาะสม
ควรจัดชั้นเรียนเพื่อสร้างเสริมความรู้ทุกด้าน
ควรจัดชั้นเรียนให้มีสภาพแวดล้อมที่ดี
ควรจัดชั้นเรียนเพื่อเสริมสร้างลักษณะนิสัยที่ดีงาม
 ควรจัดชั้นเรียนเพื่อสร้างความเป็นระเบียบ
ควรจัดชั้นเรียนเพื่อสร้างเสริมประชาธิปไตย
ควรจัดชั้นเรียนให้เอื้อต่อหลักสูตร
ดร.ไพรภ รัตนชูวงศ์
ลักษณะของชั้นเรียนที่ดี
 1. ชั้นเรียนที่ดีควรมีสีสันที่น่าดู สบายตา อากาศถ่ายเทได้ดี ถูกสุขลักษณะ
2. จัดโต๊ะเก้าอี้และสิ่งที่ที่อยู่ในชั้นเรียนให้เอื้ออานวยต่อการเรียนการสอน และกิจกรรมประเภทต่างๆ
3. ให้นักเรียนได้เรียนอย่างมีความสุข มีอิสรเสรีภาพ และมีวินัยในการดูแลตนเอง
4. ใช้ประโยชน์ชั้นเรียนให้คุ้มค่า ครูอาจดัดแปลงให้เป็นห้องประชุม ห้องฉายภาพยนตร์และอื่น ๆ
5. จัดเตรียมชั้นเรียนให้มีความพร้อมต่อการสอนในแต่ละครั้ง เช่น การทางานกลุ่ม การสาธิตการแสดง
บทบาทสมมุติ
6. สร้างบรรยากาศให้อบอุ่น ให้ความเป็นกันเองกับผู้เรียน
ดร.ไพรภ รัตนชูวงศ์
Link
 http://www.youtube.com/watch?v=HpbKMaz2eIw
 http://www.youtube.com/watch?v=jdDM7xHOu90
 http://www.youtube.com/watch?v=zMQGqEvNTuo
ดร.ไพรภ รัตนชูวงศ์

More Related Content

What's hot

เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑พัน พัน
 
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม Sireetorn Buanak
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรSunisa199444
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษาNU
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55Decode Ac
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศsariya25
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงmickyindbsk
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55Decode Ac
 
การจัดการชั้นเรียนและสิ่งเเวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ กลุ่ม 3
การจัดการชั้นเรียนและสิ่งเเวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ กลุ่ม 3 การจัดการชั้นเรียนและสิ่งเเวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ กลุ่ม 3
การจัดการชั้นเรียนและสิ่งเเวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ กลุ่ม 3 faii sasitron
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการProud N. Boonrak
 
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557Anusara Sensai
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxSophinyaDara
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยNU
 
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณการสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณKobwit Piriyawat
 

What's hot (20)

เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
 
Collaborative learning
Collaborative learningCollaborative learning
Collaborative learning
 
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 
การจัดการชั้นเรียนและสิ่งเเวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ กลุ่ม 3
การจัดการชั้นเรียนและสิ่งเเวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ กลุ่ม 3 การจัดการชั้นเรียนและสิ่งเเวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ กลุ่ม 3
การจัดการชั้นเรียนและสิ่งเเวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ กลุ่ม 3
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัย
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณการสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
 

Similar to การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ

Similar to การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ (9)

จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2525222
จิตวิทยาการเรียนรู้2525222จิตวิทยาการเรียนรู้2525222
จิตวิทยาการเรียนรู้2525222
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  7แผนบริหารการสอนประจำบทที่  7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
การบริหารจัดการชั้นเรียน
การบริหารจัดการชั้นเรียนการบริหารจัดการชั้นเรียน
การบริหารจัดการชั้นเรียน
 

การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ