SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
สถิติเบื้องต้นในการวัดผลและประเมินผลการศึกษา 
อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์
 ในการวัดผลการศึกษา ผลที่ได้จากการวัดจะออกมาในลักษณะของ 
ตัวเลข ซึ่งใช้เป็นตัวแทนของพฤติกรรมต่างๆ หรือคุณลักษณะ 
ต่างๆ ที่ต้องการวัดในตัวผู้เรียนเพื่อตรวจสอบว่าผู้เรียนเกิด 
พฤติกรรมหรือการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้หรือไม่ จา เป็น 
ที่จะต้องแปลความหมายหรืออธิบายตัวเลขหรือผลการวัดนั้นๆ ให้ 
มีความชัดเจนยิ่งขึ้น ซึ่งต้องอาศัยวิธีการทางสถิติมาช่วยในการ 
อธิบาย
มาตราการวดั 
การวัดเป็นการกาหนดตัวเลขใหกั้บสิ่งที่ตอ้งการศึกษาภายใต้ 
กฎเกณฑ์ทแี่น่นอน ครูจาเป็นจะตอ้งทราบคุณลักษณะของขอูู้ล 
ที่ถูกวัดเพื่อใชใ้นการพิจารณาว่า จะเลือกใชวิ้ธีการทางสถิติใด 
จึงจะเหูาะสู ดังนั้นจึงควรทราบว่าขอูู้ลทถีู่กวัด ูานั้นอยใู่น 
ูาตราการวัดระดับใด ซงึู่าตราการวัดแบ่งออกเป็น 4 ระดับ 
ระดับที่ 1 มาตราการวัดระดับนามบัญญัติ (Nominal Scale) 
ระดับที่ 2 มาตราการวัดระดับเรียงอันดับ (Ordinal Scales) 
ระดับที่ 3 มาตราการวัดระดับช่วง (Interval Scale) 
ระดับที่ 4 มาตราการวัดระดับอัตราส่วน (Ratio Scale)
ระดบัที่1 มาตราการวดัระดบันามบญัญตัิ 
(Nominal Scale) 
เป็นระดับที่ใช้จาแนกความแตกต่างของสิ่งที่ต้องการวัดออกเป็นกลุ่ม ๆ โดยใช้ตัวเลข 
เช่น ตัวแปรเพศ แบ่งออกเป็นกลุ่มเพศชายและกลุ่มเพศหญิง ในการกา หนดตัวเลขอาจ 
จะใช้เลข 1 แทนเพศชาย และเลข 2 แทนเพศหญิง ตัวแปรระดับการศึกษา แบ่งออกเป็น 
กลุ่มที่มีการศึกษาต่ากว่าปริญญาตรี อาจจะแทนด้วยเลข 1 กลุ่มที่มีการศึกษาระดับ 
ปริญญาตรี อาจจะแทนด้วยเลข 2 และกลุ่มที่มีการศึกษาสูงกว่าระดับปริญญาตรี อาจ 
จะแทนด้วยเลข 3 เป็นต้น ตัวเลข 1 หรือ 2 หรือ 3 ที่ใช้แทนกลุ่มต่าง ๆ นั้น ถือเป็นตัวเลข 
ในระดับนามบัญญัติไม่สามารถนามาบวก ลบ คูณ หาร หรือหาสัดส่วน
ระดบัที่2 มาตราการวดัระดบัเรยีงอนัดบั 
(Ordinal Scales) 
เป็นระดับที่ใช้สาหรับจัดอันดับที่หรือตาแหน่งของสิ่งที่ต้องการวัด ตัวเลขในมาตรา 
การวัดระดับนี้เป็นตัวเลขที่บอกหมายความหมายในลักษณะมาก-น้อย สูง-ต่า เก่ง-อ่อน 
กว่ากัน เช่น ด.ช.ดาสอบได้ที่ 1 ด.ช.แดงสอบได้ที่ 2 ด.ญ.เขียวสอบได้ที่ 3 หรือ 
การประกวดร้องเพลง นางสาวเขียวได้รางวัลที่ 1 นางสาวชมพูได้รางวัลที่ 2 
นางสาวเหลืองได้รางวัลที่ 3 เป็นต้น ตัวเลขอันดับที่แตกต่างกันไม่สามารถบ่งบอก 
ถึงปริมาณความแตกต่างได้ เช่น ไม่สามารถบอกได้ว่าผู้ที่ประกวดร้องเพลง 
ได้รางวัลที่1 มีความเก่งมากกว่าผู้ที่ได้รางวัลที่ 2 ในปริมาณเท่าใด ตัวเลขในระดับนี้ 
สามารถนามาบวกหรือลบ กันได้
ระดบัที่3 มาตราการวดัระดบัช่วง 
(Interval Scale) 
เป็นระดับที่สามารถกา หนดค่าตัวเลขโดยมีช่วงห่างระหว่างตัวเลขเท่า ๆ กัน สามารถ 
นาตัวเลขมาเปรียบเทียบกันได้ว่าว่ามีปริมาณมากน้อยเท่าใด แต่ไม่สามารถบอกได้ว่า 
เป็นกี่เท่าของกันและกัน เพราะมาตราการวัดระดับนี้ไม่มี 0 (ศูนย์) แท้ มีแต่ 0 (ศูนย์) สมมติ 
เช่น นายวิชัยสอบได้ 0 คะแนน มิได้หมายความว่าเขาไม่มีความรู้ เพียงแต่เขาไม่สามารถ 
ทา ข้อสอบซึ่งเป็นตัวแทนของความรู้ทั้งหมดได้ หรือ อุณหภูมิ 0 องศา มิได้หมายความว่า 
จะไม่มีความร้อน เพียงแต่มีความร้อนเป็น 0 องศาเท่านั้น จุดที่ไม่มีความร้อนอยู่เลยก็คือ 
ที่ -273 องศา ดังนั้นอุณหภูมิ 40 องศาจึงไม่สามารถบอกได้ว่ามีความร้อนเป็น 2 เท่าของ 
อุณหภมูิ 20 องศา เป็นต้น ตัวเลขในระดับนี้สามารถนา มาบวก ลบ คูณ หรือหารกันได้
ระดบัที่4 มาตราการวดัระดบัอตัราส่วน 
(Ratio Scale) 
เป็นระดับที่สามารถกา หนดค่าตัวเลขให้กับสิ่งที่ต้องการวัด มี 0 (ศูนย์) แท้ เช่น 
น้า หนัก ความสูง อายุ เป็นต้น ระดับนี้สามารถนา ตัวเลขมาบวก ลบ คูณ หาร หรือ 
หาอัตราส่วนกันได้ คือสามารถบอกได้ว่า ถนนสายหนึ่งยาว 50 กิโลเมตร ยาวเป็น 
2 เท่าของถนนอีกสายหนึ่งที่ยาวเพียง 25 กิโลเมตร
การแจกแจงความถี่ 
 เป็นการนา ข้อมูลหรือคะแนนที่ได้จากการวัดผล ซึ่งเป็นข้อมูลที่มี 
ลักษณะที่ไม่เป็นระบบระเบียบคือ มีทั้งคะแนนสูง ต่า หรือ 
คะแนนที่ซ้า กันปะปนกันอยู่ มาจัดเรียงลา ดับใหม่ให้เป็นระบบ 
ระเบียบตามความมากน้อย และนับจา นวนข้อมูลในแต่ละค่าหรือ 
แต่ละกลุ่มว่า เกิดขึ้นซ้า ๆ กันกี่ครั้ง ซึ่งจา นวนที่ซ้า ๆ กันของข้อมูล 
แต่ละค่านี้เรียกว่า “ความถ”ี่การแจกแจงความถี่ จึงเป็นการ 
จัดระบบของข้อมูล เพื่อให้เห็นภาพรวมของการแจกแจงของ 
คะแนนทั้งหมด การแปลความหมายของคะแนนก็จะง่ายขึ้น 
และเป็นประโยชน์ต่อการนา ไปใช้คา นวณค่าสถิติอื่นๆ ต่อไป
การแจกแจงความถี่แบบไม่จัดคะแนนเป็นกลุ่ม 
(Ungrouped frequency distribution) 
 จากการสอบในวิชา หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา 
ของนักศึกษาวิชาเอก การวัดผลการศึกษา จา นวน 34 คน 
ผลของการสอบได้คะแนนเป็นดังนี้ 19 24 17 12 20 
15 18 23 11 16 19 22 15 21 20 19 18 17 22 16 
15 17 20 14 23 12 18 11 21 10 20 17 16 14 
นา มาสร้างตารางแจกแจงความถี่ได้ดังนี้
คะแนน (x) รอยคะแนน ความถี่ (f) ความถี่สะสม (cf) 
24 / 1 34 
23 // 2 33 
22 // 2 31 
21 // 2 29 
20 //// 4 27 
19 /// 3 23 
18 /// 3 20 
17 //// 4 17 
16 /// 3 13 
15 /// 3 10 
14 // 2 7 
13 - 0 5 
12 // 2 5 
11 // 2 3 
10 / 1 1
การแจกแจงความถี่แบบจัดคะแนนเป็นกลุ่ม 
(grouped frequency distribution) 
 จากการสอบปลายภาคเรียนวิชา หลักการวัดและประเมินผล 
การศึกษาของนักศึกษา จา นวน 60 คน จากคะแนนเต็ม 50 
คะแนน ผลของการสอบได้คะแนนเป็นดังนี้ 
22 48 30 35 32 26 25 47 42 30 28 44 37 29 26 39 
31 42 35 32 37 24 39 29 30 46 27 36 27 41 34 
31 37 33 40 49 36 28 34 35 33 45 38 43 26 46 
25 38 43 31 33 44 40 39 41 38 36 35 32 38
ชัน้คะแนน รอยคะแนน ความถี่ (f) ความถี่สะสมจาก 
น้อยไปมาก 
(cf) 
ความถี่สะสมจาก 
มากไปน้อย 
(cf) 
47 - 49 /// 3 60 3 
44 - 46 //// 5 57 8 
41 - 43 //// / 6 52 14 
38 - 40 //// //// 9 46 23 
35 - 37 //// //// 10 37 33 
32 - 34 //// /// 8 27 41 
29 - 31 //// /// 8 19 49 
26 - 28 //// // 7 11 56 
23 - 25 /// 3 4 59 
20 - 22 / 1 1 60
การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 
(Measures of Central Tendency) 
 ตัวกลางเลขคณิต (Arithmetric Mean) 
 มัธยฐาน (Median) 
 ฐานนิยม (Mode) 
Mo  3Mdn  2x 
X 
x 
 
n 
i 
i 
n 
 
 
1
ความสัมพันธ์ระหว่างค่าเฉลี่ย มัธยฐานและฐานนิยมใน 
รูปของโค้งความถี่ 
X Mdn Mo
ความสัมพันธ์ระหว่างค่าเฉลี่ย มัธยฐานและฐานนิยมใน 
รูปของโค้งความถี่ 
Mo Mdn  X
ความสัมพันธ์ระหว่างค่าเฉลี่ย มัธยฐานและฐานนิยมใน 
รูปของโค้งความถี่ 
X Mdn Mo
การนาค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน และฐานนิยม 
ไปประยุกต์ใช้ 
 ถ้าข้อมูลอยู่ในระดับนามบัญญัติ ให้ใช้ ฐานนิยมเท่านั้น 
 ถ้าข้อมูลอยู่ในระดับเรียงอันดับ ใช้ฐานนิยมหรือมัธยฐานก็ได้ 
แต่ควรใช้มัธยฐานมากกว่า 
 ถ้าข้อมูลอยู่ในระดับอันตรภาคหรืออัตราส่วน การวัดแนวโน้ม 
เข้าสู่ส่วนกลางหรือการหาค่าที่เป็นตัวแทน สามารถใช้ได้ทั้ง 
ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน และฐานนิยม และถ้าข้อมูลมีการแจกแจง 
เป็นโค้งปกติหรือใกล้เคียงโค้งปกติ ควรใช้ค่าเฉลี่ย แต่ถ้าข้อมูล 
มีการแจกแจงแบบเบ้มากๆ จะทางซ้ายหรือทางขวา ควรใช้ 
ค่ามัธยฐานเป็นตัวแทน
การวัดการกระจาย 
(Measurement of Variation) 
 เป็นการบอกให้ทราบว่าข้อมูลเหล่านั้นหรือคะแนนที่ได้จากการวัดเหล่านั้น 
มีค่าใกล้เคียงกันหรือแตกต่างกัน หรือกระจายจากกันมากเพียงใด ซึ่งค่า 
ใกล้เคียงหรือแตกต่างหรือกระจายจากกัน เป็นค่าใกล้เคียงหรือแตกต่างหรือ 
กระจายจากค่าเฉลี่ย หรือกล่าวได้ว่า เป็นการบอกให้ทราบว่า ผู้เรียนคน 
อื่นๆ ได้คะแนนต่างจากคะแนนซึ่งเป็นตัวแทนของกลุ่ม เท่าไร ซึ่งการใช้ 
การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลางเพียงอย่างเดียว เพียงแต่ได้ค่าที่เป็นตัวแทน 
ของข้อมูลในการอธิบายลักษณะของข้อมูลแต่ละชุด หรืออธิบาย 
ความสามารถของผู้เรียนแต่ละกลุ่มเท่านั้น แต่ไม่ทราบว่าข้อมูลเหล่านั้น มี 
ค่าใกล้เคียงหรือกระจายจากกันมากน้อยเพียงใด หรือบอกไม่ได้ว่า ผู้เรียนใน 
แต่ละกลุ่มนั้นมีความสามารถแตกต่างกันมากน้อยเพียงใด
โปรแกรมคณิตศาสตร์ โปรแกรมการวัดผลการศึกษา โปรแกรมการประถมศึกษา 
80 60 60 
80 70 65 
80 80 70 
80 80 75 
80 80 85 
80 80 90 
80 90 95 
80 100 100 
ผลรวม 640 640 640 
ค่าเฉลี่ย 80 80 80
ชนิดของค่าการกระจายของข้อมูล 
 พิสัย (Range) 
 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 
(Standard Deviation 
หรือ S.D. ) 
 ความแปรปรวน 
(Variance หรือ S.D2. หรือ 
S2) 
พิสัย = ค่าสูงสุด – ค่าต่า สุด 
N 
(x X) 
i 
 สัมประสิทธ์ิการแปรผัน 
(Coefficient of Variation 
:CV) n 1 
(x X) 
S 
n 
i 1 
2 
i 
 
 
 
 
  
 
 
N 
i 
2 
1 
s 
CV   
100 
x
ค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ 
(correlation coefficient) 
 เป็นค่าสถิติที่บ่งบอกให้ทราบว่าตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป มีความผัน 
แปรเกี่ยวพันกันหรือไม่ และมีขนาดความสัมพันธ์กันมากน้อย 
เพียงใด ลักษณะของตัวแปร 2 ตัวที่มีความแปรผันตามกัน 
ตัวอย่างเช่น ผลการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ กับ ผลการเรียนวิชา 
วิทยาศาสตร์ ของนักเรียน เราจะพบว่าส่วนมากแล้ว นักเรียนที่เรียน 
ได้ดีในวิชาคณิตศาสตร์ ก็มักจะเรียนได้ดีในวิชาวิทยาศาสตร์ด้วย 
และนักเรียนไม่ดีในวิชาคณิตศาสตร์ ก็จะเรียนไม่ดีในวิชา 
วิทยาศาสตร์ด้วยเช่นกัน
 แสดงความสัมพันธ์ระหว่าตัวแปร 
X และ Y ซึ่งมีความแปรผันตาม 
กัน มีการแปรเปลี่ยนของคะแนน 
ไปในทิศทางเดียวกันXY คือ เมื่อ 
X มีค่าเพิ่มขึ้น Y ก็มีค่าเพิ่มขึ้น 
เมื่อ X มีค่าลดลง Y ก็มีค่าลดลง 
ด้วยเช่นกัน เรียกว่ามีความสัมพันธ์ 
กันทางบวก 
X 
Y
 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 
X และ Y ซึ่งมีความแปรผันแบบ 
ผกผัน มีการแปรเปลี่ยนของ 
คะแนนไปในทิศทางตรงกันข้าม 
คือ เมื่อ X มีค่าเพิ่มขึ้น แต่ Y จะมี 
ค่าลดลง และเมื่อ X มีค่าลดลง แต่ 
Y กลับมีค่าเพิ่มขึ้น เรียกว่ามี 
ความสัมพันธ์กันทางลบ 
X 
Y
 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 
X และ Y ซึ่งไม่สามารถบอกได้ 
ว่า มีทิศทางการแปรผันเกี่ยวพันกัน 
อย่างไร การเพิ่มขึ้น หรือลดลงของ 
ค่า X ไม่ได้มีผลทา ให้ค่าของY 
เพิ่มขึ้นหรือลดลงตามไปด้วย 
แสดงว่าตัวแปรทั้งสอง ไม่มี 
ความสัมพันธ์กัน 
Y
Pearson’s product-moment 
coefficient 
   
    
r 
N xy x y 
2 2 2 2 
N x x N y y 
xy  
 
     
 
( ) ( )
คนที่ X Y X2 Y2 XY 
1 13 11 169 121 143 
2 12 14 144 196 168 
3 10 11 100 121 110 
4 10 7 100 49 70 
5 8 9 64 81 72 
6 6 11 36 121 66 
7 6 3 36 9 18 
8 5 7 25 47 35 
9 3 6 9 36 18 
10 2 1 4 1 2 
 75 80 687 784 702 
10(702 ) ( 75 )( 
80) 
) ( ) ) ( rxy  0.76 
    
rxy  
 
2 2 
10(687  75 10(784  
80)

More Related Content

What's hot

สถิติพรรณนาในการวิจัยเชิงปริมาณ ปรับSlide-เพิ่มslideงานมอบหมาย
สถิติพรรณนาในการวิจัยเชิงปริมาณ ปรับSlide-เพิ่มslideงานมอบหมายสถิติพรรณนาในการวิจัยเชิงปริมาณ ปรับSlide-เพิ่มslideงานมอบหมาย
สถิติพรรณนาในการวิจัยเชิงปริมาณ ปรับSlide-เพิ่มslideงานมอบหมายsomsur2001
 
สถิติและคอมพิวเตอร์ Testing hypothesis
สถิติและคอมพิวเตอร์ Testing hypothesisสถิติและคอมพิวเตอร์ Testing hypothesis
สถิติและคอมพิวเตอร์ Testing hypothesiswilailukseree
 
เฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
เฉลยพื้นที่ใต้โค้งเฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
เฉลยพื้นที่ใต้โค้งkrurutsamee
 
Statistics for research by spss program
Statistics for research by spss programStatistics for research by spss program
Statistics for research by spss programPunyapon Tepprasit
 
ค่ามาตรฐาน ม.6
ค่ามาตรฐาน ม.6ค่ามาตรฐาน ม.6
ค่ามาตรฐาน ม.6KruGift Girlz
 
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6KruGift Girlz
 
สถิติเชิงพรรณนา
สถิติเชิงพรรณนาสถิติเชิงพรรณนา
สถิติเชิงพรรณนาChucshwal's MK
 
การวัดการกระจายของข้อมูล
การวัดการกระจายของข้อมูลการวัดการกระจายของข้อมูล
การวัดการกระจายของข้อมูลKruGift Girlz
 
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นสถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นParn Parai
 
วิจัยของครูสวนกุหลาบ
วิจัยของครูสวนกุหลาบวิจัยของครูสวนกุหลาบ
วิจัยของครูสวนกุหลาบkrupawit
 
7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัยNitinop Tongwassanasong
 
การแจกแจงปกติม.6
การแจกแจงปกติม.6การแจกแจงปกติม.6
การแจกแจงปกติม.6KruGift Girlz
 
สถิติเชิงบรรยาย
สถิติเชิงบรรยายสถิติเชิงบรรยาย
สถิติเชิงบรรยายpattya0207
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4Janova Kknd
 
สถิติวิศวกรรม
สถิติวิศวกรรมสถิติวิศวกรรม
สถิติวิศวกรรมNana Copy
 
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1wilailukseree
 

What's hot (20)

สถิติ
สถิติสถิติ
สถิติ
 
Chapter5 descriptive statistic
Chapter5 descriptive statisticChapter5 descriptive statistic
Chapter5 descriptive statistic
 
สถิติพรรณนาในการวิจัยเชิงปริมาณ ปรับSlide-เพิ่มslideงานมอบหมาย
สถิติพรรณนาในการวิจัยเชิงปริมาณ ปรับSlide-เพิ่มslideงานมอบหมายสถิติพรรณนาในการวิจัยเชิงปริมาณ ปรับSlide-เพิ่มslideงานมอบหมาย
สถิติพรรณนาในการวิจัยเชิงปริมาณ ปรับSlide-เพิ่มslideงานมอบหมาย
 
ตารางแจกแจงความถี่ 1
ตารางแจกแจงความถี่ 1ตารางแจกแจงความถี่ 1
ตารางแจกแจงความถี่ 1
 
สถิติและคอมพิวเตอร์ Testing hypothesis
สถิติและคอมพิวเตอร์ Testing hypothesisสถิติและคอมพิวเตอร์ Testing hypothesis
สถิติและคอมพิวเตอร์ Testing hypothesis
 
เฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
เฉลยพื้นที่ใต้โค้งเฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
เฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
 
Statistics for research by spss program
Statistics for research by spss programStatistics for research by spss program
Statistics for research by spss program
 
ค่ามาตรฐาน ม.6
ค่ามาตรฐาน ม.6ค่ามาตรฐาน ม.6
ค่ามาตรฐาน ม.6
 
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
 
สถิติเชิงพรรณนา
สถิติเชิงพรรณนาสถิติเชิงพรรณนา
สถิติเชิงพรรณนา
 
การวัดการกระจายของข้อมูล
การวัดการกระจายของข้อมูลการวัดการกระจายของข้อมูล
การวัดการกระจายของข้อมูล
 
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นสถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
 
Statistics clip vidva
Statistics clip vidvaStatistics clip vidva
Statistics clip vidva
 
วิจัยของครูสวนกุหลาบ
วิจัยของครูสวนกุหลาบวิจัยของครูสวนกุหลาบ
วิจัยของครูสวนกุหลาบ
 
7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย
 
การแจกแจงปกติม.6
การแจกแจงปกติม.6การแจกแจงปกติม.6
การแจกแจงปกติม.6
 
สถิติเชิงบรรยาย
สถิติเชิงบรรยายสถิติเชิงบรรยาย
สถิติเชิงบรรยาย
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
สถิติวิศวกรรม
สถิติวิศวกรรมสถิติวิศวกรรม
สถิติวิศวกรรม
 
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
 

Viewers also liked

1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)noinasang
 
Guided Reading: Making the Most of It
Guided Reading: Making the Most of ItGuided Reading: Making the Most of It
Guided Reading: Making the Most of ItJennifer Jones
 

Viewers also liked (9)

ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1
ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1
ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1
 
ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 2
ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 2ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 2
ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 2
 
ดร.จักรพันธ์ โสมะเกษตริน
ดร.จักรพันธ์  โสมะเกษตรินดร.จักรพันธ์  โสมะเกษตริน
ดร.จักรพันธ์ โสมะเกษตริน
 
ดร.เจษฎา ชาตรี
ดร.เจษฎา  ชาตรีดร.เจษฎา  ชาตรี
ดร.เจษฎา ชาตรี
 
3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
 
2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
 
1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)
 
4 statistic
4 statistic4 statistic
4 statistic
 
Guided Reading: Making the Most of It
Guided Reading: Making the Most of ItGuided Reading: Making the Most of It
Guided Reading: Making the Most of It
 

Similar to สถิติStat

การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผลการหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผลSuriya Phongsiang
 
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)Sani Satjachaliao
 
เอกสารบรรยาย เรื่อง แนวทางการใช้สถิติเพื่อการวิจัยทางการศึกษาและการใช้คอมพิวเ...
เอกสารบรรยาย เรื่อง แนวทางการใช้สถิติเพื่อการวิจัยทางการศึกษาและการใช้คอมพิวเ...เอกสารบรรยาย เรื่อง แนวทางการใช้สถิติเพื่อการวิจัยทางการศึกษาและการใช้คอมพิวเ...
เอกสารบรรยาย เรื่อง แนวทางการใช้สถิติเพื่อการวิจัยทางการศึกษาและการใช้คอมพิวเ...ชวนพบ เอี่ยวสานุรักษ์
 
427 305 สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
427 305  สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis427 305  สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
427 305 สัปดาห์ที่ 16 correlational analysisSani Satjachaliao
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)kaew393
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)kaew393
 
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์othanatoso
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพอภิเทพ ทองเจือ
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนAon Narinchoti
 
9789740333432
97897403334329789740333432
9789740333432CUPress
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมnoeiinoii
 
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตBangon Suyana
 

Similar to สถิติStat (20)

การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผลการหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
 
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
 
เอกสารบรรยาย เรื่อง แนวทางการใช้สถิติเพื่อการวิจัยทางการศึกษาและการใช้คอมพิวเ...
เอกสารบรรยาย เรื่อง แนวทางการใช้สถิติเพื่อการวิจัยทางการศึกษาและการใช้คอมพิวเ...เอกสารบรรยาย เรื่อง แนวทางการใช้สถิติเพื่อการวิจัยทางการศึกษาและการใช้คอมพิวเ...
เอกสารบรรยาย เรื่อง แนวทางการใช้สถิติเพื่อการวิจัยทางการศึกษาและการใช้คอมพิวเ...
 
427 305 สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
427 305  สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis427 305  สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
427 305 สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
 
Ar
ArAr
Ar
 
statistic_research.ppt
statistic_research.pptstatistic_research.ppt
statistic_research.ppt
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
 
Epi info unit09
Epi info unit09Epi info unit09
Epi info unit09
 
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพ
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
9789740333432
97897403334329789740333432
9789740333432
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
Statistics 06
Statistics 06Statistics 06
Statistics 06
 
Statistics 06
Statistics 06Statistics 06
Statistics 06
 
Statistics 06
Statistics 06Statistics 06
Statistics 06
 
สถิติ
สถิติสถิติ
สถิติ
 
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 

More from TupPee Zhouyongfang

Mapทฤษฎีการเรียนรู้
Mapทฤษฎีการเรียนรู้Mapทฤษฎีการเรียนรู้
Mapทฤษฎีการเรียนรู้TupPee Zhouyongfang
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนTupPee Zhouyongfang
 
เรียนภาษาจีนง่ายนิดเดียว
เรียนภาษาจีนง่ายนิดเดียวเรียนภาษาจีนง่ายนิดเดียว
เรียนภาษาจีนง่ายนิดเดียวTupPee Zhouyongfang
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้TupPee Zhouyongfang
 
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8TupPee Zhouyongfang
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6TupPee Zhouyongfang
 
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้TupPee Zhouyongfang
 
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้TupPee Zhouyongfang
 
การเปินแบบย่อยและแบบรวม
การเปินแบบย่อยและแบบรวมการเปินแบบย่อยและแบบรวม
การเปินแบบย่อยและแบบรวมTupPee Zhouyongfang
 
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวมการประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวมTupPee Zhouyongfang
 
การประเมินแฟ้ม
การประเมินแฟ้มการประเมินแฟ้ม
การประเมินแฟ้มTupPee Zhouyongfang
 
การประเมินตาสภาพจริง
การประเมินตาสภาพจริงการประเมินตาสภาพจริง
การประเมินตาสภาพจริงTupPee Zhouyongfang
 
สรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผลสรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผลTupPee Zhouyongfang
 

More from TupPee Zhouyongfang (20)

Mapทฤษฎีการเรียนรู้
Mapทฤษฎีการเรียนรู้Mapทฤษฎีการเรียนรู้
Mapทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
 
เรียนภาษาจีนง่ายนิดเดียว
เรียนภาษาจีนง่ายนิดเดียวเรียนภาษาจีนง่ายนิดเดียว
เรียนภาษาจีนง่ายนิดเดียว
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6
 
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
 
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
 
การเปินแบบย่อยและแบบรวม
การเปินแบบย่อยและแบบรวมการเปินแบบย่อยและแบบรวม
การเปินแบบย่อยและแบบรวม
 
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวมการประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
 
Affective2
Affective2Affective2
Affective2
 
Eva plan
Eva planEva plan
Eva plan
 
Grading1
Grading1Grading1
Grading1
 
Psychomotor
PsychomotorPsychomotor
Psychomotor
 
Itemcons
ItemconsItemcons
Itemcons
 
Item analysis
Item analysisItem analysis
Item analysis
 
การประเมินแฟ้ม
การประเมินแฟ้มการประเมินแฟ้ม
การประเมินแฟ้ม
 
การประเมินตาสภาพจริง
การประเมินตาสภาพจริงการประเมินตาสภาพจริง
การประเมินตาสภาพจริง
 
แนวคิด
แนวคิดแนวคิด
แนวคิด
 
สรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผลสรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผล
 

สถิติStat

  • 2.  ในการวัดผลการศึกษา ผลที่ได้จากการวัดจะออกมาในลักษณะของ ตัวเลข ซึ่งใช้เป็นตัวแทนของพฤติกรรมต่างๆ หรือคุณลักษณะ ต่างๆ ที่ต้องการวัดในตัวผู้เรียนเพื่อตรวจสอบว่าผู้เรียนเกิด พฤติกรรมหรือการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้หรือไม่ จา เป็น ที่จะต้องแปลความหมายหรืออธิบายตัวเลขหรือผลการวัดนั้นๆ ให้ มีความชัดเจนยิ่งขึ้น ซึ่งต้องอาศัยวิธีการทางสถิติมาช่วยในการ อธิบาย
  • 3. มาตราการวดั การวัดเป็นการกาหนดตัวเลขใหกั้บสิ่งที่ตอ้งการศึกษาภายใต้ กฎเกณฑ์ทแี่น่นอน ครูจาเป็นจะตอ้งทราบคุณลักษณะของขอูู้ล ที่ถูกวัดเพื่อใชใ้นการพิจารณาว่า จะเลือกใชวิ้ธีการทางสถิติใด จึงจะเหูาะสู ดังนั้นจึงควรทราบว่าขอูู้ลทถีู่กวัด ูานั้นอยใู่น ูาตราการวัดระดับใด ซงึู่าตราการวัดแบ่งออกเป็น 4 ระดับ ระดับที่ 1 มาตราการวัดระดับนามบัญญัติ (Nominal Scale) ระดับที่ 2 มาตราการวัดระดับเรียงอันดับ (Ordinal Scales) ระดับที่ 3 มาตราการวัดระดับช่วง (Interval Scale) ระดับที่ 4 มาตราการวัดระดับอัตราส่วน (Ratio Scale)
  • 4. ระดบัที่1 มาตราการวดัระดบันามบญัญตัิ (Nominal Scale) เป็นระดับที่ใช้จาแนกความแตกต่างของสิ่งที่ต้องการวัดออกเป็นกลุ่ม ๆ โดยใช้ตัวเลข เช่น ตัวแปรเพศ แบ่งออกเป็นกลุ่มเพศชายและกลุ่มเพศหญิง ในการกา หนดตัวเลขอาจ จะใช้เลข 1 แทนเพศชาย และเลข 2 แทนเพศหญิง ตัวแปรระดับการศึกษา แบ่งออกเป็น กลุ่มที่มีการศึกษาต่ากว่าปริญญาตรี อาจจะแทนด้วยเลข 1 กลุ่มที่มีการศึกษาระดับ ปริญญาตรี อาจจะแทนด้วยเลข 2 และกลุ่มที่มีการศึกษาสูงกว่าระดับปริญญาตรี อาจ จะแทนด้วยเลข 3 เป็นต้น ตัวเลข 1 หรือ 2 หรือ 3 ที่ใช้แทนกลุ่มต่าง ๆ นั้น ถือเป็นตัวเลข ในระดับนามบัญญัติไม่สามารถนามาบวก ลบ คูณ หาร หรือหาสัดส่วน
  • 5. ระดบัที่2 มาตราการวดัระดบัเรยีงอนัดบั (Ordinal Scales) เป็นระดับที่ใช้สาหรับจัดอันดับที่หรือตาแหน่งของสิ่งที่ต้องการวัด ตัวเลขในมาตรา การวัดระดับนี้เป็นตัวเลขที่บอกหมายความหมายในลักษณะมาก-น้อย สูง-ต่า เก่ง-อ่อน กว่ากัน เช่น ด.ช.ดาสอบได้ที่ 1 ด.ช.แดงสอบได้ที่ 2 ด.ญ.เขียวสอบได้ที่ 3 หรือ การประกวดร้องเพลง นางสาวเขียวได้รางวัลที่ 1 นางสาวชมพูได้รางวัลที่ 2 นางสาวเหลืองได้รางวัลที่ 3 เป็นต้น ตัวเลขอันดับที่แตกต่างกันไม่สามารถบ่งบอก ถึงปริมาณความแตกต่างได้ เช่น ไม่สามารถบอกได้ว่าผู้ที่ประกวดร้องเพลง ได้รางวัลที่1 มีความเก่งมากกว่าผู้ที่ได้รางวัลที่ 2 ในปริมาณเท่าใด ตัวเลขในระดับนี้ สามารถนามาบวกหรือลบ กันได้
  • 6. ระดบัที่3 มาตราการวดัระดบัช่วง (Interval Scale) เป็นระดับที่สามารถกา หนดค่าตัวเลขโดยมีช่วงห่างระหว่างตัวเลขเท่า ๆ กัน สามารถ นาตัวเลขมาเปรียบเทียบกันได้ว่าว่ามีปริมาณมากน้อยเท่าใด แต่ไม่สามารถบอกได้ว่า เป็นกี่เท่าของกันและกัน เพราะมาตราการวัดระดับนี้ไม่มี 0 (ศูนย์) แท้ มีแต่ 0 (ศูนย์) สมมติ เช่น นายวิชัยสอบได้ 0 คะแนน มิได้หมายความว่าเขาไม่มีความรู้ เพียงแต่เขาไม่สามารถ ทา ข้อสอบซึ่งเป็นตัวแทนของความรู้ทั้งหมดได้ หรือ อุณหภูมิ 0 องศา มิได้หมายความว่า จะไม่มีความร้อน เพียงแต่มีความร้อนเป็น 0 องศาเท่านั้น จุดที่ไม่มีความร้อนอยู่เลยก็คือ ที่ -273 องศา ดังนั้นอุณหภูมิ 40 องศาจึงไม่สามารถบอกได้ว่ามีความร้อนเป็น 2 เท่าของ อุณหภมูิ 20 องศา เป็นต้น ตัวเลขในระดับนี้สามารถนา มาบวก ลบ คูณ หรือหารกันได้
  • 7. ระดบัที่4 มาตราการวดัระดบัอตัราส่วน (Ratio Scale) เป็นระดับที่สามารถกา หนดค่าตัวเลขให้กับสิ่งที่ต้องการวัด มี 0 (ศูนย์) แท้ เช่น น้า หนัก ความสูง อายุ เป็นต้น ระดับนี้สามารถนา ตัวเลขมาบวก ลบ คูณ หาร หรือ หาอัตราส่วนกันได้ คือสามารถบอกได้ว่า ถนนสายหนึ่งยาว 50 กิโลเมตร ยาวเป็น 2 เท่าของถนนอีกสายหนึ่งที่ยาวเพียง 25 กิโลเมตร
  • 8. การแจกแจงความถี่  เป็นการนา ข้อมูลหรือคะแนนที่ได้จากการวัดผล ซึ่งเป็นข้อมูลที่มี ลักษณะที่ไม่เป็นระบบระเบียบคือ มีทั้งคะแนนสูง ต่า หรือ คะแนนที่ซ้า กันปะปนกันอยู่ มาจัดเรียงลา ดับใหม่ให้เป็นระบบ ระเบียบตามความมากน้อย และนับจา นวนข้อมูลในแต่ละค่าหรือ แต่ละกลุ่มว่า เกิดขึ้นซ้า ๆ กันกี่ครั้ง ซึ่งจา นวนที่ซ้า ๆ กันของข้อมูล แต่ละค่านี้เรียกว่า “ความถ”ี่การแจกแจงความถี่ จึงเป็นการ จัดระบบของข้อมูล เพื่อให้เห็นภาพรวมของการแจกแจงของ คะแนนทั้งหมด การแปลความหมายของคะแนนก็จะง่ายขึ้น และเป็นประโยชน์ต่อการนา ไปใช้คา นวณค่าสถิติอื่นๆ ต่อไป
  • 9. การแจกแจงความถี่แบบไม่จัดคะแนนเป็นกลุ่ม (Ungrouped frequency distribution)  จากการสอบในวิชา หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา ของนักศึกษาวิชาเอก การวัดผลการศึกษา จา นวน 34 คน ผลของการสอบได้คะแนนเป็นดังนี้ 19 24 17 12 20 15 18 23 11 16 19 22 15 21 20 19 18 17 22 16 15 17 20 14 23 12 18 11 21 10 20 17 16 14 นา มาสร้างตารางแจกแจงความถี่ได้ดังนี้
  • 10. คะแนน (x) รอยคะแนน ความถี่ (f) ความถี่สะสม (cf) 24 / 1 34 23 // 2 33 22 // 2 31 21 // 2 29 20 //// 4 27 19 /// 3 23 18 /// 3 20 17 //// 4 17 16 /// 3 13 15 /// 3 10 14 // 2 7 13 - 0 5 12 // 2 5 11 // 2 3 10 / 1 1
  • 11. การแจกแจงความถี่แบบจัดคะแนนเป็นกลุ่ม (grouped frequency distribution)  จากการสอบปลายภาคเรียนวิชา หลักการวัดและประเมินผล การศึกษาของนักศึกษา จา นวน 60 คน จากคะแนนเต็ม 50 คะแนน ผลของการสอบได้คะแนนเป็นดังนี้ 22 48 30 35 32 26 25 47 42 30 28 44 37 29 26 39 31 42 35 32 37 24 39 29 30 46 27 36 27 41 34 31 37 33 40 49 36 28 34 35 33 45 38 43 26 46 25 38 43 31 33 44 40 39 41 38 36 35 32 38
  • 12. ชัน้คะแนน รอยคะแนน ความถี่ (f) ความถี่สะสมจาก น้อยไปมาก (cf) ความถี่สะสมจาก มากไปน้อย (cf) 47 - 49 /// 3 60 3 44 - 46 //// 5 57 8 41 - 43 //// / 6 52 14 38 - 40 //// //// 9 46 23 35 - 37 //// //// 10 37 33 32 - 34 //// /// 8 27 41 29 - 31 //// /// 8 19 49 26 - 28 //// // 7 11 56 23 - 25 /// 3 4 59 20 - 22 / 1 1 60
  • 13. การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง (Measures of Central Tendency)  ตัวกลางเลขคณิต (Arithmetric Mean)  มัธยฐาน (Median)  ฐานนิยม (Mode) Mo  3Mdn  2x X x  n i i n   1
  • 17. การนาค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน และฐานนิยม ไปประยุกต์ใช้  ถ้าข้อมูลอยู่ในระดับนามบัญญัติ ให้ใช้ ฐานนิยมเท่านั้น  ถ้าข้อมูลอยู่ในระดับเรียงอันดับ ใช้ฐานนิยมหรือมัธยฐานก็ได้ แต่ควรใช้มัธยฐานมากกว่า  ถ้าข้อมูลอยู่ในระดับอันตรภาคหรืออัตราส่วน การวัดแนวโน้ม เข้าสู่ส่วนกลางหรือการหาค่าที่เป็นตัวแทน สามารถใช้ได้ทั้ง ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน และฐานนิยม และถ้าข้อมูลมีการแจกแจง เป็นโค้งปกติหรือใกล้เคียงโค้งปกติ ควรใช้ค่าเฉลี่ย แต่ถ้าข้อมูล มีการแจกแจงแบบเบ้มากๆ จะทางซ้ายหรือทางขวา ควรใช้ ค่ามัธยฐานเป็นตัวแทน
  • 18. การวัดการกระจาย (Measurement of Variation)  เป็นการบอกให้ทราบว่าข้อมูลเหล่านั้นหรือคะแนนที่ได้จากการวัดเหล่านั้น มีค่าใกล้เคียงกันหรือแตกต่างกัน หรือกระจายจากกันมากเพียงใด ซึ่งค่า ใกล้เคียงหรือแตกต่างหรือกระจายจากกัน เป็นค่าใกล้เคียงหรือแตกต่างหรือ กระจายจากค่าเฉลี่ย หรือกล่าวได้ว่า เป็นการบอกให้ทราบว่า ผู้เรียนคน อื่นๆ ได้คะแนนต่างจากคะแนนซึ่งเป็นตัวแทนของกลุ่ม เท่าไร ซึ่งการใช้ การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลางเพียงอย่างเดียว เพียงแต่ได้ค่าที่เป็นตัวแทน ของข้อมูลในการอธิบายลักษณะของข้อมูลแต่ละชุด หรืออธิบาย ความสามารถของผู้เรียนแต่ละกลุ่มเท่านั้น แต่ไม่ทราบว่าข้อมูลเหล่านั้น มี ค่าใกล้เคียงหรือกระจายจากกันมากน้อยเพียงใด หรือบอกไม่ได้ว่า ผู้เรียนใน แต่ละกลุ่มนั้นมีความสามารถแตกต่างกันมากน้อยเพียงใด
  • 19. โปรแกรมคณิตศาสตร์ โปรแกรมการวัดผลการศึกษา โปรแกรมการประถมศึกษา 80 60 60 80 70 65 80 80 70 80 80 75 80 80 85 80 80 90 80 90 95 80 100 100 ผลรวม 640 640 640 ค่าเฉลี่ย 80 80 80
  • 20. ชนิดของค่าการกระจายของข้อมูล  พิสัย (Range)  ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation หรือ S.D. )  ความแปรปรวน (Variance หรือ S.D2. หรือ S2) พิสัย = ค่าสูงสุด – ค่าต่า สุด N (x X) i  สัมประสิทธ์ิการแปรผัน (Coefficient of Variation :CV) n 1 (x X) S n i 1 2 i         N i 2 1 s CV   100 x
  • 21. ค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ (correlation coefficient)  เป็นค่าสถิติที่บ่งบอกให้ทราบว่าตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป มีความผัน แปรเกี่ยวพันกันหรือไม่ และมีขนาดความสัมพันธ์กันมากน้อย เพียงใด ลักษณะของตัวแปร 2 ตัวที่มีความแปรผันตามกัน ตัวอย่างเช่น ผลการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ กับ ผลการเรียนวิชา วิทยาศาสตร์ ของนักเรียน เราจะพบว่าส่วนมากแล้ว นักเรียนที่เรียน ได้ดีในวิชาคณิตศาสตร์ ก็มักจะเรียนได้ดีในวิชาวิทยาศาสตร์ด้วย และนักเรียนไม่ดีในวิชาคณิตศาสตร์ ก็จะเรียนไม่ดีในวิชา วิทยาศาสตร์ด้วยเช่นกัน
  • 22.  แสดงความสัมพันธ์ระหว่าตัวแปร X และ Y ซึ่งมีความแปรผันตาม กัน มีการแปรเปลี่ยนของคะแนน ไปในทิศทางเดียวกันXY คือ เมื่อ X มีค่าเพิ่มขึ้น Y ก็มีค่าเพิ่มขึ้น เมื่อ X มีค่าลดลง Y ก็มีค่าลดลง ด้วยเช่นกัน เรียกว่ามีความสัมพันธ์ กันทางบวก X Y
  • 23.  แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร X และ Y ซึ่งมีความแปรผันแบบ ผกผัน มีการแปรเปลี่ยนของ คะแนนไปในทิศทางตรงกันข้าม คือ เมื่อ X มีค่าเพิ่มขึ้น แต่ Y จะมี ค่าลดลง และเมื่อ X มีค่าลดลง แต่ Y กลับมีค่าเพิ่มขึ้น เรียกว่ามี ความสัมพันธ์กันทางลบ X Y
  • 24.  แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร X และ Y ซึ่งไม่สามารถบอกได้ ว่า มีทิศทางการแปรผันเกี่ยวพันกัน อย่างไร การเพิ่มขึ้น หรือลดลงของ ค่า X ไม่ได้มีผลทา ให้ค่าของY เพิ่มขึ้นหรือลดลงตามไปด้วย แสดงว่าตัวแปรทั้งสอง ไม่มี ความสัมพันธ์กัน Y
  • 25. Pearson’s product-moment coefficient        r N xy x y 2 2 2 2 N x x N y y xy         ( ) ( )
  • 26. คนที่ X Y X2 Y2 XY 1 13 11 169 121 143 2 12 14 144 196 168 3 10 11 100 121 110 4 10 7 100 49 70 5 8 9 64 81 72 6 6 11 36 121 66 7 6 3 36 9 18 8 5 7 25 47 35 9 3 6 9 36 18 10 2 1 4 1 2  75 80 687 784 702 10(702 ) ( 75 )( 80) ) ( ) ) ( rxy  0.76     rxy   2 2 10(687  75 10(784  80)