SlideShare a Scribd company logo
1 of 41
Download to read offline
Emergency management
in Traumatic patients
การประเมินและการดูแลรักษาผู้บาดเจ็บ
เบื้องต้น
โดย พญ. ปารัชญ์ ศิริศรีโร
กลุ่มงานศัลยกรรม
ขอบเขตเนื้อหา
• หลักการและแนวคิดในการประเมินและการดูแลรักษาผู้บาดเจ็บเบื้องต้น
(Initial assessment) ประกอบด้วยขั้นตอนตามลําดับ
• ภาวะคุกคามชีวิตที่พบบ่อยในผู้บาดเจ็บฉุกเฉิน และการช่วยเหลือเบื้องต้นใน
ระยะแรกที่ห้องฉุกเฉิน
การประเมินและการดูแลรักษาผู้บาดเจ็บเบื้องต้น (Initial
assessment) ประกอบด้วยขั้นตอนตามลําดับดังนี้
1. Preparation
2. Triage
3. Primary survey (ABCDEs) and resuscitation
4. Adjuncts to primary survey and resuscitation
5. Consideration or the need for patient transfer
6. Secondary survey (head-to-toe evaluation and patient history)
7. Adjuncts to secondary survey
8. Continued postresuscitation monitoring and reevaluation
9. Definitive care
Preparation
คือการเตรียมความพร้อมของบุคลากร
อุปกรณ์ สถานที่ก่อนผู้ป่วยมาถึง รวมทั้ง
สถานภายนอกและในโรงพยาบาล
สิ่งสําคัญของผู้ปฏิบัติงานคือ Universal
precaution ผู้ปฏิบัติงานทุกคนควรสวม
หน้ากาก ถุงมือ และชุดเพื่อป้องกันเลือด
หรือสารคัดหลั่งขณะดูแลรักษาผูบาดเจ็บ
เสมอ
Triage คือการคัดกรองผู้ปวยตามความเร่งด่วน
สีเขียว : ให้การรักษาเมื่อบุคลากรว่าง
สีเหลือง : ให้การรักษาเร็วเท่าที่จะทำได้
สีส้ม : ให้การรักษาอย่างเร่งด่วน
สีแดง : ต้องให้การรักษาขณะนั้น
ถ้าไม่ทำเป็นอันตรายถึงชีวิต
Primary survey and resuscitation
คือ การประเมินผูบาดเจ็บในระยะเริ่มแรกประกอบดวย
A: Airway and C-spine protection
การประเมินทางเดินหายใจและป้องกันการบาดเจ็บของกระดูกต้นคอ
B: Breathing
การประเมินระบบการหายใจ
C: Circulation and hemorrhage control
การประเมินระบบไหลเวียนโลหิต และการห้ามเลือด
D: Disability
การประเมินความรู้สึกตัว
E: Exposure and environment
การถอดเสื้อผ้าผู้ป่วยออกเพื่อดูการบาดเจ็บภายนอก และดูแลอุณหภูมิกาย
เพื่อค้นหา และแก้ไขภาวะ Immediate life threatening
จากปัญหา A, B, C อันได้แก่
- Upper airway obstruction
- Tension pneumothorax
- Open pneumothorax
- Flail chest with pulmonary contusion
- Massive hemothorax
- Cardiac tamponade
A ประเมินทางเดินหายใจและการป้องกันการ
บาดเจ็บของต้นคอ (Airway and C-spine
protection)
เริ่มแรก : พูดคุยกับผู้ป่วย เช่น ถามชื่อผูปวย หากสามารถตอบได้ดี
แสดงว่าผู้ป่วยรู้สึกตัวดี ไม่มีการอุดกั้นของทางเดินหายใจ
-ในกรณีผู้บาดเจ็บรุนแรงจะต้อง สงสัย ภาวะบาดเจ็บของกระดูก
ต้นคอไว้เสมอ จนกว่าจะได้รับการพิสูจน์ได้
จําเปนจะต้องป้องกันการบาดเจ็บเพิ่มเติม C-spine
protection โดยการใส่ hard cervical collar, head immobilizer
และ spinal board ไว้ก่อน หรือทําการ manual in line ไว้ตลอด
Immediate life threatening ของ “A”
คือ ภาวะอุดกั้นทางเดินหายใจ
การทำ Manual In-Line
Immobilization จะใช้มือจับตรง
ไหล่และหนีบศีรษะ Head Grip
พร้อมๆ กับการใส่ Hard-collar
B : การประเมินระบบการหายใจ (Breathing)
• ดูการเคลื่อนไหวของหน้าอก อัตราการหายใจ ฟังเสียงหายใจ
ดูบาดแผลหรือการบาดเจ็บบริเวณทรวงอกที่เห็นไดจาก
ภายนอก
• การคลําตําแหน่งของ หลอดลมว่าเอียงไปด้านใดหรือไม่ หรือ
กรอบแกรบบริเวณผนังทรวงอก (Subcutaneous
emphysema)
Immediate life threatening conditions ของ “B” ได้แก่
Tension pneumothorax, Open pneumothorax, Flail chest
with pulmonary contusion, Massive hemothorax
คือ ภาวะที่มีอากาศอยู่ในช่อง
เยื่อหุ้มปอดมาก จนความดันในช่อง
เยื่อหุ้มปอดดันหัวใจและขั้วหัวใจไป
ด้านตรงข้าม
Tension pneumothorax
ตรวจร่างกายพบ
- ผู้ป่วยหายใจลําบาก กระสับกระส่าย
- ผนังทรวงอกข้างที่มีพยาธิสภาพโป่งออก แตไม่ค่อยขยับเวลาหายใจ
- ฟังเสียงหายใจข้างที่มีพยาธิสภาพจะได้ยินเสียงลดลง
- เคาะโปร่งด้านที่มีพยาธิสภาพ
- คลําหลอดลมคอ (Trachea) จะพบว่าถูกดันไปข้างตรงข้าม
- เส้นเลือดที่คอโป่ง
- ความดันโลหิตต่ํา ชีพจรเต้นเร็ว
หมายเหตุ ในผู้ป่วยที่ใส่ท่อ
ช่วยหายใจแล้ว หากบีบ
Ambubag แล้วอาการ
ผู้ป่วยแย่ลงอย่างรวดเร็ว
มีความต้านทานในการบีบ
Ambubag สูง ให้คิดถง
ภาวะนี้ไว้เสมอ
การรักษา ภาวะนี้วินิจฉัยจากประวัติและการตรวจร่างกาย หาก
สงสัยให้การรักษาได้ โดยไม่รอการตรวจ CXR เนื่องจากผู้ป่วย
อาจเสียชีวิตระหว่างรอผลได้
- โดยเปิด high flow oxygen โดยให้เป็น Mask with bag
ตั้งแต่ 11 LPM ขึ้นไป
- หากมีบาดแผลที่ผนังทรวงอกที่อาจทําใหเกิด tension
pneumothorax ให้รีบปิดดวยวิธี 3 sided dressing
(รายละเอียดในหัวขอ open pneumothorax)
- ลดความดันในช่องเยื่อหุมปอดโดยการทํา Needle
thoracostomy โดยใช้เข็มฉีดยาขนาดใหญ่ยาว No.14 แทง
บริเวณช่องระหว่างซี่โครงที่ 2 และ 3 ( 2nd intercostal
space) ตําแหน่งตรงกับกึ่งกลางกระดูกไหปลาร้า (mid
clavicular line)
- ทํา intercostal drainage โดยการใส่ ICD
- CXR หลังการทําหัตถการเพื่อ ตําแหน่งของสาย ICD และ
ติดตามผลของการรักษา
คือภาวะที่มีบาดแผลภายนอกติดต่อกับ
ช่องเยื่อหุ้มปอด โดยเฉพาะบาดแผลที่มีขนาดใหญ่
กว่า 2 ใน 3 ของเส้นผ่านศูนย์กลางของ trachea
จะทําให้อากาศเข้าไปในช่องเยื่อหุ้มปอดปริมาณ
มาก เกิดภาวะปอดแฟบและเกิด tension
pneumothorax ตามมาได้
ตรวจร่างกายพบ
- บาดแผลเปิดบริเวณทรวงอก
- เหนื่อย หายใจลําบาก
- อาจมีเสียงลมผ่านเข้าออกทางบาดแผล
- เสียงหายใจลดลงข้างที่มีพยาธิสภาพ
Open pneumothorax
3 sided dressing
คือภาวะที่มีกระดูกซี่โครงหักตั้งแต่ 2 ซี่ติดกันขึ้นไปและแต่ละซี่หัก
อย่างน้อย 2 ตําแหน่ง ทําให้เกิด flail segment
เวลาหายใจจะเกิด paradoxical motion ตามมา (ดังรูป) ทําให้การ
หายใจ แลกเปลี่ยนออกซิเจนไมเพียงพอ มักเกิดรวมกับภาวะเนื้อ
ปอดช้ํา (pulmonary contusion)
Flail chest with pulmonary contusion
Flail chest with pulmonary contusion
ตรวจร่างกายพบ
- บาดแผลหรือรองรอยฟกช้ําบริเวณทรวงอก ทรวงอกผิดรูป
- หายใจลําบาก
- คลําได้กระดูกซี่โครงหัก กดเจ็บ
- อาจคลําได้ subcutaneous emphysema
Hemothorax
Hemothorax คือ ภาวะที่มีเลือกออกในช่องเยื่อหุ้มปอด
ทําใหปอดขยายตัวได้ไม่เต็มที่
มีผลต่อการ แลกเปลี่ยนก๊าซ
Massive hemothorax คือ
มีเลือดออกในช่องเยื่อหุ้มปอดปริมาณมากกว่า 1,500 cc ตั้งแต่เริ่มต้น
หรือยังมีเลือดออกต่อเนื่องมากกว่า 200 cc ต่อชั่วโมงติดต่อกัน 3
ชั่วโมงขึ้นไป
Hemothorax
ตรวจร่างกายพบ
- อาจพบบาดแผลหรือร่องรอยการบาดเจ็บของทรวงอกจากภายนอก
- หายใจลําบาก
- ความดันโลหิตต่ํา/ชีพจรเร็วจากการเสียเลือด
- ทรวงอกข้างที่มีพยาธิสภาพขยับเวลาหายใจ หายใจได้น้อยลง
- ฟังเสียงปอดข้างที่มีพยาธิสภาพได้เบาลง
- เคาะทึบที่ปอดข้างที่มีพยาธิสภาพ
Tension Pneumothorax**
Massive hemothorax**
hemothorax
pneumothorax
Multiple Fx and plan Surgery
Intercostal Drainage in trauma
ขวดแรก Underwater seal (UWS)
และการต่อ แบบ 1 ขวด
• ขวดแรก
• ขวดนี้มีความสำคัญที่สุด
จำเป็นต้องมีเสมอ ไม่ว่าจะต่อ
แบบใด
• ประกอบด้วย หลอดแก้วสั้น 1
อันอยู่เหนือระดับน้ำ และ
หลอดแก้วยาวจุ่มในน้ำลึก 2-3
cm
สายต่อมาจากผู้ป่วย
สายต่อเข้าสู่
ความดัน
บรรยากาศ
การต่อ ICD แบบขวดเดียว
ข้อดี
•สะดวก ประหยัด ไม่เปลืองขวด เหมาะสำหรับระบายลมที่รั่วออก
ไม่มาก ผู้ป่วย Ambulated ได้ง่าย
ข้อเสีย
•ไม่เหมาะสำหรับการเป็นการระบายของเหลว เพราะเมื่อปริมาณ
ของเหลวเพิ่ม ผู้ป่วยต้องหายใจลึกขึ้น ล้าผู้ป่วยหายใจลึกขึ้น ลมจะ
ระบายออกยากขึ้น
•การสังเกตสี ประมาณของของเหลวทำได้ยาก
ขวดที่สอง และ การต่อ แบบ 2 ขวด
• การต่อขวดที่สองดังรูป
• สามารถดูสีของเหลวที่ออกมา
จากปอดได้
• ถ้าต่อเข้าเครื่องดูดจะสามารถ
ควบคุมแรงดันได้คงที่
• ไม่ต้องเปลี่ยนขวดบ่อยๆ
สายต่อมาจากผู้ป่วย
สายต่อเข้าสู่ความ
ดันบรรยากาศ
ใส่น้ำ 2 cm
ขวดที่สาม และ การต่อ แบบ 3 ขวด
สายต่อมาจากผู้ป่วย
สายต่อเข้าสู่ความ
ดันบรรยากาศสายต่อเข้าสู่
เครื่องดูด Vacuum
ใส่น้ำ 20 cm
ขวดที่สาม และ การต่อ แบบ 3 ขวด
ข้อดี
ทำให้อัตราไหลของของเหลวดีขึ้น ปอดขยายตัว
ข้อเสีย
•ระบบซับซ้อน เกิดความผิดพลาดในการต่อ และบำรุงรักษา
•ถ้าเครื่องดับหรือลืมเปิดเครื่อง จะเกิดอันตรายต่อผู้ป่วย
ถ้ายังมีลมรั่วจะเกิด Tension pneumothorax
การดูแล ICD
- ระบบการทำงานของระบบต้องเป็น closed system: seal ข้อต่อต่างๆ ให้แน่น
ปลายหลอดแก้ว ขวด แรก ต้องจุ่มใต้นา 2-3 ซม. ถ้าพบว่าไม่มีการจุ่มใต้น้ำ ให้รีบ
clamp สาย เติมน้ำ แล้วให้ ผู้ป่วยไอออกแรงๆ เพื่อระบายลมออก
- ระวังขวดล้ม/ เอียง
- สังเกตการ fluctuated ของระดับ น้ำในหลอดแก้ว ถ้าหายใจเข้า ระดับน้ำจะ
เคลื่อนขึ้น หายใจออกระดับ น้ำจะเคลื่อนลง
- เปลี่ยนขวดเมื่อเมื่อมี content ออกเพ่ิม และปลายหลอดแก้วอยู่ใต้ น้ำเกิน 5 ซม.
- วางขวดต่ำกว่าทรวงอกผู้ป่วยเสมอ
- กรณีต่อแบบ 2 ขวด หากพบว่าน้ำในขวดแรก ถูกดูดย้อนทางขวดที่สอง แก้ไข
เบื้องต้นโดยการต่อสายระหว่างขวดที่ 1-2 ให้ยาว ยกสายขึ้น และยกขวดเก็บสาร
เหลวให้อยู่สูงกว่าขวดอื่น
C การประเมินระบบไหลเวียนโลหิต และการหามเลือด
การประเมินระบบไหลเวียนโลหิต ประกอบด้วยการประเมินชีพจร
ทั้งความแรง อัตราเร็ว ความสม่ําเสมอ,ความดันโลหิต, pulse
pressure, สีผิว ควบคู่ไปกับการหาตําแหน่งเลือดออกภายนอกเพื่อทํา
การห้ามเลือด
Immediate life threatening conditions ของ “C” ได้แก่
Massive hemothorax และ Cardiac tamponade
Immediate life threatenning conditions “C”
•Cardiac tamponade :
•Muffled heart sound
•Distended Neck veins
•Low Blood pressure
•Massive hemothorax
เลือดออก >1,500 cc ตั้งแต่เริ่ม
หรือยังมีเลือดออกต่อเนื่อง
มากกว่า 200 cc ต่อชั่วโมง
ติดต่อกัน 3 ชั่วโมงขึ้นไป
คือ. การมีเลือดเข้าไปอยู่ในช่องเยื่อหุ้มหัวใจและ
ทำให้หัวใจทํางานไม่ได้ตามปรกติ
ตรวจร่างกายพบ
- เส้นเลือดที่คอโป่งพอง
(อาจไม่พบในกรณีที่ผู้ป่วยเสียเลือดปริมาณมาก
หรือ ความดันโลหิตต่ํามาก)
- ความดันโลหิตต่ํา
- ชีพจรเบาและเร็ว
- ฟังเสียงหัวใจเต้นได้เบา (Distant heart sound)
Cardiac tamponade
D : การประเมินความรู้สึกตัว
• ประกอบด้วยการประเมินความรู้สึกตัว
• GCS score (Glasgow coma scale score)
• ประกอบด้วยการประเมินสามหัวข้อหลัก ดังนี้
Eye response (E) : การตอบสนองต่อตา
E 1 ไม่ลืมตา
E 2 ลืมตาเมื่อกระตุ้นด้วยความเจ็บปวด
E 3 ลืมตาเมื่อเรียก
E 4 ลืมตา ได้เอง
Verbal response (V) : การตอบทางเสียง
V 1 ไม่ส่งเสียง
V 2 ส่งเสียงคราง ไม่มีความหมาย
V 3 ส่งเสียงได้เป็นคำๆ
V 4 ส่งเสียงได้เป็นประโยค แต่ไม่ตรงคำถาม
V 5 ส่งเสียงพูดคุยได้ รู้วัน สถานที่ บุคคล
Motor response (M) : การตอบทางกาย
M 1 ไม่ตอบสนอง
M 2 เหยียดเกร็ง เมื่อกระตุ้นด้วยความเจ็บ
M 3 หดเกร็ง เมื่อกระตุ้นด้วยความเจ็บ
M 4 หดเกร็ง หนีต่อการกระตุ้นด้วยความเจ็บ
M 5 ปัดโดน รู้ตำแหน่งที่ถูกกระตุ้นด้วยความเจ็บ
M 6 ทำตามคำสั่งได้
E: การถอดเสื้อผ้าผผู้ป่วยออกเพื่อดูการบาดเจ็บภายนอก
ประกอบด้วยการถอดเสื้อผ้าผู้ป่วยออกเพื่อดูการบาดเจ็บภายนอก
และการทํา log roll เพื่อให้
- สามารถตรวจร่างกายทางด้านหลัง โดยยังทําการป้องกันการ
บาดเจ็บเพิ่มเติมของสันหลัง หลังจากตรวจ
หลังตรวจเสร็จแล้วควรรีบใช้ผ้าคลุมส่วนที่ไม่ได้ทําหัตถการใดๆ เพื่อให้
ความอบอุ่นแก่ร่างกายผู้ป่วย
ขั้นตอนการ
log roll
ขั้นตอนการ
log roll
Adjuncts to primary survey and resuscitation
สามารถทําไปพร้อมกับการทํา Primary survey และ resuscitation แต่ต้องไม่ขัดขวางการ
ทํา primary survey หรือ resuscitation ได้แก่
- EKG monitoring
- Urinary catheter
- Gastric tube
- Monitor อื่นๆ เพื่อประเมินการตอบสนองต่อการ resuscitation ได้แก่ arterial blood
gas, Pulse oxymetry, Blood pressure monitoring
- X-ray ได้แก่ film portable CXR และ Pelvis AP
- การตรวจเพื่อการวินิจฉัยอื่น ได้แก่ การทํา ultrasound FAST, DPL

More Related Content

What's hot

Monitor traumatic shock 16 พค.58
Monitor traumatic shock  16 พค.58Monitor traumatic shock  16 พค.58
Monitor traumatic shock 16 พค.58
Krongdai Unhasuta
 
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
Chutchavarn Wongsaree
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
techno UCH
 
Severe trauma and traumatic shock 14 พค.58
Severe trauma and traumatic shock  14 พค.58Severe trauma and traumatic shock  14 พค.58
Severe trauma and traumatic shock 14 พค.58
Krongdai Unhasuta
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
piyarat wongnai
 
Trauma treatment skills for nurses 22 พค.2558
Trauma treatment skills for nurses  22 พค.2558Trauma treatment skills for nurses  22 พค.2558
Trauma treatment skills for nurses 22 พค.2558
Krongdai Unhasuta
 
Quality care of the severe trauma 14 พค.58
Quality care of the severe trauma  14 พค.58Quality care of the severe trauma  14 พค.58
Quality care of the severe trauma 14 พค.58
Krongdai Unhasuta
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
Weerawan Ueng-aram
 
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
Yanee Tongmanee
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
taem
 

What's hot (20)

Monitor traumatic shock 16 พค.58
Monitor traumatic shock  16 พค.58Monitor traumatic shock  16 พค.58
Monitor traumatic shock 16 พค.58
 
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
Severe trauma and traumatic shock 14 พค.58
Severe trauma and traumatic shock  14 พค.58Severe trauma and traumatic shock  14 พค.58
Severe trauma and traumatic shock 14 พค.58
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
 
Trauma treatment skills for nurses 22 พค.2558
Trauma treatment skills for nurses  22 พค.2558Trauma treatment skills for nurses  22 พค.2558
Trauma treatment skills for nurses 22 พค.2558
 
Warning sign
Warning signWarning sign
Warning sign
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
Initial Assess Trauma (Thai)
Initial Assess Trauma (Thai)Initial Assess Trauma (Thai)
Initial Assess Trauma (Thai)
 
Quality care of the severe trauma 14 พค.58
Quality care of the severe trauma  14 พค.58Quality care of the severe trauma  14 พค.58
Quality care of the severe trauma 14 พค.58
 
2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
 
Abdominal Trauma (Thai)
Abdominal Trauma (Thai)Abdominal Trauma (Thai)
Abdominal Trauma (Thai)
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
Ayutthaya Triage Scale
Ayutthaya Triage ScaleAyutthaya Triage Scale
Ayutthaya Triage Scale
 
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...
 
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
 

Similar to Atls for nurse

การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
techno UCH
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
Loveis1able Khumpuangdee
 
การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจ
Krongdai Unhasuta
 
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย Ischemiaxxx
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย  Ischemiaxxxการดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย  Ischemiaxxx
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย Ischemiaxxx
eremslad
 
Emergency care to head injured patient
Emergency care to head injured patientEmergency care to head injured patient
Emergency care to head injured patient
Krongdai Unhasuta
 

Similar to Atls for nurse (20)

การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
การดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuการดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msu
 
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคการพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
 
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
 
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจการพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
PACU
PACUPACU
PACU
 
Ƿҧǫժѵ Septic shock
Ƿҧǫժѵ Septic shockǷҧǫժѵ Septic shock
Ƿҧǫժѵ Septic shock
 
Septic shock
Septic shockSeptic shock
Septic shock
 
Septic shock guideline
Septic shock guidelineSeptic shock guideline
Septic shock guideline
 
Trauma & bls
Trauma & blsTrauma & bls
Trauma & bls
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
 
แนวทางการดูแลรักษาลิ้มเลือดอุดตันในปอด ในผูปวยฉุกเฉิน
แนวทางการดูแลรักษาลิ้มเลือดอุดตันในปอด ในผูปวยฉุกเฉินแนวทางการดูแลรักษาลิ้มเลือดอุดตันในปอด ในผูปวยฉุกเฉิน
แนวทางการดูแลรักษาลิ้มเลือดอุดตันในปอด ในผูปวยฉุกเฉิน
 
การให้ความรู้แบบเข้มข้น เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...
การให้ความรู้แบบเข้มข้น   เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน   ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...การให้ความรู้แบบเข้มข้น   เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน   ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...
การให้ความรู้แบบเข้มข้น เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...
 
การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจ
 
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็กแนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
 
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย Ischemiaxxx
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย  Ischemiaxxxการดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย  Ischemiaxxx
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย Ischemiaxxx
 
Skill manual removal of placenta
Skill manual removal of placentaSkill manual removal of placenta
Skill manual removal of placenta
 
PALS 2010
PALS 2010PALS 2010
PALS 2010
 
Emergency care to head injured patient
Emergency care to head injured patientEmergency care to head injured patient
Emergency care to head injured patient
 
Extern conference : Fracture mid shaft humerus
Extern conference : Fracture mid shaft humerusExtern conference : Fracture mid shaft humerus
Extern conference : Fracture mid shaft humerus
 

More from Mai Parachy

22.2.2018 acute limb ischemia vs critical limb ischemia
22.2.2018 acute limb ischemia vs critical limb ischemia22.2.2018 acute limb ischemia vs critical limb ischemia
22.2.2018 acute limb ischemia vs critical limb ischemia
Mai Parachy
 

More from Mai Parachy (20)

Intimal hyperplasia
Intimal hyperplasiaIntimal hyperplasia
Intimal hyperplasia
 
Aaa
AaaAaa
Aaa
 
AAA
AAAAAA
AAA
 
15 dec 2019 graft infection
15 dec 2019 graft infection15 dec 2019 graft infection
15 dec 2019 graft infection
 
Aiod
AiodAiod
Aiod
 
AAS 3 dec 2018
AAS 3 dec 2018AAS 3 dec 2018
AAS 3 dec 2018
 
Sci
SciSci
Sci
 
Topic radiation safety
Topic radiation safetyTopic radiation safety
Topic radiation safety
 
Evar in ruptured aaa + fast track 9.7.61
Evar in ruptured aaa + fast track  9.7.61Evar in ruptured aaa + fast track  9.7.61
Evar in ruptured aaa + fast track 9.7.61
 
Present 18.6 aef
Present 18.6 aefPresent 18.6 aef
Present 18.6 aef
 
Venous physiology assessment
Venous physiology assessmentVenous physiology assessment
Venous physiology assessment
 
22.2.2018 acute limb ischemia vs critical limb ischemia
22.2.2018 acute limb ischemia vs critical limb ischemia22.2.2018 acute limb ischemia vs critical limb ischemia
22.2.2018 acute limb ischemia vs critical limb ischemia
 
12.3.61 colonic ischemia in evar & open repair aaa
12.3.61 colonic ischemia in evar & open repair aaa12.3.61 colonic ischemia in evar & open repair aaa
12.3.61 colonic ischemia in evar & open repair aaa
 
Smv aneurysm
Smv aneurysm Smv aneurysm
Smv aneurysm
 
Surgical approaches to abdominal vessels
Surgical approaches to abdominal vesselsSurgical approaches to abdominal vessels
Surgical approaches to abdominal vessels
 
13 nov 2017 intra operative thrombolysis in acute limb ischemia
13 nov 2017 intra operative thrombolysis in acute limb ischemia13 nov 2017 intra operative thrombolysis in acute limb ischemia
13 nov 2017 intra operative thrombolysis in acute limb ischemia
 
Acute smv thrombosis
Acute smv thrombosisAcute smv thrombosis
Acute smv thrombosis
 
Technique of peripheral angiogram and complication
Technique of peripheral angiogram and complicationTechnique of peripheral angiogram and complication
Technique of peripheral angiogram and complication
 
Updated vascular topic cvc
Updated vascular topic cvc Updated vascular topic cvc
Updated vascular topic cvc
 
Update venous reflux
Update venous refluxUpdate venous reflux
Update venous reflux
 

Atls for nurse