SlideShare a Scribd company logo
1 of 223
Download to read offline
E-Commerce
   แนวโนมการใช Internet ในประเทศไทย
E-Commerce
   แนวโนมการใช Internet ในประเทศไทย
E-Commerce
   แนวโนมการใช Internet ในประเทศไทย (ไทย 27.4)
E-Commerce
   ลักษณะทั่วไปของธุรกิจ ผูประกอบการ

        B2C 73.3%

        B2B 25.5%

        B2G 1.2%
E-Commerce
   สถานภาพการพาณิชยอิเล็กทรอนิกสในประเทศไทย
E-Commerce
 ขนาดของธุรกิจ


      ขนาดเล็กมีคนงานไมเกิน 5 คน 68.5%

    ขนาดกลาง 6-50 คน 27.5%


    ขนาดใหญ 50 คนขึ้นไป 4% เทานั้น
E-Commerce
   มูลคา ป 2553 มูลคายอดขายรวม 608,587 ลานบาท

     B2G 272,295 ลานบาท 44.7%


     B2B 251,699 ลานบาท 41.4%


     B2C 84,593 ลานบาท 13.9%
E-Commerce
 วิธีการดําเนินธุรกิจ


     66% ไมมีการสงเสริมการตลาดและประชาสัมพันธ เพราะรูปแบบ
      ธุรกิจเปน B2B และ B2G เปนสวนใหญ

     ขณะที่เหลือมีการโฆษณาทั้งออนไลนและออฟไลน คือ 18.3%
      ออนไลนอยางเดียว 13.7% และออฟไลนอยางเดียว 2%
E-Commerce
 รูปแบบของการโฆษณาออนไลน
E-Commerce
 รูปแบบการชําระเงิน


    การชําระเงินในรูปแบบออฟไลน รอยละ 50.3 ที่นิยมที่สุดการโอน
     เงินที่ธนาคาร
    การชําระเงินทั้งออฟไลนและออนไลน รอยละ 33.5


    ชําระเงินออนไลนเพียงอยางเดียว รอยละ 16.2
E-Commerce
 รูปแบบการชําระเงิน ออนไลน


    ชําระผาน e-Banking และ ATM 77.4%


    บัตรเครดิต 48.6%


    ชําระผานทางผูใหบริการกลาง 27.1%
E-Commerce
 อุปสรรคใหญตอ e-Commerce ไทย


    กลัวเกดการฉอโกง 61.2%
           ิ
    ไมไดรับสินคาตามที่โฆษณา 58.2%
    ไมมีความเชื่อมั่นในระบบการชําระเงิน 57.7%
    ไมไดเห็นสินคากอนซื้อ 46.6%
    กลัวขโมยบัตรเครดิต 27.3%
    ตองการพูดคุยกับผูขาย 22.7%
E-Commerce

 ความหมายของการพณิชยอิเล็กทรอนิกส – กระบวนการซื้อ ขาย
  แลกเปลี่ยนสินคา บริการ และ/หรือขอมูลผานเครือขายคอมพิวเตอร โดย
  สวนใหญผานอินเทอรเน็ตและอิทราเน็ต ดังนั้นจากความหมายนี้ การ
  พาณิชยอิเล็กนิกสจะไมใชการซื้อขายเทานั้น แตหมายรวมถึงการ
  ใหบริการลูกคา ความรวมมือระหวางพันธมิตรธุรกิจ การเรียนรูผาน
  ออนไลน และธุรกรรมตางๆออนไลน
E-Commerce
   มุมมองของการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส
     มุมมองดานการสื่อสาร
E-Commerce
   มุมมองของการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส
     มุมมองดานการการพาณิชย
E-Commerce
   มุมมองของการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส
     มุมมองดานการกระบวนการธุรกิจ
E-Commerce
   มุมมองของการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส
     มุมมองดานการใหบริการ
E-Commerce
   มุมมองของการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส
     มุมมองดานการเรียนรู
E-Commerce
   มุมมองของการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส
     มุมมองดานสังคม
E-Commerce
   มุมมองของการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส
     มุมมองดานสังคม
E-Commerce
   การพาณิชยอิเล็กทรอนิกสแบบสมบูรณ – ธุรกิจที่ใชดิจิตอลในทุกๆ
    ขั้นตอนของการดําเนินธุรกิจ ไมวาจะเปนสวนของการสั่งซื้อ
    กระบวนการผลิตและวิธีจัดสง
E-Commerce
   การพาณิชยอิเล็กทรอนิกสแบบสมบูรณ – ธุรกิจที่เปนพาณิชย
    อิเล็กทรอนิกสเชนกัน แตมีการผสมผสานของทั้งสวนของดิจิตอลและที่
    ไมเปนดิจิตอล
E-Commerce
   ลักษณะพิเศษ 7 ประการของการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส
     สามารถทําการซื้อขายไดทกๆที่และตลอดเวลา อีกทั้งลดตนทุนของ
                                ุ
       การทําธุรกรรม ไมมี Search Cost

     สามารถเขาถึงไดทวโลก
                       ั่       ทําใหมีศักยภาพที่จะขยายตลาดไดอยางไม
      จํากัด ตนจะต่ากวาออฟไลนอยางมากมาย ยกตัวอยางเปนเจาของ 2
                     ํ
      ธุรกิจคือ เจงเมง และ Soda-Printing Soda-Printing มีขอบเขตในการ
      ขายมากกวา
E-Commerce
   ลักษณะพิเศษ 7 ประการของการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส

       มีความเปนมาตรฐานสากลในระดับโลก ใชมาตรฐานที่เรียกวา
        TCP/IP ในการสื่อสารกัน

     สามารถใหขอมูลที่มีความซับซอนและมีรายละเอียด
E-Commerce
   ลักษณะพิเศษ 7 ประการของการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส

       ความสามารถในการโตตอบสองทาง

        ทําใหขอมูลมีจํานวนมากและมีคุณภาพสูงขึ้น – การแจกจายขอมูลมี
        ราคาถูก สามารถปรับปรุงขอมูลไดตลอดเวลา ขอมูลขาวสารใน
        อินเทอรเน็ตมีจํานวนมากมาย แตก็มีเครื่องมือชวย เชน
        www.google.com (ในการคนหา), www.mysimon.com (ในการ
        เปรียบเทียบราคา)
E-Commerce
   ลักษณะพิเศษ 7 ประการของการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส

        สามารถสื่อสารหรือเสนอสินคาหรือบริการไดแบบรายบุคคล เชน
        กรณีของ Amazon.com ที่เมื่อเขาไปยังหนาสวนตัวจะนําเสนอ
        หนังสือที่เฉพาะเจาะจงตามความสนใจของเราโดยอาศัยขอมูลจาก
        การเขาชมและซื้อหนังสือในอดีต
E-Commerce
   เศรษฐศาสตรในโลกอินเทอรเน็ต

     ขอมูลเปนสิ่งสําคัญที่สุดที่สามารถนํามาใชในการสรางมูลคาเพิ่ม
      เชน การที่ Amazon.com เก็บรวบรวมขอมูลการซื้อสินคา หรือการ
      เลือกดูสินคา เพื่อนําเสนอสินคาที่ตรงกับความตองการของลูกคาเปน
      รายๆไป หรือกรณีของ www.google.com ซึ่งมีรายไดหลักจาก
      Google Adword ก็อาศัยขอมูลจากคําที่เราใชคน เพื่อนําเสนอโฆษณา
      ที่สอดคลองกับความตองการของผูคนนั้น
E-Commerce
   เศรษฐศาสตรในโลกอินเทอรเน็ต

        ระยะทางไมใชปญหาอีกตอไป คนจากทั่วโลกสามารถคาขายกันได
        เชน eBay.com

     ความเร็วเปนเรื่องสําคัญทางธุรกิจ การใหบริการตอบคําถามไมวา
        ทางอีเมล เฟซบุค หรือ ทวิตเตอร ลูกคาตองการคําตอบที่รวดเร็ว
        หรือสินคาประเภท Digital Good สามารถที่จะ download ไดทันที
E-Commerce
   เศรษฐศาสตรในโลกอินเทอรเน็ต

        ปรากฏการณเครือขาย (Network Effect) โทรศัพทเครื่องเดียวไมมี
        ประโยชน แตถามีโทรศัพทมากขึ้นเรื่อยๆ ประโยชนก็เพิ่มมากขึ้น
        และมากขึ้นจนคูแขงรายใหมเขามาไมได ยกตัวอยาง Window,
        Facebook
E-Commerce
   เศรษฐศาสตรในโลกอินเทอรเน็ต

        ตัวกลางใหมที่เรียกวาตัวกลางขอมูลขาวสาร เปนตัวกลางในการ
        จัดการขอมูลเกี่ยวกับผูซื้อ ผูขาย และธุรกรรมระหวางกัน เชน กรณี
        ของ Thaisecondhand.com หรือ Ensogo.com, Misslily.com เปนตน

     ลูกคายิ่งกวาพระเจา เพราะสามารถเลือกไปซื้อสินคาหรือบริการจาก
        รานอื่นไดเพียงปลายคลิก
E-Commerce
   เศรษฐศาสตรในโลกอินเทอรเน็ต

        ราคาซื้อขายสามารถเคลื่อนไหวอยางคลองตัวมากขึ้น อยางกรณี
        ของ eBay.com คือเว็บไซตประมูล ราคาก็จะมีการปรับเปลี่ยนอยู
        ตลอดเวลา

     ตนทุนในการคนหาเทากับศูนย
E-Commerce
   คําถาม



    ในโลกอินเทอรเน็ต ทําใหเกิดสภาพตลาดที่มีการแขงขันสมบูรณหรือไม
    การแขงขันในกรณีสินคาที่เหมือนกัน จะไมมีความแตกตางในเรื่องของ
    ราคาหรือไม
E-Commerce
   ประเภทของการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส

     B2C    เชน www.chulabook.com
     B2B เชน www.officedepot.co.th
     C2C เชน www.dealfish.co.th หรือกรณีขายของผาน Facebook เปน
      การขายตรงไปยังผูบริโภคเองไดเลย
     Mobile Commerce การทําธุรกรรมบนมือถือ นกแอรมีแอพพลิเคชั่น
      ที่ใชจองตั๋วเครื่องบิน ดูตารางบิน และขอมูลการจองได
E-Commerce
E-Commerce
 ผลประโยชนตอองคกร


    มีโอกาสเขาถึงลูกคาไดทั่วโลก ตัวอยาง Soda-Gram.com
    สามารถเปดรานได 24 ชั่วโมง
    ตนทุนต่ําในการเริ่มตนธุรกิจ
    สามารถนําเสนอสินคาใหลูกคาไดตามความตองการไดดียิ่งขึ้น
    สามารถสรางความสัมพันธกับลูกคาในวิธที่หลากหลาย
                                          ี
E-Commerce
 ผลประโยชนตอผูบริโภค


    ซื้อได 24 ชั่วโมง อยูที่ไหนก็ซื้อได
    ไมมีตนทุนในการคนหา
    ไดสินคาตรงกับความตองการของเรา
    สังคมของลูกคาดวยกันในการวิจารณ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
     สามารถทําได
E-Commerce
 รูปแบบของการแสวงหารายได
    รายไดจากการโฆษณา
E-Commerce
 รูปแบบของการแสวงหารายได
    รายไดจากการโฆษณา
E-Commerce
 รูปแบบของการแสวงหารายได
    รายไดจากคาสมาชิก
E-Commerce
 รูปแบบของการแสวงหารายได
    รายไดจากคาสมาชิก
E-Commerce
 รูปแบบของการแสวงหารายได
    รายไดจากธรรมเนียมจากการทําธุรกรรม
E-Commerce
 รูปแบบของการแสวงหารายได
    รายไดจากธรรมเนียมจากการทําธุรกรรม
E-Commerce
 รูปแบบของการแสวงหารายได
    รายไดจากธรรมเนียมจากการขายสินคาและบริการ
E-Commerce
 รูปแบบของการแสวงหารายได
    รายไดจากธรรมเนียมจากการ Affiliate Program
E-Commerce
 รูปแบบของธุรกิจ B2C
    เว็บทา เปนเว็บที่มีเนื้อหาและบริการที่หลากหลาย เชน ขาว อีเมล
     ชอปปง ฟงเพลง คลิปวิดีโอ และอื่นๆอีกมาก
E-Commerce
 รูปแบบของธุรกิจ B2C
    เว็บทา เปนเว็บที่มีเนื้อหาและบริการที่หลากหลาย เชน ขาว อีเมล
     ชอปปง ฟงเพลง คลิปวิดีโอ และอื่นๆอีกมาก
E-Commerce
 รูปแบบของธุรกิจ B2C
    เว็บคาปลีก
E-Commerce
 รูปแบบของธุรกิจ B2C
    เว็บเนนเนื้อหา
E-Commerce
 รูปแบบของธุรกิจ B2C
    เว็บเนนนายหนา
E-Commerce
 รูปแบบของธุรกิจ B2C
    เว็บตลาดออนไลน



     คําถามวาเมื่อใครๆก็ตั้งเว็บไซตขายของกันได จําเปนที่
     จะตองมีตลาดไหม
E-Commerce
 รูปแบบของธุรกิจ B2C
    เว็บตลาดออนไลน
E-Commerce
 รูปแบบของธุรกิจ B2C
    เว็บตลาดออนไลน – ปจจัยแหงความสําเร็จอยูที่
       มีผูซื้อและผูขายมากเพียงพอ

       ทําใหตนทุนของผูซื้อและผูขายลดลง เชน กรณีของ Ensogo

       ทําใหสามารถทราบขอมูลและเลือกผูขายสินคาหรือบริการได
        งายขึ้น
       มีความสะดวกในการทําธุรกรรม เชน Tarad.com มีเว็บไซต
        สําเร็จรูป ระบบตะกราสินคาและระบบการชําระเงิน
E-Commerce
 รูปแบบของธุรกิจ B2C
      เว็บใหบริการ (Service Provider) – มีรายไดจากการใหบริการ
E-Commerce
 รูปแบบของธุรกิจ B2C
      เว็บชุมชนคนออนไลน
E-Commerce
 รูปแบบของธุรกิจ B2B
E-Commerce
 รูปแบบของธุรกิจ B2B – Auction หรือ e-Catalog


       กรณีของ Auction เชน www.carsonweb.com เปนเว็บไซต
        ประมูลรถที่ขายรถยนตมือสองใหแกผูแทนจําหนายรถยนตที่ได
        ลงทะเบียน
       กรณี e-Catalog เชน www.bigboxx.com ขายเครื่องใชสํานักงาน
        ออนไลน
E-Commerce
 รูปแบบของธุรกิจ B2B   – Exchange
E-Commerce
 รูปแบบของธุรกิจ B2C    - Collaborative

  เปนการรวมกันในการวางแผน การออกแบบ การพัฒนา การจัดการ การ
  วิจัย และอื่นๆ โดยผานเครือขายเฉพาะกลุม เชน webcor ใชเครือขายใน
  การสื่อสารกับเจาของงาน สถาปนิก นักออกแบบ
E-Commerce
 รูปแบบของธุรกิจ B2B – Reverse Auction ใชกับการจัดซื้อของ
  หนวยงานภาครัฐหรือกเอกชนที่ใชวิธการประมูล
                                   ี
E-Commerce
 กระบวนการซื้อสินคาออนไลน   สมมติวาจะซื้อ iPhone สักเครื่อง
    คนหาคําวิจารณ
E-Commerce
 กระบวนการซื้อสินคาออนไลน   สมมติวาจะซื้อ iPhone สักเครื่อง
    ทําการเปรียบเทียบราคา
E-Commerce
 กระบวนการซื้อสินคาออนไลน   สมมติวาจะซื้อ iPhone สักเครื่อง
    ทําการเปรียบเทียบราคา
E-Commerce
 กระบวนการซื้อสินคาออนไลน   สมมติวาจะซื้อ iPhone สักเครื่อง
    ใสสินคาลงในตะกรา
E-Commerce
 กระบวนการซื้อสินคาออนไลน   สมมติวาจะซื้อ iPhone สักเครื่อง
    ใสสินคาลงในตะกรา
E-Commerce
 กระบวนการซื้อสินคาออนไลน    สมมติวาจะซื้อ iPhone สักเครื่อง
    รายละเอียดทีอยูในการจัดสงสินคา
                 ่
E-Commerce
 กระบวนการซื้อสินคาออนไลน      สมมติวาจะซื้อ iPhone สักเครื่อง
    ใบนําฝากชําระเงินคาสินคา
E-Commerce
 องคประกอบของรานคาออนไลน


    หนารานอิเล็กทรอนิกส – แคตตาล็อกอิเล็กทรอนิกส เครื่องมือคนหา
     ตะกราสินคาอิเล็กทรอนิกส ระบบการชําระเงิน รวมถึงการใหบริการ
     หลังการขายตางๆ

    ศูนยรวมของรานคาอิเล็กทรอนิกส เชน กรณีนี้คือ
     www.shopping.co.th ถือเปนศูนยรวมของรานคาตางๆ
E-Commerce
 ประเภทของรานคาออนไลน มี 2 ประเภท คือ


    รานคาทั่วไป – เปนรานที่ขายสินคาที่หลากหลาย เชน
     www.tohome.com หรือ www.trendyday.com

    รานคาเฉพาะอยาง เปนรานคาที่ขายสินคาหรือบริการเพียงประเภท
     เดียว เชน www.misslily.com หรือ www.beautyintrend.com
E-Commerce
 องคประกอบของรานคาออนไลน
    แคตตาล็อกอิเล็กทรอนิกส ลองเปรียบเทียบระบบของ Se-Ed.com
     และ Amazon.com
    แคตตาล็อกมี 3 มุมมอง
      รูปแบบการนําเสนอขอมูล – เปนตัวอักษรและภาพนิ่งๆ แต
        อาจจะมีวิดีโอ
      ระดับการนําเสนอเปนรายบุคคล

      การบูรณาการกับกระบวนการทางธุรกิจ เชื่อโยงไปกับการสั่งซื้อ
        การชําระเงิน การจัดการสินคาคงเหลือ บัญชี ฯลฯ
E-Commerce
 องคประกอบของรานคาออนไลน
      เครื่องมือคนหา – เนื่องจากรานคามีสินคาเปนจํานวนมาก จึง
       จําเปนตองมีเครื่องมือคนหาเพื่อชวยใหเราสามารถเขาถึงสินคาหรือ
       บริการไดอยางรวดเร็ว

    ระบบตะกราสินคา
E-Commerce
 องคประกอบของรานคาออนไลน
      เว็บไซตเปรียบเทียบราคา – จะเรียกวา Shopbot (Shopping Robot)
       ที่ทําหนาที่สํารวจราคาสินคาที่ต่ําที่สุด แบงออกเปน 2 ประเภท คือ
        เว็บไซตเปรียบเทียบราคาทั่วไป – www.bizrate.com,
            www.mysimon.com
        เว็บไซตเปรียบเทียบราคาเฉพาะผลิตภัณฑ – www.addall.com
            (หนังสือ) www.carpoint.com (รถยนต)
E-Commerce
E-Commerce
E-Commerce
E-Commerce
 เว็บไซตวิจารณและใหคะแนนสินคา
E-Commerce
 เว็บไซตวิจารณและใหคะแนนสินคา
E-Commerce
 เว็บไซตวิจารณและใหคะแนนสินคา
E-Commerce
 เว็บไซตรับรองความนาเชื่อถือ - การเลือกซื้อสินคาจากรานคาออนไลน
  ผูซื้อจะมีความกังวลในเรื่องความนาเชื่อถือ ดังนั้นจึงมีองคกรกลางที่มา
  ทําหนาที่รับรอง อยางกรณีตางประเทศจะมีองคกรกลางเหลานี้มากมาย
  ไมวาจะเปน TRUSTe, Verisign, BBBOnline, WebTrust เปนตน

 สําหรับประเทศไทย ทางกรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชยไดมี
  บริการใหการรับรองความนาเชื่อถือของเว็บไซตในรูปแบบของ
  เครื่องหมายรับรองความนาเชื่อถือในการประกอบธุรกิจการพณิชย
  อิเล็กทรอนิกส เรียกวา “DBD Verified”
E-Commerce
        การทําการตลาด




79
E-Commerce
        E-Mail : เปาหมาย

     •โรงแรมสงโปรโมชั่นสวนลดพิเศษสําหรับหนารอน
     •บริษัทสงแจงการจัดงานสัมมนาฟรีใหแกบรรดาซัพพลายเออรให
     รับทราบ
     •ฟตเนสเซ็นเตอรสงอีเมลเชิญชวนใหสมาชิกสามารถเชิญเพื่อนมาเลน
     ไดหนึ่งครั้งเพียงพิมพจดหมายเชิญผานอีเมล
     •สํานักพิมพอัพเดทขอมูลหนังสือใหมๆแกบรรดาสมาชิก

80
E-commerce
        E-Mail : การสราง e-mail list จากบริการของ MailChimp




81
E-commerce
        E-Mail : การสราง e-mail list จากบริการของ MailChimp




82
E-commerce
        E-Mail : การสราง e-mail list จากบริการของ MailChimp




83
E-commerce
        E-Mail : การสราง e-mail list จากบริการของ MailChimp




84
E-commerce
        E-Mail : การสราง e-mail list จากบริการของ MailChimp




85
E-commerce
        E-Mail : การสราง e-mail list จากบริการของ MailChimp




86
E-commerce
        E-Mail : รูปแบบของขอมูลผานทางอีเมลของธุรกิจ

           รูปแบบจดหมายขาว (Newsletter) – เปนจดหมายที่ธุรกิจสงให
            สมาชิกเพื่อรับทราบขาวคราวความเคลื่อนไหวทั่วๆไปขององคกร
            อาจจะมีหัวขอ เชน ขาวสินคาใหม โปรโมชั่นเดือนนี้ ความรูที่เปน
            ประโยชน หรือคุยกับสมาชิก เปนตน
           รูปแบบโปรโมชั่น (Promotion) – เปนอีเมลที่เนนการที่ลูกคาจะตอง
            มีการตอบกลับมาอยางใดอยางหนึ่งเปนการเฉพาะ เชน การใหสวนลด
            ซึ่งลูกคาสามารถพิมพอีเมลที่ไดรับออกมาแลวนําไปใชไดที่รานหรือ
            การใหในรูปของรหัสสวนลดที่ลูกคาสามารถนําไปใชในการซื้อออนไลน
87          ไดทันที
E-commerce
        E-Mail : รูปแบบของขอมูลผานทางอีเมลของธุรกิจ

            รูปแบบการแจงขาวการจัดงาน (Event) – เปนการสงอีเมลเพื่อเชิญ
            เขารวมงานที่จัดขึ้นเปนพิเศษ ทั้งนี้ผูที่ไดรับจะตองทําการตอบรับหรือ
            ปฏิเสธการเขารวม
           รูปแบบการประกาศ (Announcement) – เปนการสงอีเมลเพื่อการ
            ประชาสัมพันธหรือแจงใหสมาชิกไดรับทราบถึงกิจกรรมตางๆที่ธุรกิจ
            จัดขึ้น เชน การทํากิจกรรมชวยเหลือสังคม บริจาค หรือขาวสินคาใหม
            รูปแบบนี้เนื้อหาอาจจะคลายจดหมายขาว แตสิ่งที่แตกตางคือ
            จดหมายขาวจะมีวันสงที่กําหนดแนนอน เชน หนึ่งครั้งตอเดือน แตการ
88
            ประกาศอาจจะทําไดในชวงที่เรื่องนั้นกําลังเปนที่สนใจ
E-commerce
        E-Mail : การวัดผล

           อัตราการตีกลับ (Bounce Rate) – สัดสวนจํานวนอีเมลที่ถูกตี
            กลับเพราะไมสามารถสงถึงไดตอจํานวนอีเมลที่สงทั้งหมด
           อัตราการเปดอีเมล (Open Rate) – สัดสวนจํานวนของอีเมล
            ที่ผูรับเปดอานตอจํานวนอีเมลที่ไมไดถูกตีกลับทั้งหมด
           อัตราการคลิก (Click-Through Rate) – สัดสวนของจํานวน
            คนที่คลิกลิงคในอีเมลทถูกสงไปตอจํานวนอีเมลที่ถูกเปด
                                     ี่
89
E-commerce
        Banner




90
E-commerce
        Banner : ตัวอยางเว็บไซตที่รับลงโฆษณาแบนเนอร




91
E-commerce
        Banner : ทําอยางไรใหมีคนคลิกแบนเนอรใหมากขึ้น

           ควรลงโฆษณาในเว็บไซตทมีเนื้อหาเฉพาะ
                                   ี่
           ขนาดแบนเนอรทีใหญจะมี CTR และ Conversion Rate สูง
           ตองมีความถี่ในการโฆษณาที่เหมาะสม เพราะหลายคนไม
            คลิกแบนเนอรขณะที่เจอครั้งแรก อาจจะคลิกเมื่อเจอครั้งที่หา



92
E-commerce
        Banner : วิธีการคิดคาโฆษณา

           CPM (Cost Per Mile) การคิดราคาคาโฆษณาตอการแสดงผล โดย
            นิยมคิดคาใชจายตอเมื่อมีการชมอยางนอย 1,000 ครั้งขึ้นไป ทั้งนี้จาก
            รูป 3.11 คือตัวอยางราคาโฆษณาแบบ CPM ของ www.sanook.com
           CPC (Cost Per Click) การคิดราคาคาโฆษณาตอจํานวนครั้งที่คลิก
            ปายโฆษณา
           Fixed Fee เปนวิธีการคิดคาโฆษณาที่เว็บไซตไทยนิยมมากที่สุด คือ
            การคิดคาโฆษณากําหนดแนนอนและสวนใหญเปนรายเดือน เชน
            1,000 บาทตอเดือน ดังนั้นไมวาแบนเนอรจะถูกเห็นมากครั้งเทาไรหรือ
93
            ถูกคลิกมากเทาไร ราคาก็แนนอนอยูที่ 1,000 บาทตอเดือน
E-commerce
        Banner : วิธีการคิดคาโฆษณา




94
E-commerce
        เว็บบอรด – เว็บบอรดทั่วไป




95
E-commerce
        เว็บบอรด – เว็บบอรดเฉพาะ




96
E-commerce
        Site Sponsoring




97
E-commerce
        ประกาศโฆษณา




98
E-commerce
        การสงเสริมการขายออนไลน




99
E-commerce
         การสงเสริมการขายออนไลน




100
E-commerce
         เกมโฆษณา




101
E-commerce
         การโฆษณาผานเครื่องมือคนหา




102
E-commerce
         Search Engine Optimization
            การปรับในสวนของ HTML (www.beautyslimshop.com)




103
E-commerce
         Search Engine Optimization
            การปรับในสวนของ HTML (www.beautyslimshop.com)




104
E-commerce
         Search Engine Optimization

               การใสคําหลักในสวนของเนื้อหา – เนื้อหาในแตละหนาเพจ
               นั้นโดยปกติจะมีหัวขอหลัก หัวขอยอย (ซึ่งสามารถกําหนด
               หัวขอได 6 ระดับ) ตัวหนา ตัวเอียง หรือการขีดเสนใต ซึ่ง
               หากเราเนนคําหลักดวยรูปแบบที่กลาวมา ลวนแตมีประโยชน
               ตอการทํา SEO ทั้งสิ้น


105
E-commerce
         Search Engine Optimization
            การสราง Link จากเว็บไซตอื่นๆ
                เว็บบอรด ควรสํารวจดูวามีเว็บบอรดใดที่พูดคุยในเรื่องที่ตรงกับ
                 เนื้อหาหลักในเว็บไซตของเรา จากนั้นใหเรานําบทความที่เขียน
                 อันเปนประโยชนตอชุมชนในเว็บบอรดไปโพสตและทําลิงคกลับมา
                 ที่หนาเพจของเนื้อหานั้นดวย
                การลงทะเบียนในสารบัญเว็บ (Web Directory) ตางๆทั้งของไทย
                 และตางประเทศ ของตางประเทศเชน www.dmoz.org,
                 www.directory-index.net, dir.yahoo.com เปนตน สวนของไทย
                 ที่นิยมมากๆ เชน dir.sanook.com, webindex.kapook.com เปน
106
                 ตน
E-commerce
         Search Engine Optimization
            การสราง Link จากเว็บไซตอื่นๆ
                  การใชโซเชียลมีเดีย เชน เฟซบุค หรือ ทวิตเตอร เปนเสมือน
                           
                   ตัวเชื่อมระหวางแฟนๆของเว็บไซตกับเนื้อหาบนเว็บไซตหรือ
                   บล็อก




107
E-commerce
         Google Adwords – บรรทัดแรกพาดหัว 25 ตัวอักษร บรรทัดที่
          สองคําอธิบาย 35 ตัวอักษร บรรทัดที่สามเปนคําอธิบาย 35
          ตัวอักษร บรรทัดเปน URL หรือหนาเพจปลายทาง




108
E-commerce
         Google Adwords




109
E-commerce
         Google Adwords – การจายคาโฆษณา

            การกําหนดราคาอัตโนมัติ กรณีนี้ผูลงโฆษณาไมจําเปนตองกําหนด
             ราคาเฉพาะเจาะจงสําหรับคําหลัก แตกําหนดเปนงบประมาณรายวัน
             จากนั้นทาง Adwords จะปรับคา CPC สูงสุดโดยอัตโนมัติเพื่อใหได
             จํานวนคลิกที่มากที่สุดโดยไมเกินงบประมาณที่กําหนด ทั้งนี้สามารถ
             กําหนดขีดจํากัดของ CPC ที่เสนอได
            การกําหนดราคา CPC ดวยตนเอง เราสามารถกําหนดราคาที่แตกตาง
             กันของแตละคําหลักได

110
E-commerce
         Google Adwords – การจายคาโฆษณา




111
E-commerce
         การวัดประสิทธิภาพโฆษณาออนไลน




112
Social Media
         ยุค Social Media เปนยุคที่ตองรับฟงเสียงผูบริโภคมากขึ้น




113
Social Media
         การตลาด 3.0 แบงการตลาดออกเปน 3 ยุค คือ

              ยุค 1.0 ใหความสําคัญกับสินคาเปนหลัก เนนการตลาดแบบ
               มวลชน โดยเนนการขายราคาถูกๆ เพื่อใหลูกคาซื้อจํานวน
               มากๆ สิ่งสําคัญยิ่งคือ การลดตนทุน

              ยุค 2.0 ใหความสําคัญกับผูบริโภค หาความตองการและผลิต
               สินคาหรือบริการเพื่อตอบสนองความตองการเหลานั้น
114
               รูปแบบการสื่อสารเปน one-way communication
Social Media
         การตลาด 3.0 แบงการตลาดออกเปน 3 ยุค คือ

               ยุค 3.0 เปนยุคที่ใหความสําคัญกับปจเจกชน มองวาแตละ
               คนมีความคิด มีจิตวิญญาณ พวกเขาไมไดคอยรับสาร
               การตลาดเพียงฝายเดียว แตสามารถสื่อสารโตตอบกับกิจการ
               หรือผูบริโภคดวยกันได นอกจากนี้ผูบริโภคเองสามารถ
               เนื้อหาขึ้นมาเอง และสื่อสารผาน social media เรียกวายุค
               User Generated Content

115
Social Media
         เปรียบเทียบความนาเชื่อถือของ Social Media กับสื่อเดิม




116
Social Media
         ความหมายของ Social Media – Turban et al (2012: 301) ได
          ใหคํานิยามวา “รูปแบบสื่อออนไลนและเครื่องมือที่ถูกใชสําหรับ
          การปฏิสัมพันธเชิงสังคมและการพูดคุย โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ
          แลกเปลี้ยนความคิดเห็น ประสบการณ และความเขาใจซึ่งกันและ
          กัน โซชียลมีเดียสามารถอยูในหลายๆ รูปแบบไมวาจะเปน
          ขอความ รูปภาพ เสียงหรือวิดีโอ หัวใจสําคัญอยูที่ผูใชธรรมดา
          ทั่วๆ ไปผลิต ควบคุม ใช และจัดการเนื้อหานั่นเอง”


117
Social Media
         ความหมายของ Social Media

              เปนสื่อที่เนนปฏิสัมพันธและพูดคุย แตเดิม Brand พูดขาง
               เดียว แต social media เปน two-way communication ซึ่ง
               อาจจะเปนทางบวกหรือทางลบก็ได ทําใหลูกคา เขาไปมี
               สวนรวม (Engagement) กับกิจการ



118
Social Media
         ความหมายของ Social Media




119
Social Media
         ความหมายของ Social Media
            เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ประสบการณ และความเขาใจ
             ซึ่งกันและกัน ทําใหคนคิดเหมือนกันรวมกลุมแลกเปลียน
                                                              ่
             พูดคุย




120
Social Media
         ความหมายของ Social Media
            ผูใชคือคนธรรมดาทั่วๆไป ผลิต ควบคุม ใช และจัดการ
             เนื้อหา เชน นายกาฝาก เจาหนาที่ไอทีของโรงเรียนนานาชาติ
             แหงใหม ไดเขียนบทความรีวิวโทรศัพทมือถือรวมไปถึง
             อุปกรณอื่นๆ จํานวนมากมายผานบล็อกของเขา คือ
             www.kafaak.com ไมจําเปนตองงอสื่อหลักก็ดังได



121
Social Media
         ความหมายของ Social Media




122
Social Media
         ความหมายของ Social Media

              ความสามารถในการแบงปนไดทันที ทําใหงายตอการบอกตอ
               และทําใหเกิด viral marketing คือ การตลาดที่แพรกระจายไป
                       
               อยางรวดเร็วเปนไฟลามทุง เชน facebook, instagram,
               youtube มีปุม share ขณะที่ทวิตเตอรมี Retweet (RT)



123
Social Media
         ความหมายของ Social Media




124
Social Media
         ประเภทของ social media
            Blog




125
Social Media
         ประเภทของ social media
            Twitter




126
Social Media
         ประเภทของ social media
            Social Network




127
Social Media
         ประเภทของ social media
            Media Sharing




128
Social Media
         ประเภทของ social media
            Media Sharing




129
Social Media
         ประเภทของ social media
            Media Sharing




130
Social Media
         ประเภทของ social media
            Social Bookmarking




131
Social Media
         ประเภทของ social media
            Online Forum




132
Social Media
         เปาหมายการใช Social Media เพื่อการตลาด
            เพื่อใชเปนหนาราน




133
Social Media
         เปาหมายการใช Social Media เพื่อการตลาด
            เพื่อใชเปนหนาราน




134
Social Media
         เปาหมายการใช Social Media เพื่อการตลาด
            เพื่อใชเปนหนาราน




135
Social Media
         เปาหมายการใช Social Media เพื่อการตลาด
            ทําใหเกิดการรับรูถึงแบรนด




136
Social Media
         เปาหมายการใช Social Media เพื่อการตลาด
            ทําใหเกิดการรับรูถึงแบรนด




137
Social Media
         เปาหมายการใช Social Media เพื่อการตลาด
            ทําใหเกิดการรับรูถึงแบรนด




138
Social Media
         เปาหมายการใช Social Media เพื่อการตลาด
            ทําใหเกิดการรับรูถึงแบรนด




139
Social Media
         เปาหมายการใช Social Media เพื่อการตลาด
            ทําใหเกิดการรับรูถึงแบรนด




140
Social Media
         เปาหมายการใช Social Media เพื่อการตลาด
            การเปนเครื่องมือในการรับฟงความคิดเห็นของลูกคา




141
Social Media
         เปาหมายการใช Social Media เพื่อการตลาด
            การเปนเครื่องมือในการรับฟงความคิดเห็นของลูกคา




142
Social Media
         เปาหมายการใช Social Media เพื่อการตลาด
            การเปนเครื่องมือในการรับฟงความคิดเห็นของลูกคา




143
Social Media
         เปาหมายการใช Social Media เพื่อการตลาด
            การเปนเครื่องมือในการรับฟงความคิดเห็นของลูกคา




144
Social Media
         เปาหมายการใช Social Media เพื่อการตลาด
            เพื่อสรางการมีสวนรวมของลูกคา (Engagement) มี
              ความสําคัญ 3 ประการ คือ
                เปนขั้นแรกของการสรางความสัมพันธ
                ชวยในการโปรโมทและปองกันแบรนด
                นํามาซึ่งการพัฒนาคุณภาพของสินคาหรือบริการใหดี
                  ยิ่งขึ้น

145
Social Media
         เปาหมายการใช Social Media เพื่อการตลาด
            ระดับของการมีสวนรวมสามารถแบงออกไดเปน 5 ระดับ


               ระดับรอคอย – อาจจะมีการเขารวมกับแบรนด A ซึ่งขายเสื้อผา
                ออนไลน เพื่อหวังรางวัล พอหมดรางวัล ก็รอคอยตอไป
               ระดับเขารวมตามแตโอกาส อาจจะเขารวมเฉพาะกิจกรรมที่
                ตนเองสนใจ เปนครั้งเปนคราว
               ระดับเอาจริงเอาจัง เมื่อมีปฏิสัมพันธกับแบรนดแลวเกิดประโยชน
                เชน โพสตถามขอมูลแลวไดรับคําตอบ หรือมีบทความที่นาสนใจ
146             ใหไดอานสม่ําเสมอ
Social Media
         เปาหมายการใช Social Media เพื่อการตลาด
            ระดับของการมีสวนรวมสามารถแบงออกไดเปน 5 ระดับ


               ระดับผูกพัน มีการซื้อเสื้อผาจากทางราน เพราะเห็นวาลุกคาราย
                อื่นๆ ใสแลวสวย และไดรับสินคาอยางรวดเร็ว หรือมีการ
                แกปญหาอยางจริงใจ จึงเกิดความพึงพอใจ
               ระดับลูกคาประจํา มีการซื้อเสื้อผาอยางสม่ําเสมอ และแนะนํา
                เพื่อนๆ สนใจความเคลื่อนไหวของแบรนด A อยูตลอดเวลา

147
Social Media
          ความหมายของแบรนด – ไมใชเพีงแคชอตราสินคาเทานั้น แต
                                                      ื่
          หมายความรวมถึง ความหวังที่ลูกคามีเมื่อไดบริโภคหรือคิด
          บริโภคสินคาหรือบริการ โดยความคาดหวังเกิดจากประสบการณ
          ที่มีตอกิจการหรือสินคาหรือบริการนั้น ดังนั้นแบรนดจึงหมายรวม
          ไปถึงสิ่งที่จับตองไดและสิ่งที่จับตองไมได แตมันมีมูลคาพอที่จะทํา
          ใหลูกคาตัดสินใจบริโภค สินคาหรือบริการที่มีแบรนดนั้นสามารถ
          ตั้งราคาสูงไดกวารคาทั่วๆไปที่ผูบริโภคเองยอมรับได เนื่องจาก
          มูลคาที่แบรนดนั้นมีอยู

148
Social Media
         4 ขั้นตอนในการสรางแบรนดดวยโซเชียลมีเดีย
            การรับรูถึงแบรนด – ชวงเริ่มตน สิ่งหนึ่งที่ตองทํากอนก็คือ
             การทําใหแบรนดเปนที่รูจักในกลุมเปาหมาย รวมไปถึงการ
             เปดตัวสินคาหรือบริการใหม




149
Social Media
         4 ขั้นตอนในการสรางแบรนดดวยโซเชียลมีเดีย
            การรับรูถึงแบรนด




150
Social Media
         4 ขั้นตอนในการสรางแบรนดดวยโซเชียลมีเดีย
            การรับรูถึงแบรนด




151
Social Media
         4 ขั้นตอนในการสรางแบรนดดวยโซเชียลมีเดีย - Facebook Ads




152
Social Media
         4 ขั้นตอนในการสรางแบรนดดวยโซเชียลมีเดีย - Facebook Ads




153
Social Media
         4 ขั้นตอนในการสรางแบรนดดวยโซเชียลมีเดีย - Facebook Ads




154
Social Media
         4 ขั้นตอนในการสรางแบรนดดวยโซเชียลมีเดีย - Facebook Ads




155
Social Media
         4 ขั้นตอนในการสรางแบรนดดวยโซเชียลมีเดีย - Facebook Ads




156
Social Media
         4 ขั้นตอนในการสรางแบรนดดวยโซเชียลมีเดีย - Facebook Ads




157
Social Media
         4 ขั้นตอนในการสรางแบรนดดวยโซเชียลมีเดีย – Foursquare




158
Social Media
         4 ขั้นตอนในการสรางแบรนดดวยโซเชียลมีเดีย
            การสํานึกถึงคุณภาพ




159
Social Media
         4 ขั้นตอนในการสรางแบรนดดวยโซเชียลมีเดีย
            การสํานึกถึงคุณภาพ




160
Social Media
         4 ขั้นตอนในการสรางแบรนดดวยโซเชียลมีเดีย
            การสํานึกถึงคุณภาพ




161
Social Media
         4 ขั้นตอนในการสรางแบรนด – Brand Association


            คือสิ่งที่กจการตองการใหแบรนดเปนอยางไรในจิตใจ
                        ิ
             ของผูบริโภค ซึ่งจะมาจากการกําหนดตัวตน หรือ
             Brand Identity ซึ่งอาจจะกําหนดจาก
            คุณคาดานประโยชนใชสอย และ/หรือ
            คุณคาดานความรูสึกก็ได

162
Social Media

 VolVo คุณสมบัติคือความปลอดภัย แตในดานอารมณความรูสึก
  คือ ผูคุมครองปกปองเราและคนที่เรารัก

 นมตราหมี คุณสมบัติคือ      ดื่มแลวสุขภาพดี แข็งแรง ดานอารมณ
  ความรูสึกคือ “เพื่อคนที่คุณรัก”

 ซุปไกสกัด “แบรนด” เนนเรื่องความฉลาด ขณะที่ ซุปไกสกัด
  “สก็อต” เนนถึงความเปนหนุมสาวมีเสนห
                                                                   163
Social Media
         4 ขั้นตอนในการสรางแบรนด – Brand Association




164
Social Media




165
Social Media
         4 ขั้นตอนในการสรางแบรนด – Brand Association




166
Social Media




167
Social Media




168
Social Media




169
Social Media




170
Social Media




171
Social Media




172
Social Media
         4 ขั้นตอนในการสรางแบรนด – Brand Loyalty

         ความหมายของ CRM สามารถแจกแจงเปนขอๆ ไดดังนี้
            เปนกิจกรรมสรางความสัมพันธกับลูกคาอยางเปนกันเอง
             (Personalized)
            ไมไดเนนการเพิ่มยอดขายในทันที แตเนนผลลัพธในรูปของ
             ยอดขายที่จะเกิดขึ้นในระยะยาว จากการที่ลูกคารูสึก
             ประทับใจ เปน Long Term Relationship
            เปนกิจกรรมในการสื่อสารสองทาง
173
Social Media

         Relationship – ความสัมพันธระหวางกิจการกับลูกคานั้น ไมใช
          เรื่องที่จะสรางไดโดยงาย ความสัมพันธสามารถแบงออกไดเปน 5
          ระยะ คือ
             รูจักกัน
             สํารวจ
             ขยายความสัมพันธ
             ใหคํามั่นสัญญา
             หยาราง

174
Social Media
         Relationship – เรานํากรณีศึกษาของรานกวยเตี๋ยว เจกเมง กับ
          การใช CRM เพื่อสรางความสัมพันธ 5 ขันตอน คือ
                                                 ้
            รูจักกัน หลายๆ คนที่เขามากินเจกเมง อาจจะรูจักจากเพื่อนๆ
             ที่บอกกันผาน Facebook หรือ Twitter หรืออาจจะผาน
             ทางเขามา

              สํารวจ เมื่อลูกคาใชบริการที่รานแลว จะมีแบบสอบถามให
               ลูกคากรอก สอบถามชื่อ ที่อยู สถานที่ทํางาน อีเมล วันเกิด
               เบอรโทรศัพท ชื่อที่ใชใน Facebook และ Twitter
175
Social Media
         Relationship – เรานํากรณีศึกษาของรานกวยเตี๋ยว เจกเมง กับ
          การใช CRM เพื่อสรางความสัมพันธ 5 ขันตอน คือ
                                                ้
            ขยายความสัมพันธ – มีการสง SMS ขอบคุณลูกคา และมี
             ลิงคของ Facebook และ Twitter ซึ่งลูกคาสามารถเขามา
                  
             พูดคุย หรือแชรรูปภาพที่ถายในรานลงบน Wall ทําใหเกิด
             ความใกลชิดระหวางกิจการกับลูกคา

              ใหคํามั่นสัญญา – เมื่อมีความสัมพันธที่แนบแนน ยามใดที่
               ลูกคาผานมาทางเพชรบุรี ก็จะแวะเวียนมาทาน
176
Social Media

         Relationship – กรณี CRM ของแสนสิริ ที่เนนการทํา CRM กับ
          บรรดาลูกบาน
            รูจักกัน คือ ลูกคาที่ซื้อบานแลว


              สํารวจ ไดมีการใช Facebook เพื่อเก็บขอมูล ที่อยู และเบอร
               โทรศัพท เพื่อเปนฐานขอมูลในการสรางกิจกรรมเพื่อเสริม
               ความสัมพันธ

177
Social Media




178
Social Media
         Relationship – กรณี CRM ของแสนสิริ ที่เนนการทํา CRM กับ
          บรรดาลูกบาน

            ขยายความสัมพันธ - อาทิ
             -รวมมือกับทาง SCB ออกบัตรเครดิต ซึงใหสิทธิในการสะสม
                                                    ่
              คะแนน เพื่อแลกกับบริการที่เกี่ยวของกับบาน
             -รวมมือกับทาง LOVE IS ในการพาลูกบานไปฟงคอนเสิรต
              ฟรีๆ
             -ไดดูหนังในรอบปฐมทัศน
179
Social Media
         Relationship – กรณี CRM ของแสนสิริ ที่เนนการทํา CRM กับ
          บรรดาลูกบาน

              คํามั่นสัญญา – สินคาของแสนสิริมีการซื้อซ้ํา และตองการให
               ลูกคาที่ภักดี ชวยกันบอกตอถึงคุณงามความดีของแสนสิริ ทั้ง
               แบบออฟไลนและออนไลน ทั้งนี้ Sansiri ใช Facebook และ
               Twitter ในการประชาสัมพันธเกียวกับกิจกรรม CRM อยาง
                                               ่
               ตอเนื่อง ทําใหการบอกตอนั้นทําไดงายขึ้น

180
Social Media
         ตัวอยาง แผนการตลาด Social Media ของ iEducation
             เปนโรงเรียนกวดวิชา ที่ตั้งอยูสยามสแควร
             กลุมเปาหมาย
                 นักเรียนชั้น ม. 4-6 ใน กทม.
                 ชอบแสดงออก ซึ่งสวนใหญมีโทรศัพทมือถือและใช Social
                   Media
                 ไมชอบเขียน แตชอบอาน มีพฤติกรรมชอบพูดคุยกับเพือนๆ
                                                                  ่
                   อัพโหลดรูป
181
Social Media
         แผนการตลาด Social Media ของ iEducation
            Brand Awareness
               การจัดกิจกรรม “Karaoke Singing Contest” ใหนกเรียนสง
                                                            ั
                คลิปรองเพลงของตนเขามาประกวด (YouTube, Facebook)
               กิจกรรมประกวดภาพ “ความทรงจําในวัยเรียน (Facebook)
               การใหอาจารยในโรงเรียนรองเพลงแรพสูตรคณิตศาสตร
                (YouTube) เพื่อใหเกิด Viral


182
Social Media
         แผนการตลาด Social Media ของ iEducation
            Perceived Quality
               การเฉลยขอสอบติวเขามหาวิทยาลัยวันละขอ (Facebook,
                YouTube)
               การแนะนําอาจารยแบบสบายๆเปนกันเอง (Facebook,
                YouTube)
               กิจกรรมใหนักเรียนบอกเลาถึงความเปน iEducation
                (Facebook)
183
Social Media
         แผนการตลาด Social Media ของ iEducation
            Brand Association – ตองกําหนดคุณคาของแบรนดกอนคือ Play
                                                                
             + Learn = Plearn
               นําเสนอบรรยากาศของโรงเรียนดวยภาพ (Facebook,
                Instagram) คลิปวิดีโอ (Facebook, Socialcam, YouTube)
                ในโรงเรียนที่สบายๆและสนุกสนาน
               การใหความรูตางๆไมวาจะเกี่ยวของกับวิชาที่สอบหรือความรู
                ทั่วไป (Facebook)
               สอดแทรกความบันเทิง เพลง หนัง โดยเนนเกาหลี (YouTube,
184
                Facebook)
Social Media
         แผนการตลาด Social Media ของ iEducation
            Brand Loyalty
               ใชเครื่องตรวจสอบการพูดถึง iEducation เพื่อรับทราบ
                Feedback และแกไขปญหา
               จัดทํา Facebook Group ที่ใหนกเรียนที่ศกษามากกวา 3 คอร
                                                ั        ึ
                สขึ้นไปเทานั้นเปนสมาชิก ซึ่งจะมีการติวที่เขมขน กลเม็ดเคล็ด
                ลับในการเลือกคณะ
               ในวันเกิด จะมีการสง e-mail อวยพร และสง e-book ติวแบบ
                เขมขนในวิชาที่นักศึกษาคนนั้นๆออน
185
Social Media
         แผนการตลาด Social Media ของ iEducation
            สวนผสมของสื่อ
               Facebook – จัดกิจกรรมทางการตลาด เสนอเนื้อหาในการติว
                 แจงขาวสาร เปนชุมชนใหนักเรียนมาคุยกัน มีการทํา Group
               YouTube – ทําคลิปวิดีโอติว กิจกรรมการตลาด และไวรัล
               Twitter – พูดคุยแลกเปลี่ยนกับนักเรียน และรับเรื่องรองเรียน
                 ตางๆ รวมถึงนําเสนอบทความนารู
               Blog – นําเสนอเนื้อหาการติว

186
               instagram นําเสนอรูปภาพและบรรยากาศของโรงเรียน
E-CRM
         E-CRM คือการใหความสําคัญแกลูกคาเกา




187
E-CRM
         เหตุผลที่ทําใหการรักษาลูกคาเกา ทําใหกําไรเพิ่มขึ้น เนื่องจาก

            ตนทุนในการหาลูกคาใหมนั้นสูงวาตนทุนในการรักษาลูกคาเกา 5-7
             เทา
            ลูกคาใหมกวาจะไดมาตองระดมทรัพยากรตางๆ เพื่อแยงชิงพื้นที่
             ทางการตลาดกับคูแขงขันรายอื่นๆ
            ลูกคาเกาพรอมที่จะใชจายสินคาหรือบริการมากกวาลูกคาใหม
             เนื่องจากความไวใจและนิยมชมชอบ
188
E-CRM
         ความสัมพันธ แบงออกเปน 5 ระยะ

              รูจักกัน – เราตองคิดวาทําอยางไรใหลูกคาไดรูจักเรา อาจจะมาจาก
                   Banner
                   Google
                   Facebook Ad
                   เพื่อนบอกใน Social Media
                   สื่อออฟไลน
189
E-CRM
         ความสัมพันธ แบงออกเปน 5 ระยะ

              สํารวจ – ธุรกิจจะตองคํานึงวา เมื่อลูกคามาเยี่ยมชมหรือซื้อสินคา
               หรือบริการแลว จะเก็บขอมูลขอลูกคาอยางไร เชน อาจจะมีการให
               สมัครเปนสมาชิก Newsletter หรือเวลาที่สั่งซื้อ จะตองใหกรอก
               ขอมูลที่เราสามารถใชในการสงขาวสารได เชน e-mail, เบอรโทร,
               facebook account เปนตน


190
E-CRM
         ความสัมพันธ แบงออกเปน 5 ระยะ

              ขยายความสัมพันธ – เมื่อไดรับชองทางที่เราจะสื่อสารแลว ก็ทํา
               จดหมายขาวแจกความเคลื่อนไหวของกิจการ เชน การเปดตัวสินคา
               ใหม การจัดงานพิเศษ การใหสวนลดราคา หรือการแนะนําใหซื้อ
               สินคาอื่นๆ เปนตน รวมไปถึงเมื่อถึงคราวในโอกาสพิเศษ เชน วัน
               เกิดหรือปใหม ก็เสนอสวนลดหรือสินคาพิเศษให เปนตน


191
E-CRM
         ความสัมพันธ แบงออกเปน 5 ระยะ

              คํามั่นสัญญา – เมื่อลูกคาเกิดความประทับใจ ยอมทําใหเกิดการตก
               ลงใจที่จะเปนลูกคาประจํา

              หยาราง – แตหากลูกคาเกิดความไมประทับใจ ทําใหความไวใจลด
               นอยถอยลง ก็จะทําการหันไปซื้อสินคาหรือบริการจากเว็บไซตอื่น


192
E-CRM
         มูลคาตลอดชีวิตของลูกคา (Customer Life Time Value)



          คําถาม “เราจําเปนตองปฏิบัติลูกคาทุกราย
          เทาเทียมกันหรือไม?

193
E-CRM
         มูลคาตลอดชีวิตของลูกคา (Customer Life Time Value)



          เราควรใหความสําคัญกับลูกคาตามมูลคา
           ตลอดชีวิตของลูกคาแตละราย

194
E-CRM
         มูลคาตลอดชีวิตของลูกคา (Customer Life Time Value) – หมายถึง
          มูลคาปจจุบันที่เกิดจากกําไรสุทธิในอนาคตตลอดชวงอายุของลูกคาที่มี
          ความสัมพันธกับกิจการ กิจการควรสนใจใหความสําคัญกับลูกคาที่มีคา
          CLV สูง มากกวาลูกคาที่มีคา CLV ต่ํา ไมควรสนใจเฉพาะการมูลคาการ
          ซื้อตอครั้ง เชน พอลูกคาไมซื้อ ก็ดาลูกคาหรือไมสนใจ แตจริงๆแลวเขา
          อาจจะกลับมาซื้ออีกหลายๆครั้งในอนาคต ก็ได




195
E-CRM
         มูลคาตลอดชีวิตของลูกคา (Customer Life Time Value) – ตัวอยาง

            การแยกชองเช็คอิน ระหวางลูกคาที่เปนสมาชิกและไมเปน
            บัตรเครดิตที่มีการใหคะแนนตามจํานวนเงินที่ใชบัตร
            การสะสมแสตมปซึ่งไดจากการซื้อสินคา เพื่อแลกหรือเปนสวนลด
             ในคราวตอไป
            การใหสวนลดพิเศษกับสินคาที่ไดซื้อเปนประจํา


196
E-CRM
         โปรแกรมสรางความภักดี




197
E-CRM
         จุดติดตอ (Contact Point)




198
E-CRM
         จุดติดตอ (Contact Point) – iRobot ดําเนินธุรกิจดานหุนยนตเพื่อ
          อุตสาหกรรมและใชในครัวเรือน มีปญหาในเรื่องการใหบริการลูกคา
          เนื่องจากชองทางตางๆในการติดตอระหวางลูกคาและฝายเทคนิคไมมี
          การบูรณาการกัน ทําใหเมื่อมีการชองทางที่แตกตาง ก็ตองมาเริ่ม
          พูดคุยกันใหม ตอมา iRobot ไดใชระบบ CRM ของ RightNow ทําให
          ทราบวาปญหาของลูกคาอยูในขั้นใดแลว ไมจําเปนตองเริ่มคําถาม
          ใหมทุกครั้ง แมวาจะติดตอในชองทางที่แตกตางกัน ผลคือ ทําใหลด
          ปริมาณการโทรเขามาที่ Call Center ถึง 30%

199
E-CRM
         การเสนอสินคาเปนรายบุคคล (Customization)




200
E-CRM
         การเสนอสินคาเปนรายบุคคล (Customization)




201
E-CRM
         การเสนอสินคาเปนรายบุคคล (Customization) – Officemate

            My catalog – ลูกคาสามารถเขาไปสรางรายการสั่งซื้อบอยๆได
             ดวยตนเอง ทําใหประหยัดเวลาในการสั่งซื้อครั้งตอไป ไมตองมาดู
             รายการสินคาแตละรายการใหลําบาก
            My Quotation – ลูกคาสามารถทําใบเสนอราคาดวยตนเองผาน
             ระบบอินเตอรเน็ต ทําใหประหยัดเวลาในกระบวนการสั่งซื้อลง


202
E-CRM
         แนวทางในการเสนอสินคาเปนรายบุคคล

           การเสนอสินคาเปนรายบุคคลที่ทางเว็บไซตเปนคนกําหนด เชน
            www.amazon.com หรือ www.weather.com (แสดงขอมูลอากาศ
            ที่สอดคลองกับจังหวัดที่ลูกคาอยู)
           การเสนอสินคาเปนรายบุคคลทีลูกคาสามารถกําหนดเอง เชน
                                           ่
            www.stable.com ที่ลูกคาสามารถสรางรายการที่ตนเองสั่งซื้อบอย
            ได

203
E-CRM
         โปรแกรมดาน CRM

              โปรแกรมปฏิสัมพันธระหวางลูกคาและกิจการ – เปนโปรแกรม
               ดานการติดตอสื่อสารเพื่อการใหบริการลูกคาผานหลายๆชองทาง
               มีการเก็บขอมูลลูกคา จากนั้นจัดเสนทางวาจะใหบริการกลับไปยัง
               ลูกคาผานชองทางใด (แมวาลูกคาจะติดตอในหลายๆชองทางที่
               แตกตางกัน ก็ไมสับสน)


204
E-CRM
         โปรแกรมดาน CRM

              โปรแกรมปฏิสัมพันธลูกคาและโปรแกรมคอมพิวเตอร – อาจจะ
               เปนกรณีที่เว็บไซตเปดโอกาสใหลูกคาสามารถสรางหนาเว็บไซต
               สวนตัวเองได เชน My Yahoo! หรือการนําเสนอขอมูลรายบุคคล
               เชน www.amazon.com หรืออาจจะเปนกรณีเว็บไซตบริการ
               ตัวเอง เชน การตรวจสอบสถานะจดหมาย


205
E-CRM
         โปรแกรมดาน CRM

               โปรแกรมการวิเคราะห CRM – เปนโปรแกรมที่เก็บรวบรวม
               ขอมูลลูกคา จากนั้นนําไปวิเคราะหพฤติกรรมและความชื่นชอบ
               ของผูบริโภค เพื่อ CRM, การโฆษณา การตลาด และการบริหาร
               หวงอุปทาน



206
E-CRM
         โปรแกรมดาน CRM

               โปรแกรมเครือขายออนไลน – คือการใช Social Media เพื่อการ
               ทํา CRM เนนเรื่องการมีสวนรวม เชน Comcast ใช Twitter ใน
               การบริการลูกคาโดยเนนการแกไขปญหาที่พวกเขาไดรับ
               สามารถเปลี่ยนลูกคาที่ดาดา เปนลูกคาประจําได



207
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing

More Related Content

What's hot

TARADQuickWeb Builder as of Dec 19,2008
TARADQuickWeb Builder as of Dec 19,2008TARADQuickWeb Builder as of Dec 19,2008
TARADQuickWeb Builder as of Dec 19,2008Suton Rojanusorn
 
แนวคิดธุรกิจสร้างสรรค์ผ่าน Ecommerce
แนวคิดธุรกิจสร้างสรรค์ผ่าน Ecommerceแนวคิดธุรกิจสร้างสรรค์ผ่าน Ecommerce
แนวคิดธุรกิจสร้างสรรค์ผ่าน EcommercePeople Media Group Co.ltd
 
consumer behaviour
consumer behaviourconsumer behaviour
consumer behaviourdaruneejim
 
Retailing in electronic commerce products and services
Retailing in electronic commerce products and servicesRetailing in electronic commerce products and services
Retailing in electronic commerce products and servicestumetr1
 
E Commerce
E CommerceE Commerce
E Commercebootbeet
 
306325 unit3-e-branding
306325 unit3-e-branding306325 unit3-e-branding
306325 unit3-e-brandingpop Jaturong
 
Introduction to On-line Documemt Lect03 E Commerce
Introduction to On-line Documemt  Lect03 E CommerceIntroduction to On-line Documemt  Lect03 E Commerce
Introduction to On-line Documemt Lect03 E CommerceJenchoke Tachagomain
 
บทที่12-56
บทที่12-56บทที่12-56
บทที่12-56ppoparn
 
บทที่12ecomerce
บทที่12ecomerceบทที่12ecomerce
บทที่12ecomercePises Tantimala
 

What's hot (17)

E-Marketplace V1.10
E-Marketplace V1.10E-Marketplace V1.10
E-Marketplace V1.10
 
Tpa
TpaTpa
Tpa
 
TARADQuickWeb Builder as of Dec 19,2008
TARADQuickWeb Builder as of Dec 19,2008TARADQuickWeb Builder as of Dec 19,2008
TARADQuickWeb Builder as of Dec 19,2008
 
แนวคิดธุรกิจสร้างสรรค์ผ่าน Ecommerce
แนวคิดธุรกิจสร้างสรรค์ผ่าน Ecommerceแนวคิดธุรกิจสร้างสรรค์ผ่าน Ecommerce
แนวคิดธุรกิจสร้างสรรค์ผ่าน Ecommerce
 
consumer behaviour
consumer behaviourconsumer behaviour
consumer behaviour
 
Work3-35
Work3-35Work3-35
Work3-35
 
Online marketing
Online marketingOnline marketing
Online marketing
 
Retailing in electronic commerce products and services
Retailing in electronic commerce products and servicesRetailing in electronic commerce products and services
Retailing in electronic commerce products and services
 
E Commerce
E CommerceE Commerce
E Commerce
 
E commerce1
E commerce1E commerce1
E commerce1
 
306325 unit3-e-branding
306325 unit3-e-branding306325 unit3-e-branding
306325 unit3-e-branding
 
Introduction to On-line Documemt Lect03 E Commerce
Introduction to On-line Documemt  Lect03 E CommerceIntroduction to On-line Documemt  Lect03 E Commerce
Introduction to On-line Documemt Lect03 E Commerce
 
E Marketing
E MarketingE Marketing
E Marketing
 
Lanlana chunstikul
Lanlana chunstikulLanlana chunstikul
Lanlana chunstikul
 
work3-02
work3-02work3-02
work3-02
 
บทที่12-56
บทที่12-56บทที่12-56
บทที่12-56
 
บทที่12ecomerce
บทที่12ecomerceบทที่12ecomerce
บทที่12ecomerce
 

Viewers also liked

การใช้ Mail chimp ในการทำ e-mail marketing
การใช้ Mail chimp ในการทำ e-mail marketing การใช้ Mail chimp ในการทำ e-mail marketing
การใช้ Mail chimp ในการทำ e-mail marketing Khonkaen University
 
Online and-social media-marketing
Online and-social media-marketingOnline and-social media-marketing
Online and-social media-marketingKhonkaen University
 
บทที่1.1 ประเภทของเว็บพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่1.1  ประเภทของเว็บพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่1.1  ประเภทของเว็บพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่1.1 ประเภทของเว็บพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์School
 
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์School
 
บทที่3 การใช้งาน lnwshop
บทที่3  การใช้งาน lnwshopบทที่3  การใช้งาน lnwshop
บทที่3 การใช้งาน lnwshopSchool
 
การเปิดร้าน ผ่าน Lnwshop
การเปิดร้าน ผ่าน Lnwshopการเปิดร้าน ผ่าน Lnwshop
การเปิดร้าน ผ่าน LnwshopKhonkaen University
 
ประมวลการสอน Ecom
ประมวลการสอน Ecomประมวลการสอน Ecom
ประมวลการสอน EcomSchool
 
Online marketing - การตลา่ดผ่านออนไลน์แบบสมบูรณ์
Online marketing - การตลา่ดผ่านออนไลน์แบบสมบูรณ์ Online marketing - การตลา่ดผ่านออนไลน์แบบสมบูรณ์
Online marketing - การตลา่ดผ่านออนไลน์แบบสมบูรณ์ Khonkaen University
 

Viewers also liked (20)

Google place
Google placeGoogle place
Google place
 
e-commerce unit1 by Ramase
e-commerce unit1 by Ramasee-commerce unit1 by Ramase
e-commerce unit1 by Ramase
 
Mba ecommerce
Mba ecommerceMba ecommerce
Mba ecommerce
 
การใช้ Mail chimp ในการทำ e-mail marketing
การใช้ Mail chimp ในการทำ e-mail marketing การใช้ Mail chimp ในการทำ e-mail marketing
การใช้ Mail chimp ในการทำ e-mail marketing
 
Thailand E-Commerce Trend by Pawoot TARAD.com
Thailand E-Commerce Trend by Pawoot TARAD.comThailand E-Commerce Trend by Pawoot TARAD.com
Thailand E-Commerce Trend by Pawoot TARAD.com
 
Facebookmarketing
FacebookmarketingFacebookmarketing
Facebookmarketing
 
Online and-social media-marketing
Online and-social media-marketingOnline and-social media-marketing
Online and-social media-marketing
 
Social media marketing
Social media marketingSocial media marketing
Social media marketing
 
Rfid
RfidRfid
Rfid
 
Rfid
RfidRfid
Rfid
 
บทที่1.1 ประเภทของเว็บพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่1.1  ประเภทของเว็บพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่1.1  ประเภทของเว็บพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่1.1 ประเภทของเว็บพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
บทที่3 การใช้งาน lnwshop
บทที่3  การใช้งาน lnwshopบทที่3  การใช้งาน lnwshop
บทที่3 การใช้งาน lnwshop
 
rfid
rfidrfid
rfid
 
การเปิดร้าน ผ่าน Lnwshop
การเปิดร้าน ผ่าน Lnwshopการเปิดร้าน ผ่าน Lnwshop
การเปิดร้าน ผ่าน Lnwshop
 
Tu resturant
Tu resturantTu resturant
Tu resturant
 
ประมวลการสอน Ecom
ประมวลการสอน Ecomประมวลการสอน Ecom
ประมวลการสอน Ecom
 
02พรบ.คอมฯ
02พรบ.คอมฯ02พรบ.คอมฯ
02พรบ.คอมฯ
 
Social media marketing
Social media marketingSocial media marketing
Social media marketing
 
Online marketing - การตลา่ดผ่านออนไลน์แบบสมบูรณ์
Online marketing - การตลา่ดผ่านออนไลน์แบบสมบูรณ์ Online marketing - การตลา่ดผ่านออนไลน์แบบสมบูรณ์
Online marketing - การตลา่ดผ่านออนไลน์แบบสมบูรณ์
 

Similar to Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing

บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Wanphen Wirojcharoenwong
 
F:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E Commerce
F:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E CommerceF:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E Commerce
F:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E Commercethanapat yeekhaday
 
Technique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the InternetTechnique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the InternetRachabodin Suwannakanthi
 
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)Kosamphee Wittaya School
 
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)Kosamphee Wittaya School
 
อบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอน
อบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอนอบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอน
อบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอนJirang Kumnuanta
 
Smart industry Newsletter Vol34
Smart industry Newsletter Vol34Smart industry Newsletter Vol34
Smart industry Newsletter Vol34Chanpen Thawornsak
 
e-Commerce Trend 2562 by ETDA
e-Commerce Trend 2562 by ETDAe-Commerce Trend 2562 by ETDA
e-Commerce Trend 2562 by ETDAPeerasak C.
 
การซื้อขายสินค้าและบริการ
การซื้อขายสินค้าและบริการการซื้อขายสินค้าและบริการ
การซื้อขายสินค้าและบริการnoopalm
 
digital marketing
digital marketingdigital marketing
digital marketingAew Zhiitzu
 

Similar to Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing (20)

บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
E commerce
E commerceE commerce
E commerce
 
F:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E Commerce
F:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E CommerceF:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E Commerce
F:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E Commerce
 
E commerce
E  commerceE  commerce
E commerce
 
Technique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the InternetTechnique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the Internet
 
Mi sch7
Mi sch7Mi sch7
Mi sch7
 
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
 
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
 
Ecommerce start
Ecommerce startEcommerce start
Ecommerce start
 
Ec 15
Ec 15Ec 15
Ec 15
 
อบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอน
อบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอนอบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอน
อบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอน
 
Smart industry Newsletter Vol34
Smart industry Newsletter Vol34Smart industry Newsletter Vol34
Smart industry Newsletter Vol34
 
Chapter 2 Module 2 Overview IT for Modern Trade
Chapter 2 Module 2 Overview IT for Modern TradeChapter 2 Module 2 Overview IT for Modern Trade
Chapter 2 Module 2 Overview IT for Modern Trade
 
Thailand Ecommerce Trend 2019
Thailand Ecommerce Trend 2019Thailand Ecommerce Trend 2019
Thailand Ecommerce Trend 2019
 
e-Commerce Trend 2562 by ETDA
e-Commerce Trend 2562 by ETDAe-Commerce Trend 2562 by ETDA
e-Commerce Trend 2562 by ETDA
 
การซื้อขายสินค้าและบริการ
การซื้อขายสินค้าและบริการการซื้อขายสินค้าและบริการ
การซื้อขายสินค้าและบริการ
 
digital marketing
digital marketingdigital marketing
digital marketing
 
Chap1
Chap1Chap1
Chap1
 
B2 b and e auction
B2 b and e auctionB2 b and e auction
B2 b and e auction
 
IT for SMEs
IT for SMEsIT for SMEs
IT for SMEs
 

More from Khonkaen University (17)

FM-short.pptx
FM-short.pptxFM-short.pptx
FM-short.pptx
 
credit.pptx
credit.pptxcredit.pptx
credit.pptx
 
financial analysis.pptx
financial analysis.pptxfinancial analysis.pptx
financial analysis.pptx
 
Digital marketing
Digital marketingDigital marketing
Digital marketing
 
Social media marketing
Social media marketingSocial media marketing
Social media marketing
 
Mailchimp
MailchimpMailchimp
Mailchimp
 
Social Media สำหรับธุรกิจท่องเที่ยว
Social Media สำหรับธุรกิจท่องเที่ยว Social Media สำหรับธุรกิจท่องเที่ยว
Social Media สำหรับธุรกิจท่องเที่ยว
 
Mba ecommerce
Mba ecommerceMba ecommerce
Mba ecommerce
 
Methopoint
MethopointMethopoint
Methopoint
 
Tu resturant
Tu resturantTu resturant
Tu resturant
 
Social bangkok
Social bangkokSocial bangkok
Social bangkok
 
Socialfor sm es-2
Socialfor sm es-2Socialfor sm es-2
Socialfor sm es-2
 
slide งานสัมนา "กลยุทธ์การตลาด Social Media"
slide งานสัมนา "กลยุทธ์การตลาด Social Media" slide งานสัมนา "กลยุทธ์การตลาด Social Media"
slide งานสัมนา "กลยุทธ์การตลาด Social Media"
 
Social cmmu
Social cmmuSocial cmmu
Social cmmu
 
Smm travel
Smm travelSmm travel
Smm travel
 
Social cmmu
Social cmmuSocial cmmu
Social cmmu
 
Social Media Marketing ของ บริษัทประกันภัย
Social Media Marketing ของ บริษัทประกันภัยSocial Media Marketing ของ บริษัทประกันภัย
Social Media Marketing ของ บริษัทประกันภัย
 

Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing

  • 1. E-Commerce  แนวโนมการใช Internet ในประเทศไทย
  • 2. E-Commerce  แนวโนมการใช Internet ในประเทศไทย
  • 3. E-Commerce  แนวโนมการใช Internet ในประเทศไทย (ไทย 27.4)
  • 4. E-Commerce  ลักษณะทั่วไปของธุรกิจ ผูประกอบการ B2C 73.3% B2B 25.5% B2G 1.2%
  • 5. E-Commerce  สถานภาพการพาณิชยอิเล็กทรอนิกสในประเทศไทย
  • 6. E-Commerce  ขนาดของธุรกิจ  ขนาดเล็กมีคนงานไมเกิน 5 คน 68.5%  ขนาดกลาง 6-50 คน 27.5%  ขนาดใหญ 50 คนขึ้นไป 4% เทานั้น
  • 7. E-Commerce  มูลคา ป 2553 มูลคายอดขายรวม 608,587 ลานบาท  B2G 272,295 ลานบาท 44.7%  B2B 251,699 ลานบาท 41.4%  B2C 84,593 ลานบาท 13.9%
  • 8. E-Commerce  วิธีการดําเนินธุรกิจ  66% ไมมีการสงเสริมการตลาดและประชาสัมพันธ เพราะรูปแบบ ธุรกิจเปน B2B และ B2G เปนสวนใหญ  ขณะที่เหลือมีการโฆษณาทั้งออนไลนและออฟไลน คือ 18.3% ออนไลนอยางเดียว 13.7% และออฟไลนอยางเดียว 2%
  • 10. E-Commerce  รูปแบบการชําระเงิน  การชําระเงินในรูปแบบออฟไลน รอยละ 50.3 ที่นิยมที่สุดการโอน เงินที่ธนาคาร  การชําระเงินทั้งออฟไลนและออนไลน รอยละ 33.5  ชําระเงินออนไลนเพียงอยางเดียว รอยละ 16.2
  • 11. E-Commerce  รูปแบบการชําระเงิน ออนไลน  ชําระผาน e-Banking และ ATM 77.4%  บัตรเครดิต 48.6%  ชําระผานทางผูใหบริการกลาง 27.1%
  • 12. E-Commerce  อุปสรรคใหญตอ e-Commerce ไทย  กลัวเกดการฉอโกง 61.2% ิ  ไมไดรับสินคาตามที่โฆษณา 58.2%  ไมมีความเชื่อมั่นในระบบการชําระเงิน 57.7%  ไมไดเห็นสินคากอนซื้อ 46.6%  กลัวขโมยบัตรเครดิต 27.3%  ตองการพูดคุยกับผูขาย 22.7%
  • 13. E-Commerce  ความหมายของการพณิชยอิเล็กทรอนิกส – กระบวนการซื้อ ขาย แลกเปลี่ยนสินคา บริการ และ/หรือขอมูลผานเครือขายคอมพิวเตอร โดย สวนใหญผานอินเทอรเน็ตและอิทราเน็ต ดังนั้นจากความหมายนี้ การ พาณิชยอิเล็กนิกสจะไมใชการซื้อขายเทานั้น แตหมายรวมถึงการ ใหบริการลูกคา ความรวมมือระหวางพันธมิตรธุรกิจ การเรียนรูผาน ออนไลน และธุรกรรมตางๆออนไลน
  • 14. E-Commerce  มุมมองของการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส  มุมมองดานการสื่อสาร
  • 15. E-Commerce  มุมมองของการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส  มุมมองดานการการพาณิชย
  • 16. E-Commerce  มุมมองของการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส  มุมมองดานการกระบวนการธุรกิจ
  • 17. E-Commerce  มุมมองของการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส  มุมมองดานการใหบริการ
  • 18. E-Commerce  มุมมองของการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส  มุมมองดานการเรียนรู
  • 19. E-Commerce  มุมมองของการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส  มุมมองดานสังคม
  • 20. E-Commerce  มุมมองของการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส  มุมมองดานสังคม
  • 21. E-Commerce  การพาณิชยอิเล็กทรอนิกสแบบสมบูรณ – ธุรกิจที่ใชดิจิตอลในทุกๆ ขั้นตอนของการดําเนินธุรกิจ ไมวาจะเปนสวนของการสั่งซื้อ กระบวนการผลิตและวิธีจัดสง
  • 22. E-Commerce  การพาณิชยอิเล็กทรอนิกสแบบสมบูรณ – ธุรกิจที่เปนพาณิชย อิเล็กทรอนิกสเชนกัน แตมีการผสมผสานของทั้งสวนของดิจิตอลและที่ ไมเปนดิจิตอล
  • 23. E-Commerce  ลักษณะพิเศษ 7 ประการของการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส  สามารถทําการซื้อขายไดทกๆที่และตลอดเวลา อีกทั้งลดตนทุนของ ุ การทําธุรกรรม ไมมี Search Cost  สามารถเขาถึงไดทวโลก ั่ ทําใหมีศักยภาพที่จะขยายตลาดไดอยางไม จํากัด ตนจะต่ากวาออฟไลนอยางมากมาย ยกตัวอยางเปนเจาของ 2 ํ ธุรกิจคือ เจงเมง และ Soda-Printing Soda-Printing มีขอบเขตในการ ขายมากกวา
  • 24. E-Commerce  ลักษณะพิเศษ 7 ประการของการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส  มีความเปนมาตรฐานสากลในระดับโลก ใชมาตรฐานที่เรียกวา TCP/IP ในการสื่อสารกัน  สามารถใหขอมูลที่มีความซับซอนและมีรายละเอียด
  • 25. E-Commerce  ลักษณะพิเศษ 7 ประการของการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส  ความสามารถในการโตตอบสองทาง  ทําใหขอมูลมีจํานวนมากและมีคุณภาพสูงขึ้น – การแจกจายขอมูลมี ราคาถูก สามารถปรับปรุงขอมูลไดตลอดเวลา ขอมูลขาวสารใน อินเทอรเน็ตมีจํานวนมากมาย แตก็มีเครื่องมือชวย เชน www.google.com (ในการคนหา), www.mysimon.com (ในการ เปรียบเทียบราคา)
  • 26. E-Commerce  ลักษณะพิเศษ 7 ประการของการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส  สามารถสื่อสารหรือเสนอสินคาหรือบริการไดแบบรายบุคคล เชน กรณีของ Amazon.com ที่เมื่อเขาไปยังหนาสวนตัวจะนําเสนอ หนังสือที่เฉพาะเจาะจงตามความสนใจของเราโดยอาศัยขอมูลจาก การเขาชมและซื้อหนังสือในอดีต
  • 27. E-Commerce  เศรษฐศาสตรในโลกอินเทอรเน็ต  ขอมูลเปนสิ่งสําคัญที่สุดที่สามารถนํามาใชในการสรางมูลคาเพิ่ม เชน การที่ Amazon.com เก็บรวบรวมขอมูลการซื้อสินคา หรือการ เลือกดูสินคา เพื่อนําเสนอสินคาที่ตรงกับความตองการของลูกคาเปน รายๆไป หรือกรณีของ www.google.com ซึ่งมีรายไดหลักจาก Google Adword ก็อาศัยขอมูลจากคําที่เราใชคน เพื่อนําเสนอโฆษณา ที่สอดคลองกับความตองการของผูคนนั้น
  • 28. E-Commerce  เศรษฐศาสตรในโลกอินเทอรเน็ต  ระยะทางไมใชปญหาอีกตอไป คนจากทั่วโลกสามารถคาขายกันได เชน eBay.com  ความเร็วเปนเรื่องสําคัญทางธุรกิจ การใหบริการตอบคําถามไมวา ทางอีเมล เฟซบุค หรือ ทวิตเตอร ลูกคาตองการคําตอบที่รวดเร็ว หรือสินคาประเภท Digital Good สามารถที่จะ download ไดทันที
  • 29. E-Commerce  เศรษฐศาสตรในโลกอินเทอรเน็ต  ปรากฏการณเครือขาย (Network Effect) โทรศัพทเครื่องเดียวไมมี ประโยชน แตถามีโทรศัพทมากขึ้นเรื่อยๆ ประโยชนก็เพิ่มมากขึ้น และมากขึ้นจนคูแขงรายใหมเขามาไมได ยกตัวอยาง Window, Facebook
  • 30. E-Commerce  เศรษฐศาสตรในโลกอินเทอรเน็ต  ตัวกลางใหมที่เรียกวาตัวกลางขอมูลขาวสาร เปนตัวกลางในการ จัดการขอมูลเกี่ยวกับผูซื้อ ผูขาย และธุรกรรมระหวางกัน เชน กรณี ของ Thaisecondhand.com หรือ Ensogo.com, Misslily.com เปนตน  ลูกคายิ่งกวาพระเจา เพราะสามารถเลือกไปซื้อสินคาหรือบริการจาก รานอื่นไดเพียงปลายคลิก
  • 31. E-Commerce  เศรษฐศาสตรในโลกอินเทอรเน็ต  ราคาซื้อขายสามารถเคลื่อนไหวอยางคลองตัวมากขึ้น อยางกรณี ของ eBay.com คือเว็บไซตประมูล ราคาก็จะมีการปรับเปลี่ยนอยู ตลอดเวลา  ตนทุนในการคนหาเทากับศูนย
  • 32. E-Commerce  คําถาม ในโลกอินเทอรเน็ต ทําใหเกิดสภาพตลาดที่มีการแขงขันสมบูรณหรือไม การแขงขันในกรณีสินคาที่เหมือนกัน จะไมมีความแตกตางในเรื่องของ ราคาหรือไม
  • 33. E-Commerce  ประเภทของการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส  B2C เชน www.chulabook.com  B2B เชน www.officedepot.co.th  C2C เชน www.dealfish.co.th หรือกรณีขายของผาน Facebook เปน การขายตรงไปยังผูบริโภคเองไดเลย  Mobile Commerce การทําธุรกรรมบนมือถือ นกแอรมีแอพพลิเคชั่น ที่ใชจองตั๋วเครื่องบิน ดูตารางบิน และขอมูลการจองได
  • 35. E-Commerce  ผลประโยชนตอองคกร  มีโอกาสเขาถึงลูกคาไดทั่วโลก ตัวอยาง Soda-Gram.com  สามารถเปดรานได 24 ชั่วโมง  ตนทุนต่ําในการเริ่มตนธุรกิจ  สามารถนําเสนอสินคาใหลูกคาไดตามความตองการไดดียิ่งขึ้น  สามารถสรางความสัมพันธกับลูกคาในวิธที่หลากหลาย ี
  • 36. E-Commerce  ผลประโยชนตอผูบริโภค  ซื้อได 24 ชั่วโมง อยูที่ไหนก็ซื้อได  ไมมีตนทุนในการคนหา  ไดสินคาตรงกับความตองการของเรา  สังคมของลูกคาดวยกันในการวิจารณ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น สามารถทําได
  • 37. E-Commerce  รูปแบบของการแสวงหารายได  รายไดจากการโฆษณา
  • 38. E-Commerce  รูปแบบของการแสวงหารายได  รายไดจากการโฆษณา
  • 39. E-Commerce  รูปแบบของการแสวงหารายได  รายไดจากคาสมาชิก
  • 40. E-Commerce  รูปแบบของการแสวงหารายได  รายไดจากคาสมาชิก
  • 41. E-Commerce  รูปแบบของการแสวงหารายได  รายไดจากธรรมเนียมจากการทําธุรกรรม
  • 42. E-Commerce  รูปแบบของการแสวงหารายได  รายไดจากธรรมเนียมจากการทําธุรกรรม
  • 43. E-Commerce  รูปแบบของการแสวงหารายได  รายไดจากธรรมเนียมจากการขายสินคาและบริการ
  • 44. E-Commerce  รูปแบบของการแสวงหารายได  รายไดจากธรรมเนียมจากการ Affiliate Program
  • 45. E-Commerce  รูปแบบของธุรกิจ B2C  เว็บทา เปนเว็บที่มีเนื้อหาและบริการที่หลากหลาย เชน ขาว อีเมล ชอปปง ฟงเพลง คลิปวิดีโอ และอื่นๆอีกมาก
  • 46. E-Commerce  รูปแบบของธุรกิจ B2C  เว็บทา เปนเว็บที่มีเนื้อหาและบริการที่หลากหลาย เชน ขาว อีเมล ชอปปง ฟงเพลง คลิปวิดีโอ และอื่นๆอีกมาก
  • 48. E-Commerce  รูปแบบของธุรกิจ B2C  เว็บเนนเนื้อหา
  • 49. E-Commerce  รูปแบบของธุรกิจ B2C  เว็บเนนนายหนา
  • 50. E-Commerce  รูปแบบของธุรกิจ B2C  เว็บตลาดออนไลน คําถามวาเมื่อใครๆก็ตั้งเว็บไซตขายของกันได จําเปนที่ จะตองมีตลาดไหม
  • 51. E-Commerce  รูปแบบของธุรกิจ B2C  เว็บตลาดออนไลน
  • 52. E-Commerce  รูปแบบของธุรกิจ B2C  เว็บตลาดออนไลน – ปจจัยแหงความสําเร็จอยูที่ มีผูซื้อและผูขายมากเพียงพอ ทําใหตนทุนของผูซื้อและผูขายลดลง เชน กรณีของ Ensogo ทําใหสามารถทราบขอมูลและเลือกผูขายสินคาหรือบริการได งายขึ้น มีความสะดวกในการทําธุรกรรม เชน Tarad.com มีเว็บไซต สําเร็จรูป ระบบตะกราสินคาและระบบการชําระเงิน
  • 53. E-Commerce  รูปแบบของธุรกิจ B2C  เว็บใหบริการ (Service Provider) – มีรายไดจากการใหบริการ
  • 54. E-Commerce  รูปแบบของธุรกิจ B2C  เว็บชุมชนคนออนไลน
  • 56. E-Commerce  รูปแบบของธุรกิจ B2B – Auction หรือ e-Catalog กรณีของ Auction เชน www.carsonweb.com เปนเว็บไซต ประมูลรถที่ขายรถยนตมือสองใหแกผูแทนจําหนายรถยนตที่ได ลงทะเบียน กรณี e-Catalog เชน www.bigboxx.com ขายเครื่องใชสํานักงาน ออนไลน
  • 58. E-Commerce  รูปแบบของธุรกิจ B2C - Collaborative เปนการรวมกันในการวางแผน การออกแบบ การพัฒนา การจัดการ การ วิจัย และอื่นๆ โดยผานเครือขายเฉพาะกลุม เชน webcor ใชเครือขายใน การสื่อสารกับเจาของงาน สถาปนิก นักออกแบบ
  • 59. E-Commerce  รูปแบบของธุรกิจ B2B – Reverse Auction ใชกับการจัดซื้อของ หนวยงานภาครัฐหรือกเอกชนที่ใชวิธการประมูล ี
  • 60. E-Commerce  กระบวนการซื้อสินคาออนไลน สมมติวาจะซื้อ iPhone สักเครื่อง  คนหาคําวิจารณ
  • 61. E-Commerce  กระบวนการซื้อสินคาออนไลน สมมติวาจะซื้อ iPhone สักเครื่อง  ทําการเปรียบเทียบราคา
  • 62. E-Commerce  กระบวนการซื้อสินคาออนไลน สมมติวาจะซื้อ iPhone สักเครื่อง  ทําการเปรียบเทียบราคา
  • 63. E-Commerce  กระบวนการซื้อสินคาออนไลน สมมติวาจะซื้อ iPhone สักเครื่อง  ใสสินคาลงในตะกรา
  • 64. E-Commerce  กระบวนการซื้อสินคาออนไลน สมมติวาจะซื้อ iPhone สักเครื่อง  ใสสินคาลงในตะกรา
  • 65. E-Commerce  กระบวนการซื้อสินคาออนไลน สมมติวาจะซื้อ iPhone สักเครื่อง  รายละเอียดทีอยูในการจัดสงสินคา ่
  • 66. E-Commerce  กระบวนการซื้อสินคาออนไลน สมมติวาจะซื้อ iPhone สักเครื่อง  ใบนําฝากชําระเงินคาสินคา
  • 67. E-Commerce  องคประกอบของรานคาออนไลน  หนารานอิเล็กทรอนิกส – แคตตาล็อกอิเล็กทรอนิกส เครื่องมือคนหา ตะกราสินคาอิเล็กทรอนิกส ระบบการชําระเงิน รวมถึงการใหบริการ หลังการขายตางๆ  ศูนยรวมของรานคาอิเล็กทรอนิกส เชน กรณีนี้คือ www.shopping.co.th ถือเปนศูนยรวมของรานคาตางๆ
  • 68. E-Commerce  ประเภทของรานคาออนไลน มี 2 ประเภท คือ  รานคาทั่วไป – เปนรานที่ขายสินคาที่หลากหลาย เชน www.tohome.com หรือ www.trendyday.com  รานคาเฉพาะอยาง เปนรานคาที่ขายสินคาหรือบริการเพียงประเภท เดียว เชน www.misslily.com หรือ www.beautyintrend.com
  • 69. E-Commerce  องคประกอบของรานคาออนไลน  แคตตาล็อกอิเล็กทรอนิกส ลองเปรียบเทียบระบบของ Se-Ed.com และ Amazon.com  แคตตาล็อกมี 3 มุมมอง รูปแบบการนําเสนอขอมูล – เปนตัวอักษรและภาพนิ่งๆ แต อาจจะมีวิดีโอ ระดับการนําเสนอเปนรายบุคคล การบูรณาการกับกระบวนการทางธุรกิจ เชื่อโยงไปกับการสั่งซื้อ การชําระเงิน การจัดการสินคาคงเหลือ บัญชี ฯลฯ
  • 70. E-Commerce  องคประกอบของรานคาออนไลน  เครื่องมือคนหา – เนื่องจากรานคามีสินคาเปนจํานวนมาก จึง จําเปนตองมีเครื่องมือคนหาเพื่อชวยใหเราสามารถเขาถึงสินคาหรือ บริการไดอยางรวดเร็ว  ระบบตะกราสินคา
  • 71. E-Commerce  องคประกอบของรานคาออนไลน  เว็บไซตเปรียบเทียบราคา – จะเรียกวา Shopbot (Shopping Robot) ที่ทําหนาที่สํารวจราคาสินคาที่ต่ําที่สุด แบงออกเปน 2 ประเภท คือ เว็บไซตเปรียบเทียบราคาทั่วไป – www.bizrate.com, www.mysimon.com เว็บไซตเปรียบเทียบราคาเฉพาะผลิตภัณฑ – www.addall.com (หนังสือ) www.carpoint.com (รถยนต)
  • 78. E-Commerce  เว็บไซตรับรองความนาเชื่อถือ - การเลือกซื้อสินคาจากรานคาออนไลน ผูซื้อจะมีความกังวลในเรื่องความนาเชื่อถือ ดังนั้นจึงมีองคกรกลางที่มา ทําหนาที่รับรอง อยางกรณีตางประเทศจะมีองคกรกลางเหลานี้มากมาย ไมวาจะเปน TRUSTe, Verisign, BBBOnline, WebTrust เปนตน  สําหรับประเทศไทย ทางกรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชยไดมี บริการใหการรับรองความนาเชื่อถือของเว็บไซตในรูปแบบของ เครื่องหมายรับรองความนาเชื่อถือในการประกอบธุรกิจการพณิชย อิเล็กทรอนิกส เรียกวา “DBD Verified”
  • 79. E-Commerce  การทําการตลาด 79
  • 80. E-Commerce  E-Mail : เปาหมาย •โรงแรมสงโปรโมชั่นสวนลดพิเศษสําหรับหนารอน •บริษัทสงแจงการจัดงานสัมมนาฟรีใหแกบรรดาซัพพลายเออรให รับทราบ •ฟตเนสเซ็นเตอรสงอีเมลเชิญชวนใหสมาชิกสามารถเชิญเพื่อนมาเลน ไดหนึ่งครั้งเพียงพิมพจดหมายเชิญผานอีเมล •สํานักพิมพอัพเดทขอมูลหนังสือใหมๆแกบรรดาสมาชิก 80
  • 81. E-commerce  E-Mail : การสราง e-mail list จากบริการของ MailChimp 81
  • 82. E-commerce  E-Mail : การสราง e-mail list จากบริการของ MailChimp 82
  • 83. E-commerce  E-Mail : การสราง e-mail list จากบริการของ MailChimp 83
  • 84. E-commerce  E-Mail : การสราง e-mail list จากบริการของ MailChimp 84
  • 85. E-commerce  E-Mail : การสราง e-mail list จากบริการของ MailChimp 85
  • 86. E-commerce  E-Mail : การสราง e-mail list จากบริการของ MailChimp 86
  • 87. E-commerce  E-Mail : รูปแบบของขอมูลผานทางอีเมลของธุรกิจ  รูปแบบจดหมายขาว (Newsletter) – เปนจดหมายที่ธุรกิจสงให สมาชิกเพื่อรับทราบขาวคราวความเคลื่อนไหวทั่วๆไปขององคกร อาจจะมีหัวขอ เชน ขาวสินคาใหม โปรโมชั่นเดือนนี้ ความรูที่เปน ประโยชน หรือคุยกับสมาชิก เปนตน  รูปแบบโปรโมชั่น (Promotion) – เปนอีเมลที่เนนการที่ลูกคาจะตอง มีการตอบกลับมาอยางใดอยางหนึ่งเปนการเฉพาะ เชน การใหสวนลด ซึ่งลูกคาสามารถพิมพอีเมลที่ไดรับออกมาแลวนําไปใชไดที่รานหรือ การใหในรูปของรหัสสวนลดที่ลูกคาสามารถนําไปใชในการซื้อออนไลน 87 ไดทันที
  • 88. E-commerce  E-Mail : รูปแบบของขอมูลผานทางอีเมลของธุรกิจ  รูปแบบการแจงขาวการจัดงาน (Event) – เปนการสงอีเมลเพื่อเชิญ เขารวมงานที่จัดขึ้นเปนพิเศษ ทั้งนี้ผูที่ไดรับจะตองทําการตอบรับหรือ ปฏิเสธการเขารวม  รูปแบบการประกาศ (Announcement) – เปนการสงอีเมลเพื่อการ ประชาสัมพันธหรือแจงใหสมาชิกไดรับทราบถึงกิจกรรมตางๆที่ธุรกิจ จัดขึ้น เชน การทํากิจกรรมชวยเหลือสังคม บริจาค หรือขาวสินคาใหม รูปแบบนี้เนื้อหาอาจจะคลายจดหมายขาว แตสิ่งที่แตกตางคือ จดหมายขาวจะมีวันสงที่กําหนดแนนอน เชน หนึ่งครั้งตอเดือน แตการ 88 ประกาศอาจจะทําไดในชวงที่เรื่องนั้นกําลังเปนที่สนใจ
  • 89. E-commerce  E-Mail : การวัดผล  อัตราการตีกลับ (Bounce Rate) – สัดสวนจํานวนอีเมลที่ถูกตี กลับเพราะไมสามารถสงถึงไดตอจํานวนอีเมลที่สงทั้งหมด  อัตราการเปดอีเมล (Open Rate) – สัดสวนจํานวนของอีเมล ที่ผูรับเปดอานตอจํานวนอีเมลที่ไมไดถูกตีกลับทั้งหมด  อัตราการคลิก (Click-Through Rate) – สัดสวนของจํานวน คนที่คลิกลิงคในอีเมลทถูกสงไปตอจํานวนอีเมลที่ถูกเปด ี่ 89
  • 90. E-commerce  Banner 90
  • 91. E-commerce  Banner : ตัวอยางเว็บไซตที่รับลงโฆษณาแบนเนอร 91
  • 92. E-commerce  Banner : ทําอยางไรใหมีคนคลิกแบนเนอรใหมากขึ้น  ควรลงโฆษณาในเว็บไซตทมีเนื้อหาเฉพาะ ี่  ขนาดแบนเนอรทีใหญจะมี CTR และ Conversion Rate สูง  ตองมีความถี่ในการโฆษณาที่เหมาะสม เพราะหลายคนไม คลิกแบนเนอรขณะที่เจอครั้งแรก อาจจะคลิกเมื่อเจอครั้งที่หา 92
  • 93. E-commerce  Banner : วิธีการคิดคาโฆษณา  CPM (Cost Per Mile) การคิดราคาคาโฆษณาตอการแสดงผล โดย นิยมคิดคาใชจายตอเมื่อมีการชมอยางนอย 1,000 ครั้งขึ้นไป ทั้งนี้จาก รูป 3.11 คือตัวอยางราคาโฆษณาแบบ CPM ของ www.sanook.com  CPC (Cost Per Click) การคิดราคาคาโฆษณาตอจํานวนครั้งที่คลิก ปายโฆษณา  Fixed Fee เปนวิธีการคิดคาโฆษณาที่เว็บไซตไทยนิยมมากที่สุด คือ การคิดคาโฆษณากําหนดแนนอนและสวนใหญเปนรายเดือน เชน 1,000 บาทตอเดือน ดังนั้นไมวาแบนเนอรจะถูกเห็นมากครั้งเทาไรหรือ 93 ถูกคลิกมากเทาไร ราคาก็แนนอนอยูที่ 1,000 บาทตอเดือน
  • 94. E-commerce  Banner : วิธีการคิดคาโฆษณา 94
  • 95. E-commerce  เว็บบอรด – เว็บบอรดทั่วไป 95
  • 96. E-commerce  เว็บบอรด – เว็บบอรดเฉพาะ 96
  • 97. E-commerce  Site Sponsoring 97
  • 98. E-commerce  ประกาศโฆษณา 98
  • 99. E-commerce  การสงเสริมการขายออนไลน 99
  • 100. E-commerce  การสงเสริมการขายออนไลน 100
  • 101. E-commerce  เกมโฆษณา 101
  • 102. E-commerce  การโฆษณาผานเครื่องมือคนหา 102
  • 103. E-commerce  Search Engine Optimization  การปรับในสวนของ HTML (www.beautyslimshop.com) 103
  • 104. E-commerce  Search Engine Optimization  การปรับในสวนของ HTML (www.beautyslimshop.com) 104
  • 105. E-commerce  Search Engine Optimization  การใสคําหลักในสวนของเนื้อหา – เนื้อหาในแตละหนาเพจ นั้นโดยปกติจะมีหัวขอหลัก หัวขอยอย (ซึ่งสามารถกําหนด หัวขอได 6 ระดับ) ตัวหนา ตัวเอียง หรือการขีดเสนใต ซึ่ง หากเราเนนคําหลักดวยรูปแบบที่กลาวมา ลวนแตมีประโยชน ตอการทํา SEO ทั้งสิ้น 105
  • 106. E-commerce  Search Engine Optimization  การสราง Link จากเว็บไซตอื่นๆ  เว็บบอรด ควรสํารวจดูวามีเว็บบอรดใดที่พูดคุยในเรื่องที่ตรงกับ เนื้อหาหลักในเว็บไซตของเรา จากนั้นใหเรานําบทความที่เขียน อันเปนประโยชนตอชุมชนในเว็บบอรดไปโพสตและทําลิงคกลับมา ที่หนาเพจของเนื้อหานั้นดวย  การลงทะเบียนในสารบัญเว็บ (Web Directory) ตางๆทั้งของไทย และตางประเทศ ของตางประเทศเชน www.dmoz.org, www.directory-index.net, dir.yahoo.com เปนตน สวนของไทย ที่นิยมมากๆ เชน dir.sanook.com, webindex.kapook.com เปน 106 ตน
  • 107. E-commerce  Search Engine Optimization  การสราง Link จากเว็บไซตอื่นๆ  การใชโซเชียลมีเดีย เชน เฟซบุค หรือ ทวิตเตอร เปนเสมือน  ตัวเชื่อมระหวางแฟนๆของเว็บไซตกับเนื้อหาบนเว็บไซตหรือ บล็อก 107
  • 108. E-commerce  Google Adwords – บรรทัดแรกพาดหัว 25 ตัวอักษร บรรทัดที่ สองคําอธิบาย 35 ตัวอักษร บรรทัดที่สามเปนคําอธิบาย 35 ตัวอักษร บรรทัดเปน URL หรือหนาเพจปลายทาง 108
  • 109. E-commerce  Google Adwords 109
  • 110. E-commerce  Google Adwords – การจายคาโฆษณา  การกําหนดราคาอัตโนมัติ กรณีนี้ผูลงโฆษณาไมจําเปนตองกําหนด ราคาเฉพาะเจาะจงสําหรับคําหลัก แตกําหนดเปนงบประมาณรายวัน จากนั้นทาง Adwords จะปรับคา CPC สูงสุดโดยอัตโนมัติเพื่อใหได จํานวนคลิกที่มากที่สุดโดยไมเกินงบประมาณที่กําหนด ทั้งนี้สามารถ กําหนดขีดจํากัดของ CPC ที่เสนอได  การกําหนดราคา CPC ดวยตนเอง เราสามารถกําหนดราคาที่แตกตาง กันของแตละคําหลักได 110
  • 111. E-commerce  Google Adwords – การจายคาโฆษณา 111
  • 112. E-commerce  การวัดประสิทธิภาพโฆษณาออนไลน 112
  • 113. Social Media  ยุค Social Media เปนยุคที่ตองรับฟงเสียงผูบริโภคมากขึ้น 113
  • 114. Social Media  การตลาด 3.0 แบงการตลาดออกเปน 3 ยุค คือ  ยุค 1.0 ใหความสําคัญกับสินคาเปนหลัก เนนการตลาดแบบ มวลชน โดยเนนการขายราคาถูกๆ เพื่อใหลูกคาซื้อจํานวน มากๆ สิ่งสําคัญยิ่งคือ การลดตนทุน  ยุค 2.0 ใหความสําคัญกับผูบริโภค หาความตองการและผลิต สินคาหรือบริการเพื่อตอบสนองความตองการเหลานั้น 114 รูปแบบการสื่อสารเปน one-way communication
  • 115. Social Media  การตลาด 3.0 แบงการตลาดออกเปน 3 ยุค คือ  ยุค 3.0 เปนยุคที่ใหความสําคัญกับปจเจกชน มองวาแตละ คนมีความคิด มีจิตวิญญาณ พวกเขาไมไดคอยรับสาร การตลาดเพียงฝายเดียว แตสามารถสื่อสารโตตอบกับกิจการ หรือผูบริโภคดวยกันได นอกจากนี้ผูบริโภคเองสามารถ เนื้อหาขึ้นมาเอง และสื่อสารผาน social media เรียกวายุค User Generated Content 115
  • 116. Social Media  เปรียบเทียบความนาเชื่อถือของ Social Media กับสื่อเดิม 116
  • 117. Social Media  ความหมายของ Social Media – Turban et al (2012: 301) ได ใหคํานิยามวา “รูปแบบสื่อออนไลนและเครื่องมือที่ถูกใชสําหรับ การปฏิสัมพันธเชิงสังคมและการพูดคุย โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ แลกเปลี้ยนความคิดเห็น ประสบการณ และความเขาใจซึ่งกันและ กัน โซชียลมีเดียสามารถอยูในหลายๆ รูปแบบไมวาจะเปน ขอความ รูปภาพ เสียงหรือวิดีโอ หัวใจสําคัญอยูที่ผูใชธรรมดา ทั่วๆ ไปผลิต ควบคุม ใช และจัดการเนื้อหานั่นเอง” 117
  • 118. Social Media  ความหมายของ Social Media  เปนสื่อที่เนนปฏิสัมพันธและพูดคุย แตเดิม Brand พูดขาง เดียว แต social media เปน two-way communication ซึ่ง อาจจะเปนทางบวกหรือทางลบก็ได ทําใหลูกคา เขาไปมี สวนรวม (Engagement) กับกิจการ 118
  • 119. Social Media  ความหมายของ Social Media 119
  • 120. Social Media  ความหมายของ Social Media  เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ประสบการณ และความเขาใจ ซึ่งกันและกัน ทําใหคนคิดเหมือนกันรวมกลุมแลกเปลียน ่ พูดคุย 120
  • 121. Social Media  ความหมายของ Social Media  ผูใชคือคนธรรมดาทั่วๆไป ผลิต ควบคุม ใช และจัดการ เนื้อหา เชน นายกาฝาก เจาหนาที่ไอทีของโรงเรียนนานาชาติ แหงใหม ไดเขียนบทความรีวิวโทรศัพทมือถือรวมไปถึง อุปกรณอื่นๆ จํานวนมากมายผานบล็อกของเขา คือ www.kafaak.com ไมจําเปนตองงอสื่อหลักก็ดังได 121
  • 122. Social Media  ความหมายของ Social Media 122
  • 123. Social Media  ความหมายของ Social Media  ความสามารถในการแบงปนไดทันที ทําใหงายตอการบอกตอ และทําใหเกิด viral marketing คือ การตลาดที่แพรกระจายไป  อยางรวดเร็วเปนไฟลามทุง เชน facebook, instagram, youtube มีปุม share ขณะที่ทวิตเตอรมี Retweet (RT) 123
  • 124. Social Media  ความหมายของ Social Media 124
  • 125. Social Media  ประเภทของ social media  Blog 125
  • 126. Social Media  ประเภทของ social media  Twitter 126
  • 127. Social Media  ประเภทของ social media  Social Network 127
  • 128. Social Media  ประเภทของ social media  Media Sharing 128
  • 129. Social Media  ประเภทของ social media  Media Sharing 129
  • 130. Social Media  ประเภทของ social media  Media Sharing 130
  • 131. Social Media  ประเภทของ social media  Social Bookmarking 131
  • 132. Social Media  ประเภทของ social media  Online Forum 132
  • 133. Social Media  เปาหมายการใช Social Media เพื่อการตลาด  เพื่อใชเปนหนาราน 133
  • 134. Social Media  เปาหมายการใช Social Media เพื่อการตลาด  เพื่อใชเปนหนาราน 134
  • 135. Social Media  เปาหมายการใช Social Media เพื่อการตลาด  เพื่อใชเปนหนาราน 135
  • 136. Social Media  เปาหมายการใช Social Media เพื่อการตลาด  ทําใหเกิดการรับรูถึงแบรนด 136
  • 137. Social Media  เปาหมายการใช Social Media เพื่อการตลาด  ทําใหเกิดการรับรูถึงแบรนด 137
  • 138. Social Media  เปาหมายการใช Social Media เพื่อการตลาด  ทําใหเกิดการรับรูถึงแบรนด 138
  • 139. Social Media  เปาหมายการใช Social Media เพื่อการตลาด  ทําใหเกิดการรับรูถึงแบรนด 139
  • 140. Social Media  เปาหมายการใช Social Media เพื่อการตลาด  ทําใหเกิดการรับรูถึงแบรนด 140
  • 141. Social Media  เปาหมายการใช Social Media เพื่อการตลาด  การเปนเครื่องมือในการรับฟงความคิดเห็นของลูกคา 141
  • 142. Social Media  เปาหมายการใช Social Media เพื่อการตลาด  การเปนเครื่องมือในการรับฟงความคิดเห็นของลูกคา 142
  • 143. Social Media  เปาหมายการใช Social Media เพื่อการตลาด  การเปนเครื่องมือในการรับฟงความคิดเห็นของลูกคา 143
  • 144. Social Media  เปาหมายการใช Social Media เพื่อการตลาด  การเปนเครื่องมือในการรับฟงความคิดเห็นของลูกคา 144
  • 145. Social Media  เปาหมายการใช Social Media เพื่อการตลาด  เพื่อสรางการมีสวนรวมของลูกคา (Engagement) มี ความสําคัญ 3 ประการ คือ  เปนขั้นแรกของการสรางความสัมพันธ  ชวยในการโปรโมทและปองกันแบรนด  นํามาซึ่งการพัฒนาคุณภาพของสินคาหรือบริการใหดี ยิ่งขึ้น 145
  • 146. Social Media  เปาหมายการใช Social Media เพื่อการตลาด  ระดับของการมีสวนรวมสามารถแบงออกไดเปน 5 ระดับ  ระดับรอคอย – อาจจะมีการเขารวมกับแบรนด A ซึ่งขายเสื้อผา ออนไลน เพื่อหวังรางวัล พอหมดรางวัล ก็รอคอยตอไป  ระดับเขารวมตามแตโอกาส อาจจะเขารวมเฉพาะกิจกรรมที่ ตนเองสนใจ เปนครั้งเปนคราว  ระดับเอาจริงเอาจัง เมื่อมีปฏิสัมพันธกับแบรนดแลวเกิดประโยชน เชน โพสตถามขอมูลแลวไดรับคําตอบ หรือมีบทความที่นาสนใจ 146 ใหไดอานสม่ําเสมอ
  • 147. Social Media  เปาหมายการใช Social Media เพื่อการตลาด  ระดับของการมีสวนรวมสามารถแบงออกไดเปน 5 ระดับ  ระดับผูกพัน มีการซื้อเสื้อผาจากทางราน เพราะเห็นวาลุกคาราย อื่นๆ ใสแลวสวย และไดรับสินคาอยางรวดเร็ว หรือมีการ แกปญหาอยางจริงใจ จึงเกิดความพึงพอใจ  ระดับลูกคาประจํา มีการซื้อเสื้อผาอยางสม่ําเสมอ และแนะนํา เพื่อนๆ สนใจความเคลื่อนไหวของแบรนด A อยูตลอดเวลา 147
  • 148. Social Media  ความหมายของแบรนด – ไมใชเพีงแคชอตราสินคาเทานั้น แต ื่ หมายความรวมถึง ความหวังที่ลูกคามีเมื่อไดบริโภคหรือคิด บริโภคสินคาหรือบริการ โดยความคาดหวังเกิดจากประสบการณ ที่มีตอกิจการหรือสินคาหรือบริการนั้น ดังนั้นแบรนดจึงหมายรวม ไปถึงสิ่งที่จับตองไดและสิ่งที่จับตองไมได แตมันมีมูลคาพอที่จะทํา ใหลูกคาตัดสินใจบริโภค สินคาหรือบริการที่มีแบรนดนั้นสามารถ ตั้งราคาสูงไดกวารคาทั่วๆไปที่ผูบริโภคเองยอมรับได เนื่องจาก มูลคาที่แบรนดนั้นมีอยู 148
  • 149. Social Media  4 ขั้นตอนในการสรางแบรนดดวยโซเชียลมีเดีย  การรับรูถึงแบรนด – ชวงเริ่มตน สิ่งหนึ่งที่ตองทํากอนก็คือ การทําใหแบรนดเปนที่รูจักในกลุมเปาหมาย รวมไปถึงการ เปดตัวสินคาหรือบริการใหม 149
  • 150. Social Media  4 ขั้นตอนในการสรางแบรนดดวยโซเชียลมีเดีย  การรับรูถึงแบรนด 150
  • 151. Social Media  4 ขั้นตอนในการสรางแบรนดดวยโซเชียลมีเดีย  การรับรูถึงแบรนด 151
  • 152. Social Media  4 ขั้นตอนในการสรางแบรนดดวยโซเชียลมีเดีย - Facebook Ads 152
  • 153. Social Media  4 ขั้นตอนในการสรางแบรนดดวยโซเชียลมีเดีย - Facebook Ads 153
  • 154. Social Media  4 ขั้นตอนในการสรางแบรนดดวยโซเชียลมีเดีย - Facebook Ads 154
  • 155. Social Media  4 ขั้นตอนในการสรางแบรนดดวยโซเชียลมีเดีย - Facebook Ads 155
  • 156. Social Media  4 ขั้นตอนในการสรางแบรนดดวยโซเชียลมีเดีย - Facebook Ads 156
  • 157. Social Media  4 ขั้นตอนในการสรางแบรนดดวยโซเชียลมีเดีย - Facebook Ads 157
  • 158. Social Media  4 ขั้นตอนในการสรางแบรนดดวยโซเชียลมีเดีย – Foursquare 158
  • 159. Social Media  4 ขั้นตอนในการสรางแบรนดดวยโซเชียลมีเดีย  การสํานึกถึงคุณภาพ 159
  • 160. Social Media  4 ขั้นตอนในการสรางแบรนดดวยโซเชียลมีเดีย  การสํานึกถึงคุณภาพ 160
  • 161. Social Media  4 ขั้นตอนในการสรางแบรนดดวยโซเชียลมีเดีย  การสํานึกถึงคุณภาพ 161
  • 162. Social Media  4 ขั้นตอนในการสรางแบรนด – Brand Association  คือสิ่งที่กจการตองการใหแบรนดเปนอยางไรในจิตใจ ิ ของผูบริโภค ซึ่งจะมาจากการกําหนดตัวตน หรือ Brand Identity ซึ่งอาจจะกําหนดจาก  คุณคาดานประโยชนใชสอย และ/หรือ  คุณคาดานความรูสึกก็ได 162
  • 163. Social Media  VolVo คุณสมบัติคือความปลอดภัย แตในดานอารมณความรูสึก คือ ผูคุมครองปกปองเราและคนที่เรารัก  นมตราหมี คุณสมบัติคือ ดื่มแลวสุขภาพดี แข็งแรง ดานอารมณ ความรูสึกคือ “เพื่อคนที่คุณรัก”  ซุปไกสกัด “แบรนด” เนนเรื่องความฉลาด ขณะที่ ซุปไกสกัด “สก็อต” เนนถึงความเปนหนุมสาวมีเสนห 163
  • 164. Social Media  4 ขั้นตอนในการสรางแบรนด – Brand Association 164
  • 166. Social Media  4 ขั้นตอนในการสรางแบรนด – Brand Association 166
  • 173. Social Media  4 ขั้นตอนในการสรางแบรนด – Brand Loyalty  ความหมายของ CRM สามารถแจกแจงเปนขอๆ ไดดังนี้  เปนกิจกรรมสรางความสัมพันธกับลูกคาอยางเปนกันเอง (Personalized)  ไมไดเนนการเพิ่มยอดขายในทันที แตเนนผลลัพธในรูปของ ยอดขายที่จะเกิดขึ้นในระยะยาว จากการที่ลูกคารูสึก ประทับใจ เปน Long Term Relationship  เปนกิจกรรมในการสื่อสารสองทาง 173
  • 174. Social Media  Relationship – ความสัมพันธระหวางกิจการกับลูกคานั้น ไมใช เรื่องที่จะสรางไดโดยงาย ความสัมพันธสามารถแบงออกไดเปน 5 ระยะ คือ  รูจักกัน  สํารวจ  ขยายความสัมพันธ  ใหคํามั่นสัญญา  หยาราง 174
  • 175. Social Media  Relationship – เรานํากรณีศึกษาของรานกวยเตี๋ยว เจกเมง กับ การใช CRM เพื่อสรางความสัมพันธ 5 ขันตอน คือ ้  รูจักกัน หลายๆ คนที่เขามากินเจกเมง อาจจะรูจักจากเพื่อนๆ ที่บอกกันผาน Facebook หรือ Twitter หรืออาจจะผาน ทางเขามา  สํารวจ เมื่อลูกคาใชบริการที่รานแลว จะมีแบบสอบถามให ลูกคากรอก สอบถามชื่อ ที่อยู สถานที่ทํางาน อีเมล วันเกิด เบอรโทรศัพท ชื่อที่ใชใน Facebook และ Twitter 175
  • 176. Social Media  Relationship – เรานํากรณีศึกษาของรานกวยเตี๋ยว เจกเมง กับ การใช CRM เพื่อสรางความสัมพันธ 5 ขันตอน คือ ้  ขยายความสัมพันธ – มีการสง SMS ขอบคุณลูกคา และมี ลิงคของ Facebook และ Twitter ซึ่งลูกคาสามารถเขามา  พูดคุย หรือแชรรูปภาพที่ถายในรานลงบน Wall ทําใหเกิด ความใกลชิดระหวางกิจการกับลูกคา  ใหคํามั่นสัญญา – เมื่อมีความสัมพันธที่แนบแนน ยามใดที่ ลูกคาผานมาทางเพชรบุรี ก็จะแวะเวียนมาทาน 176
  • 177. Social Media  Relationship – กรณี CRM ของแสนสิริ ที่เนนการทํา CRM กับ บรรดาลูกบาน  รูจักกัน คือ ลูกคาที่ซื้อบานแลว  สํารวจ ไดมีการใช Facebook เพื่อเก็บขอมูล ที่อยู และเบอร โทรศัพท เพื่อเปนฐานขอมูลในการสรางกิจกรรมเพื่อเสริม ความสัมพันธ 177
  • 179. Social Media  Relationship – กรณี CRM ของแสนสิริ ที่เนนการทํา CRM กับ บรรดาลูกบาน  ขยายความสัมพันธ - อาทิ  -รวมมือกับทาง SCB ออกบัตรเครดิต ซึงใหสิทธิในการสะสม ่ คะแนน เพื่อแลกกับบริการที่เกี่ยวของกับบาน  -รวมมือกับทาง LOVE IS ในการพาลูกบานไปฟงคอนเสิรต ฟรีๆ  -ไดดูหนังในรอบปฐมทัศน 179
  • 180. Social Media  Relationship – กรณี CRM ของแสนสิริ ที่เนนการทํา CRM กับ บรรดาลูกบาน  คํามั่นสัญญา – สินคาของแสนสิริมีการซื้อซ้ํา และตองการให ลูกคาที่ภักดี ชวยกันบอกตอถึงคุณงามความดีของแสนสิริ ทั้ง แบบออฟไลนและออนไลน ทั้งนี้ Sansiri ใช Facebook และ Twitter ในการประชาสัมพันธเกียวกับกิจกรรม CRM อยาง ่ ตอเนื่อง ทําใหการบอกตอนั้นทําไดงายขึ้น 180
  • 181. Social Media  ตัวอยาง แผนการตลาด Social Media ของ iEducation  เปนโรงเรียนกวดวิชา ที่ตั้งอยูสยามสแควร  กลุมเปาหมาย  นักเรียนชั้น ม. 4-6 ใน กทม.  ชอบแสดงออก ซึ่งสวนใหญมีโทรศัพทมือถือและใช Social Media  ไมชอบเขียน แตชอบอาน มีพฤติกรรมชอบพูดคุยกับเพือนๆ ่ อัพโหลดรูป 181
  • 182. Social Media  แผนการตลาด Social Media ของ iEducation  Brand Awareness  การจัดกิจกรรม “Karaoke Singing Contest” ใหนกเรียนสง ั คลิปรองเพลงของตนเขามาประกวด (YouTube, Facebook)  กิจกรรมประกวดภาพ “ความทรงจําในวัยเรียน (Facebook)  การใหอาจารยในโรงเรียนรองเพลงแรพสูตรคณิตศาสตร (YouTube) เพื่อใหเกิด Viral 182
  • 183. Social Media  แผนการตลาด Social Media ของ iEducation  Perceived Quality  การเฉลยขอสอบติวเขามหาวิทยาลัยวันละขอ (Facebook, YouTube)  การแนะนําอาจารยแบบสบายๆเปนกันเอง (Facebook, YouTube)  กิจกรรมใหนักเรียนบอกเลาถึงความเปน iEducation (Facebook) 183
  • 184. Social Media  แผนการตลาด Social Media ของ iEducation  Brand Association – ตองกําหนดคุณคาของแบรนดกอนคือ Play  + Learn = Plearn  นําเสนอบรรยากาศของโรงเรียนดวยภาพ (Facebook, Instagram) คลิปวิดีโอ (Facebook, Socialcam, YouTube) ในโรงเรียนที่สบายๆและสนุกสนาน  การใหความรูตางๆไมวาจะเกี่ยวของกับวิชาที่สอบหรือความรู ทั่วไป (Facebook)  สอดแทรกความบันเทิง เพลง หนัง โดยเนนเกาหลี (YouTube, 184 Facebook)
  • 185. Social Media  แผนการตลาด Social Media ของ iEducation  Brand Loyalty  ใชเครื่องตรวจสอบการพูดถึง iEducation เพื่อรับทราบ Feedback และแกไขปญหา  จัดทํา Facebook Group ที่ใหนกเรียนที่ศกษามากกวา 3 คอร ั ึ สขึ้นไปเทานั้นเปนสมาชิก ซึ่งจะมีการติวที่เขมขน กลเม็ดเคล็ด ลับในการเลือกคณะ  ในวันเกิด จะมีการสง e-mail อวยพร และสง e-book ติวแบบ เขมขนในวิชาที่นักศึกษาคนนั้นๆออน 185
  • 186. Social Media  แผนการตลาด Social Media ของ iEducation  สวนผสมของสื่อ  Facebook – จัดกิจกรรมทางการตลาด เสนอเนื้อหาในการติว แจงขาวสาร เปนชุมชนใหนักเรียนมาคุยกัน มีการทํา Group  YouTube – ทําคลิปวิดีโอติว กิจกรรมการตลาด และไวรัล  Twitter – พูดคุยแลกเปลี่ยนกับนักเรียน และรับเรื่องรองเรียน ตางๆ รวมถึงนําเสนอบทความนารู  Blog – นําเสนอเนื้อหาการติว 186  instagram นําเสนอรูปภาพและบรรยากาศของโรงเรียน
  • 187. E-CRM  E-CRM คือการใหความสําคัญแกลูกคาเกา 187
  • 188. E-CRM  เหตุผลที่ทําใหการรักษาลูกคาเกา ทําใหกําไรเพิ่มขึ้น เนื่องจาก  ตนทุนในการหาลูกคาใหมนั้นสูงวาตนทุนในการรักษาลูกคาเกา 5-7 เทา  ลูกคาใหมกวาจะไดมาตองระดมทรัพยากรตางๆ เพื่อแยงชิงพื้นที่ ทางการตลาดกับคูแขงขันรายอื่นๆ  ลูกคาเกาพรอมที่จะใชจายสินคาหรือบริการมากกวาลูกคาใหม เนื่องจากความไวใจและนิยมชมชอบ 188
  • 189. E-CRM  ความสัมพันธ แบงออกเปน 5 ระยะ  รูจักกัน – เราตองคิดวาทําอยางไรใหลูกคาไดรูจักเรา อาจจะมาจาก  Banner  Google  Facebook Ad  เพื่อนบอกใน Social Media  สื่อออฟไลน 189
  • 190. E-CRM  ความสัมพันธ แบงออกเปน 5 ระยะ  สํารวจ – ธุรกิจจะตองคํานึงวา เมื่อลูกคามาเยี่ยมชมหรือซื้อสินคา หรือบริการแลว จะเก็บขอมูลขอลูกคาอยางไร เชน อาจจะมีการให สมัครเปนสมาชิก Newsletter หรือเวลาที่สั่งซื้อ จะตองใหกรอก ขอมูลที่เราสามารถใชในการสงขาวสารได เชน e-mail, เบอรโทร, facebook account เปนตน 190
  • 191. E-CRM  ความสัมพันธ แบงออกเปน 5 ระยะ  ขยายความสัมพันธ – เมื่อไดรับชองทางที่เราจะสื่อสารแลว ก็ทํา จดหมายขาวแจกความเคลื่อนไหวของกิจการ เชน การเปดตัวสินคา ใหม การจัดงานพิเศษ การใหสวนลดราคา หรือการแนะนําใหซื้อ สินคาอื่นๆ เปนตน รวมไปถึงเมื่อถึงคราวในโอกาสพิเศษ เชน วัน เกิดหรือปใหม ก็เสนอสวนลดหรือสินคาพิเศษให เปนตน 191
  • 192. E-CRM  ความสัมพันธ แบงออกเปน 5 ระยะ  คํามั่นสัญญา – เมื่อลูกคาเกิดความประทับใจ ยอมทําใหเกิดการตก ลงใจที่จะเปนลูกคาประจํา  หยาราง – แตหากลูกคาเกิดความไมประทับใจ ทําใหความไวใจลด นอยถอยลง ก็จะทําการหันไปซื้อสินคาหรือบริการจากเว็บไซตอื่น 192
  • 193. E-CRM  มูลคาตลอดชีวิตของลูกคา (Customer Life Time Value) คําถาม “เราจําเปนตองปฏิบัติลูกคาทุกราย เทาเทียมกันหรือไม? 193
  • 194. E-CRM  มูลคาตลอดชีวิตของลูกคา (Customer Life Time Value) เราควรใหความสําคัญกับลูกคาตามมูลคา ตลอดชีวิตของลูกคาแตละราย 194
  • 195. E-CRM  มูลคาตลอดชีวิตของลูกคา (Customer Life Time Value) – หมายถึง มูลคาปจจุบันที่เกิดจากกําไรสุทธิในอนาคตตลอดชวงอายุของลูกคาที่มี ความสัมพันธกับกิจการ กิจการควรสนใจใหความสําคัญกับลูกคาที่มีคา CLV สูง มากกวาลูกคาที่มีคา CLV ต่ํา ไมควรสนใจเฉพาะการมูลคาการ ซื้อตอครั้ง เชน พอลูกคาไมซื้อ ก็ดาลูกคาหรือไมสนใจ แตจริงๆแลวเขา อาจจะกลับมาซื้ออีกหลายๆครั้งในอนาคต ก็ได 195
  • 196. E-CRM  มูลคาตลอดชีวิตของลูกคา (Customer Life Time Value) – ตัวอยาง  การแยกชองเช็คอิน ระหวางลูกคาที่เปนสมาชิกและไมเปน  บัตรเครดิตที่มีการใหคะแนนตามจํานวนเงินที่ใชบัตร  การสะสมแสตมปซึ่งไดจากการซื้อสินคา เพื่อแลกหรือเปนสวนลด ในคราวตอไป  การใหสวนลดพิเศษกับสินคาที่ไดซื้อเปนประจํา 196
  • 197. E-CRM  โปรแกรมสรางความภักดี 197
  • 198. E-CRM  จุดติดตอ (Contact Point) 198
  • 199. E-CRM  จุดติดตอ (Contact Point) – iRobot ดําเนินธุรกิจดานหุนยนตเพื่อ อุตสาหกรรมและใชในครัวเรือน มีปญหาในเรื่องการใหบริการลูกคา เนื่องจากชองทางตางๆในการติดตอระหวางลูกคาและฝายเทคนิคไมมี การบูรณาการกัน ทําใหเมื่อมีการชองทางที่แตกตาง ก็ตองมาเริ่ม พูดคุยกันใหม ตอมา iRobot ไดใชระบบ CRM ของ RightNow ทําให ทราบวาปญหาของลูกคาอยูในขั้นใดแลว ไมจําเปนตองเริ่มคําถาม ใหมทุกครั้ง แมวาจะติดตอในชองทางที่แตกตางกัน ผลคือ ทําใหลด ปริมาณการโทรเขามาที่ Call Center ถึง 30% 199
  • 200. E-CRM  การเสนอสินคาเปนรายบุคคล (Customization) 200
  • 201. E-CRM  การเสนอสินคาเปนรายบุคคล (Customization) 201
  • 202. E-CRM  การเสนอสินคาเปนรายบุคคล (Customization) – Officemate  My catalog – ลูกคาสามารถเขาไปสรางรายการสั่งซื้อบอยๆได ดวยตนเอง ทําใหประหยัดเวลาในการสั่งซื้อครั้งตอไป ไมตองมาดู รายการสินคาแตละรายการใหลําบาก  My Quotation – ลูกคาสามารถทําใบเสนอราคาดวยตนเองผาน ระบบอินเตอรเน็ต ทําใหประหยัดเวลาในกระบวนการสั่งซื้อลง 202
  • 203. E-CRM  แนวทางในการเสนอสินคาเปนรายบุคคล  การเสนอสินคาเปนรายบุคคลที่ทางเว็บไซตเปนคนกําหนด เชน www.amazon.com หรือ www.weather.com (แสดงขอมูลอากาศ ที่สอดคลองกับจังหวัดที่ลูกคาอยู)  การเสนอสินคาเปนรายบุคคลทีลูกคาสามารถกําหนดเอง เชน ่ www.stable.com ที่ลูกคาสามารถสรางรายการที่ตนเองสั่งซื้อบอย ได 203
  • 204. E-CRM  โปรแกรมดาน CRM  โปรแกรมปฏิสัมพันธระหวางลูกคาและกิจการ – เปนโปรแกรม ดานการติดตอสื่อสารเพื่อการใหบริการลูกคาผานหลายๆชองทาง มีการเก็บขอมูลลูกคา จากนั้นจัดเสนทางวาจะใหบริการกลับไปยัง ลูกคาผานชองทางใด (แมวาลูกคาจะติดตอในหลายๆชองทางที่ แตกตางกัน ก็ไมสับสน) 204
  • 205. E-CRM  โปรแกรมดาน CRM  โปรแกรมปฏิสัมพันธลูกคาและโปรแกรมคอมพิวเตอร – อาจจะ เปนกรณีที่เว็บไซตเปดโอกาสใหลูกคาสามารถสรางหนาเว็บไซต สวนตัวเองได เชน My Yahoo! หรือการนําเสนอขอมูลรายบุคคล เชน www.amazon.com หรืออาจจะเปนกรณีเว็บไซตบริการ ตัวเอง เชน การตรวจสอบสถานะจดหมาย 205
  • 206. E-CRM  โปรแกรมดาน CRM  โปรแกรมการวิเคราะห CRM – เปนโปรแกรมที่เก็บรวบรวม ขอมูลลูกคา จากนั้นนําไปวิเคราะหพฤติกรรมและความชื่นชอบ ของผูบริโภค เพื่อ CRM, การโฆษณา การตลาด และการบริหาร หวงอุปทาน 206
  • 207. E-CRM  โปรแกรมดาน CRM  โปรแกรมเครือขายออนไลน – คือการใช Social Media เพื่อการ ทํา CRM เนนเรื่องการมีสวนรวม เชน Comcast ใช Twitter ใน การบริการลูกคาโดยเนนการแกไขปญหาที่พวกเขาไดรับ สามารถเปลี่ยนลูกคาที่ดาดา เปนลูกคาประจําได 207