SlideShare a Scribd company logo
1 of 106
Download to read offline
รายงานการวิจัย
เรื่อง
ความพึงพอใจของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ์ที่มีต่อการสอนวิชาภาษาจีนของ
ครูอาสาชาวจีนระดับอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2552
Satisfaction of Ratchaphruek College students for Chinese teachers of Chinese
higher education volunteer of year, 2552
โดย
สาราญ จูช่วย
อาภาภรณ์ ดิษฐเล็ก
อมรรัตน์ คาบุญ
การวิจัยครั้งนี้ได้รับเงินทุนการวิจัยจากวิทยาลัยราชพฤกษ์
ปีการศึกษา 2552
ชื่อโครงการวิจัย
ความพึงพอใจของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ์ที่มีต่อการสอนวิชาภาษาจีนของ
ครูอาสาชาวจีนระดับอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2552
Satisfaction of Ratchaphruek College students for Chinese teachers of Chinese
higher education volunteer of year, 2552
สาราญ จูช่วย
อาภาภรณ์ ดิษฐเล็ก
อมรรัตน์ คาบุญ
วิทยาลัยราชพฤกษ์
ปีการศึกษา 2552
ปีที่ทาการวิจัยแล้วเสร็จ 2553
โครงการวิจัย ความพึงพอใจของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ์ที่มีต่อการเรียนการสอน
วิชาภาษาจีนของครูอาสาชาวจีนระดับอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2552
ชื่อผู้วิจัย สาราญ จูช่วย
อาภาภรณ์ ดิษฐเล็ก
อมรรัตน์ คาบุญ
(ภาษาอังกฤษ) Sumran Juchooy
Aphaphon Ditlek
Amornrat Khambun
ปีที่ทาการวิจัย ปีการศึกษา 2552
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายคือ 1) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการสอน
ของครูอาสาชาวจีน 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจ ในการสอนของครูอาสาชาวจีนจาแนก
ตามปัจจัยส่วนบุคคลของนักศึกษา
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถามนักศึกษาสาขาวิชาการโรงแรมและการท่องเที่ยวที่
ลงทะเบียนเรียนวิชาภาษาจีน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น
จานวน 90 ฉบับ สอบถามเกี่ยวกับความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการสอนของครูอาสาสมัคร
ชาวจีน 7 ตอน ตอนที่ 1 เป็นการสอบถามข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคลของนักศึกษา ตอนที่ 2 เป็นการ
สอบถามความคิดเห็นและการปฏิบัติในการเรียนภาษาจีนของนักศึกษา ตอนที่ 3 เป็นการสอบถาม
ความพึงพอใจต่อคุณลักษณะของผู้สอน ตอนที่ 4 เป็นการสอบถามความพึงพอใจต่อกิจกรรมการ
เรียนการสอนของอาจารย์ตอนที่ 5 เป็นการสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อเนื้อหาวิชา
ตอนที่ 6 เป็นการสอบถามความพึงพอใจต่อการวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ของครูผู้สอน และ
ตอนที่ 7 เป็นส่วนข้อเสนอแนะที่ควรปรับปรุงในการเรียนการสอนในรายวิชาภาษาจีน วิเคราะห์
ข้อมูล โดยการหาค่าร้อยละ (Percentange) และค่าเฉลี่ย (Mean) เปรียบเทียบข้อมูลโดยใช้สถิติ
ทดสอบสมมติฐานค่า t-test แบบ Independent ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษาที่เรียนวิชาภาษาจีนกับครู
อาสาสมัครชาวจีนมีความพึงพอใจต่อการสอนของครูอาสาชาวจีนในทุกด้าน โดยรวมอยู่ในระดับ
มากและผลการเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการสอนของครูอาสาชาวจีน จาแนกตามปัจจัย
ส่วนบุคคล พบว่านักศึกษาเพศชายและเพศหญิงมีความพึงพอใจต่อคุณลักษณะของผู้สอน กิจกรรม
การเรียนการสอนของอาจารย์ ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อเนื้อหาวิชา การวัดผล ประเมินผล
การเรียนรู้ของครูผู้สอนไม่แตกต่างกัน ส่วนการเปรียบเทียบจาแนกตามอายุที่เห็นความแตกต่างกัน
ง
ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติที่ 0.05 ได้แก่ ด้านคุณลักษณะของอาจารย์พบว่ากลุ่มอายุมากกว่า 25 ปี
และกลุ่มอายุ 20-25 ปี มีความพึงพอใจต่อบุคลิกภาพของอาจารย์ด้านการทักทายของอาจารย์ครั้ง
แรกที่เจอหน้ามากกว่ากลุ่มอายุต่ากว่า 20 ปี โดยกลุ่มอายุ 20-25 ปี มีความพึงพอใจต่อบุคลิกภาพ
ของอาจารย์ด้านการแสดงสีหน้า การยืน การนั่ง การลุก และการเดินของอาจารย์ มากกว่ากลุ่มอายุ
ต่ากว่า 20 ปี ส่วนด้านการความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันพบว่ากลุ่มอายุต่ากว่า 20 ปี มีความพึงพอใจ
ต่อความสามารถในการเขียนภาษาจีนได้ถูกต้องมากกว่ากลุ่มอายุ 20-25 ปี
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
Research Title : The Study of Students’ Contentment of Ratchapreuk College on
Chinese Language Learning and Teaching by Chinese Volunteered
Teachers in academic year 2009.
Researcher : Sumran Juchooy
Aphaphon Ditlek
Amonrat Khambun
Year : 2552
Abstract
The purposes of this study were two folds : 1) To study the students’
contentment on Chinese Language Teaching by Chinese Volunteered Teachers 2)
To compare the degrees of students’ contentment on Chinese language teaching by
Chinese volunteered teachers according to students’ classification.
The instrument of the research was a questionnaire with 90 items and seven
parts. 1. The Students' Personal Factors 2. Opinion and Practical Learning
3. Instructors' Appearance 4. Learning Activities 5. Chinese Language Contents
6. Learning Evaluation and Assessment 7. Other Recommendations of Chinese
Performance.
The data were analyzed using percentage, mean and independent samples
t.test.
The results of this study showed that the students who have learned Chinese
language with the Chinese volunteer teachers were content of all the parts in
general, and students' contentment were at high levels. The comparative level of
contentment of students' personal factors showed that both male and female
students were not at different levels of contentment to instructors' appearance,
learning activities, Chinese language content, learning evaluation and assessment.
ฉ
But the comparative data by students' ages were different in a level of significance
at 0.05. The students who were more than 25 years old and 20-25 years old were
more pleased by the greeting of the instructor than the students younger than 20
years. The 20 to 25-year-old students were more pleased by the facial appearance
and the standing, sitting, rising and walking behavior than the students younger than
20 years. The applied knowledge for everyday use showed that the students
younger than 20 years were more pleased by the skill in writing than the 20 to 25-
year-old students.
ช
กิตติกรรมประกาศ
การวิจัยเรื่อง ความพึงพอใจของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ์ที่มีต่อการสอนวิชาภาษาจีนของครู
อาสาสมัครชาวจีนระดับอุดมศึกษา ปีการศึกษา2552 สาเร็จลุล่วงได้ด้วยดี เพราะคณะผู้วิจัยได้รับความกรุณา
อย่างยิ่งจากรศ.ดร.ลัดดาวัลย์เพชรโรจน์ และหน่วยงานวิจัยของวิทยาลัยราชพฤกษ์ที่ให้คาแนะนาเกี่ยวกับแนว
ทางการเขียนรายงานวิจัย และตรวจทานแก้ไขให้รายงานวิจัยนี้มีความถูกต้องและชัดเจนยิ่งขึ้น
ขอขอบคุณวิทยาลัยราชพฤกษ์ที่ให้ทุนอุดหนุนในการทาวิจัย ปีการศึกษา 2552 ทาให้คณะผู้วิจัย
สามารถดาเนินการวิจัยจนสาเร็จสมบูรณ์ได้โดยสะดวก
ขอขอบคุณ อาจารย์กัลยา บุญยืน และ Mr.John Robert Woodward ที่กรุณาในการตรวจทาน
บทคัดย่อภาษาไทย และบทคัดย่อภาษาอังกฤษ และขอขอบคุณผู้เขียนตาราวิชาการ รายงานวิจัย และ
วิทยานิพนธ์ทุกท่านที่คณะผู้วิจัยได้นามาอ้างอิงไว้ในรายงานวิจัยเรื่องนี้ ซึ่งนับเป็นแหล่งข้อมูลที่ทรงคุณค่า
และเป็นแนวคิดที่เป็นประโยชน์ต่อการวิจัยอย่างยิ่ง
ขอขอบคุณนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ์ สาขาวิชาการโรงแรมและการท่องเที่ยว คณะบริหารธุรกิจ
ทุกคนที่ให้ข้อมูลอันเป็นประโยชน์ต่อการวิจัย จนทาให้งานวิจัยนี้สาเร็จได้ด้วยดี
คณะผู้วิจัย
ซ
สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อภาษาไทย ค
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ จ
กิตติกรรมประกาศ ช
สารบัญ ซ
สารบัญตาราง ฎ
สารบัญภาพ ฏ
บทที่
1 บทนา
ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา........................................ 1
วัตถุประสงค์ของการวิจัย............................................................... 5
ขอบเขตของการวิจัย...................................................................... 5
ระยะเวลาดาเนินการวิจัย............................................................... 5
กรอบแนวคิดการวิจัย.................................................................... 6
นิยามศัพท์เฉพาะ........................................................................... 7
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ........................................................... 8
2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ความหมายของความพึงพอใจ....................................................... 9
ทฤษฎีความพึงพอใจ..................................................................... 10
หลักแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับการสอน........................................... 12
องค์ประกอบของการสอน............................................................. 13
ลักษณะการสอนที่ดี....................................................................... 16
สื่อการเรียนการสอน...................................................................... 18
การวัดและการประเมินผล............................................................. 23
นโยบายการเปิดหลักสูตรภาษาจีนระดับอุดมศึกษา....................... 35
อาจารย์สัญชาติจีนที่สอนภาษาจีน................................................. 37
ฌ
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง......................................................................... 40
สารบัญ(ต่อ)
บทที่ หน้า
3 วิธีดาเนินการศึกษา
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง.............................................................. 43
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย.................................................................. 43
วิธีการดาเนินการและหาคุณภาพของเครื่องมือ............................... 45
การเก็บรวบรวมข้อมูล..................................................................... 45
การจัดกระทาข้อมูล......................................................................... 46
การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล.................. 46
4 ผลการวิจัย
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล...................................................................... 48
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคลของนักศึกษาวิทยาลัย
ราชพฤกษ์ปีการศึกษา 2552 ที่เรียนวิชาภาษาจีน............................. 48
ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นและการปฏิบัติในการเรียนภาษาจีน
ของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ์..................................................... 49
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจของนักศึกษาด้านคุณลักษณะ
ของผู้สอน........................................................................................ 52
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจของนักศึกษาด้านกิจกรรม
การเรียนการสอน............................................................................ 53
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจของนักศึกษาด้านเนื้อหาวิชา.. 54
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจของนักศึกษาด้านการวัดผล
ประเมินผลการเรียนรู้...................................................................... 55
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการ
สอนของครูอาสาชาวจีนจาแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลและนักศึกษา 56
5 สรุป การอภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
วัตถุประสงค์ของการวิจัย................................................................ 76
วิธีดาเนินการวิจัย............................................................................ 76
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย................................................................. 76
สรุปผลการวิจัย............................................................................... 77
ญ
สารบัญ(ต่อ)
บทที่ หน้า
อภิปรายผลการวิจัย......................................................................... 80
ข้อเสนอแนะ.................................................................................... 83
บรรณานุกรม........................................................................................... 84
ภาคผนวก........................................................................................................................ 86
ก แบบวัดความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนการสอนภาษาจีน.................. 87
ข ประวัติคณะผู้วิจัย............................................................................ 93
ฎ
สารบัญตาราง
ตารางที่ หน้า
1 แสดงจานวนคุณวุฒิอาจารย์ประจาชาวจีน................................................... 38
2 ปัจจัยส่วนบุคคลของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ์ปีการศึกษา 2552 ที่เรียน
ภาษาจีน...................................................................................................... 48
3 ความคิดเห็นและการปฏิบัติในการเรียนภาษาจีนของนักศึกษาวิทยาลัยราช
พฤกษ์........................................................................................................... 49
4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณลักษณะของ
ผู้สอน........................................................................................................... 52
5 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจของนักศึกษาด้านกิจกรรมการเรียน
การสอน....................................................................................................... 53
6 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจของนักศึกษาต่อเนื้อหาวิชา................. 54
7 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการวัดและการ
ประเมินผลการเรียนรู้................................................................................... 55
8 ผลการวิเคราะห์การเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการสอนของครู
อาสาสมัครชาวจีน........................................................................................ 55
ฏ
สารบัญภาพ
ภาพที่ หน้า
1 กรอบแนวความคิด 6
บทที่ 1
บทนา
ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
ภาษาเป็นสิ่งที่กาเนิดขึ้นมาพร้อมกับมนุษยชาติ โดยมีวิวัฒนาการให้สอดคล้องกับสภาพ
ของสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปที่เห็นเด่นชัด คือ ภาษาเขียน และภาษาเขียนนี้เองได้กลายเป็นรหัสของ
บรรดาสรรพความรู้และภูมิปัญญาที่ถูกถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น เมื่อสังคมมีความซับซ้อนและเชื่อมโยง
กันมากขึ้นภาษาก็ยิ่งทวีความสาคัญ ภาษาบางภาษาจึงถูกกาหนดให้เป็นภาษาสากลที่ใช้สื่อสารอย่าง
แพร่หลาย จากสภาพของสังคมที่ถูกเชื่อมเป็นหนึ่งเดียวโดยเทคโนโลยีการสื่อสาร ทาให้บรรดา
สรรพวิชาและศาสตร์ตลอดจนข้อมูลต่าง ๆ ที่มีอยู่ทั่วโลกได้เปิดกว้างให้ผู้คนเข้าไปสืบค้น เพื่อ
นาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต การประกอบอาชีพ และพัฒนาหน้าที่การงาน ดังนั้น เชื่อกันว่า
คนในสังคมปัจจุบันมีความจาเป็นต้องเรียนรู้ภาษาอย่างน้อย 3 ภาษา คือ ภาษาที่หนึ่งเป็นภาษาแม่
หรือภาษาของตนเอง ภาษาที่สองเป็นภาษาในภูมิภาคที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตตนเอง เช่น คนเอเชีย
อาจเรียนรู้ภาษาจีน ภาษาเกาหลีหรือภาษามลายูเป็นต้น และภาษาที่สามคือภาษาสากล ซึ่งเป็นภาษา
ที่ใช้กันในระดับนานาชาติโดยเฉพาะอย่างยิ่งภาษาอังกฤษ
ผู้ที่มีทักษะทางภาษากลายเป็นผู้ที่มีโอกาสในการเข้าถึงข่าวสารข้อมูลต่าง ๆ รวมถึงโอกาส
ในการทางานและประกอบอาชีพ ซึ่งในหลายทศวรรษที่ผ่านมาการเรียนรู้ภาษาได้มุ่งไปที่ภาษา
ตะวันตกไม่ว่าจะเป็นภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส และเยอรมัน จะมีภาษาในซีกโลกตะวันออกบ้างแต่ก็ไม่
มากนัก เช่น ภาษาญี่ปุ่น เป็นต้น แต่ในช่วงสองถึงสามทศวรรษที่ผ่านมา ผู้คนต่างให้ความสนใจ
ศึกษาภาษาตะวันออกมากขึ้น ด้วยเหตุผลทางการค้าและการลงทุน ภาษาจีนและภาษาเกาหลีจึง
ได้รับความสนใจศึกษามากขึ้นตามลาดับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาษาจีนเพราะด้วยประชากรจานวน
มหาศาลและการขยายตัวทางเศรษฐกิจของสาธารณรัฐประชาชนจีนส่งผลให้ประชาชนมีรายได้
เฉลี่ยที่เพิ่มขึ้น จึงเป็นพลังดึงดูดการค้าและการลงทุนที่ทุกคนต่างจับตามอง จนมีคากล่าวว่า “ถนน
ทุกสายมุ่งสู่จีน” ส่งผลให้สาธารณรัฐประชาชนจีนในวันนี้กลายเป็นตลาดการค้าและการลงทุนที่
สาคัญที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ดังที่พบว่าในปี พ.ศ. 2548 เศรษฐกิจของสาธารณรัฐประชาชนจีนมี
ขนาดใหญ่เป็นอันดับ 5 ของเศรษฐกิจโลก (มติชน, 13 ตุลาคม 2551 : 32) ขณะที่การค้าและการ
2
ลงทุนกับประเทศไทยก็มีอัตราการขยายตัวถึงร้อยละ 33 และอนาคตยังเชื่อกันว่าถนนสายเศรษฐกิจ
ระหว่างจีนและไทยจะเชื่อมโยงต่อกันอย่างสมบูรณ์ด้วยความสัมพันธ์ที่มีมาอย่างยาวนาน ดังนั้น
ภาษาจีนจึงเป็นภาษาที่มีความจาเป็นต่อการค้าและการลงทุนอย่างมากสาหรับอนาคตอันใกล้นี้
ภาษาจีน เป็นภาษาที่มีคนใช้สื่อสารมากที่สุดในโลก ด้วยประชากรของสาธารณรัฐ
ประชาชนจีนมีมากกว่า 1,300 ล้านคน ไม่นับรวมชาวจีนที่อาศัยอยู่ในประเทศต่าง ๆ อีกทั่วโลก
และเป็นภาษาของประเทศที่มีความสัมพันธ์อันดีกับไทยมาตั้งแต่สมัยอยุธยา จึงเป็นภาษาที่คนไทย
มีความคุ้นเคยเพราะเป็นภาษาที่ได้เดินทางเข้ามาพร้อมกับคนไทยเชื้อสายจีนในประเทศไทย
สาหรับการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทยเกิดขึ้นตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัว ซึ่งเป็นการเรียนการสอนในโรงเรียนเอกชนที่จัดตั้งโดยชุมชนหรือท้องถิ่นที่รวมตัวกัน
ต่อมาได้มีการรวมตัวกันในนามของสมาคมชาวจีน การเรียนการสอนภาษาจีนต้องหยุดชะงักและ
ถูกควบคุมอย่างเข้มงวดในช่วงที่สาธารณรัฐประชาชนจีนมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองไปสู่
ระบอบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ จนกระทั่งมีการรื้อฟื้นและสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตอย่าง
เป็นทางการขึ้นอีกครั้งระหว่างสาธารณรัฐประชาชนจีนและประเทศไทยในปี พ.ศ. 2518 การจัดการ
เรียนการสอนภาษาจีนจึงกลับมาตื่นตัวอีกครั้ง แต่เหตุการณ์ก่อนหน้านี้ก็ได้ก่อให้เกิดผลกระทบ
และข้อจากัดของการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทยเป็นอย่างมาก
รัฐบาลไทยได้ตระหนักและมองเห็นอนาคตของจีนบนเวทีโลกเช่นเดียวกับประเทศต่าง ๆ
จึงได้มีความพยายามส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนมาตั้งแต่ปี พ.ศ.
2521 โดยกระทรวงศึกษาธิการให้บรรจุภาษาจีนเป็นวิชาเลือกเสรีในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและ
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในปี พ.ศ. 2524 แต่ก็ไม่ได้มีการจัดการเรียนการสอนกันอย่างจริงจัง
จนกระทั่งปี พ.ศ. 2535 จึงมีความพยายามขึ้นอีกครั้งในการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนทั้งใน
ระดับอาชีวศึกษาและระดับปริญญาตรีในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชน ในปัจจุบัน
ภาษาต่างประเทศที่มีการสอนในประเทศไทยมีจานวน 19 ภาษา ได้แก่ ภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส
เยอรมัน อิตาเลียน สเปน รัสเซีย โปรตุเกส จีน ญี่ปุ่ น เกาหลี เวียดนาม เขมร พม่า ลาว มาเลย์
อาหรับ ฮินดู บาลีสันสกฤต และกรีก ภาษาต่างประเทศที่มีการสอนในสถาบันการศึกษา
ระดับอุดมศึกษาทุกภูมิภาคคือ ภาษาอังกฤษและภาษาจีน และทั้งสองภาษานี้ยังเป็นวิชาที่มีการ
เรียนการสอนในทุกระดับด้วย ส่วนภาษาต่างประเทศอื่น ๆ มีการสอนในระดับการศึกษาที่ต่างกัน
3
ออกไป และต่างกันในภูมิภาคต่าง ๆ อาทิ ภาษาฝรั่งเศสซึ่งเป็นภาษาต่างประเทศที่มีการสอนใน
ระบบมานานกว่าภาษาต่างประเทศอื่น ๆ ยกเว้น ภาษาอังกฤษและภาษาจีน แต่ก็ไม่ได้เปิดสอนใน
ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้น หรือภาษาญี่ปุ่นซึ่งเป็นภาษาต่างประเทศที่เป็นที่นิยม
อันดับ 3 รองจากภาษาอังกฤษและจีนในสถาบันการศึกษา ก็มีการสอนในระดับมัธยมศึกษาขึ้นไป
จนถึงอุดมศึกษา และในระดับอุดมศึกษาเป็นระดับที่มีการสอนภาษาต่างประเทศมากที่สุด รวม
ทั้งสิ้น 19 ภาษาดังกล่าว และภาษาเพื่อนบ้านของเรา เช่น ภาษาลาว พม่า และมาเลย์ ก็มีการสอน
ในมหาวิทยาลัยตามความใกล้ชิดทางภูมิภาคแตกต่างกันออกไป (ปราณี กุลละวณิชย์, 2549 : 6)
การเรียนการสอนภาษาจีนระดับอุดมศึกษาในไทย เริ่มต้นเมื่อ พ.ศ. 2515 ที่คณะรัฐศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ท่ามกลางบรรยากาศปิดทางการเมืองอันปกคลุมด้วยความหวั่นเกรงภัย
คอมมิวนิสต์ และสงครามเย็นที่แผ่ไปทุกภูมิภาคของโลก ขณะนั้นไทยยังไม่มีการสถาปนา
ความสัมพันธ์ทางการทูตกับสาธารณรัฐประชาชนจีน การสถาปนาเพิ่งเกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2518
ภายหลังจากที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเปิดสอนภาษาจีนไปแล้วเป็นเวลา 3 ปี
ในปี พ.ศ. 2515 ศาสตราจารย์ดร. เขียน ธีระวิทย์ อาจารย์ประจาแผนกวิชาการต่างประเทศ
และการทูตคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ดาริว่าบริบทโลก (Global Context)
เปลี่ยนไป จีนมีความขัดแย้งกับโซเวียตและต้องการสหรัฐอเมริกามาคานอานาจ อีกทั้งจีนได้รับการ
ยอมรับจากสังคมโลกมากขึ้น ขณะเดียวกันบริบทภูมิภาค (Regional Context) ก็เปลี่ยน จีนต้องการ
ไทยเป็นมิตรเพื่อคานอานาจของโซเวียตที่แผ่ขยายอย่างรวดเร็วมาในกัมพูชาและเวียดนาม ใน
สภาวะเช่นนี้ไทยจะไม่สามารถต้านกระแสหลักของโลกที่กาลังคืบคลานมา สยามประเทศต้อง
เตรียมพร้อมสาหรับรับมือสถานการณ์ของโลกที่เปลี่ยนแปลงไป เหนือสิ่งอื่นใด ไทยจะต้องมี
บุคลากรที่รู้ภาษาจีนที่จะเสริมการดาเนินนโยบายต่างประเทศให้มีสมรรถภาพที่ดีขึ้น มหาวิทยาลัย
ในฐานะแหล่งผลิตองค์ความรู้ และแหล่งชุมนุมภูมิปัญญาของชาติจะนิ่งนอนใจอยู่มิได้ ควรจะต้อง
ดาเนินการเปิดการเรียนการสอนภาษาจีนขึ้นในมหาวิทยาลัย
วิทยาลัยราชพฤกษ์ เป็นสถาบันการศึกษาเอกชนอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลการจัดการเรียน
การสอนของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เปิดสอนในระดับปริญญาตรีตั้งแต่ปีการศึกษา
2549 เป็นต้นมา และในปีการศึกษา 2551 ได้เปิดสอนในระดับปริญญาโทเพิ่มขึ้น ซึ่งในระดับ
ปริญญาตรีที่วิทยาลัยจัดการเรียนการสอน บรรจุวิชาภาษาจีนไว้ในหมวดศึกษาทั่วไปให้เป็นวิชา
4
เลือกในกลุ่มภาษา และในปีการศึกษา 2551 วิทยาลัยได้เข้าร่วมโครงการความร่วมมือทางวิชาการ
ด้วยการแลกเปลี่ยนครูอาสาสมัครชาวจีนโดยครูอาสาสมัครเหล่านี้ต้องสาเร็จการศึกษาระดับ
ปริญญาตรีและปริญญาโท หรือกาลังศึกษาในระดับปริญญาโทและอยู่ในระหว่างการทา
วิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ มาสอนในวิทยาลัย โดยผ่านการพิจารณาคัดเลือกครูอาสาสมัคร
ชาวจีนจากสาธารณรัฐประชาชนจีน ส่งมาเป็นครูผู้สอนวิชาภาษาจีนในวิทยาลัย ตามที่วิทยาลัย
ประสานขอจานวนบุคลากร โดยครูอาสาสมัครชาวจีนเหล่านี้จะมาทาหน้าที่เป็นครูผู้สอนวิชา
ภาษาจีน 1 และวิชาภาษาจีน 2 ให้แก่นักศึกษาระดับปริญญาตรี ในคณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการ
จัดการการโรงแรมและการท่องเที่ยว ในชั้นปีที่ 1 และชั้นปีที่ 2 ซึ่งในการจัดการเรียนการสอนใน
วิชาภาษาจีนนั้น ครูผู้สอนที่เป็นคนจีน เมื่อมาทาหน้าที่ในการสอนให้แก่นักศึกษาซึ่งเป็นคนไทย
ต้องมีการปรับตัวให้สามารถเข้ากับวัฒนธรรมประเพณีของไทย ทั้งยังต้องเรียนรู้วิถีชีวิตความ
เป็นอยู่ของนักศึกษาไทย พัฒนาวิธีการสื่อสารให้สามารถสร้างความเข้าใจให้แก่ผู้รับสารได้อย่าง
ถูกต้อง
หมวดศึกษาทั่วไปในฐานะที่เป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่บริหารจัดการเรียนการสอนใน
รายวิชาศึกษาทั่วไปตามโครงสร้างหลักสูตร ได้บรรจุกลุ่มวิชาในการจัดการเรียนการสอนให้คณะ
สาขาต่างๆ ดังนี้ 1) กลุ่มสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ 2) กลุ่มภาษาศาสตร์ 3) กลุ่มวิชา
วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 4) กลุ่มวิชาพลศึกษาและนันทนาการ ภาษาจีนจัดเป็นรายวิชาหนึ่งที่
อยู่ในกลุ่มวิชาภาษาศาสตร์ ซึ่งเป็นหน้าที่ของหมวดศึกษาทั่วไปที่ต้องบริหารจัดการเรียนการสอน
ทั้งในด้านครูผู้สอนและผู้เรียน การที่วิทยาลัยรับครูอาสาสมัครชาวจีนมาสอนให้แก่นักศึกษาที่เป็น
คนไทยในแต่ละรุ่นนั้น ครูอาสาเหล่านี้จะมีคุณลักษณะ ความรู้ ความสามารถในการสอน และ
ทัศนคติ แตกต่างกัน ดังนั้น เพื่อให้ได้ข้อมูลที่จะเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณลักษณะและความรู้
ความสามารถ ของครูอาสาสมัครชาวจีนที่จะรับเข้ามาในปีการศึกษาต่อ ๆ ได้ตรงตามความ
พึงพอใจของผู้เรียน จึงต้องมีการสารวจความคิดเห็นของนักศึกษาในด้านต่างๆ เกี่ยวกับครู
อาสาสมัครชาวจีน ซึ่งผลที่ได้จากการสารวจดังกล่าวจะเป็นข้อมูลในการพัฒนาครูผู้สอน สื่อการ
สอน วิธีการคัดเลือกคุณลักษณะที่เหมาะสมแก่ผู้เรียนของครูอาสาสมัครชาวจีนซึ่งข้อมูลที่ได้รับ
จากกลุ่มตัวอย่างจะเป็นฐานในการทาความเข้าใจ ชี้แนะแนวทางให้แก่ครูอาสาสมัครชาวจีนที่เข้ามา
5
สอนในปีการศึกษาต่อไป อันจะเกิดประสิทธิผลต่อผู้เรียนในด้านการพัฒนาทักษะทางภาษา และ
เกิดประสิทธิภาพแก่หมวดศึกษาทั่วไปในการจัดการเรียนการสอนที่สัมฤทธิ์ผลยิ่งขึ้น
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการสอนของครูอาสาสมัครชาวจีน
2. เพื่อเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจ ในการสอนของครูอาสาสมัครชาวจีนจาแนกตาม
ปัจจัยส่วนบุคคลในด้านเพศและอายุของนักศึกษา
ขอบเขตของการวิจัย
ขอบเขตด้านประชากร
ประชากร
ประชากรที่ศึกษาสาหรับการวิจัยครั้งนี้เป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ
สาขาวิชาการจัดการการโรงแรมและการท่องเที่ยว วิทยาลัยราชพฤกษ์ ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชา
ภาษาจีน 1 และภาษาจีน 2
กลุ่มตัวอย่าง
การวิจัยครั้งนี้ศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างสาขาวิชาการจัดการการโรงแรมและการท่องเที่ยว
ชั้นปีที่ 1, 2 ปีการศึกษา 2552 ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาภาษาจีน 1 และภาษาจีน 2 โดยใช้วิธีการ
เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จานวน 90 คน
ระยะเวลาดาเนินการวิจัย
ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2552
6
กรอบแนวคิดในการวิจัย
ตัวแปรพื้นฐาน ตัวแปรที่ศึกษา
ปัจจัยส่วนบุคคล
เพศ อายุ
ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการสอนของครู
อาสาสมัครชาวจีน
ด้านคุณลักษณะผู้สอน
ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน
ด้านเนื้อหาวิชา
ด้านการวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
ภาพที่ 1 ษ์ที่มีต่อ
การสอนวิชาภาษาจีนของครูอาสาสมัครชาวจีนระดับอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2552
7
นิยามศัพท์เฉพาะ
ความพึงพอใจ หมายถึง ระดับความรู้สึกหรือระดับความพอใจของแต่ละบุคคล ที่ส่งผลต่อ
การแสดงพฤติกรรมต่าง ๆ ออกมา ซึ่งเกิดจากความรู้สึกนึกคิด แรงจูงใจ และปัจจัยสภาพแวดล้อม
ต่าง ๆ ที่มากระตุ้น
ครูอาสาสมัครชาวจีน หมายถึง บุคคลที่ผ่านการทาสัญญาระหว่างสานักงานคณะกรรมการ
การอุดมศึกษาร่วมกับฝ่ายการศึกษา สถานเอกอัครราชทูตจีนประจาประเทศไทย โดยการคัดเลือก
บัณฑิตชาวจีนที่สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีและปริญญาโทเป็นครูอาสาสมัครสอนภาษาจีน
และต้องสอนในระดับอุดมศึกษาเป็นเวลาอย่างน้อย 1 ปี โดยเริ่มปฏิบัติงานในสถานศึกษาที่ขอมา
ตั้งแต่เดือนมิถุนายนถึงเดือนมีนาคมของทุกปีการศึกษา ภาระหน้าที่การสอนของครูอาสาสมัครชาว
จีนมี 4 ด้านได้แก่
1. ด้านคุณลักษณะผู้สอน หมายถึง บุคลิกและความมีมนุษยสัมพันธ์ของครู
อาสาสมัครชาวจีน ด้านบุคลิกภาพของอาจารย์ผู้สอนมี 6 ลักษณะ คือ ลักษณะการทักทาย ลักษณะ
การแสดงออกทางสีหน้าของอาจารย์ ลักษณะการแต่งกายของอาจารย์ ลักษณะความมั่นใจในการ
พูดหรือการสนทนาระหว่างอาจารย์กับนักศึกษา ลักษณะการวางตัวของอาจารย์ และลักษณะความ
มั่นคงทางอารมณ์ของอาจารย์ ส่วนด้านที่ 2 ความมีมนุษยสัมพันธ์ของอาจารย์มี 4 ลักษณะ คือ
ลักษณะความเป็นกันเองของอาจารย์ ลักษณะการทักทายอย่างยิ้มแย้มแจ่มใสของอาจารย์ ลักษณะ
ความเอื้อเฟื้อของอาจารย์ รวมทั้งลักษณะการให้เกียรติและการมีมารยาท
2. ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน หมายถึง การเตรียมการสอน เทคนิคการสอน
และการสื่อสารเนื้อหาของอาจารย์ ในด้านการเตรียมการสอนมี 2 ลักษณะ คือ ลักษณะการเตรียม
เนื้อหาก่อนสอน และลักษณะการเตรียมสื่อก่อนสอน ส่วนด้านเทคนิคการสอนและการสื่อสาร
เนื้อหาของอาจารย์มี 8 ลักษณะ คือ ลักษณะการนาเข้าสู่บทเรียน ลักษณะการถ่ายทอดความรู้
ลักษณะความชานาญในการใช้สื่อการสอน ลักษณะการเชื่อมโยงเนื้อหาเข้ากับสื่อการสอน ลักษณะ
ความสามารถในการสอน ลักษณะความมั่นใจในเนื้อหาการสอน และลักษณะการตรงต่อวลา
3. ด้านเนื้อหาวิชา หมายถึง การเลือกและการจัดลาดับเนื้อหาที่สอน โดยพิจารณา
จากความสามารถของนักศึกษาในการพูด เขียน อ่าน ฟัง ตลอดจนการนาความรู้ที่ได้ในห้องเรียนไป
ใช้ประโยชน์ด้านการสื่อสารในการทางาน
4. ด้านการวัดผลประเมินผลการเรียนรู้ หมายถึง ความรู้และทักษะในการสร้าง
เครื่องมือที่เหมาะสม ความรู้และทักษะของนักศึกษาในการทาข้อสอบแบบปรนัยและแบบอัตนัย
ความสม่าเสมอในการประเมินผลอย่างต่อเนื่อง รูปแบบการวัดผล ประเมินผล การติดตามวัดผลใน
8
ชีวิตประจาวัน ความพอเพียงของเวลาที่ใช้ในการวัดผล การใช้สื่อในการวัดผล การวิเคราะห์ความ
ยากง่ายของข้อสอบในการวัดผลและประเมินผล
นักศึกษาหมายถึง นักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ์ในระดับปริญญาตรีที่ได้รับการสอนวิชา
ภาษาจีนโดยครูอาสาสมัครชาวจีน
ปัจจัยส่วนบุคคล หมายถึง ข้อมูลส่วนตัวของนักศึกษาในด้านเพศและอายุของศึกษา
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
สามารถนาข้อมูลที่ได้รับจากความพึงพอใจของนักศึกษามาวิเคราะห์หาแนวทางในการ
วางแผนพัฒนาครูอาสาสมัครชาวจีนในด้านคุณลักษณะ กิจกรรมการเรียนการสอน เนื้อหาวิชาที่
สอน วิธีการสอน สื่อการสอน การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้ และการปรับตัวในการใช้ชีวิตใน
วิทยาลัยให้บรรลุวัตถุประสงค์การจัดการศึกษาของหมวดศึกษาทั่วไปต่อไป
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ์ที่มีต่อการสอนของครูอาสาสมัคร
ชาวจีนครั้งนี้ผู้ศึกษาได้ศึกษาแนวคิดทฤษฏี เอกสาร รายงานและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นฐาน
ทางความคิด ซึ่งจะนาไปสู่กรอบความคิดที่ใช้ในการศึกษาดังนี้
1. ความหมายของความพึงพอใจ
2. ทฤษฎีความพึงพอใจ
3. หลักแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับการสอน
3.1 ความหมายของการสอน
3.2 องค์ประกอบของการสอน
3.3 ลักษณะการสอนที่ดี
3.4 สื่อการเรียนการสอน
3.5 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
4. นโยบายการเปิดหลักสูตรภาษาจีนระดับอุดมศึกษา
4.1 อาจารย์สัญชาติจีนที่สอนภาษาจีน
4.2 การจัดการเรียนการสอนภาษาจีนของวิทยาลัยราชพฤกษ์
5. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ความหมายของความพึงพอใจ
ความพึงพอใจ มีความหมายโดยทั่วไปว่า ระดับความรู้สึกในทางบวกของบุคคลต่อสิ่งใด
สิ่งหนึ่ง อีกทั้งยังมีผู้ให้ความหมายของความพึงพอใจ ไว้ดังนี้
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2542 ให้ความหมายความพึงพอใจหมายถึง ความ
พอใจ ความชอบใจ
กาจนา ภานุสุรพันธ์ ให้ความหมาย ความพึงพอใจหมายถึง ระดับความรู้สึก หรือความนึก
คิด ต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่ได้รับตามที่คาดหวัง
10
วอลเลอร์สเตน (Wallerstein, 1971 : 256 อ้างถึงในธีระ สุภาวิมล, 2551 : 7-8) ได้ให้
ความหมายของความพึงพอใจไว้ว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกที่เกิดขึ้นเมื่อได้รับผลสาเร็จ
ตามความมุ่งหมายและอธิบายว่า ความพึงพอใจเป็นกระบวนการทางจิตวิทยาไม่สามารถมองเห็น
ได้ชัดเจน แต่สามารถคาดคะเนได้ว่ามีหรือไม่มีจากการสังเกตพฤติกรรมของคนเท่านั้น การที่จะทา
ให้เกิดความพึงพอใจจะต้องศึกษาปัจจัยและองค์ประกอบที่เป็นสาเหตุของความพึงพอใจนั้น
หลุย จาปาเทศ (2539 :14) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความต้องการ (Need) ได้
บรรลุเป้ าหมายพฤติกรรมที่แสดงออกมาก็จะมีความสุข สังเกตได้จากสายตา คาพูด และการ
แสดงออก
กู๊ด (Good, 1973 : 320 อ้างถึงในประภา ตุลานนท์, 2540 : 23) อธิบายว่า ความพึงพอใจ
หมายถึง คุณภาพหรือระดับความพึงพอใจ ซึ่งเป็นผลจากความสนใจต่าง ๆ และทัศนคติของ
กิจกรรม
ความพึงพอใจเป็นปัจจัยสาคัญในการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ ดังที่
ประภา ตุลานนท์(2540 :23) กล่าวว่า การที่บุคคลจะเรียนรู้หรือมีพัฒนาการและความเจริญงอกงาม
นั้นบุคลจะต้องอยู่ในสภาวะพึงพอใจ สุขใจ เบื้องต้นนั่นคือ บุคคลต้องได้รับการจูงใจทั้งในลักษณะ
นามธรรมและรูปธรรม สรุปได้ว่า นักเรียนที่มีสติปัญญาเท่ากัน ถ้ามีแรงจูงใจในการเรียนต่างกันจะ
มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่างกัน
นอกจากนั้น ธีระ สุภาวิมล (2551 : 21) ได้อธิบายไว้ในทานองเดียวกันว่า ความพึงพอใจ
เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับอารมณ์ ความรู้สึก และทัศนคติอันเนื่องมาจากสิ่งเร้า และแรงจูงใจ ซึ่ง
ปรากฏออกมาทางพฤติกรรม และเป็นองค์ประกอบที่สาคัญในการทากิจกรรมต่าง ๆ
จากความหมายขั้นต้นสรุปได้ว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ระดับความรู้สึกหรือ ระดับ
ความพอใจของแต่ละบุคคล ที่ส่งผลต่อการแสดงพฤติกรรมต่าง ๆ ออกมา ซึ่งเกิดจากความรู้สึกนึก
คิดและปัจจัยสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ที่มากระตุ้น ซึ่งระดับความพึงพอใจของแต่ละบุคคลย่อมมีความ
แตกต่างกันออกไป ดังนั้น ในการจัดการเรียนการสอนจึงจาเป็นต้องสร้างแรงจูงใจให้ผู้เรียนเกิด
ความพึงพอใจ มีความสนใจในการเรียน เพื่อให้การเรียนการสอนประสบความสาเร็จตาม
วัตถุประสงค์ของรายวิชา
ทฤษฎีความพึงพอใจ
เออร์เนส และอิลเจล (Ernest & llgen, 1980 : 306 อ้างถึงใน พูนศิริ อรุณเนตร, อรวรรณ
สมบูรณ์สาร และทวีสุข ปทุมานุสสรณ์. 2543 : 11 ) กล่าวว่า ความพึงพอใจเป็นแรงจูงใจของมนุษย์
ที่ตั้งอยู่บนความต้องการพื้นฐาน (Basic Needs) มีความเกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิดกับผมสัมฤทธิ์และ
แรงจูงใจ (Intensive) และพยายามหลีกเลี่ยงสิ่งที่ไม่ต้องการ
11
มัลลินส์ (Mullins, 1985 : 280 อ้างถึงใน พูนศิริ อรุณเนตร, อรวรรณ สมบูรณ์สาร และ
ทวีสุข ปทุมานุสสรณ์. 2543 : 11-12) กล่าวว่า ความพึงพอใจเป็นทัศนคติของบุคคลที่มีต่อสิ่ง
ต่าง ๆ หลาย ๆ ด้าน เป็ นสภาพภายในที่มีความสัมพันธ์กับความรู้สึกของบุคคลที่ประสบ
ความสาเร็จในงานทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ เกิดจากมนุษย์จะมีแรงผลักดันบางประการในตัว
บุคคล ซึ่งเกิดจากการที่ตนเองพยายามจะบรรลุถึงเป้ าหมายบางอย่าง เพื่อจะสนองตอบต่อความ
ต้องการ หรือคาดหวังที่มีอยู่และเมื่อบรรลุเป้ าหมายนั้นแล้ว ก็จะเกิดความพอใจเป็นผลสะท้อน
กลับไปยังจุดเริ่มต้นเป็นกระบวนการหมุนเวียนต่อไปอีก
ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน นักจิตวิทยาแบ่งการจูงใจเกี่ยวกับการศึกษา
ออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้
1) แรงจูงใจภายใน (Intrinsic Motivation) ได้แก่ การจูงใจที่เกิดจากความรู้สึกภายใน
ของผู้เรียนเอง เช่น ความต้องการ ความสนใจและทัศนคติที่ดีต่อวิชาที่เรียนทาให้ผู้เรียนเกิด
ความรู้สึก กระตือรือร้น อยากรู้อยากเห็น อยากเรียน เต็มใจและตั้งใจเรียน เพราะต้องการความรู้
มิใช่เรียนเพราะหวังผลอย่างอื่น
2) แรงจูงใจภายนอก (Extrinsic Motivation) ได้แก่ การจูงใจที่เกิดจากสิ่งแวดล้อม
ภายนอกมาชักจูงหรือกระตุ้นให้เกิดการจูงใจภายในขึ้นเป็นต้นว่า วิธีสอน บุคลิกภาพของผู้สอน
และเทคนิคที่ครูใช้ในการสอนจะเป็นสิ่งจูงใจให้ผู้เรียนเกิดความรู้สึกอยากเรียน การกระทาที่เกิด
จากแรงจูงใจภายนอกไม่ได้เป็นการกระทา เพื่อความสาเร็จในสิ่งนั้นอย่างแท้จริงแต่เป็นการกระทา
เพื่อสิ่งจูงใจอย่างอื่น เช่น การเรียนที่หวังคะแนน นอกเหนือไปจากการได้รับความรู้
การศึกษาเป็นกระบวนการที่ทาให้ผู้เรียนมีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไปในทางที่พึง
ประสงค์ การจูงใจภายในจึงเป็นลักษณะการจูงใจที่ดีและมีอิทธิพลที่สุดต่อกระบวนการเรียนรู้
ดังนั้นจึงควรส่งเสริมให้เกิดแรงจูงใจภายในขึ้นโดยใช้การจูงใจภายนอกยั่วยุให้ผู้เรียนเกิดความ
สนใจ เช่น ใช้หลักการให้รางวัล และลงโทษการชมเชยและการตาหนิ การแข่งขันและการร่วมมือ
ต่าง ๆ แต่ในความเป็นจริงการจัดการศึกษาโดยทั่วไปมักพบว่า การสร้างแรงจูงใจเพื่อให้ผู้เรียนเกิด
แรงจูงใจภายในขึ้นนั้น กระทาได้อยากมากเพราะเหตุนี้ในการจัดการศึกษาจึงพบเสมอว่า ส่วนใหญ่
จะสร้างแรงจูงใจภายนอกก่อน เพื่อก่อให้เกิดแรงจูงใจภายในขึ้นภายหลังและในการสร้างแรงจูงใจ
ไม่ว่าจะเป็นแรงจูงใจภายในหรือภายนอกจะต้องทาอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่องตลอดเวลา จึงจะ
บังเกิดผลดีทั้งนี้เพราะว่า เมื่อร่างกายเกิดความต้องการจะทาให้เกิดแรงขับหรือแรงจูงใจที่เป็น
ตัวกระตุ้นหรือผลักดันให้ร่างกายแสดงพฤติกรรม เพื่อให้ได้สิ่งที่ต้องการพฤติกรรมที่กระทาจึงมี
ทิศทางหรือจุดมุ่งหมาย เมื่อร่างกายได้สิ่งที่ต้องการ ก็จะเกิดความพึงพอใจแรงขับก็จะลดลง
(ประภา ตุลานนท์, 2540 : 25) เพราะฉะนั้นในการเรียน การสอน ครูผู้สอนจะต้องพยายามสร้าง
12
สิ่งจูงใจให้ผู้เรียนเกิดแรงขับหรือแรงจูงใจอย่างสม่าเสมอ เพื่อผู้เรียนจะได้สนใจติดตามบทเรียน
อย่างต่อเนื่องทาให้เรียนรู้อย่างได้ผล
การจัดการเรียนการสอนทางด้านภาษานั้นโดยเฉพาะการเรียนการสอนภาษาจีนซึ่งเป็น
ภาษาต่างประเทศที่ค่อนข้างยากทั้งในการออกเสียงและการเขียนตัวอักษร จาเป็นที่ต้องอาศัย
แรงจูงใจหรือสภาวะที่กระตุ้นเร้าให้ผู้เรียนเกิดความสนใจเรียนมาก ดังนั้นผู้วิจัยจึงเห็นว่า
การศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนในการเรียนภาษาจีนเป็นสิ่งสาคัญ และควรศึกษาจากปัจจัย
สภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอนและอาจมีผลต่อความพึงพอใจของผู้เรียน
ได้แก่
1) บุคลิกภาพและความมีมนุษยสัมพันธ์ของอาจารย์
2) การจัดการเรียนการสอนของอาจารย์ ในด้านการเตรียมการสอน เทคนิคการสอน
และการสื่อสารเนื้อหา
3) การนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน
หลักแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับการสอน
ความหมายของการสอน
บุคคลโดยทั่วไปส่วนใหญ่จะเข้าใจว่า การสอน คือ การถ่ายทอดเนื้อหาวิชา โดยใช้
วิธีการบอกให้ทา ให้จา ให้จด และนาไปท่องจา เพื่อสอนต่อไป แต่ในแวดวงของผู้ที่เกี่ยวข้องกับ
การศึกษาจะเข้าใจว่า การสอนมิได้หมายถึง การบอกให้ทา ให้จา ให้จด แต่เพียงอย่างเดียว การสอน
มีความหมายลึกซึ้งกว่านั้น กล่าวคือ วิธีการใดก็ตามที่ครูนามาใช้เพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ เรียก
ได้ว่าเป็นการสอนทั้งสิ้น
นักการศึกษาหลายท่านได้ให้ความหมายของการสอนไว้หลายทัศนะ ดังนี้
สุมน อมรวิวัฒน์ (2533 : 460) อธิบายความหมายของการสอนไว้ว่า การสอน คือ
สถานการณ์อย่างหนึ่งที่มีสิ่งต่อไปนี้เกิดขึ้น ได้แก่
1) มีความสัมพันธ์และปฏิสัมพันธ์เกิดขึ้นระหว่างครูกับนักเรียน นักเรียนกับ
นักเรียน นักเรียนกับสิ่งแวดล้อม และครูกับนักเรียนกับสิ่งแวดล้อม
2) ความสัมพันธ์และปฏิสัมพันธ์นั้นก่อให้เกิดการเรียนรู้และประสบการณ์ใหม่
3) ผู้เรียนสามารถนาประสบการณ์ใหม่นั้นไปใช้ได้
สุพิน บุญชูวงศ์ (2531 : 3-4) ให้ความหมายของการสอนไว้ว่า การสอน คือ การจัด
ประสบการณ์ที่เหมาะสมให้แก่ผู้เรียน เพื่อที่จะให้เกิดการเรียนรู้ หรือเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไป
13
ในทางที่ดีขึ้น การสอนจึงเป็นกระบวนการสาคัญที่ก่อให้เกิดความเจริญงอกงาม การสอนจึงเป็น
ภารกิจที่ต้องใช้ทั้งศาสตร์และศิลป์ จึงจะสามารถก่อให้เกิดประสบการณ์ที่มีความหมายต่อการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของนักเรียน
ลาพอง บุญช่วย (2530 : 8-9) กล่าวถึง การสอนว่า “เป็นกระบวนการที่มีความ
สลับซับซ้อนต้องอาศัยทั้งศาสตร์และศิลป์ อาศัยศาสตร์ก็ตรงที่ผู้สอนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับ
หลักการสอน และเป็นผู้ที่มีศิลปะหรือกลวิธี มีเทคนิคในด้านต่าง ๆ อีกมากมาย”
Moore, Kenneth D. (New York : Mc Grow Hill book CQ 1992), P.4 ให้ความหมาย
ของการสอนไว้ว่า “การสอน คือพฤติกรรมของบุคคลหนึ่งที่พยายามช่วยให้บุคคลอื่นได้เกิดการ
พัฒนาตนในทุกด้านอย่างเต็มศักยภาพ”
Hills, P.J. (London : Routledge & Routledege & Kegan Pay, 1984) PP.266 ให้คาจากัด
ความของการสอนไว้ว่า การสอน คือ กระบวนการให้การศึกษาแก่นักเรียน ซึ่งต้องอาศัยปฏิสัมพันธ์
ระหว่างครูกับนักเรียน
จากความหมายของการสอนที่ประมวลมานี้ แสดงให้เห็นว่า การสอนมีความหมาย
ครอบคลุมทั้งด้านวิธีการ ด้านตัวบุคคล คือ ผู้สอนและผู้เรียนต้องมีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน ด้านเป้ าหมาย
การสอนและด้านความสามารถของผู้สอน ซึ่งจะช่วยให้การสอนประสบผลสาเร็จได้ดี ดังนั้น จาก
ความหมายข้างต้นจึงสรุปความหมายของการสอนได้ว่า การสอน คือ กระบวนการปฏิสัมพันธ์
ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน เพื่อทาให้ผู้เรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตามจุดประสงค์ที่กาหนด
ซึ่งต้องอาศัยทั้งศาสตร์และศิลป์ ของผู้สอน
องค์ประกอบของการสอน
การสอนจะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยองค์ประกอบหลายด้าน ทุกสิ่งทุกอย่างที่เกี่ยวข้องกับ
การสอน และมีการส่งเสริมให้เกิดการสอนประสบผลสาเร็จได้ จัดเป็นองค์ประกอบของการสอน
ทั้งสิ้น มีนักการศึกษาหลายท่านได้แสดงทัศนะเกี่ยวกับองค์ประกอบของการสอนไว้ดังนี้
สุพิน บุญชูวงศ์ (2531 : 3-4) กล่าวถึงองค์ประกอบของการสอนไว้3 ประการ ได้แก่ ครู
นักเรียน และสิ่งที่จะสอน สรุปได้ดังนี้
14
ครู เป็นองค์ประกอบสาคัญที่ขาดไม่ได้ บุคลิกภาพและความสามารถของผู้สอนมี
อิทธิพลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน ผู้สอนควรมีบุคลิกภาพที่ดีและรู้จักเลือกใช้วิธีสอนที่เหมาะสม เพื่อ
ส่งเสริมให้ผู้เรียนประสบผลสาเร็จในการเรียนรู้
นักเรียนหรือผู้เรียน เป็นองค์ประกอบสาคัญเท่ากับผู้สอน ความสาเร็จในการศึกษาเป็น
เป้ าหมายสาคัญของผู้เรียน ผู้สอนจึงควรเป็นผู้แนะแนว แนะนา และจัดประมวลประสบการณ์ให้
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้มากที่สุด
สิ่งที่จะสอน ได้แก่ เนื้อหาวิชาต่าง ๆ ครูจะต้องจัดเนื้อหาให้มีความสัมพันธ์กัน น่าสนใจ
เหมาะสมกับวัย ระดับชั้น และสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ของการเรียนการสอน
ลาพอง บุญช่วย (2530 : 8-9) กล่าวถึงองค์ประกอบของการเรียนการสอนไว้7 ประการ
ไว้ดังนี้
1) ครูผู้สอน
2) ผู้เรียน
3) หลักสูตร
4) วิธีสอน
5) วัตถุประสงค์ของการสอน
6) สื่อการสอน
7) การประเมินผล
ไพฑูรย์ สินลารัตน์ กล่าวว่า การสอนเป็นกระบวนการสามเส้า อันประกอบด้วยส่วน
สาคัญ ได้แก่
1) O = Objective = จุดมุ่งหมาย
2) L = Learning Experience = การจัดประสบการณ์การเรียนการสอน
3) E = Evaluation = การประเมินผล
จากองค์ประกอบของการสอนที่นักการศึกษาทั้ง 3 ท่านเสนอไว้เมื่อนามาพิจารณาแล้ว
สามารถวิเคราะห์แยกเป็นองค์ประกอบ 2 ด้าน ได้แก่
1. ด้านองค์ประกอบรวม หมายถึง องค์ประกอบด้านโครงสร้างที่มาประกอบกัน
เป็นการสอน อันประกอบด้วย
15
1.1 ครู หรือ ผู้สอน หรือ วิทยากร
1.2 นักเรียน หรือ ผู้เรียน
1.3 หลักสูตร หรือ สิ่งที่จะสอน
2. ด้านองค์ประกอบย่อย หมายถึง องค์ประกอบด้านรายละเอียดของการสอนซึ่ง
จะต้องประกอบด้วยกระบวนการเหล่านี้จึงจะทาให้เป็นการสอนที่สมบูรณ์ ได้แก่
2.1 การตั้งจุดประสงค์การสอน
2.2 การกาหนดเนื้อหา
2.3 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
2.4 การใช้สื่อการสอน
2.5 การวัดผลประเมินผล
ทั้ง 5 องค์ประกอบย่อยนี้ ช่วยให้เป็นการสอนที่สมบูรณ์ด้วยเหตุผล ดังนี้
1) การตั้งจุดประสงค์การสอน เป็นองค์ประกอบสาคัญอันดับแรกของการสอน ทา
ให้ผู้สอนทราบว่าจะสอนเพื่ออะไร ให้ผู้เรียนเกิดพฤติกรรมใด มากน้อยเพียงใด เป็นการสอนที่มี
เป้ าหมาย ขณะเดียวกันการตั้งจุดประสงค์การสอนจะเป็นประโยชน์ต่อผู้สอนในการเตรียมเนื้อหา
การสอน การเลือกวิธีการสอน เลือกใช้สื่อการสอน และการวัดผลให้สอดคล้องกับจุดประสงค์การ
สอน
2) การกาหนดเนื้อหา องค์ประกอบข้อนี้ หมายรวมถึง การเลือกและการจัดลาดับ
เนื้อหาที่สอนด้วยการกาหนดเนื้อหาจะทาให้ผู้สอนได้ทราบว่าจะสอนอะไร ผู้เรียนควรได้รับ
ประสบการณ์ใดบ้าง ประสบการณ์ใดควรได้รับก่อน และในขอบเขตมากน้อยเพียงใดจึงจะ
เหมาะสม การกาหนดเนื้อหาไว้ล่วงหน้าจะทาให้การสอนมีสาระคุ้มค่ากับเวลาที่ผ่านไปและมี
คุณค่าแก่ผู้เรียน
3) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ข้อนี้เป็นองค์ประกอบสาคัญเช่นกัน เพราะทา
ให้ผู้สอนทราบว่าจะสอนอย่างไร ใช้วิธีการใดในการเสนอหรือสร้างประสบการณ์ให้แก่นักเรียนซึ่ง
จะต้องใช้วิธีการที่เหมาะสม อาจใช้วิธีเดียวหรือหลายวิธีในการสอนแต่ละครั้ง โดยจะต้องเป็นวิธีที่
เหมาะสมกับลักษณะของเนื้อหาวิชากับผู้เรียน กับสภาพห้องเรียน และสอดคล้องกับจุดประสงค์
การสอนที่กาหนดไว้
4) การใช้สื่อการสอน สื่อการสอนเป็นส่วนสาคัญในการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการ
เรียนรู้ได้ชัดเจนและเร็วขึ้น ตลอดจนช่วยเร้าความสนใจได้ดี สื่อการสอนที่ดีจะช่วยให้การสอน
16
ดาเนินไปได้ราบรื่นและสะดวกคล่องตัวแก่ผู้เรียน การเตรียมสื่อการสอนทาให้ผู้สอนทราบว่าจะใช้
อะไรเป็นสื่อช่วยสร้างประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีที่สุด
5) การวัดผลประเมินผล องค์ประกอบข้อนี้ช่วยให้ทราบว่า การสอนที่ผ่านมานั้น
บรรลุผลหรือไม่ มากน้อยเพียงใด ผู้เรียนเกิดผลสัมฤทธิ์ตามจุดประสงค์ที่กาหนดไว้หรือไม่มีตอน
ใดหรือจุดประสงค์ใดบ้างที่ยังไม่บรรลุ ทาให้ผู้สอนสามารถแก้ไขข้อบกพร่องได้ตรงจุด การวัดผล
ประเมินผลนี้มีประโยชน์ทั้งต่อผู้เรียนและผู้สอน ผู้สอนจึงต้องทาการวัดผลประเมินผลทุกครั้งที่
สอน
กล่าวโดยสรุป องค์ประกอบของการสอนมีทั้งองค์ประกอบรวมและองค์ประกอบย่อย
ซึ่งองค์ประกอบรวมจะเป็นส่วนช่วยสร้างให้เกิดการสอน ส่วนองค์ประกอบย่อยเป็นส่วนเสริมให้
การสอนมีประสิทธิภาพและมีคุณค่าแก่ผู้เรียน
ลักษณะการสอนที่ดี
การสอนลักษณะใดก็ตามที่ทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี จัดเป็นการสอนที่ดีทั้งสิ้น ถ้า
จะกล่าวโดยละเอียดแยกย่อยแล้ว การสอนที่ดีจะมีลักษณะดังนี้
1) เป็นการสอนที่มีการเตรียมการสอนเป็นอย่างดี ครบองค์ประกอบของการสอน
อันได้แก่ การตั้งจุดประสงค์การสอน การจัดเนื้อหาสาระ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การใช้
สื่อการสอน และการวัดผลประเมินผล
2) เป็นการสอนที่ทาให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนา ทั้งด้านความรู้ความคิด ด้านเจตคติ
และด้านทักษะ ทาให้ผู้เรียนเกิดความรู้แจ้ง คิดชอบ และปฏิบัติดี เกิดการเจริญเติบโตทุกด้านอย่าง
ชื่นบานและแจ่มใส
3) เป็นการสอนที่ผู้สอนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ได้สอดคล้องกับจุดประสงค์
กับเนื้อหาและกับผู้เรียน โดยใช้กิจกรรมในรูปแบบต่าง ๆ ที่เหมาะสม
4) เป็นการสอนที่ผู้เรียนได้ลงมือกระทากิจกรรมด้วยตนเอง หรือได้มีส่วนร่วมใน
กิจกรรมการเรียนการสอน ทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี และเกิดความกระตือรือร้นในการเรียน
5) เป็นการสอนที่สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของหลักสูตร เช่น หลักสูตรการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 มุ่งพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นคนดี มีปัญญา มี
ความสุข และมีความเป็นไทย มีศักยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ ผู้สอนก็ต้องจัดการ
เรียนการสอนให้ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะดังที่หลักสูตรกาหนดไว้
6) เป็นการสอนที่คานึงถึงประโยชน์ของผู้เรียนจะนาไปใช้ในชีวิตประจาวันและ
ตลอดไป เช่น การสอนโดยให้ผู้เรียนได้คิด วิเคราะห์ วิจารณ์ ได้รู้จักวิธีแสวงหาความรู้ ได้ฝึกคิด
แก้ปัญหา ย่อมดีกว่าวิธีสอนโดยบอกความรู้ให้ หรือกระทาให้ดูเพียงแต่อย่างเดียว การให้ผู้เรียนได้
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102

More Related Content

What's hot

ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
wattanaka
 
PPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจPPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจ
KruBowbaro
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
kruood
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
Champ Wachwittayakhang
 
ภาษาทั่วไป ภาษาราชการ
ภาษาทั่วไป ภาษาราชการภาษาทั่วไป ภาษาราชการ
ภาษาทั่วไป ภาษาราชการ
justymew
 
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
Panomporn Chinchana
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
Champ Wachwittayakhang
 

What's hot (20)

ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
PPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจPPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจ
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
 
รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1
 
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนรายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
 
การสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัยการสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัย
 
เอกสารแนะนำการเขียนบรรณานุกรม
เอกสารแนะนำการเขียนบรรณานุกรมเอกสารแนะนำการเขียนบรรณานุกรม
เอกสารแนะนำการเขียนบรรณานุกรม
 
การวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผลการวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผล
 
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1pageใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
 
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
 
ภาษาทั่วไป ภาษาราชการ
ภาษาทั่วไป ภาษาราชการภาษาทั่วไป ภาษาราชการ
ภาษาทั่วไป ภาษาราชการ
 
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxรายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
 

Similar to แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102

0.ปก คัดย่อ-กิติกรรมฯ-สารบัญ ฯลฯ
0.ปก คัดย่อ-กิติกรรมฯ-สารบัญ ฯลฯ0.ปก คัดย่อ-กิติกรรมฯ-สารบัญ ฯลฯ
0.ปก คัดย่อ-กิติกรรมฯ-สารบัญ ฯลฯ
Yota Bhikkhu
 
งานวิจัยความพึงพอใจ ฉบับสมบูรณ์
งานวิจัยความพึงพอใจ ฉบับสมบูรณ์งานวิจัยความพึงพอใจ ฉบับสมบูรณ์
งานวิจัยความพึงพอใจ ฉบับสมบูรณ์
Yota Bhikkhu
 
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีวิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
Wichai Likitponrak
 
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลยความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
pentanino
 
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
Jiraporn Kru
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์
Wilaiwan Wasuthanathee
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
phornphan1111
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
phornphan1111
 

Similar to แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102 (20)

Worawat s
Worawat sWorawat s
Worawat s
 
james
jamesjames
james
 
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
 
0.ปก คัดย่อ-กิติกรรมฯ-สารบัญ ฯลฯ
0.ปก คัดย่อ-กิติกรรมฯ-สารบัญ ฯลฯ0.ปก คัดย่อ-กิติกรรมฯ-สารบัญ ฯลฯ
0.ปก คัดย่อ-กิติกรรมฯ-สารบัญ ฯลฯ
 
งานวิจัยความพึงพอใจ ฉบับสมบูรณ์
งานวิจัยความพึงพอใจ ฉบับสมบูรณ์งานวิจัยความพึงพอใจ ฉบับสมบูรณ์
งานวิจัยความพึงพอใจ ฉบับสมบูรณ์
 
e-CLIP Research and Development
e-CLIP Research and Developmente-CLIP Research and Development
e-CLIP Research and Development
 
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีวิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
 
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลยความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
 
Abc2.pdf
Abc2.pdfAbc2.pdf
Abc2.pdf
 
Portfolio 35-5-7
Portfolio 35-5-7Portfolio 35-5-7
Portfolio 35-5-7
 
E-Book_Intensive_Reading_Title
E-Book_Intensive_Reading_TitleE-Book_Intensive_Reading_Title
E-Book_Intensive_Reading_Title
 
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
 
Teacher Education Trend in Thailand
Teacher Education Trend in ThailandTeacher Education Trend in Thailand
Teacher Education Trend in Thailand
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
 
การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องเสียง
การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องเสียงการเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องเสียง
การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องเสียง
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 

More from สำเร็จ นางสีคุณ

แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า btsแบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
สำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการแบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
สำเร็จ นางสีคุณ
 
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนPpt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
สำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
สำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
สำเร็จ นางสีคุณ
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
สำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์ ป.6
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์  ป.6แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์  ป.6
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์ ป.6
สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2553
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2553ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2553
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2553
สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2552
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2552ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2552
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2552
สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
สำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
สำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
สำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
สำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้นแบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
สำเร็จ นางสีคุณ
 

More from สำเร็จ นางสีคุณ (20)

ของเล่นทำให้เกิดเสียง
ของเล่นทำให้เกิดเสียงของเล่นทำให้เกิดเสียง
ของเล่นทำให้เกิดเสียง
 
สาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรมสาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรม
 
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า btsแบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
 
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการแบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
 
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนPpt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
 
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์ ป.6
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์  ป.6แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์  ป.6
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์ ป.6
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2553
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2553ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2553
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2553
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2552
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2552ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2552
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2552
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
 
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้นแบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
 
Tutur(biology)0 net 2
Tutur(biology)0 net 2Tutur(biology)0 net 2
Tutur(biology)0 net 2
 

แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102

  • 1. รายงานการวิจัย เรื่อง ความพึงพอใจของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ์ที่มีต่อการสอนวิชาภาษาจีนของ ครูอาสาชาวจีนระดับอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2552 Satisfaction of Ratchaphruek College students for Chinese teachers of Chinese higher education volunteer of year, 2552 โดย สาราญ จูช่วย อาภาภรณ์ ดิษฐเล็ก อมรรัตน์ คาบุญ การวิจัยครั้งนี้ได้รับเงินทุนการวิจัยจากวิทยาลัยราชพฤกษ์ ปีการศึกษา 2552
  • 2. ชื่อโครงการวิจัย ความพึงพอใจของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ์ที่มีต่อการสอนวิชาภาษาจีนของ ครูอาสาชาวจีนระดับอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2552 Satisfaction of Ratchaphruek College students for Chinese teachers of Chinese higher education volunteer of year, 2552 สาราญ จูช่วย อาภาภรณ์ ดิษฐเล็ก อมรรัตน์ คาบุญ วิทยาลัยราชพฤกษ์ ปีการศึกษา 2552 ปีที่ทาการวิจัยแล้วเสร็จ 2553
  • 3. โครงการวิจัย ความพึงพอใจของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ์ที่มีต่อการเรียนการสอน วิชาภาษาจีนของครูอาสาชาวจีนระดับอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2552 ชื่อผู้วิจัย สาราญ จูช่วย อาภาภรณ์ ดิษฐเล็ก อมรรัตน์ คาบุญ (ภาษาอังกฤษ) Sumran Juchooy Aphaphon Ditlek Amornrat Khambun ปีที่ทาการวิจัย ปีการศึกษา 2552 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายคือ 1) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการสอน ของครูอาสาชาวจีน 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจ ในการสอนของครูอาสาชาวจีนจาแนก ตามปัจจัยส่วนบุคคลของนักศึกษา การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถามนักศึกษาสาขาวิชาการโรงแรมและการท่องเที่ยวที่ ลงทะเบียนเรียนวิชาภาษาจีน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น จานวน 90 ฉบับ สอบถามเกี่ยวกับความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการสอนของครูอาสาสมัคร ชาวจีน 7 ตอน ตอนที่ 1 เป็นการสอบถามข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคลของนักศึกษา ตอนที่ 2 เป็นการ สอบถามความคิดเห็นและการปฏิบัติในการเรียนภาษาจีนของนักศึกษา ตอนที่ 3 เป็นการสอบถาม ความพึงพอใจต่อคุณลักษณะของผู้สอน ตอนที่ 4 เป็นการสอบถามความพึงพอใจต่อกิจกรรมการ เรียนการสอนของอาจารย์ตอนที่ 5 เป็นการสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อเนื้อหาวิชา ตอนที่ 6 เป็นการสอบถามความพึงพอใจต่อการวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ของครูผู้สอน และ ตอนที่ 7 เป็นส่วนข้อเสนอแนะที่ควรปรับปรุงในการเรียนการสอนในรายวิชาภาษาจีน วิเคราะห์ ข้อมูล โดยการหาค่าร้อยละ (Percentange) และค่าเฉลี่ย (Mean) เปรียบเทียบข้อมูลโดยใช้สถิติ ทดสอบสมมติฐานค่า t-test แบบ Independent ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษาที่เรียนวิชาภาษาจีนกับครู อาสาสมัครชาวจีนมีความพึงพอใจต่อการสอนของครูอาสาชาวจีนในทุกด้าน โดยรวมอยู่ในระดับ มากและผลการเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการสอนของครูอาสาชาวจีน จาแนกตามปัจจัย ส่วนบุคคล พบว่านักศึกษาเพศชายและเพศหญิงมีความพึงพอใจต่อคุณลักษณะของผู้สอน กิจกรรม การเรียนการสอนของอาจารย์ ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อเนื้อหาวิชา การวัดผล ประเมินผล การเรียนรู้ของครูผู้สอนไม่แตกต่างกัน ส่วนการเปรียบเทียบจาแนกตามอายุที่เห็นความแตกต่างกัน
  • 4. ง ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติที่ 0.05 ได้แก่ ด้านคุณลักษณะของอาจารย์พบว่ากลุ่มอายุมากกว่า 25 ปี และกลุ่มอายุ 20-25 ปี มีความพึงพอใจต่อบุคลิกภาพของอาจารย์ด้านการทักทายของอาจารย์ครั้ง แรกที่เจอหน้ามากกว่ากลุ่มอายุต่ากว่า 20 ปี โดยกลุ่มอายุ 20-25 ปี มีความพึงพอใจต่อบุคลิกภาพ ของอาจารย์ด้านการแสดงสีหน้า การยืน การนั่ง การลุก และการเดินของอาจารย์ มากกว่ากลุ่มอายุ ต่ากว่า 20 ปี ส่วนด้านการความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันพบว่ากลุ่มอายุต่ากว่า 20 ปี มีความพึงพอใจ ต่อความสามารถในการเขียนภาษาจีนได้ถูกต้องมากกว่ากลุ่มอายุ 20-25 ปี
  • 5. บทคัดย่อภาษาอังกฤษ Research Title : The Study of Students’ Contentment of Ratchapreuk College on Chinese Language Learning and Teaching by Chinese Volunteered Teachers in academic year 2009. Researcher : Sumran Juchooy Aphaphon Ditlek Amonrat Khambun Year : 2552 Abstract The purposes of this study were two folds : 1) To study the students’ contentment on Chinese Language Teaching by Chinese Volunteered Teachers 2) To compare the degrees of students’ contentment on Chinese language teaching by Chinese volunteered teachers according to students’ classification. The instrument of the research was a questionnaire with 90 items and seven parts. 1. The Students' Personal Factors 2. Opinion and Practical Learning 3. Instructors' Appearance 4. Learning Activities 5. Chinese Language Contents 6. Learning Evaluation and Assessment 7. Other Recommendations of Chinese Performance. The data were analyzed using percentage, mean and independent samples t.test. The results of this study showed that the students who have learned Chinese language with the Chinese volunteer teachers were content of all the parts in general, and students' contentment were at high levels. The comparative level of contentment of students' personal factors showed that both male and female students were not at different levels of contentment to instructors' appearance, learning activities, Chinese language content, learning evaluation and assessment.
  • 6. ฉ But the comparative data by students' ages were different in a level of significance at 0.05. The students who were more than 25 years old and 20-25 years old were more pleased by the greeting of the instructor than the students younger than 20 years. The 20 to 25-year-old students were more pleased by the facial appearance and the standing, sitting, rising and walking behavior than the students younger than 20 years. The applied knowledge for everyday use showed that the students younger than 20 years were more pleased by the skill in writing than the 20 to 25- year-old students.
  • 7. ช กิตติกรรมประกาศ การวิจัยเรื่อง ความพึงพอใจของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ์ที่มีต่อการสอนวิชาภาษาจีนของครู อาสาสมัครชาวจีนระดับอุดมศึกษา ปีการศึกษา2552 สาเร็จลุล่วงได้ด้วยดี เพราะคณะผู้วิจัยได้รับความกรุณา อย่างยิ่งจากรศ.ดร.ลัดดาวัลย์เพชรโรจน์ และหน่วยงานวิจัยของวิทยาลัยราชพฤกษ์ที่ให้คาแนะนาเกี่ยวกับแนว ทางการเขียนรายงานวิจัย และตรวจทานแก้ไขให้รายงานวิจัยนี้มีความถูกต้องและชัดเจนยิ่งขึ้น ขอขอบคุณวิทยาลัยราชพฤกษ์ที่ให้ทุนอุดหนุนในการทาวิจัย ปีการศึกษา 2552 ทาให้คณะผู้วิจัย สามารถดาเนินการวิจัยจนสาเร็จสมบูรณ์ได้โดยสะดวก ขอขอบคุณ อาจารย์กัลยา บุญยืน และ Mr.John Robert Woodward ที่กรุณาในการตรวจทาน บทคัดย่อภาษาไทย และบทคัดย่อภาษาอังกฤษ และขอขอบคุณผู้เขียนตาราวิชาการ รายงานวิจัย และ วิทยานิพนธ์ทุกท่านที่คณะผู้วิจัยได้นามาอ้างอิงไว้ในรายงานวิจัยเรื่องนี้ ซึ่งนับเป็นแหล่งข้อมูลที่ทรงคุณค่า และเป็นแนวคิดที่เป็นประโยชน์ต่อการวิจัยอย่างยิ่ง ขอขอบคุณนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ์ สาขาวิชาการโรงแรมและการท่องเที่ยว คณะบริหารธุรกิจ ทุกคนที่ให้ข้อมูลอันเป็นประโยชน์ต่อการวิจัย จนทาให้งานวิจัยนี้สาเร็จได้ด้วยดี คณะผู้วิจัย
  • 8. ซ สารบัญ หน้า บทคัดย่อภาษาไทย ค บทคัดย่อภาษาอังกฤษ จ กิตติกรรมประกาศ ช สารบัญ ซ สารบัญตาราง ฎ สารบัญภาพ ฏ บทที่ 1 บทนา ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา........................................ 1 วัตถุประสงค์ของการวิจัย............................................................... 5 ขอบเขตของการวิจัย...................................................................... 5 ระยะเวลาดาเนินการวิจัย............................................................... 5 กรอบแนวคิดการวิจัย.................................................................... 6 นิยามศัพท์เฉพาะ........................................................................... 7 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ........................................................... 8 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ความหมายของความพึงพอใจ....................................................... 9 ทฤษฎีความพึงพอใจ..................................................................... 10 หลักแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับการสอน........................................... 12 องค์ประกอบของการสอน............................................................. 13 ลักษณะการสอนที่ดี....................................................................... 16 สื่อการเรียนการสอน...................................................................... 18 การวัดและการประเมินผล............................................................. 23 นโยบายการเปิดหลักสูตรภาษาจีนระดับอุดมศึกษา....................... 35 อาจารย์สัญชาติจีนที่สอนภาษาจีน................................................. 37
  • 9. ฌ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง......................................................................... 40 สารบัญ(ต่อ) บทที่ หน้า 3 วิธีดาเนินการศึกษา ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง.............................................................. 43 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย.................................................................. 43 วิธีการดาเนินการและหาคุณภาพของเครื่องมือ............................... 45 การเก็บรวบรวมข้อมูล..................................................................... 45 การจัดกระทาข้อมูล......................................................................... 46 การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล.................. 46 4 ผลการวิจัย ผลการวิเคราะห์ข้อมูล...................................................................... 48 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคลของนักศึกษาวิทยาลัย ราชพฤกษ์ปีการศึกษา 2552 ที่เรียนวิชาภาษาจีน............................. 48 ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นและการปฏิบัติในการเรียนภาษาจีน ของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ์..................................................... 49 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจของนักศึกษาด้านคุณลักษณะ ของผู้สอน........................................................................................ 52 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจของนักศึกษาด้านกิจกรรม การเรียนการสอน............................................................................ 53 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจของนักศึกษาด้านเนื้อหาวิชา.. 54 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจของนักศึกษาด้านการวัดผล ประเมินผลการเรียนรู้...................................................................... 55 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการ สอนของครูอาสาชาวจีนจาแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลและนักศึกษา 56 5 สรุป การอภิปรายผล และข้อเสนอแนะ วัตถุประสงค์ของการวิจัย................................................................ 76 วิธีดาเนินการวิจัย............................................................................ 76 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย................................................................. 76 สรุปผลการวิจัย............................................................................... 77
  • 10. ญ สารบัญ(ต่อ) บทที่ หน้า อภิปรายผลการวิจัย......................................................................... 80 ข้อเสนอแนะ.................................................................................... 83 บรรณานุกรม........................................................................................... 84 ภาคผนวก........................................................................................................................ 86 ก แบบวัดความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนการสอนภาษาจีน.................. 87 ข ประวัติคณะผู้วิจัย............................................................................ 93
  • 11. ฎ สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า 1 แสดงจานวนคุณวุฒิอาจารย์ประจาชาวจีน................................................... 38 2 ปัจจัยส่วนบุคคลของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ์ปีการศึกษา 2552 ที่เรียน ภาษาจีน...................................................................................................... 48 3 ความคิดเห็นและการปฏิบัติในการเรียนภาษาจีนของนักศึกษาวิทยาลัยราช พฤกษ์........................................................................................................... 49 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณลักษณะของ ผู้สอน........................................................................................................... 52 5 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจของนักศึกษาด้านกิจกรรมการเรียน การสอน....................................................................................................... 53 6 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจของนักศึกษาต่อเนื้อหาวิชา................. 54 7 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการวัดและการ ประเมินผลการเรียนรู้................................................................................... 55 8 ผลการวิเคราะห์การเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการสอนของครู อาสาสมัครชาวจีน........................................................................................ 55
  • 13. บทที่ 1 บทนา ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา ภาษาเป็นสิ่งที่กาเนิดขึ้นมาพร้อมกับมนุษยชาติ โดยมีวิวัฒนาการให้สอดคล้องกับสภาพ ของสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปที่เห็นเด่นชัด คือ ภาษาเขียน และภาษาเขียนนี้เองได้กลายเป็นรหัสของ บรรดาสรรพความรู้และภูมิปัญญาที่ถูกถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น เมื่อสังคมมีความซับซ้อนและเชื่อมโยง กันมากขึ้นภาษาก็ยิ่งทวีความสาคัญ ภาษาบางภาษาจึงถูกกาหนดให้เป็นภาษาสากลที่ใช้สื่อสารอย่าง แพร่หลาย จากสภาพของสังคมที่ถูกเชื่อมเป็นหนึ่งเดียวโดยเทคโนโลยีการสื่อสาร ทาให้บรรดา สรรพวิชาและศาสตร์ตลอดจนข้อมูลต่าง ๆ ที่มีอยู่ทั่วโลกได้เปิดกว้างให้ผู้คนเข้าไปสืบค้น เพื่อ นาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต การประกอบอาชีพ และพัฒนาหน้าที่การงาน ดังนั้น เชื่อกันว่า คนในสังคมปัจจุบันมีความจาเป็นต้องเรียนรู้ภาษาอย่างน้อย 3 ภาษา คือ ภาษาที่หนึ่งเป็นภาษาแม่ หรือภาษาของตนเอง ภาษาที่สองเป็นภาษาในภูมิภาคที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตตนเอง เช่น คนเอเชีย อาจเรียนรู้ภาษาจีน ภาษาเกาหลีหรือภาษามลายูเป็นต้น และภาษาที่สามคือภาษาสากล ซึ่งเป็นภาษา ที่ใช้กันในระดับนานาชาติโดยเฉพาะอย่างยิ่งภาษาอังกฤษ ผู้ที่มีทักษะทางภาษากลายเป็นผู้ที่มีโอกาสในการเข้าถึงข่าวสารข้อมูลต่าง ๆ รวมถึงโอกาส ในการทางานและประกอบอาชีพ ซึ่งในหลายทศวรรษที่ผ่านมาการเรียนรู้ภาษาได้มุ่งไปที่ภาษา ตะวันตกไม่ว่าจะเป็นภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส และเยอรมัน จะมีภาษาในซีกโลกตะวันออกบ้างแต่ก็ไม่ มากนัก เช่น ภาษาญี่ปุ่น เป็นต้น แต่ในช่วงสองถึงสามทศวรรษที่ผ่านมา ผู้คนต่างให้ความสนใจ ศึกษาภาษาตะวันออกมากขึ้น ด้วยเหตุผลทางการค้าและการลงทุน ภาษาจีนและภาษาเกาหลีจึง ได้รับความสนใจศึกษามากขึ้นตามลาดับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาษาจีนเพราะด้วยประชากรจานวน มหาศาลและการขยายตัวทางเศรษฐกิจของสาธารณรัฐประชาชนจีนส่งผลให้ประชาชนมีรายได้ เฉลี่ยที่เพิ่มขึ้น จึงเป็นพลังดึงดูดการค้าและการลงทุนที่ทุกคนต่างจับตามอง จนมีคากล่าวว่า “ถนน ทุกสายมุ่งสู่จีน” ส่งผลให้สาธารณรัฐประชาชนจีนในวันนี้กลายเป็นตลาดการค้าและการลงทุนที่ สาคัญที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ดังที่พบว่าในปี พ.ศ. 2548 เศรษฐกิจของสาธารณรัฐประชาชนจีนมี ขนาดใหญ่เป็นอันดับ 5 ของเศรษฐกิจโลก (มติชน, 13 ตุลาคม 2551 : 32) ขณะที่การค้าและการ
  • 14. 2 ลงทุนกับประเทศไทยก็มีอัตราการขยายตัวถึงร้อยละ 33 และอนาคตยังเชื่อกันว่าถนนสายเศรษฐกิจ ระหว่างจีนและไทยจะเชื่อมโยงต่อกันอย่างสมบูรณ์ด้วยความสัมพันธ์ที่มีมาอย่างยาวนาน ดังนั้น ภาษาจีนจึงเป็นภาษาที่มีความจาเป็นต่อการค้าและการลงทุนอย่างมากสาหรับอนาคตอันใกล้นี้ ภาษาจีน เป็นภาษาที่มีคนใช้สื่อสารมากที่สุดในโลก ด้วยประชากรของสาธารณรัฐ ประชาชนจีนมีมากกว่า 1,300 ล้านคน ไม่นับรวมชาวจีนที่อาศัยอยู่ในประเทศต่าง ๆ อีกทั่วโลก และเป็นภาษาของประเทศที่มีความสัมพันธ์อันดีกับไทยมาตั้งแต่สมัยอยุธยา จึงเป็นภาษาที่คนไทย มีความคุ้นเคยเพราะเป็นภาษาที่ได้เดินทางเข้ามาพร้อมกับคนไทยเชื้อสายจีนในประเทศไทย สาหรับการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทยเกิดขึ้นตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ซึ่งเป็นการเรียนการสอนในโรงเรียนเอกชนที่จัดตั้งโดยชุมชนหรือท้องถิ่นที่รวมตัวกัน ต่อมาได้มีการรวมตัวกันในนามของสมาคมชาวจีน การเรียนการสอนภาษาจีนต้องหยุดชะงักและ ถูกควบคุมอย่างเข้มงวดในช่วงที่สาธารณรัฐประชาชนจีนมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองไปสู่ ระบอบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ จนกระทั่งมีการรื้อฟื้นและสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตอย่าง เป็นทางการขึ้นอีกครั้งระหว่างสาธารณรัฐประชาชนจีนและประเทศไทยในปี พ.ศ. 2518 การจัดการ เรียนการสอนภาษาจีนจึงกลับมาตื่นตัวอีกครั้ง แต่เหตุการณ์ก่อนหน้านี้ก็ได้ก่อให้เกิดผลกระทบ และข้อจากัดของการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทยเป็นอย่างมาก รัฐบาลไทยได้ตระหนักและมองเห็นอนาคตของจีนบนเวทีโลกเช่นเดียวกับประเทศต่าง ๆ จึงได้มีความพยายามส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2521 โดยกระทรวงศึกษาธิการให้บรรจุภาษาจีนเป็นวิชาเลือกเสรีในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในปี พ.ศ. 2524 แต่ก็ไม่ได้มีการจัดการเรียนการสอนกันอย่างจริงจัง จนกระทั่งปี พ.ศ. 2535 จึงมีความพยายามขึ้นอีกครั้งในการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนทั้งใน ระดับอาชีวศึกษาและระดับปริญญาตรีในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชน ในปัจจุบัน ภาษาต่างประเทศที่มีการสอนในประเทศไทยมีจานวน 19 ภาษา ได้แก่ ภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน อิตาเลียน สเปน รัสเซีย โปรตุเกส จีน ญี่ปุ่ น เกาหลี เวียดนาม เขมร พม่า ลาว มาเลย์ อาหรับ ฮินดู บาลีสันสกฤต และกรีก ภาษาต่างประเทศที่มีการสอนในสถาบันการศึกษา ระดับอุดมศึกษาทุกภูมิภาคคือ ภาษาอังกฤษและภาษาจีน และทั้งสองภาษานี้ยังเป็นวิชาที่มีการ เรียนการสอนในทุกระดับด้วย ส่วนภาษาต่างประเทศอื่น ๆ มีการสอนในระดับการศึกษาที่ต่างกัน
  • 15. 3 ออกไป และต่างกันในภูมิภาคต่าง ๆ อาทิ ภาษาฝรั่งเศสซึ่งเป็นภาษาต่างประเทศที่มีการสอนใน ระบบมานานกว่าภาษาต่างประเทศอื่น ๆ ยกเว้น ภาษาอังกฤษและภาษาจีน แต่ก็ไม่ได้เปิดสอนใน ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้น หรือภาษาญี่ปุ่นซึ่งเป็นภาษาต่างประเทศที่เป็นที่นิยม อันดับ 3 รองจากภาษาอังกฤษและจีนในสถาบันการศึกษา ก็มีการสอนในระดับมัธยมศึกษาขึ้นไป จนถึงอุดมศึกษา และในระดับอุดมศึกษาเป็นระดับที่มีการสอนภาษาต่างประเทศมากที่สุด รวม ทั้งสิ้น 19 ภาษาดังกล่าว และภาษาเพื่อนบ้านของเรา เช่น ภาษาลาว พม่า และมาเลย์ ก็มีการสอน ในมหาวิทยาลัยตามความใกล้ชิดทางภูมิภาคแตกต่างกันออกไป (ปราณี กุลละวณิชย์, 2549 : 6) การเรียนการสอนภาษาจีนระดับอุดมศึกษาในไทย เริ่มต้นเมื่อ พ.ศ. 2515 ที่คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ท่ามกลางบรรยากาศปิดทางการเมืองอันปกคลุมด้วยความหวั่นเกรงภัย คอมมิวนิสต์ และสงครามเย็นที่แผ่ไปทุกภูมิภาคของโลก ขณะนั้นไทยยังไม่มีการสถาปนา ความสัมพันธ์ทางการทูตกับสาธารณรัฐประชาชนจีน การสถาปนาเพิ่งเกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2518 ภายหลังจากที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเปิดสอนภาษาจีนไปแล้วเป็นเวลา 3 ปี ในปี พ.ศ. 2515 ศาสตราจารย์ดร. เขียน ธีระวิทย์ อาจารย์ประจาแผนกวิชาการต่างประเทศ และการทูตคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ดาริว่าบริบทโลก (Global Context) เปลี่ยนไป จีนมีความขัดแย้งกับโซเวียตและต้องการสหรัฐอเมริกามาคานอานาจ อีกทั้งจีนได้รับการ ยอมรับจากสังคมโลกมากขึ้น ขณะเดียวกันบริบทภูมิภาค (Regional Context) ก็เปลี่ยน จีนต้องการ ไทยเป็นมิตรเพื่อคานอานาจของโซเวียตที่แผ่ขยายอย่างรวดเร็วมาในกัมพูชาและเวียดนาม ใน สภาวะเช่นนี้ไทยจะไม่สามารถต้านกระแสหลักของโลกที่กาลังคืบคลานมา สยามประเทศต้อง เตรียมพร้อมสาหรับรับมือสถานการณ์ของโลกที่เปลี่ยนแปลงไป เหนือสิ่งอื่นใด ไทยจะต้องมี บุคลากรที่รู้ภาษาจีนที่จะเสริมการดาเนินนโยบายต่างประเทศให้มีสมรรถภาพที่ดีขึ้น มหาวิทยาลัย ในฐานะแหล่งผลิตองค์ความรู้ และแหล่งชุมนุมภูมิปัญญาของชาติจะนิ่งนอนใจอยู่มิได้ ควรจะต้อง ดาเนินการเปิดการเรียนการสอนภาษาจีนขึ้นในมหาวิทยาลัย วิทยาลัยราชพฤกษ์ เป็นสถาบันการศึกษาเอกชนอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลการจัดการเรียน การสอนของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เปิดสอนในระดับปริญญาตรีตั้งแต่ปีการศึกษา 2549 เป็นต้นมา และในปีการศึกษา 2551 ได้เปิดสอนในระดับปริญญาโทเพิ่มขึ้น ซึ่งในระดับ ปริญญาตรีที่วิทยาลัยจัดการเรียนการสอน บรรจุวิชาภาษาจีนไว้ในหมวดศึกษาทั่วไปให้เป็นวิชา
  • 16. 4 เลือกในกลุ่มภาษา และในปีการศึกษา 2551 วิทยาลัยได้เข้าร่วมโครงการความร่วมมือทางวิชาการ ด้วยการแลกเปลี่ยนครูอาสาสมัครชาวจีนโดยครูอาสาสมัครเหล่านี้ต้องสาเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาตรีและปริญญาโท หรือกาลังศึกษาในระดับปริญญาโทและอยู่ในระหว่างการทา วิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ มาสอนในวิทยาลัย โดยผ่านการพิจารณาคัดเลือกครูอาสาสมัคร ชาวจีนจากสาธารณรัฐประชาชนจีน ส่งมาเป็นครูผู้สอนวิชาภาษาจีนในวิทยาลัย ตามที่วิทยาลัย ประสานขอจานวนบุคลากร โดยครูอาสาสมัครชาวจีนเหล่านี้จะมาทาหน้าที่เป็นครูผู้สอนวิชา ภาษาจีน 1 และวิชาภาษาจีน 2 ให้แก่นักศึกษาระดับปริญญาตรี ในคณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการ จัดการการโรงแรมและการท่องเที่ยว ในชั้นปีที่ 1 และชั้นปีที่ 2 ซึ่งในการจัดการเรียนการสอนใน วิชาภาษาจีนนั้น ครูผู้สอนที่เป็นคนจีน เมื่อมาทาหน้าที่ในการสอนให้แก่นักศึกษาซึ่งเป็นคนไทย ต้องมีการปรับตัวให้สามารถเข้ากับวัฒนธรรมประเพณีของไทย ทั้งยังต้องเรียนรู้วิถีชีวิตความ เป็นอยู่ของนักศึกษาไทย พัฒนาวิธีการสื่อสารให้สามารถสร้างความเข้าใจให้แก่ผู้รับสารได้อย่าง ถูกต้อง หมวดศึกษาทั่วไปในฐานะที่เป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่บริหารจัดการเรียนการสอนใน รายวิชาศึกษาทั่วไปตามโครงสร้างหลักสูตร ได้บรรจุกลุ่มวิชาในการจัดการเรียนการสอนให้คณะ สาขาต่างๆ ดังนี้ 1) กลุ่มสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ 2) กลุ่มภาษาศาสตร์ 3) กลุ่มวิชา วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 4) กลุ่มวิชาพลศึกษาและนันทนาการ ภาษาจีนจัดเป็นรายวิชาหนึ่งที่ อยู่ในกลุ่มวิชาภาษาศาสตร์ ซึ่งเป็นหน้าที่ของหมวดศึกษาทั่วไปที่ต้องบริหารจัดการเรียนการสอน ทั้งในด้านครูผู้สอนและผู้เรียน การที่วิทยาลัยรับครูอาสาสมัครชาวจีนมาสอนให้แก่นักศึกษาที่เป็น คนไทยในแต่ละรุ่นนั้น ครูอาสาเหล่านี้จะมีคุณลักษณะ ความรู้ ความสามารถในการสอน และ ทัศนคติ แตกต่างกัน ดังนั้น เพื่อให้ได้ข้อมูลที่จะเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณลักษณะและความรู้ ความสามารถ ของครูอาสาสมัครชาวจีนที่จะรับเข้ามาในปีการศึกษาต่อ ๆ ได้ตรงตามความ พึงพอใจของผู้เรียน จึงต้องมีการสารวจความคิดเห็นของนักศึกษาในด้านต่างๆ เกี่ยวกับครู อาสาสมัครชาวจีน ซึ่งผลที่ได้จากการสารวจดังกล่าวจะเป็นข้อมูลในการพัฒนาครูผู้สอน สื่อการ สอน วิธีการคัดเลือกคุณลักษณะที่เหมาะสมแก่ผู้เรียนของครูอาสาสมัครชาวจีนซึ่งข้อมูลที่ได้รับ จากกลุ่มตัวอย่างจะเป็นฐานในการทาความเข้าใจ ชี้แนะแนวทางให้แก่ครูอาสาสมัครชาวจีนที่เข้ามา
  • 17. 5 สอนในปีการศึกษาต่อไป อันจะเกิดประสิทธิผลต่อผู้เรียนในด้านการพัฒนาทักษะทางภาษา และ เกิดประสิทธิภาพแก่หมวดศึกษาทั่วไปในการจัดการเรียนการสอนที่สัมฤทธิ์ผลยิ่งขึ้น วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการสอนของครูอาสาสมัครชาวจีน 2. เพื่อเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจ ในการสอนของครูอาสาสมัครชาวจีนจาแนกตาม ปัจจัยส่วนบุคคลในด้านเพศและอายุของนักศึกษา ขอบเขตของการวิจัย ขอบเขตด้านประชากร ประชากร ประชากรที่ศึกษาสาหรับการวิจัยครั้งนี้เป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการการโรงแรมและการท่องเที่ยว วิทยาลัยราชพฤกษ์ ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชา ภาษาจีน 1 และภาษาจีน 2 กลุ่มตัวอย่าง การวิจัยครั้งนี้ศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างสาขาวิชาการจัดการการโรงแรมและการท่องเที่ยว ชั้นปีที่ 1, 2 ปีการศึกษา 2552 ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาภาษาจีน 1 และภาษาจีน 2 โดยใช้วิธีการ เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จานวน 90 คน ระยะเวลาดาเนินการวิจัย ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2552
  • 18. 6 กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรพื้นฐาน ตัวแปรที่ศึกษา ปัจจัยส่วนบุคคล เพศ อายุ ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการสอนของครู อาสาสมัครชาวจีน ด้านคุณลักษณะผู้สอน ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน ด้านเนื้อหาวิชา ด้านการวัดผลประเมินผลการเรียนรู้ ภาพที่ 1 ษ์ที่มีต่อ การสอนวิชาภาษาจีนของครูอาสาสมัครชาวจีนระดับอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2552
  • 19. 7 นิยามศัพท์เฉพาะ ความพึงพอใจ หมายถึง ระดับความรู้สึกหรือระดับความพอใจของแต่ละบุคคล ที่ส่งผลต่อ การแสดงพฤติกรรมต่าง ๆ ออกมา ซึ่งเกิดจากความรู้สึกนึกคิด แรงจูงใจ และปัจจัยสภาพแวดล้อม ต่าง ๆ ที่มากระตุ้น ครูอาสาสมัครชาวจีน หมายถึง บุคคลที่ผ่านการทาสัญญาระหว่างสานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษาร่วมกับฝ่ายการศึกษา สถานเอกอัครราชทูตจีนประจาประเทศไทย โดยการคัดเลือก บัณฑิตชาวจีนที่สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีและปริญญาโทเป็นครูอาสาสมัครสอนภาษาจีน และต้องสอนในระดับอุดมศึกษาเป็นเวลาอย่างน้อย 1 ปี โดยเริ่มปฏิบัติงานในสถานศึกษาที่ขอมา ตั้งแต่เดือนมิถุนายนถึงเดือนมีนาคมของทุกปีการศึกษา ภาระหน้าที่การสอนของครูอาสาสมัครชาว จีนมี 4 ด้านได้แก่ 1. ด้านคุณลักษณะผู้สอน หมายถึง บุคลิกและความมีมนุษยสัมพันธ์ของครู อาสาสมัครชาวจีน ด้านบุคลิกภาพของอาจารย์ผู้สอนมี 6 ลักษณะ คือ ลักษณะการทักทาย ลักษณะ การแสดงออกทางสีหน้าของอาจารย์ ลักษณะการแต่งกายของอาจารย์ ลักษณะความมั่นใจในการ พูดหรือการสนทนาระหว่างอาจารย์กับนักศึกษา ลักษณะการวางตัวของอาจารย์ และลักษณะความ มั่นคงทางอารมณ์ของอาจารย์ ส่วนด้านที่ 2 ความมีมนุษยสัมพันธ์ของอาจารย์มี 4 ลักษณะ คือ ลักษณะความเป็นกันเองของอาจารย์ ลักษณะการทักทายอย่างยิ้มแย้มแจ่มใสของอาจารย์ ลักษณะ ความเอื้อเฟื้อของอาจารย์ รวมทั้งลักษณะการให้เกียรติและการมีมารยาท 2. ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน หมายถึง การเตรียมการสอน เทคนิคการสอน และการสื่อสารเนื้อหาของอาจารย์ ในด้านการเตรียมการสอนมี 2 ลักษณะ คือ ลักษณะการเตรียม เนื้อหาก่อนสอน และลักษณะการเตรียมสื่อก่อนสอน ส่วนด้านเทคนิคการสอนและการสื่อสาร เนื้อหาของอาจารย์มี 8 ลักษณะ คือ ลักษณะการนาเข้าสู่บทเรียน ลักษณะการถ่ายทอดความรู้ ลักษณะความชานาญในการใช้สื่อการสอน ลักษณะการเชื่อมโยงเนื้อหาเข้ากับสื่อการสอน ลักษณะ ความสามารถในการสอน ลักษณะความมั่นใจในเนื้อหาการสอน และลักษณะการตรงต่อวลา 3. ด้านเนื้อหาวิชา หมายถึง การเลือกและการจัดลาดับเนื้อหาที่สอน โดยพิจารณา จากความสามารถของนักศึกษาในการพูด เขียน อ่าน ฟัง ตลอดจนการนาความรู้ที่ได้ในห้องเรียนไป ใช้ประโยชน์ด้านการสื่อสารในการทางาน 4. ด้านการวัดผลประเมินผลการเรียนรู้ หมายถึง ความรู้และทักษะในการสร้าง เครื่องมือที่เหมาะสม ความรู้และทักษะของนักศึกษาในการทาข้อสอบแบบปรนัยและแบบอัตนัย ความสม่าเสมอในการประเมินผลอย่างต่อเนื่อง รูปแบบการวัดผล ประเมินผล การติดตามวัดผลใน
  • 20. 8 ชีวิตประจาวัน ความพอเพียงของเวลาที่ใช้ในการวัดผล การใช้สื่อในการวัดผล การวิเคราะห์ความ ยากง่ายของข้อสอบในการวัดผลและประเมินผล นักศึกษาหมายถึง นักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ์ในระดับปริญญาตรีที่ได้รับการสอนวิชา ภาษาจีนโดยครูอาสาสมัครชาวจีน ปัจจัยส่วนบุคคล หมายถึง ข้อมูลส่วนตัวของนักศึกษาในด้านเพศและอายุของศึกษา ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ สามารถนาข้อมูลที่ได้รับจากความพึงพอใจของนักศึกษามาวิเคราะห์หาแนวทางในการ วางแผนพัฒนาครูอาสาสมัครชาวจีนในด้านคุณลักษณะ กิจกรรมการเรียนการสอน เนื้อหาวิชาที่ สอน วิธีการสอน สื่อการสอน การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้ และการปรับตัวในการใช้ชีวิตใน วิทยาลัยให้บรรลุวัตถุประสงค์การจัดการศึกษาของหมวดศึกษาทั่วไปต่อไป
  • 21. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ์ที่มีต่อการสอนของครูอาสาสมัคร ชาวจีนครั้งนี้ผู้ศึกษาได้ศึกษาแนวคิดทฤษฏี เอกสาร รายงานและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นฐาน ทางความคิด ซึ่งจะนาไปสู่กรอบความคิดที่ใช้ในการศึกษาดังนี้ 1. ความหมายของความพึงพอใจ 2. ทฤษฎีความพึงพอใจ 3. หลักแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับการสอน 3.1 ความหมายของการสอน 3.2 องค์ประกอบของการสอน 3.3 ลักษณะการสอนที่ดี 3.4 สื่อการเรียนการสอน 3.5 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน 4. นโยบายการเปิดหลักสูตรภาษาจีนระดับอุดมศึกษา 4.1 อาจารย์สัญชาติจีนที่สอนภาษาจีน 4.2 การจัดการเรียนการสอนภาษาจีนของวิทยาลัยราชพฤกษ์ 5. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ความหมายของความพึงพอใจ ความพึงพอใจ มีความหมายโดยทั่วไปว่า ระดับความรู้สึกในทางบวกของบุคคลต่อสิ่งใด สิ่งหนึ่ง อีกทั้งยังมีผู้ให้ความหมายของความพึงพอใจ ไว้ดังนี้ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2542 ให้ความหมายความพึงพอใจหมายถึง ความ พอใจ ความชอบใจ กาจนา ภานุสุรพันธ์ ให้ความหมาย ความพึงพอใจหมายถึง ระดับความรู้สึก หรือความนึก คิด ต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่ได้รับตามที่คาดหวัง
  • 22. 10 วอลเลอร์สเตน (Wallerstein, 1971 : 256 อ้างถึงในธีระ สุภาวิมล, 2551 : 7-8) ได้ให้ ความหมายของความพึงพอใจไว้ว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกที่เกิดขึ้นเมื่อได้รับผลสาเร็จ ตามความมุ่งหมายและอธิบายว่า ความพึงพอใจเป็นกระบวนการทางจิตวิทยาไม่สามารถมองเห็น ได้ชัดเจน แต่สามารถคาดคะเนได้ว่ามีหรือไม่มีจากการสังเกตพฤติกรรมของคนเท่านั้น การที่จะทา ให้เกิดความพึงพอใจจะต้องศึกษาปัจจัยและองค์ประกอบที่เป็นสาเหตุของความพึงพอใจนั้น หลุย จาปาเทศ (2539 :14) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความต้องการ (Need) ได้ บรรลุเป้ าหมายพฤติกรรมที่แสดงออกมาก็จะมีความสุข สังเกตได้จากสายตา คาพูด และการ แสดงออก กู๊ด (Good, 1973 : 320 อ้างถึงในประภา ตุลานนท์, 2540 : 23) อธิบายว่า ความพึงพอใจ หมายถึง คุณภาพหรือระดับความพึงพอใจ ซึ่งเป็นผลจากความสนใจต่าง ๆ และทัศนคติของ กิจกรรม ความพึงพอใจเป็นปัจจัยสาคัญในการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ ดังที่ ประภา ตุลานนท์(2540 :23) กล่าวว่า การที่บุคคลจะเรียนรู้หรือมีพัฒนาการและความเจริญงอกงาม นั้นบุคลจะต้องอยู่ในสภาวะพึงพอใจ สุขใจ เบื้องต้นนั่นคือ บุคคลต้องได้รับการจูงใจทั้งในลักษณะ นามธรรมและรูปธรรม สรุปได้ว่า นักเรียนที่มีสติปัญญาเท่ากัน ถ้ามีแรงจูงใจในการเรียนต่างกันจะ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่างกัน นอกจากนั้น ธีระ สุภาวิมล (2551 : 21) ได้อธิบายไว้ในทานองเดียวกันว่า ความพึงพอใจ เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับอารมณ์ ความรู้สึก และทัศนคติอันเนื่องมาจากสิ่งเร้า และแรงจูงใจ ซึ่ง ปรากฏออกมาทางพฤติกรรม และเป็นองค์ประกอบที่สาคัญในการทากิจกรรมต่าง ๆ จากความหมายขั้นต้นสรุปได้ว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ระดับความรู้สึกหรือ ระดับ ความพอใจของแต่ละบุคคล ที่ส่งผลต่อการแสดงพฤติกรรมต่าง ๆ ออกมา ซึ่งเกิดจากความรู้สึกนึก คิดและปัจจัยสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ที่มากระตุ้น ซึ่งระดับความพึงพอใจของแต่ละบุคคลย่อมมีความ แตกต่างกันออกไป ดังนั้น ในการจัดการเรียนการสอนจึงจาเป็นต้องสร้างแรงจูงใจให้ผู้เรียนเกิด ความพึงพอใจ มีความสนใจในการเรียน เพื่อให้การเรียนการสอนประสบความสาเร็จตาม วัตถุประสงค์ของรายวิชา ทฤษฎีความพึงพอใจ เออร์เนส และอิลเจล (Ernest & llgen, 1980 : 306 อ้างถึงใน พูนศิริ อรุณเนตร, อรวรรณ สมบูรณ์สาร และทวีสุข ปทุมานุสสรณ์. 2543 : 11 ) กล่าวว่า ความพึงพอใจเป็นแรงจูงใจของมนุษย์ ที่ตั้งอยู่บนความต้องการพื้นฐาน (Basic Needs) มีความเกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิดกับผมสัมฤทธิ์และ แรงจูงใจ (Intensive) และพยายามหลีกเลี่ยงสิ่งที่ไม่ต้องการ
  • 23. 11 มัลลินส์ (Mullins, 1985 : 280 อ้างถึงใน พูนศิริ อรุณเนตร, อรวรรณ สมบูรณ์สาร และ ทวีสุข ปทุมานุสสรณ์. 2543 : 11-12) กล่าวว่า ความพึงพอใจเป็นทัศนคติของบุคคลที่มีต่อสิ่ง ต่าง ๆ หลาย ๆ ด้าน เป็ นสภาพภายในที่มีความสัมพันธ์กับความรู้สึกของบุคคลที่ประสบ ความสาเร็จในงานทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ เกิดจากมนุษย์จะมีแรงผลักดันบางประการในตัว บุคคล ซึ่งเกิดจากการที่ตนเองพยายามจะบรรลุถึงเป้ าหมายบางอย่าง เพื่อจะสนองตอบต่อความ ต้องการ หรือคาดหวังที่มีอยู่และเมื่อบรรลุเป้ าหมายนั้นแล้ว ก็จะเกิดความพอใจเป็นผลสะท้อน กลับไปยังจุดเริ่มต้นเป็นกระบวนการหมุนเวียนต่อไปอีก ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน นักจิตวิทยาแบ่งการจูงใจเกี่ยวกับการศึกษา ออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1) แรงจูงใจภายใน (Intrinsic Motivation) ได้แก่ การจูงใจที่เกิดจากความรู้สึกภายใน ของผู้เรียนเอง เช่น ความต้องการ ความสนใจและทัศนคติที่ดีต่อวิชาที่เรียนทาให้ผู้เรียนเกิด ความรู้สึก กระตือรือร้น อยากรู้อยากเห็น อยากเรียน เต็มใจและตั้งใจเรียน เพราะต้องการความรู้ มิใช่เรียนเพราะหวังผลอย่างอื่น 2) แรงจูงใจภายนอก (Extrinsic Motivation) ได้แก่ การจูงใจที่เกิดจากสิ่งแวดล้อม ภายนอกมาชักจูงหรือกระตุ้นให้เกิดการจูงใจภายในขึ้นเป็นต้นว่า วิธีสอน บุคลิกภาพของผู้สอน และเทคนิคที่ครูใช้ในการสอนจะเป็นสิ่งจูงใจให้ผู้เรียนเกิดความรู้สึกอยากเรียน การกระทาที่เกิด จากแรงจูงใจภายนอกไม่ได้เป็นการกระทา เพื่อความสาเร็จในสิ่งนั้นอย่างแท้จริงแต่เป็นการกระทา เพื่อสิ่งจูงใจอย่างอื่น เช่น การเรียนที่หวังคะแนน นอกเหนือไปจากการได้รับความรู้ การศึกษาเป็นกระบวนการที่ทาให้ผู้เรียนมีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไปในทางที่พึง ประสงค์ การจูงใจภายในจึงเป็นลักษณะการจูงใจที่ดีและมีอิทธิพลที่สุดต่อกระบวนการเรียนรู้ ดังนั้นจึงควรส่งเสริมให้เกิดแรงจูงใจภายในขึ้นโดยใช้การจูงใจภายนอกยั่วยุให้ผู้เรียนเกิดความ สนใจ เช่น ใช้หลักการให้รางวัล และลงโทษการชมเชยและการตาหนิ การแข่งขันและการร่วมมือ ต่าง ๆ แต่ในความเป็นจริงการจัดการศึกษาโดยทั่วไปมักพบว่า การสร้างแรงจูงใจเพื่อให้ผู้เรียนเกิด แรงจูงใจภายในขึ้นนั้น กระทาได้อยากมากเพราะเหตุนี้ในการจัดการศึกษาจึงพบเสมอว่า ส่วนใหญ่ จะสร้างแรงจูงใจภายนอกก่อน เพื่อก่อให้เกิดแรงจูงใจภายในขึ้นภายหลังและในการสร้างแรงจูงใจ ไม่ว่าจะเป็นแรงจูงใจภายในหรือภายนอกจะต้องทาอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่องตลอดเวลา จึงจะ บังเกิดผลดีทั้งนี้เพราะว่า เมื่อร่างกายเกิดความต้องการจะทาให้เกิดแรงขับหรือแรงจูงใจที่เป็น ตัวกระตุ้นหรือผลักดันให้ร่างกายแสดงพฤติกรรม เพื่อให้ได้สิ่งที่ต้องการพฤติกรรมที่กระทาจึงมี ทิศทางหรือจุดมุ่งหมาย เมื่อร่างกายได้สิ่งที่ต้องการ ก็จะเกิดความพึงพอใจแรงขับก็จะลดลง (ประภา ตุลานนท์, 2540 : 25) เพราะฉะนั้นในการเรียน การสอน ครูผู้สอนจะต้องพยายามสร้าง
  • 24. 12 สิ่งจูงใจให้ผู้เรียนเกิดแรงขับหรือแรงจูงใจอย่างสม่าเสมอ เพื่อผู้เรียนจะได้สนใจติดตามบทเรียน อย่างต่อเนื่องทาให้เรียนรู้อย่างได้ผล การจัดการเรียนการสอนทางด้านภาษานั้นโดยเฉพาะการเรียนการสอนภาษาจีนซึ่งเป็น ภาษาต่างประเทศที่ค่อนข้างยากทั้งในการออกเสียงและการเขียนตัวอักษร จาเป็นที่ต้องอาศัย แรงจูงใจหรือสภาวะที่กระตุ้นเร้าให้ผู้เรียนเกิดความสนใจเรียนมาก ดังนั้นผู้วิจัยจึงเห็นว่า การศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนในการเรียนภาษาจีนเป็นสิ่งสาคัญ และควรศึกษาจากปัจจัย สภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอนและอาจมีผลต่อความพึงพอใจของผู้เรียน ได้แก่ 1) บุคลิกภาพและความมีมนุษยสัมพันธ์ของอาจารย์ 2) การจัดการเรียนการสอนของอาจารย์ ในด้านการเตรียมการสอน เทคนิคการสอน และการสื่อสารเนื้อหา 3) การนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน หลักแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับการสอน ความหมายของการสอน บุคคลโดยทั่วไปส่วนใหญ่จะเข้าใจว่า การสอน คือ การถ่ายทอดเนื้อหาวิชา โดยใช้ วิธีการบอกให้ทา ให้จา ให้จด และนาไปท่องจา เพื่อสอนต่อไป แต่ในแวดวงของผู้ที่เกี่ยวข้องกับ การศึกษาจะเข้าใจว่า การสอนมิได้หมายถึง การบอกให้ทา ให้จา ให้จด แต่เพียงอย่างเดียว การสอน มีความหมายลึกซึ้งกว่านั้น กล่าวคือ วิธีการใดก็ตามที่ครูนามาใช้เพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ เรียก ได้ว่าเป็นการสอนทั้งสิ้น นักการศึกษาหลายท่านได้ให้ความหมายของการสอนไว้หลายทัศนะ ดังนี้ สุมน อมรวิวัฒน์ (2533 : 460) อธิบายความหมายของการสอนไว้ว่า การสอน คือ สถานการณ์อย่างหนึ่งที่มีสิ่งต่อไปนี้เกิดขึ้น ได้แก่ 1) มีความสัมพันธ์และปฏิสัมพันธ์เกิดขึ้นระหว่างครูกับนักเรียน นักเรียนกับ นักเรียน นักเรียนกับสิ่งแวดล้อม และครูกับนักเรียนกับสิ่งแวดล้อม 2) ความสัมพันธ์และปฏิสัมพันธ์นั้นก่อให้เกิดการเรียนรู้และประสบการณ์ใหม่ 3) ผู้เรียนสามารถนาประสบการณ์ใหม่นั้นไปใช้ได้ สุพิน บุญชูวงศ์ (2531 : 3-4) ให้ความหมายของการสอนไว้ว่า การสอน คือ การจัด ประสบการณ์ที่เหมาะสมให้แก่ผู้เรียน เพื่อที่จะให้เกิดการเรียนรู้ หรือเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไป
  • 25. 13 ในทางที่ดีขึ้น การสอนจึงเป็นกระบวนการสาคัญที่ก่อให้เกิดความเจริญงอกงาม การสอนจึงเป็น ภารกิจที่ต้องใช้ทั้งศาสตร์และศิลป์ จึงจะสามารถก่อให้เกิดประสบการณ์ที่มีความหมายต่อการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของนักเรียน ลาพอง บุญช่วย (2530 : 8-9) กล่าวถึง การสอนว่า “เป็นกระบวนการที่มีความ สลับซับซ้อนต้องอาศัยทั้งศาสตร์และศิลป์ อาศัยศาสตร์ก็ตรงที่ผู้สอนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับ หลักการสอน และเป็นผู้ที่มีศิลปะหรือกลวิธี มีเทคนิคในด้านต่าง ๆ อีกมากมาย” Moore, Kenneth D. (New York : Mc Grow Hill book CQ 1992), P.4 ให้ความหมาย ของการสอนไว้ว่า “การสอน คือพฤติกรรมของบุคคลหนึ่งที่พยายามช่วยให้บุคคลอื่นได้เกิดการ พัฒนาตนในทุกด้านอย่างเต็มศักยภาพ” Hills, P.J. (London : Routledge & Routledege & Kegan Pay, 1984) PP.266 ให้คาจากัด ความของการสอนไว้ว่า การสอน คือ กระบวนการให้การศึกษาแก่นักเรียน ซึ่งต้องอาศัยปฏิสัมพันธ์ ระหว่างครูกับนักเรียน จากความหมายของการสอนที่ประมวลมานี้ แสดงให้เห็นว่า การสอนมีความหมาย ครอบคลุมทั้งด้านวิธีการ ด้านตัวบุคคล คือ ผู้สอนและผู้เรียนต้องมีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน ด้านเป้ าหมาย การสอนและด้านความสามารถของผู้สอน ซึ่งจะช่วยให้การสอนประสบผลสาเร็จได้ดี ดังนั้น จาก ความหมายข้างต้นจึงสรุปความหมายของการสอนได้ว่า การสอน คือ กระบวนการปฏิสัมพันธ์ ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน เพื่อทาให้ผู้เรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตามจุดประสงค์ที่กาหนด ซึ่งต้องอาศัยทั้งศาสตร์และศิลป์ ของผู้สอน องค์ประกอบของการสอน การสอนจะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยองค์ประกอบหลายด้าน ทุกสิ่งทุกอย่างที่เกี่ยวข้องกับ การสอน และมีการส่งเสริมให้เกิดการสอนประสบผลสาเร็จได้ จัดเป็นองค์ประกอบของการสอน ทั้งสิ้น มีนักการศึกษาหลายท่านได้แสดงทัศนะเกี่ยวกับองค์ประกอบของการสอนไว้ดังนี้ สุพิน บุญชูวงศ์ (2531 : 3-4) กล่าวถึงองค์ประกอบของการสอนไว้3 ประการ ได้แก่ ครู นักเรียน และสิ่งที่จะสอน สรุปได้ดังนี้
  • 26. 14 ครู เป็นองค์ประกอบสาคัญที่ขาดไม่ได้ บุคลิกภาพและความสามารถของผู้สอนมี อิทธิพลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน ผู้สอนควรมีบุคลิกภาพที่ดีและรู้จักเลือกใช้วิธีสอนที่เหมาะสม เพื่อ ส่งเสริมให้ผู้เรียนประสบผลสาเร็จในการเรียนรู้ นักเรียนหรือผู้เรียน เป็นองค์ประกอบสาคัญเท่ากับผู้สอน ความสาเร็จในการศึกษาเป็น เป้ าหมายสาคัญของผู้เรียน ผู้สอนจึงควรเป็นผู้แนะแนว แนะนา และจัดประมวลประสบการณ์ให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้มากที่สุด สิ่งที่จะสอน ได้แก่ เนื้อหาวิชาต่าง ๆ ครูจะต้องจัดเนื้อหาให้มีความสัมพันธ์กัน น่าสนใจ เหมาะสมกับวัย ระดับชั้น และสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ของการเรียนการสอน ลาพอง บุญช่วย (2530 : 8-9) กล่าวถึงองค์ประกอบของการเรียนการสอนไว้7 ประการ ไว้ดังนี้ 1) ครูผู้สอน 2) ผู้เรียน 3) หลักสูตร 4) วิธีสอน 5) วัตถุประสงค์ของการสอน 6) สื่อการสอน 7) การประเมินผล ไพฑูรย์ สินลารัตน์ กล่าวว่า การสอนเป็นกระบวนการสามเส้า อันประกอบด้วยส่วน สาคัญ ได้แก่ 1) O = Objective = จุดมุ่งหมาย 2) L = Learning Experience = การจัดประสบการณ์การเรียนการสอน 3) E = Evaluation = การประเมินผล จากองค์ประกอบของการสอนที่นักการศึกษาทั้ง 3 ท่านเสนอไว้เมื่อนามาพิจารณาแล้ว สามารถวิเคราะห์แยกเป็นองค์ประกอบ 2 ด้าน ได้แก่ 1. ด้านองค์ประกอบรวม หมายถึง องค์ประกอบด้านโครงสร้างที่มาประกอบกัน เป็นการสอน อันประกอบด้วย
  • 27. 15 1.1 ครู หรือ ผู้สอน หรือ วิทยากร 1.2 นักเรียน หรือ ผู้เรียน 1.3 หลักสูตร หรือ สิ่งที่จะสอน 2. ด้านองค์ประกอบย่อย หมายถึง องค์ประกอบด้านรายละเอียดของการสอนซึ่ง จะต้องประกอบด้วยกระบวนการเหล่านี้จึงจะทาให้เป็นการสอนที่สมบูรณ์ ได้แก่ 2.1 การตั้งจุดประสงค์การสอน 2.2 การกาหนดเนื้อหา 2.3 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 2.4 การใช้สื่อการสอน 2.5 การวัดผลประเมินผล ทั้ง 5 องค์ประกอบย่อยนี้ ช่วยให้เป็นการสอนที่สมบูรณ์ด้วยเหตุผล ดังนี้ 1) การตั้งจุดประสงค์การสอน เป็นองค์ประกอบสาคัญอันดับแรกของการสอน ทา ให้ผู้สอนทราบว่าจะสอนเพื่ออะไร ให้ผู้เรียนเกิดพฤติกรรมใด มากน้อยเพียงใด เป็นการสอนที่มี เป้ าหมาย ขณะเดียวกันการตั้งจุดประสงค์การสอนจะเป็นประโยชน์ต่อผู้สอนในการเตรียมเนื้อหา การสอน การเลือกวิธีการสอน เลือกใช้สื่อการสอน และการวัดผลให้สอดคล้องกับจุดประสงค์การ สอน 2) การกาหนดเนื้อหา องค์ประกอบข้อนี้ หมายรวมถึง การเลือกและการจัดลาดับ เนื้อหาที่สอนด้วยการกาหนดเนื้อหาจะทาให้ผู้สอนได้ทราบว่าจะสอนอะไร ผู้เรียนควรได้รับ ประสบการณ์ใดบ้าง ประสบการณ์ใดควรได้รับก่อน และในขอบเขตมากน้อยเพียงใดจึงจะ เหมาะสม การกาหนดเนื้อหาไว้ล่วงหน้าจะทาให้การสอนมีสาระคุ้มค่ากับเวลาที่ผ่านไปและมี คุณค่าแก่ผู้เรียน 3) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ข้อนี้เป็นองค์ประกอบสาคัญเช่นกัน เพราะทา ให้ผู้สอนทราบว่าจะสอนอย่างไร ใช้วิธีการใดในการเสนอหรือสร้างประสบการณ์ให้แก่นักเรียนซึ่ง จะต้องใช้วิธีการที่เหมาะสม อาจใช้วิธีเดียวหรือหลายวิธีในการสอนแต่ละครั้ง โดยจะต้องเป็นวิธีที่ เหมาะสมกับลักษณะของเนื้อหาวิชากับผู้เรียน กับสภาพห้องเรียน และสอดคล้องกับจุดประสงค์ การสอนที่กาหนดไว้ 4) การใช้สื่อการสอน สื่อการสอนเป็นส่วนสาคัญในการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้ได้ชัดเจนและเร็วขึ้น ตลอดจนช่วยเร้าความสนใจได้ดี สื่อการสอนที่ดีจะช่วยให้การสอน
  • 28. 16 ดาเนินไปได้ราบรื่นและสะดวกคล่องตัวแก่ผู้เรียน การเตรียมสื่อการสอนทาให้ผู้สอนทราบว่าจะใช้ อะไรเป็นสื่อช่วยสร้างประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีที่สุด 5) การวัดผลประเมินผล องค์ประกอบข้อนี้ช่วยให้ทราบว่า การสอนที่ผ่านมานั้น บรรลุผลหรือไม่ มากน้อยเพียงใด ผู้เรียนเกิดผลสัมฤทธิ์ตามจุดประสงค์ที่กาหนดไว้หรือไม่มีตอน ใดหรือจุดประสงค์ใดบ้างที่ยังไม่บรรลุ ทาให้ผู้สอนสามารถแก้ไขข้อบกพร่องได้ตรงจุด การวัดผล ประเมินผลนี้มีประโยชน์ทั้งต่อผู้เรียนและผู้สอน ผู้สอนจึงต้องทาการวัดผลประเมินผลทุกครั้งที่ สอน กล่าวโดยสรุป องค์ประกอบของการสอนมีทั้งองค์ประกอบรวมและองค์ประกอบย่อย ซึ่งองค์ประกอบรวมจะเป็นส่วนช่วยสร้างให้เกิดการสอน ส่วนองค์ประกอบย่อยเป็นส่วนเสริมให้ การสอนมีประสิทธิภาพและมีคุณค่าแก่ผู้เรียน ลักษณะการสอนที่ดี การสอนลักษณะใดก็ตามที่ทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี จัดเป็นการสอนที่ดีทั้งสิ้น ถ้า จะกล่าวโดยละเอียดแยกย่อยแล้ว การสอนที่ดีจะมีลักษณะดังนี้ 1) เป็นการสอนที่มีการเตรียมการสอนเป็นอย่างดี ครบองค์ประกอบของการสอน อันได้แก่ การตั้งจุดประสงค์การสอน การจัดเนื้อหาสาระ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การใช้ สื่อการสอน และการวัดผลประเมินผล 2) เป็นการสอนที่ทาให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนา ทั้งด้านความรู้ความคิด ด้านเจตคติ และด้านทักษะ ทาให้ผู้เรียนเกิดความรู้แจ้ง คิดชอบ และปฏิบัติดี เกิดการเจริญเติบโตทุกด้านอย่าง ชื่นบานและแจ่มใส 3) เป็นการสอนที่ผู้สอนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ได้สอดคล้องกับจุดประสงค์ กับเนื้อหาและกับผู้เรียน โดยใช้กิจกรรมในรูปแบบต่าง ๆ ที่เหมาะสม 4) เป็นการสอนที่ผู้เรียนได้ลงมือกระทากิจกรรมด้วยตนเอง หรือได้มีส่วนร่วมใน กิจกรรมการเรียนการสอน ทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี และเกิดความกระตือรือร้นในการเรียน 5) เป็นการสอนที่สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของหลักสูตร เช่น หลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 มุ่งพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นคนดี มีปัญญา มี ความสุข และมีความเป็นไทย มีศักยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ ผู้สอนก็ต้องจัดการ เรียนการสอนให้ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะดังที่หลักสูตรกาหนดไว้ 6) เป็นการสอนที่คานึงถึงประโยชน์ของผู้เรียนจะนาไปใช้ในชีวิตประจาวันและ ตลอดไป เช่น การสอนโดยให้ผู้เรียนได้คิด วิเคราะห์ วิจารณ์ ได้รู้จักวิธีแสวงหาความรู้ ได้ฝึกคิด แก้ปัญหา ย่อมดีกว่าวิธีสอนโดยบอกความรู้ให้ หรือกระทาให้ดูเพียงแต่อย่างเดียว การให้ผู้เรียนได้