SlideShare a Scribd company logo
1 of 90
แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ตามตาแหน่งที่อยู่ คือ
ระบบประสาทของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
1 ระบบประสาทส่วนกลาง ได้แก่
1.1 สมอง (brain)
จะช่วยให้เรามีความสามารถในการคิด รู้สึก เคลื่อนไหว จดจา
มีความสุขหรือเศร้าหมองและยังควบคุมอวัยวะทุกส่วนของร่างกาย
ระบบประสาทของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
1.2 ไขสันหลัง (Spinal cord)
1) ทาหน้าที่ส่งกระแสประสาทไปยังสมอง เพื่อตีความและสั่ง
การ และในขณะเดียวกันรับพลังประสาทจากสมองซึ่งเป็นคาสั่งไปสู่
อวัยวะต่างๆ
2) เป็นศูนย์กลางของปฏิกิริยาสะท้อน (Reflex reaction) คือ
สามารถที่จะทางานได้ทันที เพื่อป้ องกันและหลีกเลี่ยงอันตราย
อาจจะเกิดขึ้นกับร่างกาย เช่น เมื่อเดินไปเหยียบหนามที่แหลมคม
เท้าจะยกหนีทันทีโดยไม่ต้องรอคาสั่งจากสมอง
3) ควบคุมการเจริญเติบโตของอวัยวะต่างๆ ที่มีเส้นประสาท
ไขสันหลังไปสู่สมอง ซึ่งหน้าที่นี้เรียกว่า ทรอพฟิคฟังชั่น (Trophic
function)
ระบบประสาทของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
1.2 ไขสันหลัง (Spinal cord) ปฏิกิริยาสะท้อน (Reflex reaction)
ระบบประสาทของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
2. ระบบประสาทส่วนปลาย
เส้นประสาทสมอง 12 คู่ (cranial nerve (CN))
เส้นประสาทไขสันหลัง 31 คู่ (spinal nerve (SN)))
ปมประสาท (ganglia)
1. ระบบประสาทโซมาติก (somaticnervous system : SNS)
แบ่งระบบประสาทส่วนปลายตามหน้าที่ ก็แบ่งเป็น 2
ระบบคือ
ระบบประสาทโซมาติก ควบคุมการทางานของ
กล้ามเนื้อยึดกระดูก โดยเซลล์ประสาทรับความรู้สึกจะรับกระแส
ประสาทจากหน่วยรับความรู้สึกผ่านเส้น ประสาทไขสันหลังหรือ
เส้นประสาทสมองเข้าสู่ไขสันหลังหรือสมองและกระแสประสาท
จะถูกส่งผ่านเส้นประสาทไขสันหลังหรือเส้นประสาทสมองไปยัง
หน่วยปฏิบัติงาน ซึ่งเป็นกล้ามเนื้อยึดกระดูก บางครั้งอาจทางาน
โดยผ่านไขสันหลังเท่านั้น เช่น การกระตุกขาเมื่อถูกเคาะที่หัวเข่า
เบาๆ
ระบบประสาทโซมาติก (ต่อ)
แบ่งระบบประสาทตามหน้าที่ ก็แบ่งเป็น 2 ระบบคือ
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่มากระตุ้น โดยการกระตุกขานี้
เกิดขึ้นเองโดยอัตโนวัติ เรียกว่า รีเฟล็กซ์ (reflex) กิริยาหรือ
อาการที่แสดงออกเมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้นเกิดขึ้นในระยะเวลา
สั้นๆ เรียกว่ารีเฟล็กซ์แอกชัน (reflex action) เป็นการตอบสนอง
ของหน่วยปฏิบัติงานที่เกิดขึ้นในทันทีทันใด โดยมิได้มีการ
เตรียมหรือคิดร่วงหน้าเป็นการสั่งการโดยไขสันหลัง ไม่ต้อง
อาศัยคาสั่งจากสมอง
ระบบประสาทโซมาติก (ต่อ)
แบ่งระบบประสาทตามหน้าที่ ก็แบ่งเป็น 2 ระบบคือ
นักเรียนเคยสังเกตบ้างไหมว่า เวลาเดินเท้าเปล่าตาม
ชายหาดแล้วบังเอิญเหยียบเศษแก้วหรือของมีคมเข้า นักเรียนจะ
ชักเท้าออกทันทีโดยสมองไม่ต้องคิดหรือสั่งการ อันที่จริงสมองยัง
ไม่ทราบโดยซ้าไปว่ามีอะไรเกิดขึ้น จนกระทั่งโดนวินาทีต่อมาจะ
รู้สึกว่าเจ็บและรู้สึกว่าสิ่งที่เหยียบนั้นคือ อะไร
ระบบประสาทโซมาติก (ต่อ)
แบ่งระบบประสาทตามหน้าที่ ก็แบ่งเป็น 2 ระบบคือ
2.ระบบประสาทอัตโนวัติ (autonomic nervous system : ANS)
แบ่งระบบประสาทตามหน้าที่ ก็แบ่งเป็น 2 ระบบคือ
เป็นระบบประสาทที่ทางานนอกอานาจจิต ใจ
(involuntary nervous system) เป็นระบบประสาทที่ควบคุม
อวัยวะที่อยู่นอกอานาจจิตใจ เช่น กล้ามเนื้อเรียบและอวัยวะต่าง
ๆ กล้ามเนื้อหัวใจที่หัวใจ และต่อมต่าง ๆ ให้ทางานโดยอัตโน
วัติ ทาให้ร่างกายดาเนินชีวิตได้อย่างปกติ
2. ระบบประสาทอัตโนวัติ (ต่อ)
แบ่งระบบประสาทตามหน้าที่ ก็แบ่งเป็น 2 ระบบคือ
ระบบประสาทอัตโนวัติ แบ่งออกเป็น 2 ระบบ โดยมีลักษณะใน
การทางานตรงกันข้าม คือ
-ระบบประสาทซิมพาเทติก (sympathetic nerve)
แยกออกจากไขสันหลังบริเวณอกและเอว ระบบประสาทซิมพาเทติกมักจะ
กระตุ้นการทางานมากกว่ายับยั้งการทางาน
-ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก
(parasymoathetic nerve) แยกออกจากสมองและไขสันหลังตอนสะโพก
ระบบประสาทนี้มักจะยับยั้งการทางานมากกว่าที่จะกระตุ้นการทางาน เพื่อ
ปรับไม่ให้ร่างกายทางานมากเกินไป
2. ระบบประสาทอัตโนวัติ
แบ่งระบบประสาทตามหน้าที่ ก็แบ่งเป็น 2 ระบบคือ
แบ่งระบบประสาทตามหน้าที่ ก็แบ่งเป็น 2 ระบบคือ
ส่วนประกอบของสมอง
1. สมองใหญ่ (cerebrum) แบ่งออกเป็น 2 ซีก แต่ละซีกเรียกว่า
cerebral hemisphere
สมองแต่ละซีกแบ่งออกเป็น 2 ชั้น
 ชั้นนอก (cerebral cortex) เรียกอีกชื่อว่า gray matter
 ชั้นใน (cerebral medulla) เรียกอีกชื่อว่า white matter
แบ่งสมองทางด้านข้างออกเป็น 4 lobe เมื่อมองสมองทาง
ด้านข้างจะเห็นเป็น 4 lobe คือ
1. frontal lobe ทาหน้าที่ควบคุมการเคลื่อนไหว การออก
เสียง ความคิด ความจา สติปัญญา บุคลิก ความรู้สึก พื้น
อารมณ์
ชีววิทยา (424111)อ.เยาวลักษณ์ น่วมธนัง
2. parietal lobe ทาหน้าที่ควบคุม การได้ยิน การดม
กลิ่น
3. temporal lobe ทาหน้าที่ควบคุมการมองเห็น
4. occipital lobe ทาหน้าที่ควบคุมความรู้สึกด้านการ
สัมผัส การพูด การรับรส
ชีววิทยา (424111)อ.เยาวลักษณ์ น่วมธนัง
ภาพที่ 11-21 หน้าที่และส่วนต่างๆ บนซีรีบรัลคอร์เทกซ์ (Brum และคณะ,1994)
ชีววิทยา (424111)อ.เยาวลักษณ์ น่วมธนัง
แบบฝึกหัด
เรื่อง ระบบประสาท
(ส่วนประกอบและหน้าที่ของ
สมอง (5 คะแนน)
ชีววิทยา (424111)อ.เยาวลักษณ์ น่วมธนัง
สมองในแนว mid – saggital (ผ่าแสกกลาง)
ภาพที่ 11-22 ลักษณะทางกายวิภาคของสมองเมื่อผ่าครึ่งซีก (Graaffและ Fox, 1995)
ชีววิทยา (424111)อ.เยาวลักษณ์ น่วมธนัง
Thalamus มีหน้าที่ที่สาคัญคือ
1. เป็น sensory relay station
2. แปลความรู้สึกเจ็บปวด
Hypothalamus มีหน้าที่สาคัญ คือ
1. ควบคุมการทางานของระบบประสาทอัตโนวัติ
2. ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
3. ควบคุมสมดุลย์น้าในร่างกาย
4. ควบคุมการหลั่งฮอร์โมน จากต่อมใต้สมอง
ชีววิทยา (424111)อ.เยาวลักษณ์ น่วมธนัง
5. ควบคุมการกินอาหาร
6. ควบคุมการแสดงออกของอารมณ์
7. ควบคุมเกี่ยวกับการหลับและตื่น
8. ควบคุมการหลั่งน้าย่อยจากกระเพาะอาหาร
Mid brain
ประกอบด้วย
1 cerebral peduncle ทาหน้าที่เป็นวิถีประสาทควบคุมการเคลื่อนไหว
2 corpora quadrigemina ทาหน้าที่เกี่ยวกับรีเฟล็กซ์ของการมองเห็น
และการได้ยินเสียง
ระบบประสาท (NERVOUS SYSTEM)
ระบบประสาท
ระบบประสาทมีหน้าที่ควบคุมและประสานการทางาน
ของระบบต่างๆ ของร่างกาย หลังจากที่รวบรวมข้อมูลจาก
สิ่งแวดล้อมภายนอกที่มีความสัมพันธ์กับระบบต่างๆ ของ
ร่างกาย ก็จะมีการวิเคราะห์ และสั่งการให้มีการตอบสนองที่
เหมาะสมเพื่อรักษาสมดุลต่างๆ ของร่างกาย ตอบสนองต่อ
ความต้องการของร่างกาย ซึ่งความต้องกายที่สาคัญที่สุดของ
ร่างกายคือเพื่อให้ตัวเองอยู่รอด
ระบบประสาท (NERVOUS SYSTEM)
หน้าที่ของระบบประสาทมี 4 ประการ
1. รวบรวมข้อมูล ทั้งจากภายนอกและภายในร่างกาย
(sensory function)
2. นาส่งข้อมูลไปยังระบบประสาทกลางเพื่อทาการ
วิเคราะห์
3. วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้มีการตอบสนองที่เหมาะสม
(integrative function)
4. สั่งงานไปยังระบบต่างๆเช่น กล้ามเนื้อ ต่อม หรือ
อวัยวะอื่นๆให้มีการตอบสนองที่เหมาะสม (motor function)
ระบบประสาท (NERVOUS SYSTEM)
ระบบประสาทแบ่งออกเป็น 2 ส่วน
1. ระบบประสาทส่วนกลาง
(central nervous system – CNS)
ประกอบไปด้วยสมองและไขสันหลัง
ไขสันหลัง (spinal cord) มีหน้าที่
นาส่งข้อมูลจากร่างกายไปยังสมอง
สมองทาหน้าที่แปลผลและวิเคราะห์
ข้อมูล และสั่งงานผ่านทางไขสันหลัง
ไปยังส่วนต่างๆของร่างกาย
ระบบประสาท (NERVOUS SYSTEM)
2. ระบบประสาทส่วนปลาย
(peripheral nervous system- PNS)
ประกอบด้วยเซลล์ประสาท(neuron)ที่
ไม่ได้อยู่ในระบบประสาทส่วนกลาง
เซลล์ประสาทที่ทาหน้าที่เก็บข้อมูล
จากร่างกายและนาส่งไปยังระบบ
ประสาทส่วน กลางเรียกว่า afferent
neurons และตัวที่นาส่งข้อมูลจาก
CNS ไปยังที่ต่างๆเรียกว่า efferent
neurons
ระบบประสาท (NERVOUS SYSTEM)
1. sensory-somatic nervous system ประกอบไปด้วย เส้นประสาท
สมอง 12 คู่ และเส้นประสาทสันหลัง 31 คู่
ระบบประสาทส่วนปลาย (peripheral nervous
system- PNS) ประกอบด้วย
ระบบประสาท (NERVOUS SYSTEM)
ระบบประสาทส่วนปลาย (peripheral nervous
system- PNS) ประกอบด้วย
2. autonomic nervous system เป็นการควบคุมการ
ทางานของร่างกายที่อยู่ภายนอกจิตใจ ประกอบไปด้วยทั้งส่วน
ที่เป็น sensory และ motor ซึ่งวิ่งระหว่าสมองส่วนกลาง
(บริเวณ hypothalamus และ meduula oblongata) และอวัยวะ
ภายในต่างๆเช่น หัวใจ ปอด กระเพาะ เป็นต้น แบ่งเป็น 2
ระบบคือ sympathetic และ parasympathetic nervous system
ซึ่งทั้ง 2 ระบบนี้จะสั่งงานตรงข้ามกันในแต่ละอวัยวะ
ระบบประสาท (NERVOUS SYSTEM)
1. sensory-somatic nervous system ประกอบไปด้วย
ระบบประสาทส่วนปลาย (peripheral nervous
system- PNS) ประกอบด้วย
1. ปลาและสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า(Fish and amphibian ) มี
จานวน 10 คู่
2. ส่วนในพวกสัตว์เลื้อยคลาน สัตว์ปีกและสัตว์เลี้ยงลูกด้วย
นม มีจานวน 12 คู่
3. สาหรับคนเรามีเส้นประสาทสมอง 12 คู่ และเส้นประสาท
สันหลัง 31 คู่ ดังนี้
เส้นประสาทสมอง (Cranial nerves)
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 1 เส้นประสาทออลแฟกทอรี
(olfactory nerve) รับความรู้สึกเกี่ยวกับกลิ่นจากเยื่อจมูกเข้าสู่ออลแฟก
เทอรีบัลบ์ (olfactory bulb) แล้วเข้าสู่ออลแฟเทอรีโลบ
(olfactory lobe) ของสมองส่วนซีรีบรัมอีกทีหนึ่ง
เส้นประสาทสมอง (Cranial nerves)
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 2 เส้นประสาทออพติก (optic nerve) รับ
ความรู้สึกเกี่ยวกับการมองเห็นจากเรตินาของลูกตาเข้าสู่ออพติกโลบ(optic
lobe) แล้วส่งไปยังออกซิพิทัลโลบ(occipital lobe) ของซีรีบรัมอีกทีหนึ่ง
เส้นประสาทสมอง (Cranial nerves)
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 3 เส้นประสาทออคิวโลมอเตอร์ (oculomotor
nerve) เป็นเส้นประสาทสั่งการจากสมองส่วนกลางไปยังกล้ามเนื้อลูก
ตา 4 มัด ทาให้ลูกตาเคลื่อนไหวกลอกตาไปมาได้ และยังไปเลี้ยงกล้ามเนื้อที่ทา
ให้ลืมตา ทาให้ม่านตาหรี่หรือขยายและไปยังกล้ามเนื้อปรับเลนส์ตาอีกด้วย
เส้นประสาทสมอง (Cranial nerves)
เส้น ประสาทสมองคู่ที่ 4 เส้นประสาททรอเคลีย (trochlear nerve) เป็น
เส้นประสาทสั่งการไปยังกล้ามเนื้อลูกตาทาให้ลูกตามองลงและมองไปทางหางตา
เส้นประสาทสมอง (Cranial nerves)
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 5 เส้นประสาทไตรเจอมินัล (trigeminal nerve) แบ่ง
ออกเป็น 3 แขนง ทาหน้าที่รับความรู้สึกจากใบหน้า ลิ้นฟัน ปากเหงือก กลับเข้า
สู่สมองส่วนพาเรียทัลโลบ ทาหน้าที่สั่งการไปควบคุมกล้ามเนื้อที่เกี่ยวกับการเคี้ยว
อาหาร
เส้นประสาทสมอง (Cranial nerves)
เส้น ประสาทสมองคู่ที่ 6 เส้นประสทแอบดิวเซนส์ (abducens nerve) เป็น
เส้นประสาทสั่งการออกจากพอนส์ไปยังกล้ามเนื้อลูกตาทาให้เกิดการชาเลือง
เส้นประสาทสมอง (Cranial nerves)
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 เส้นประสาทเฟเชียล(facial nerve) เป็นเส้นประสาท
ที่สั่งการไปยังกล้ามเนื้อหน้าทาให้เกิดสีหน้าต่างๆกัน และยังเป็นเส้นประสาทรับ
ความรู้สึกรับรสจากปลายลิ้นเข้าสู่ซีรีบรัมส่วนพา เรียทัลโลบด้วย
เส้นประสาทสมอง (Cranial nerves)
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 8 เส้นประสาทออดิทอรี
(auditory nerve) เส้นประสาทรับความรู้สึกแยกเป็น 2 แขนง แขนงหนึ่งจากคอ
เคลียของหูทาหน้าที่เกี่ยวกับการได้ยินเข้าสู่ซีรีบรัมส่วน เทมพอรัลโลบ อีกแขนง
หนึ่งนาความรู้สึกเกี่ยวกับการทรงตัวจากเซมิเซอร์คิวลา ร์แคแนล เข้าสู่ซีรีบรัม
เส้นประสาทสมอง (Cranial nerves)
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 9 เส้นประสาทกลอสโซฟารินเจียล
(glossopharyngeal nerve) เป็นประสาทรับความรู้สึกจากช่องคอ เช่น ร้อน
เย็น และรับรสจากโคนลิ้นเข้าสู่ซีรีบรัม ส่วนพาเรียทัลโลบและนากระแสประสาทสั่ง
การจากสมองไปยังกล้ามเนื้อบริเวณคอ หอยที่เกี่ยวกับการกลืน และต่อมน้าลายใต้หู
ให้หลั่งน้าลาย
เส้นประสาทสมอง (Cranial nerves)
เส้น ประสาทสมองคู่ที่ 10 เส้นประสาทเวกัส(vegus nerve) เป็นเส้นประสาท
รับความรู้สึกจากลาคอ กล่องเสียง ช่องอก ช่องท้อง ส่วนเล้นประสาทสั่งการจะ
ออกจากเมดัลลาออบลองกาตา ไปยังกล้ามเนื้อลาคอ กล่องเสียง อวัยวะภายใน
ช่องปาก และช่องท้อง
เส้นประสาทสมอง (Cranial nerves)
เส้นประสาทสมองคู่ ที่ 11 เส้นประสาทแอกเซสซอรี(accessory nerve) เป็น
เส้นประสาทสั่งการจากเมดัลลาออบลองกาตาและไขสันหลังไปยังกล้ามเนื้อ
คอ ช่วยในการเอียงคอและยกไหล่
เส้นประสาทสมอง (Cranial nerves)
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 12 เส้นประสาทไฮโพกลอสวัล
(hypoglossal nerve) เป็นเส้นประสาทสั่งการไปยังกล้ามเนื้อลิ้นทาให้เกิดการ
เคลื่อนไหวของลิ้น
เส้นประสาทสมอง (Cranial nerves)
เส้นประสาทสมองทั้ง 12 คู่แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มคือ
1. กลุ่มเส้นประสาทรับความรู้สึกอย่างเดียว เรียกว่า เส้นประสาทรับ
ความรู้สึก (sensory nerve) เส้นประสาทกลุ่มนี้มีตัวเซลล์ประสาทอยู่ในปมประสาท
เซลล์สมอง ได้แก่ เส้นประสาทสมองคู่ที่ 1 คู่ที่ 2 และคู่ที่ 8
2. กลุ่มเส้นประสาทสั่งการอย่างเดียว โดยสั่งการจากสมองไปยังอวัยวะ
ตอบสนอง เรียกว่า เส้นประสาทสั่งการหรือนาคาสั่ง (motor nerve) เส้นประสาท
กลุ่มนี้มีตัวเซลล์ประสาทอยู่ที่เปลือกสมองหรือซีรีบัลคอร์เทกซ์ (cerebral cortex)
ได้แก่ เส้นประสาทสมองคู่ที่ 3 คู่ที่ 4 คู่ที่ 6 คู่ที่ 11 และคู่ที่12
3. กลุ่มเส้นประสาทที่ทาหน้าที่ทั้งรับความรู้สึกและสั่งการ เรียกว่าเส้นประสาท
ประสม (mixed nerve) ได้แก่ เส้นประสาทสมองคู่ที่ 5 คู่ที่ 7 คู่ที่ 9 และคู่ที่ 10
เส้นประสาทสมอง (Cranial nerves)
เส้นประสาทไขสันหลัง (spinal cord)
ส่วนของระบบประสาทที่ต่อออกมาจาก
เมดัลลาออบลองกาตา อยู่ภายในกระดูก
สันหลัง ตั้งแต่กระดูกสันหลังข้อแรกจนถึง
กระดูกสันหลังบริเวณบั้นเอวข้อที่ 2 และ
มีเยื่อหุ้มเช่นเดียวกับสมอง ไขสันหลัง
บริเวณอกและเอวขยายกว้างกว่าส่วน
อื่นๆ เมื่อเลยกระเบนเหน็บลงไปแล้ว จะ
เรียวเล็กจนมีลักษณะเป็นเส้นไม่มีเยื่อหุ้ม
ดังนั้นการฉีดยาเข้าที่บริเวณไขสันหลัง
และเจาะน้าบริเวณไขสันหลังจึงทากัน
ต่ากว่ากระดูกสันหลังเอวข้อที่สองลงมา
ระบบประสาท (NERVOUS SYSTEM)
ระบบประสาทส่วนปลาย (peripheral nervous
system- PNS) ประกอบด้วย
2. autonomic nervous system เป็นการควบคุมการ
ทางานของร่างกายที่อยู่ภายนอกจิตใจ ประกอบไปด้วยทั้งส่วน
ที่เป็น sensory และ motor ซึ่งวิ่งระหว่าสมองส่วนกลาง
(บริเวณ hypothalamus และ meduula oblongata) และอวัยวะ
ภายในต่างๆเช่น หัวใจ ปอด กระเพาะ เป็นต้น แบ่งเป็น 2
ระบบคือ sympathetic และ parasympathetic nervous system
ซึ่งทั้ง 2 ระบบนี้จะสั่งงานตรงข้ามกันในแต่ละอวัยวะ
ระบบประสาท (NERVOUS SYSTEM)
เซลล์ประสาท (neurons)
เซลล์ ประสาทเป็นหน่วยพื้นฐานในการทางานของ
ระบบประสาท ประกอบไปด้วยส่วนที่เป็น body, dendrites และ
axon ข้อมูลนาส่งเซลล์ประสาทในรูปของสัญญาณไฟฟ้ า
(electrical signals) ซึ่งเรียกเป็น impulse เซลล์ประสาทจะนาส่ง
impulse ในทิศทางเดียวเท่านั้น เซลล์ประสาทแบ่งเป็น 3 ชนิด
ระบบประสาท (NERVOUS SYSTEM)
1. sensory (receptor) neurons (afferent) มีหน้าที่รับและนาส่ง
impulse จาก sense organs(receptors) ไปยังCNS ซึ่ง receptors จะ
เป็นตัวที่จับการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายในร่างกาย
ระบบประสาท (NERVOUS SYSTEM)
2. motor neurons (efferent) มีหน้าที่นาส่ง impulses จาก
CNS ไปยังกล้ามเนื้อและต่อมต่างๆของร่ายกาย กล้ามเนื้อ
ตอบสนองต่อimpulse ด้วยการหดตัว ส่วนต่อมก็จะหลั่งสาร
ออกมา
ระบบประสาท (NERVOUS SYSTEM)
3. interneurons เป็นตัวที่เชื่อมต่อระหว่าง sensory
และ motor พบเฉพาะใน CNS
ระบบประสาท (NERVOUS SYSTEM)
ระบบประสาท (NERVOUS SYSTEM)
ระบบประสาท (NERVOUS SYSTEM)
-การทางานของทุกระบบถูกควบคุมโดยระบบประสาท (nervous system) และระบบ
ต่อมไร้ท่อ (endocrine system)
ระบบประสาท (NERVOUS SYSTEM)
-เซลล์ประสาท (neuron or nerve cell) เป็นเซลล์ที่มีคุณสมบัติในการเปลี่ยนแปลง
พลังงานจากรูปแบบหนึ่งไปเป็นอีกรูปแบบหนึ่ง (transducer) เช่นเปลี่ยนจาก
สารเคมี ความร้อน และความดันที่มากระตุ้น (stimulus) ให้เป็นสัญญาณไฟฟ้ า
(electrical signal) ที่เรียกว่า nerve impulse หรือ action potential
ระบบประสาท (NERVOUS SYSTEM)
เส้นประสาทสมอง (Cranial nerves)
เส้นประสาทสมอง (Cranial nerves) เป็นเส้นประสาทที่ออกมาจากสมอง
โดยตรง ซึ่งต่างจากเส้นประสาทไขสันหลังที่ออกมาจากแต่ละส่วนของไขสันหลัง จัดอยู่
ในระบบประสาทนอกส่วนกลาง
โครงสร้างเซลล์ประสาทและซิแนปส์ (Synapse)
-เซลล์ประสาท (neurons) ประกอบด้วย 1. ตัวเซลล์ (cell body or soma) เป็นส่วนที่มี
Nucleus ribosome mitochondria และGolgi apparatus
2. แขนง (processes) คือ Dendrite and axon
Dendrite
-dendrite นาคาสั่ง/ข้อมูลจากเซลล์อื่นในรูปของ
สัญญาณไฟฟ้ ามายัง cell body (ทาหน้าที่คล้ายเสา
อากาศ)
-มักมีแขนงสั้นๆ จานวนมาก เพื่อให้มีพื้นที่ผิว
มากและสามารถรับข้อมูลได้มากๆ ก่อนจะ
ส่งข้อมูลไปยัง cell body
-มี polyribosome (or Nissl body) อยู่ในบริเวณที่
dendrite รับข้อมูล
-คาสั่งอาจจะส่งหรือไม่ส่งต่อไปยังaxon ขึ้นอยู่
กับความแรงของสัญญาณว่าถึง threshold
หรือไม่
-ในเซลล์ประสาทที่ไม่มี dendrite จะรับข้อมูล
โดยตรงทาง cell body
Cell body
-Cell body หรือ soma รับข้อมูลจาก dendrite และส่งคาสั่ง
ต่อไปยัง axon (ทาหน้าที่คล้าย maintenance site)
-ประกอบด้วย nucleus&organelle ต่าง ๆ เหมือนเซลล์ทั่วไป
-ganglion (ganglia):การเข้ามารวมกลุ่มกันของnerve cell
body ในบริเวณ PNS เช่นที่ dorsal root ganglion (or
sensory ganglion)
-Nucleus (nuclei):การเข้ามารวมกลุ่มกันของnerve cell body
ในสมอง (CNS)ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
-axon นาคาสั่งในรูปของ action potential จาก
cell bodyไปยังเซลล์/neuron อื่น (ทา
หน้าที่คล้ายสายเคเบิล) นอกจากนี้ยังทาหน้าที่
ขนส่งสารที่ cell body สร้างไปยัง axon
ending หรือจาก axon ending cell body
-axon เชื่อมต่อกับ cell body ตรงบริเวณที่
เรียกว่า axon hillox
-axon hillox: รวบรวมสัญญาณที่ส่งมาจาก
dendrite และก่อให้เกิด action potential (ถ้า
สัญญาณที่รวบรวมได้ไม่ถึง threshold ก็ไม่เกิด action
potential)
-Nerve: มัดของ axons หลายๆอันมารวมกัน
Axon
-synaptic terminal (axon ending):ส่วนปลายของaxon ทาหน้าที่หลั่งสาร
neurotransmitter
-synapse:บริเวณที่ synaptic terminal ไปสัมผัสกับเซลล์เป้ าหมาย(neuron/effector)
-เซลล์ที่ส่งสัญญาณเรียก presynaptic cell
-เซลล์เป้ าหมายเรียก postsynaptic cell (จะมี receptorต่อneurotransmitterของ presynaptic cell)
Synaptic terminal
เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง axon และ dendrite
Axon Dendrite
1.นาข้อมูล/สัญญาณออกจากเซลล์ 1.นาข้อมูล/สัญญาณเข้าสู่เซลล์
2.smooth surface 2.rough surface (dendritic spine)
3.มี 1 axon/cell 3.ส่วนใหญ่มีมากกว่า 1 dendrite/cell
4.ไม่มี ribosome 4.มี ribosome
5.มี myelin 5.ไม่มี myelin
6.มีการแตกแขนงในตาแหน่งที่ห่างจาก
cell body
6.แตกแขนงในตาแหน่งที่ใกล้กับ
cell body
-Glia:ทาหน้าที่ค้าจุนเซลล์ประสาท มีจานวนมากกว่าเซลล์ประสาท 10-50 เท่า ไม่มี
บทบาทในการส่งสัญญาณประสาท
-Astrocyte:glia cellในCNSเกิดtight junctionรอบๆcapillary ทาให้เกิด Blood-brain barrier
-Oligodendrocyte(ในCNS)และSchwann cell (ในPNS): glial cell ที่เป็นmyelin sheath
Supporting cell or glial cells or glia
Blood-brain barrier
Neuron แบ่งเป็น 3 ชนิด ตามการนาคาสั่ง
1. Receptor (sensory) neuron อาจทาหน้าที่
เป็นตัวรับในการรับสิ่งเร้าโดยตรง (เป็น
receptor neuron) เช่น olfactory nerve cells
หรือรับคาสั่งจาก receptor cell (เช่น
photoreceptor cell) อีกทีหนึ่ง (เป็น sensory
neuron) แล้วแปลคาสั่งจากสิ่งเร้าในรูปแบบ
ต่างๆเป็น electrical signal ส่งไปยังinterneuron
หรือ motor neuron โดยตรง
2.Interneuron รับข้อมูลจาก receptor neuron,
sensory neuron หรือ interneuron อื่น
รวบรวมข้อมูล แปลผล และส่งคาสั่งไปยัง
motor neuron
3.Effector (motor) neuron นาคาสั่งในการ
ตอบสนองจาก interneuron ไปยัง effector
cells
1.ส่วนที่รับสัญญาณเข้า (sensory input) จาก sensory receptor
2.ส่วนที่รวบรวมและแปลผล (integration center): CNS
3.ส่วนที่ส่งสัญญาณออก (motor output) ไปยัง effector cells
การทางานของระบบประสาท จะประสานงานกัน 3 ส่วน
PNS
Reflex arc
motor neuron
บริเวณที่มี interneuronรวม
กันมากที่สุดคือสมอง
integration center
or interneuron
sensory receptor sensory neuron
effector
Membrane potential
-membrane potential: ความต่างศักย์ที่เยื่อเซลล์
เนื่องจากความแตกต่างของอิออน ภายใน-นอก
เซลล์ (Na+ K+ Cl- และโปรตีน) ปกติมีค่า= -50 ถึง
-100 mV (ค่าติดลบหมายถึงภายในเซลล์มีขั้วเป็นลบเมื่อ
เทียบกับนอกเซลล์)
-สามารถวัดได้โดยใช้ microelectrode ต่อกับ
voltmeter หรือoscilloscope หรือใช้
micromanipulator วัด
-membrane potential ของเซลล์ประสาทขณะที่ยัง
ไม่ถูกกระตุ้นเรียก
resting potential
-Chemically-gated ion channels: เป็นประตูที่เปิด-ปิดเมื่อได้รับการกระตุ้นจาก
สารเคมี เช่น neurotransmitter โดย gated ion channel จะจาเพาะต่อ ion ชนิดใด
ชนิดหนึ่งเท่านั้น
-Voltage-gated ion channels: เป็นประตูที่เปิด-ปิดจากการกระตุ้นของ membrane
potential
Hyperpolarization และ depolarization
Hyperpolarization: เป็นการเพิ่ม
ศักย์ไฟฟ้ าที่เยื่อเซลล์ เช่น จาก
การเปิดของ K+ channel, K+
เคลื่อนออกจากเซลล์เพิ่มขึ้น ทา
ให้ภายในเยื่อเซลล์มีประจุเป็น
ลบเพิ่มขึ้น (-70mV -90mV)
Depolarization: เป็นการลด
ศักย์ไฟฟ้ าที่เยื่อเซลล์ เช่น จาก
การเปิดของ Na+ channel, Na+
เคลื่อนเข้าสู่เซลล์เพิ่มขึ้น ทาให้
ภายในเยื่อเซลล์มีประจุเป็นลบ
ลดลง(-70mV -50mV)
Graded potential การเปลี่ยนแปลงศักย์ไฟฟ้ า
(hyper & depolarization) ตามความแรงของสิ่งเร้า
Action potential
-action potential: การเปลี่ยนแปลง membrane potential อย่างรวดเร็วของเซลล์
ประสาทเมื่อได้รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้า ที่ทาให้เกิด depolarization จนถึงระดับ
threshold potential
-เกิดที่ axon เท่านั้น และเป็นแบบ all-or-none
แบ่งเป็น 5 ระยะดังนี้
1.Resting state
2.Threshold
3.Depolarization
4.Repolarization
5.Undershoot
ระยะที่ 1: Resting State
-ทั้ง voltage-gated Na+ และ K+
channel ปิด ไม่เกิดการ
เปลี่ยนแปลงต่อ membrane’s
resting potential
ระยะที่ 2: Threshold
-สิ่งเร้ามากระตุ้น ทาให้ Na+ channel
บางส่วนเปิด ถ้าการไหลของ Na+ เข้าสู่
เซลล์มากพอจนถึงระดับ threshold
potential จะกระตุ้น Na+ gate เปิดมากขึ้น
และกระตุ้นให้เกิด action potential
ระยะที่ 3: Depolarization
-activation gate ของ
Na+ channel เปิด แต่ K+
channelยังคงปิดอยู่
ดังนั้นการเคลื่อนที่ของ
Na+เข้าภายในเซลล์จึง
ทาให้ภายในเซลล์มี
ประจุเป็นบวกมากขึ้น
(หรือเป็นลบลดลง)
ระยะที่ 4: Repolarization
-inactivation gate ของ
Na+ channel ปิด และ
K+ channel เปิด ทาให้
Na+ไม่สามารถเคลื่อนเข้าสู่
ภายในเซลล์ได้อีก ในขณะที่ K+จะ
เคลื่อนออกนอกเซลล์ จึงทาให้ภายใน
เซลล์มีประจุเป็นลบเพิ่มขึ้น กลับคืนสู่
สภาวะ resting membrane potential
ระยะที่ 5: Undershoot
-gate ทั้งสองอันของ Na+ ปิด แต่ K+ channel ยังเปิดอยู่ (relatively slow gate) จึงทา
ให้ภายในเซลล์มีประจุลดลงต่ากว่า resting membrane potential หลังจากนั้นเซลล์
จะกลับสู่สภาวะปกติ(Na+-K+ pump)และพร้อมจะตอบสนองต่อการกระตุ้นลาดับถัดไป
repolarizationและundershoot = refractory period
Propagation of action potential
1.ขณะที่เกิด action potential (ในตาแหน่งที่ 1) N+
เคลื่อนเข้าสู่ภายในเซลล์ ซึ่ง Na+ ที่เคลื่อนเข้ามา
ภายในเซลล์จะแพร่ไปยังบริเวณข้างเคียง(ตาแหน่งที่
2) และสามารถกระตุ้นให้บริเวณข้างเคียงเกิด
depolarization และ action potential ได้ในที่สุด
2.ขณะที่ ตาแหน่งที่ 2 เกิด action potential ในตาแหน่ง
ที่ 1 จะเกิด repolarization (refractory period) จึงทา
ให้ไม่สามารถเกิด action potential ในทิศทาง
ย้อนกลับได้
3.หลังจากนั้น action potential จะเคลื่อนไปสู่
ตาแหน่งที่ 3 และตาแหน่งที่ 2 จะเกิด refractory
period และ ตาแหน่งที่ 1 จะกลับสู่สภาวะ resting
stage ต่อไป
-การเคลื่อนของ action potential บน axon จึง
เคลื่อนไปในทิศทางเดียว(ออกจาก cell body)
เท่านั้น
Saltatory conduction
-ใน myelinated axon การเกิด action potential จะเกิดระหว่าง node of Ranvier หนึ่ง
ไปยังอีก node หนึ่ง เพราะการเคลื่อนที่ของ Na+ และ K+ เข้า-ออกจากเซลล์เกิดได้
เฉพาะบริเวณ node of Ranvier เท่านั้น ลักษณะนี้เรียก saltatory conduction
-ความเร็วในการเคลื่อนของaction potential ไปตาม axon จะขึ้นอยู่กับความกว้าง
ของ axon ยิ่งกว้างยิ่งเคลื่อนได้เร็ว
-แต่ในพวก myelinated axon ถึงแม้จะมีขนาดเล็กแต่ action potential ก็เคลื่อนได้เร็ว
Electrical synapse
-บริเวณ presynatic membrane และ postsynaptic membrane เชื่อมต่อกันด้วย gap
junction ดังนั้น ion current จากaction potential จึงสามารถเคลื่อนจากเซลล์
ประสาทหนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่งได้โดยตรง
Presynaptic membrane Postsynaptic membrane
Chemical synapse
1.action potential ที่ synaptic terminal ทาให้เกิด Ca+ influx
2.synaptic vesicle รวมกับเยื่อเซลล์
3.หลั่งneurotransmitter สู่ synaptic cleft และเคลื่อนไปจับกับ
ตัวรับที่ postsynatic membrane
4.การจับทาให้ ion channel (เช่น Na+) เปิด, Na+ เคลื่อนเข้าใน
เซลล์ เกิด depolarization
The organization of neurons into systems
The simple circuits: nerve nets
-สัตว์พวกแรกที่เริ่มมีระบบประสาทที่
แท้จริงคือ cnidarians เรียก nerve net
-ในดาวทะเล ระบบประสาทจะ
ซับซ้อนขึ้น โดยจะมี nerve ring เชื่อม
กับ radial nerve ที่เชื่อมอยู่กับ nerve
net ในแต่ละแขนของดาวทะเลอีกที
หนึ่ง
Complex circuits
-สิ่งมีชีวิตตั้งแต่พวกหนอนตัวแบนเป็นต้นไป จะมีการรวมกันของเซลล์ประสาท
(ganglion) ที่บริเวณหัว เรียก cephalization
-พลานาเรียจะมีการเรียงตัวของเส้นประสาทบริเวณด้านข้างลาตัวทั้ง 2 ข้างและจะมี
เส้นประสาทเชื่อม เรียก transverse nerve
-ตั้งแต่พวกหนอนตัวกลมขึ้นไป จะมีการเรียงตัวของเส้นประสาทอยู่ทางด้านท้อง
เรียก ventral nerve cord
-ในแมลงมีการรวมกันของเซลล์ประสาท เรียก glangion ในแต่ละข้อปล้องของลาตัว
-ในสัตว์มีกระดูกสันหลัง จะมี dorsal hollow nerve cord มาแทนที่ ventral nerve
cord และไม่มี segmental ganglia
ระบบประสาทแบ่งเป็น
1.ระบบประสาทส่วนกลาง
(Central nervous system; CNS):
สมองและไขสันหลัง ทาหน้าที่
รวบรวมและแปลผลข้อมูล
2.ระบบประสาทรอบนอก
(Peripheral nervous system; PNS):
เส้นประสาทสมอง(cranial nerve)
เส้นประสาทไขสันหลัง(spinal
nerve) และปมประสาท (ganglia)
ทาหน้าที่นาสัญญาณประสาท
เข้า-ออก CNS และควบคุมการ
เปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม
ภายในร่างกาย
ระบบประสาทในสัตว์มีกระดูกสันหลัง
Peripheral Nervous System
-ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมี cranial nerve
12 คู่ spinal nerve 31 คู่
-cranial nerve ส่วนใหญ่ & spinal nerve
ทั้งหมด ประกอบด้วย sensory & motor
neuron ยกเว้น olfactory & optic nerve
เป็นเฉพาะ sensory nerve
-sensory division ประกอบด้วย
sensory neuron นาคาสั่งจาก
sensory receptor ไปยัง CNS
-motor division ประกอบด้วย motor neuron นา
คาสั่งจาก CNS ไปยัง effector cells
-SNS นาคาสั่งไปยัง skeletal muscle เพื่อตอบสนองต่อ external stimuli
-ANS นาคาสั่งไปยัง smooth & cardiac muscle เพื่อตอบสนองต่อ external stimuli
1.ส่วนที่รับสัญญาณเข้า (sensory input) จาก sensory receptor
2.ส่วนที่รวบรวมและแปลผล (integration center): CNS
3.ส่วนที่ส่งสัญญาณออก (motor output) ไปยัง effector cells
การทางานของระบบประสาท จะประสานงานกัน 3 ส่วน
PNS
Parasympathetic and sympathetic nervous system
-parasympathetic และ
sympathetic มักจะทางาน
ตรงข้ามกัน (antagonist)
-sym มักจะกระตุ้นการ
ทางานของอวัยวะที่ทาให้เกิด
การตื่นตัวและก่อให้เกิด
พลังงาน ในขณะที่ parasym
จะเกิดตรงกันข้าม
-sympathetic neuron
มักจะหลั่ง norepinephrine
-parasympathetic neuron
มักจะหลั่ง acetylcholine
preganglionic ganglion, Achpostganglionic ganglion
Embryonic Development of the Brain
สมองส่วนต่างๆของคน
โครงสร้างและหน้าที่ในสมองซีรีบรัมส่วนต่างๆ
The Limbic System
The limbic system generates the feeling; emotion and memory
อ้างอิง
The limbic system generates the feeling; emotion and memory
www.kts.ac.th/e-learning/mahidol/pe/...PE_2550/ระบบประสาท.ppt
www.tta.in.th/uploadfile/1097/SC-13-429-1438-1097.ppt
sumon-kananit.wikispaces.com/file/view/ระบบประสาท.ppt
reg.ksu.ac.th/teacher/myweb/bio2/Nerve%20cell.ppt
www.sc.chula.ac.th/courseware/GenBio105/Nervous-
system_2_12_4.ppt
unchai.files.wordpress.com
www.wjd.ac.th/webnew/e-learning/science/media/...2/present-
1.ppt

More Related Content

What's hot

การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนsukanya petin
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)สำเร็จ นางสีคุณ
 
การทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทการทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทDew Thamita
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทThitaree Samphao
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกThitaree Samphao
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญsukanya petin
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559Pinutchaya Nakchumroon
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน Thitaree Samphao
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)Thitaree Samphao
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตTa Lattapol
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 

What's hot (20)

การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
การทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทการทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาท
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
2 hormone p_lan
2 hormone p_lan2 hormone p_lan
2 hormone p_lan
 
ย่อยอาหาร
ย่อยอาหารย่อยอาหาร
ย่อยอาหาร
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
การเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคนการเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคน
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกายชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
 

Similar to Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5

ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทflimgold
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทPok Tanti
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้Nichakorn Sengsui
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับNichakorn Sengsui
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทyangclang22
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkruchanon2555
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkalita123
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทbowpp
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกThanyamon Chat.
 
ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)พัน พัน
 
Nervous system ระบบประสาท
Nervous system ระบบประสาทNervous system ระบบประสาท
Nervous system ระบบประสาทkonnycandy4
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการWan Ngamwongwan
 
งาน ส่วนประกอบของสมอง
งาน ส่วนประกอบของสมองงาน ส่วนประกอบของสมอง
งาน ส่วนประกอบของสมองPongsatorn Srivhieang
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทWan Ngamwongwan
 
บทที่3 Basic Of Physiological
บทที่3  Basic Of  Physiologicalบทที่3  Basic Of  Physiological
บทที่3 Basic Of PhysiologicalTuk Diving
 
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxการทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxBewwyKh1
 
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxการทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxminhNguynnh15
 

Similar to Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5 (20)

ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)
 
Nervous system ระบบประสาท
Nervous system ระบบประสาทNervous system ระบบประสาท
Nervous system ระบบประสาท
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
 
งาน ส่วนประกอบของสมอง
งาน ส่วนประกอบของสมองงาน ส่วนประกอบของสมอง
งาน ส่วนประกอบของสมอง
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
 
บทที่3 Basic Of Physiological
บทที่3  Basic Of  Physiologicalบทที่3  Basic Of  Physiological
บทที่3 Basic Of Physiological
 
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxการทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
 
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxการทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
 

More from สำเร็จ นางสีคุณ

แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า btsแบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า btsสำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการแบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการสำเร็จ นางสีคุณ
 
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนPpt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์ ป.6
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์  ป.6แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์  ป.6
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์ ป.6สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2553
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2553ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2553
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2553สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2552
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2552ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2552
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2552สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550สำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้นแบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้นสำเร็จ นางสีคุณ
 

More from สำเร็จ นางสีคุณ (20)

ของเล่นทำให้เกิดเสียง
ของเล่นทำให้เกิดเสียงของเล่นทำให้เกิดเสียง
ของเล่นทำให้เกิดเสียง
 
สาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรมสาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรม
 
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า btsแบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
 
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการแบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
 
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนPpt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
 
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์ ป.6
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์  ป.6แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์  ป.6
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์ ป.6
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2553
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2553ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2553
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2553
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2552
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2552ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2552
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2552
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
 
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้นแบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
 
Tutur(biology)0 net 2
Tutur(biology)0 net 2Tutur(biology)0 net 2
Tutur(biology)0 net 2
 
Tutur(biology)0 net 1
Tutur(biology)0 net 1Tutur(biology)0 net 1
Tutur(biology)0 net 1
 
Tutur(biology)0 net 3
Tutur(biology)0 net 3Tutur(biology)0 net 3
Tutur(biology)0 net 3
 

Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5

  • 1. แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ตามตาแหน่งที่อยู่ คือ ระบบประสาทของสัตว์มีกระดูกสันหลัง 1 ระบบประสาทส่วนกลาง ได้แก่ 1.1 สมอง (brain) จะช่วยให้เรามีความสามารถในการคิด รู้สึก เคลื่อนไหว จดจา มีความสุขหรือเศร้าหมองและยังควบคุมอวัยวะทุกส่วนของร่างกาย
  • 2. ระบบประสาทของสัตว์มีกระดูกสันหลัง 1.2 ไขสันหลัง (Spinal cord) 1) ทาหน้าที่ส่งกระแสประสาทไปยังสมอง เพื่อตีความและสั่ง การ และในขณะเดียวกันรับพลังประสาทจากสมองซึ่งเป็นคาสั่งไปสู่ อวัยวะต่างๆ 2) เป็นศูนย์กลางของปฏิกิริยาสะท้อน (Reflex reaction) คือ สามารถที่จะทางานได้ทันที เพื่อป้ องกันและหลีกเลี่ยงอันตราย อาจจะเกิดขึ้นกับร่างกาย เช่น เมื่อเดินไปเหยียบหนามที่แหลมคม เท้าจะยกหนีทันทีโดยไม่ต้องรอคาสั่งจากสมอง 3) ควบคุมการเจริญเติบโตของอวัยวะต่างๆ ที่มีเส้นประสาท ไขสันหลังไปสู่สมอง ซึ่งหน้าที่นี้เรียกว่า ทรอพฟิคฟังชั่น (Trophic function)
  • 4. ระบบประสาทของสัตว์มีกระดูกสันหลัง 2. ระบบประสาทส่วนปลาย เส้นประสาทสมอง 12 คู่ (cranial nerve (CN)) เส้นประสาทไขสันหลัง 31 คู่ (spinal nerve (SN))) ปมประสาท (ganglia)
  • 5. 1. ระบบประสาทโซมาติก (somaticnervous system : SNS) แบ่งระบบประสาทส่วนปลายตามหน้าที่ ก็แบ่งเป็น 2 ระบบคือ ระบบประสาทโซมาติก ควบคุมการทางานของ กล้ามเนื้อยึดกระดูก โดยเซลล์ประสาทรับความรู้สึกจะรับกระแส ประสาทจากหน่วยรับความรู้สึกผ่านเส้น ประสาทไขสันหลังหรือ เส้นประสาทสมองเข้าสู่ไขสันหลังหรือสมองและกระแสประสาท จะถูกส่งผ่านเส้นประสาทไขสันหลังหรือเส้นประสาทสมองไปยัง หน่วยปฏิบัติงาน ซึ่งเป็นกล้ามเนื้อยึดกระดูก บางครั้งอาจทางาน โดยผ่านไขสันหลังเท่านั้น เช่น การกระตุกขาเมื่อถูกเคาะที่หัวเข่า เบาๆ
  • 6. ระบบประสาทโซมาติก (ต่อ) แบ่งระบบประสาทตามหน้าที่ ก็แบ่งเป็น 2 ระบบคือ การตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่มากระตุ้น โดยการกระตุกขานี้ เกิดขึ้นเองโดยอัตโนวัติ เรียกว่า รีเฟล็กซ์ (reflex) กิริยาหรือ อาการที่แสดงออกเมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้นเกิดขึ้นในระยะเวลา สั้นๆ เรียกว่ารีเฟล็กซ์แอกชัน (reflex action) เป็นการตอบสนอง ของหน่วยปฏิบัติงานที่เกิดขึ้นในทันทีทันใด โดยมิได้มีการ เตรียมหรือคิดร่วงหน้าเป็นการสั่งการโดยไขสันหลัง ไม่ต้อง อาศัยคาสั่งจากสมอง
  • 7. ระบบประสาทโซมาติก (ต่อ) แบ่งระบบประสาทตามหน้าที่ ก็แบ่งเป็น 2 ระบบคือ นักเรียนเคยสังเกตบ้างไหมว่า เวลาเดินเท้าเปล่าตาม ชายหาดแล้วบังเอิญเหยียบเศษแก้วหรือของมีคมเข้า นักเรียนจะ ชักเท้าออกทันทีโดยสมองไม่ต้องคิดหรือสั่งการ อันที่จริงสมองยัง ไม่ทราบโดยซ้าไปว่ามีอะไรเกิดขึ้น จนกระทั่งโดนวินาทีต่อมาจะ รู้สึกว่าเจ็บและรู้สึกว่าสิ่งที่เหยียบนั้นคือ อะไร
  • 9. 2.ระบบประสาทอัตโนวัติ (autonomic nervous system : ANS) แบ่งระบบประสาทตามหน้าที่ ก็แบ่งเป็น 2 ระบบคือ เป็นระบบประสาทที่ทางานนอกอานาจจิต ใจ (involuntary nervous system) เป็นระบบประสาทที่ควบคุม อวัยวะที่อยู่นอกอานาจจิตใจ เช่น กล้ามเนื้อเรียบและอวัยวะต่าง ๆ กล้ามเนื้อหัวใจที่หัวใจ และต่อมต่าง ๆ ให้ทางานโดยอัตโน วัติ ทาให้ร่างกายดาเนินชีวิตได้อย่างปกติ
  • 10. 2. ระบบประสาทอัตโนวัติ (ต่อ) แบ่งระบบประสาทตามหน้าที่ ก็แบ่งเป็น 2 ระบบคือ ระบบประสาทอัตโนวัติ แบ่งออกเป็น 2 ระบบ โดยมีลักษณะใน การทางานตรงกันข้าม คือ -ระบบประสาทซิมพาเทติก (sympathetic nerve) แยกออกจากไขสันหลังบริเวณอกและเอว ระบบประสาทซิมพาเทติกมักจะ กระตุ้นการทางานมากกว่ายับยั้งการทางาน -ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก (parasymoathetic nerve) แยกออกจากสมองและไขสันหลังตอนสะโพก ระบบประสาทนี้มักจะยับยั้งการทางานมากกว่าที่จะกระตุ้นการทางาน เพื่อ ปรับไม่ให้ร่างกายทางานมากเกินไป
  • 12. แบ่งระบบประสาทตามหน้าที่ ก็แบ่งเป็น 2 ระบบคือ ส่วนประกอบของสมอง 1. สมองใหญ่ (cerebrum) แบ่งออกเป็น 2 ซีก แต่ละซีกเรียกว่า cerebral hemisphere สมองแต่ละซีกแบ่งออกเป็น 2 ชั้น  ชั้นนอก (cerebral cortex) เรียกอีกชื่อว่า gray matter  ชั้นใน (cerebral medulla) เรียกอีกชื่อว่า white matter
  • 13. แบ่งสมองทางด้านข้างออกเป็น 4 lobe เมื่อมองสมองทาง ด้านข้างจะเห็นเป็น 4 lobe คือ 1. frontal lobe ทาหน้าที่ควบคุมการเคลื่อนไหว การออก เสียง ความคิด ความจา สติปัญญา บุคลิก ความรู้สึก พื้น อารมณ์
  • 14. ชีววิทยา (424111)อ.เยาวลักษณ์ น่วมธนัง 2. parietal lobe ทาหน้าที่ควบคุม การได้ยิน การดม กลิ่น
  • 15. 3. temporal lobe ทาหน้าที่ควบคุมการมองเห็น
  • 16. 4. occipital lobe ทาหน้าที่ควบคุมความรู้สึกด้านการ สัมผัส การพูด การรับรส
  • 17. ชีววิทยา (424111)อ.เยาวลักษณ์ น่วมธนัง ภาพที่ 11-21 หน้าที่และส่วนต่างๆ บนซีรีบรัลคอร์เทกซ์ (Brum และคณะ,1994)
  • 18. ชีววิทยา (424111)อ.เยาวลักษณ์ น่วมธนัง แบบฝึกหัด เรื่อง ระบบประสาท (ส่วนประกอบและหน้าที่ของ สมอง (5 คะแนน)
  • 19. ชีววิทยา (424111)อ.เยาวลักษณ์ น่วมธนัง สมองในแนว mid – saggital (ผ่าแสกกลาง) ภาพที่ 11-22 ลักษณะทางกายวิภาคของสมองเมื่อผ่าครึ่งซีก (Graaffและ Fox, 1995)
  • 20. ชีววิทยา (424111)อ.เยาวลักษณ์ น่วมธนัง Thalamus มีหน้าที่ที่สาคัญคือ 1. เป็น sensory relay station 2. แปลความรู้สึกเจ็บปวด Hypothalamus มีหน้าที่สาคัญ คือ 1. ควบคุมการทางานของระบบประสาทอัตโนวัติ 2. ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย 3. ควบคุมสมดุลย์น้าในร่างกาย 4. ควบคุมการหลั่งฮอร์โมน จากต่อมใต้สมอง
  • 21. ชีววิทยา (424111)อ.เยาวลักษณ์ น่วมธนัง 5. ควบคุมการกินอาหาร 6. ควบคุมการแสดงออกของอารมณ์ 7. ควบคุมเกี่ยวกับการหลับและตื่น 8. ควบคุมการหลั่งน้าย่อยจากกระเพาะอาหาร Mid brain ประกอบด้วย 1 cerebral peduncle ทาหน้าที่เป็นวิถีประสาทควบคุมการเคลื่อนไหว 2 corpora quadrigemina ทาหน้าที่เกี่ยวกับรีเฟล็กซ์ของการมองเห็น และการได้ยินเสียง
  • 22. ระบบประสาท (NERVOUS SYSTEM) ระบบประสาท ระบบประสาทมีหน้าที่ควบคุมและประสานการทางาน ของระบบต่างๆ ของร่างกาย หลังจากที่รวบรวมข้อมูลจาก สิ่งแวดล้อมภายนอกที่มีความสัมพันธ์กับระบบต่างๆ ของ ร่างกาย ก็จะมีการวิเคราะห์ และสั่งการให้มีการตอบสนองที่ เหมาะสมเพื่อรักษาสมดุลต่างๆ ของร่างกาย ตอบสนองต่อ ความต้องการของร่างกาย ซึ่งความต้องกายที่สาคัญที่สุดของ ร่างกายคือเพื่อให้ตัวเองอยู่รอด
  • 23. ระบบประสาท (NERVOUS SYSTEM) หน้าที่ของระบบประสาทมี 4 ประการ 1. รวบรวมข้อมูล ทั้งจากภายนอกและภายในร่างกาย (sensory function) 2. นาส่งข้อมูลไปยังระบบประสาทกลางเพื่อทาการ วิเคราะห์ 3. วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้มีการตอบสนองที่เหมาะสม (integrative function) 4. สั่งงานไปยังระบบต่างๆเช่น กล้ามเนื้อ ต่อม หรือ อวัยวะอื่นๆให้มีการตอบสนองที่เหมาะสม (motor function)
  • 24. ระบบประสาท (NERVOUS SYSTEM) ระบบประสาทแบ่งออกเป็น 2 ส่วน 1. ระบบประสาทส่วนกลาง (central nervous system – CNS) ประกอบไปด้วยสมองและไขสันหลัง ไขสันหลัง (spinal cord) มีหน้าที่ นาส่งข้อมูลจากร่างกายไปยังสมอง สมองทาหน้าที่แปลผลและวิเคราะห์ ข้อมูล และสั่งงานผ่านทางไขสันหลัง ไปยังส่วนต่างๆของร่างกาย
  • 25. ระบบประสาท (NERVOUS SYSTEM) 2. ระบบประสาทส่วนปลาย (peripheral nervous system- PNS) ประกอบด้วยเซลล์ประสาท(neuron)ที่ ไม่ได้อยู่ในระบบประสาทส่วนกลาง เซลล์ประสาทที่ทาหน้าที่เก็บข้อมูล จากร่างกายและนาส่งไปยังระบบ ประสาทส่วน กลางเรียกว่า afferent neurons และตัวที่นาส่งข้อมูลจาก CNS ไปยังที่ต่างๆเรียกว่า efferent neurons
  • 26. ระบบประสาท (NERVOUS SYSTEM) 1. sensory-somatic nervous system ประกอบไปด้วย เส้นประสาท สมอง 12 คู่ และเส้นประสาทสันหลัง 31 คู่ ระบบประสาทส่วนปลาย (peripheral nervous system- PNS) ประกอบด้วย
  • 27. ระบบประสาท (NERVOUS SYSTEM) ระบบประสาทส่วนปลาย (peripheral nervous system- PNS) ประกอบด้วย 2. autonomic nervous system เป็นการควบคุมการ ทางานของร่างกายที่อยู่ภายนอกจิตใจ ประกอบไปด้วยทั้งส่วน ที่เป็น sensory และ motor ซึ่งวิ่งระหว่าสมองส่วนกลาง (บริเวณ hypothalamus และ meduula oblongata) และอวัยวะ ภายในต่างๆเช่น หัวใจ ปอด กระเพาะ เป็นต้น แบ่งเป็น 2 ระบบคือ sympathetic และ parasympathetic nervous system ซึ่งทั้ง 2 ระบบนี้จะสั่งงานตรงข้ามกันในแต่ละอวัยวะ
  • 28. ระบบประสาท (NERVOUS SYSTEM) 1. sensory-somatic nervous system ประกอบไปด้วย ระบบประสาทส่วนปลาย (peripheral nervous system- PNS) ประกอบด้วย 1. ปลาและสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า(Fish and amphibian ) มี จานวน 10 คู่ 2. ส่วนในพวกสัตว์เลื้อยคลาน สัตว์ปีกและสัตว์เลี้ยงลูกด้วย นม มีจานวน 12 คู่ 3. สาหรับคนเรามีเส้นประสาทสมอง 12 คู่ และเส้นประสาท สันหลัง 31 คู่ ดังนี้
  • 29. เส้นประสาทสมอง (Cranial nerves) เส้นประสาทสมองคู่ที่ 1 เส้นประสาทออลแฟกทอรี (olfactory nerve) รับความรู้สึกเกี่ยวกับกลิ่นจากเยื่อจมูกเข้าสู่ออลแฟก เทอรีบัลบ์ (olfactory bulb) แล้วเข้าสู่ออลแฟเทอรีโลบ (olfactory lobe) ของสมองส่วนซีรีบรัมอีกทีหนึ่ง
  • 30. เส้นประสาทสมอง (Cranial nerves) เส้นประสาทสมองคู่ที่ 2 เส้นประสาทออพติก (optic nerve) รับ ความรู้สึกเกี่ยวกับการมองเห็นจากเรตินาของลูกตาเข้าสู่ออพติกโลบ(optic lobe) แล้วส่งไปยังออกซิพิทัลโลบ(occipital lobe) ของซีรีบรัมอีกทีหนึ่ง
  • 31. เส้นประสาทสมอง (Cranial nerves) เส้นประสาทสมองคู่ที่ 3 เส้นประสาทออคิวโลมอเตอร์ (oculomotor nerve) เป็นเส้นประสาทสั่งการจากสมองส่วนกลางไปยังกล้ามเนื้อลูก ตา 4 มัด ทาให้ลูกตาเคลื่อนไหวกลอกตาไปมาได้ และยังไปเลี้ยงกล้ามเนื้อที่ทา ให้ลืมตา ทาให้ม่านตาหรี่หรือขยายและไปยังกล้ามเนื้อปรับเลนส์ตาอีกด้วย
  • 32. เส้นประสาทสมอง (Cranial nerves) เส้น ประสาทสมองคู่ที่ 4 เส้นประสาททรอเคลีย (trochlear nerve) เป็น เส้นประสาทสั่งการไปยังกล้ามเนื้อลูกตาทาให้ลูกตามองลงและมองไปทางหางตา
  • 33. เส้นประสาทสมอง (Cranial nerves) เส้นประสาทสมองคู่ที่ 5 เส้นประสาทไตรเจอมินัล (trigeminal nerve) แบ่ง ออกเป็น 3 แขนง ทาหน้าที่รับความรู้สึกจากใบหน้า ลิ้นฟัน ปากเหงือก กลับเข้า สู่สมองส่วนพาเรียทัลโลบ ทาหน้าที่สั่งการไปควบคุมกล้ามเนื้อที่เกี่ยวกับการเคี้ยว อาหาร
  • 34. เส้นประสาทสมอง (Cranial nerves) เส้น ประสาทสมองคู่ที่ 6 เส้นประสทแอบดิวเซนส์ (abducens nerve) เป็น เส้นประสาทสั่งการออกจากพอนส์ไปยังกล้ามเนื้อลูกตาทาให้เกิดการชาเลือง
  • 35. เส้นประสาทสมอง (Cranial nerves) เส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 เส้นประสาทเฟเชียล(facial nerve) เป็นเส้นประสาท ที่สั่งการไปยังกล้ามเนื้อหน้าทาให้เกิดสีหน้าต่างๆกัน และยังเป็นเส้นประสาทรับ ความรู้สึกรับรสจากปลายลิ้นเข้าสู่ซีรีบรัมส่วนพา เรียทัลโลบด้วย
  • 36. เส้นประสาทสมอง (Cranial nerves) เส้นประสาทสมองคู่ที่ 8 เส้นประสาทออดิทอรี (auditory nerve) เส้นประสาทรับความรู้สึกแยกเป็น 2 แขนง แขนงหนึ่งจากคอ เคลียของหูทาหน้าที่เกี่ยวกับการได้ยินเข้าสู่ซีรีบรัมส่วน เทมพอรัลโลบ อีกแขนง หนึ่งนาความรู้สึกเกี่ยวกับการทรงตัวจากเซมิเซอร์คิวลา ร์แคแนล เข้าสู่ซีรีบรัม
  • 37. เส้นประสาทสมอง (Cranial nerves) เส้นประสาทสมองคู่ที่ 9 เส้นประสาทกลอสโซฟารินเจียล (glossopharyngeal nerve) เป็นประสาทรับความรู้สึกจากช่องคอ เช่น ร้อน เย็น และรับรสจากโคนลิ้นเข้าสู่ซีรีบรัม ส่วนพาเรียทัลโลบและนากระแสประสาทสั่ง การจากสมองไปยังกล้ามเนื้อบริเวณคอ หอยที่เกี่ยวกับการกลืน และต่อมน้าลายใต้หู ให้หลั่งน้าลาย
  • 38. เส้นประสาทสมอง (Cranial nerves) เส้น ประสาทสมองคู่ที่ 10 เส้นประสาทเวกัส(vegus nerve) เป็นเส้นประสาท รับความรู้สึกจากลาคอ กล่องเสียง ช่องอก ช่องท้อง ส่วนเล้นประสาทสั่งการจะ ออกจากเมดัลลาออบลองกาตา ไปยังกล้ามเนื้อลาคอ กล่องเสียง อวัยวะภายใน ช่องปาก และช่องท้อง
  • 39. เส้นประสาทสมอง (Cranial nerves) เส้นประสาทสมองคู่ ที่ 11 เส้นประสาทแอกเซสซอรี(accessory nerve) เป็น เส้นประสาทสั่งการจากเมดัลลาออบลองกาตาและไขสันหลังไปยังกล้ามเนื้อ คอ ช่วยในการเอียงคอและยกไหล่
  • 40. เส้นประสาทสมอง (Cranial nerves) เส้นประสาทสมองคู่ที่ 12 เส้นประสาทไฮโพกลอสวัล (hypoglossal nerve) เป็นเส้นประสาทสั่งการไปยังกล้ามเนื้อลิ้นทาให้เกิดการ เคลื่อนไหวของลิ้น
  • 41. เส้นประสาทสมอง (Cranial nerves) เส้นประสาทสมองทั้ง 12 คู่แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มคือ 1. กลุ่มเส้นประสาทรับความรู้สึกอย่างเดียว เรียกว่า เส้นประสาทรับ ความรู้สึก (sensory nerve) เส้นประสาทกลุ่มนี้มีตัวเซลล์ประสาทอยู่ในปมประสาท เซลล์สมอง ได้แก่ เส้นประสาทสมองคู่ที่ 1 คู่ที่ 2 และคู่ที่ 8 2. กลุ่มเส้นประสาทสั่งการอย่างเดียว โดยสั่งการจากสมองไปยังอวัยวะ ตอบสนอง เรียกว่า เส้นประสาทสั่งการหรือนาคาสั่ง (motor nerve) เส้นประสาท กลุ่มนี้มีตัวเซลล์ประสาทอยู่ที่เปลือกสมองหรือซีรีบัลคอร์เทกซ์ (cerebral cortex) ได้แก่ เส้นประสาทสมองคู่ที่ 3 คู่ที่ 4 คู่ที่ 6 คู่ที่ 11 และคู่ที่12 3. กลุ่มเส้นประสาทที่ทาหน้าที่ทั้งรับความรู้สึกและสั่งการ เรียกว่าเส้นประสาท ประสม (mixed nerve) ได้แก่ เส้นประสาทสมองคู่ที่ 5 คู่ที่ 7 คู่ที่ 9 และคู่ที่ 10
  • 43. เส้นประสาทไขสันหลัง (spinal cord) ส่วนของระบบประสาทที่ต่อออกมาจาก เมดัลลาออบลองกาตา อยู่ภายในกระดูก สันหลัง ตั้งแต่กระดูกสันหลังข้อแรกจนถึง กระดูกสันหลังบริเวณบั้นเอวข้อที่ 2 และ มีเยื่อหุ้มเช่นเดียวกับสมอง ไขสันหลัง บริเวณอกและเอวขยายกว้างกว่าส่วน อื่นๆ เมื่อเลยกระเบนเหน็บลงไปแล้ว จะ เรียวเล็กจนมีลักษณะเป็นเส้นไม่มีเยื่อหุ้ม ดังนั้นการฉีดยาเข้าที่บริเวณไขสันหลัง และเจาะน้าบริเวณไขสันหลังจึงทากัน ต่ากว่ากระดูกสันหลังเอวข้อที่สองลงมา
  • 44. ระบบประสาท (NERVOUS SYSTEM) ระบบประสาทส่วนปลาย (peripheral nervous system- PNS) ประกอบด้วย 2. autonomic nervous system เป็นการควบคุมการ ทางานของร่างกายที่อยู่ภายนอกจิตใจ ประกอบไปด้วยทั้งส่วน ที่เป็น sensory และ motor ซึ่งวิ่งระหว่าสมองส่วนกลาง (บริเวณ hypothalamus และ meduula oblongata) และอวัยวะ ภายในต่างๆเช่น หัวใจ ปอด กระเพาะ เป็นต้น แบ่งเป็น 2 ระบบคือ sympathetic และ parasympathetic nervous system ซึ่งทั้ง 2 ระบบนี้จะสั่งงานตรงข้ามกันในแต่ละอวัยวะ
  • 45. ระบบประสาท (NERVOUS SYSTEM) เซลล์ประสาท (neurons) เซลล์ ประสาทเป็นหน่วยพื้นฐานในการทางานของ ระบบประสาท ประกอบไปด้วยส่วนที่เป็น body, dendrites และ axon ข้อมูลนาส่งเซลล์ประสาทในรูปของสัญญาณไฟฟ้ า (electrical signals) ซึ่งเรียกเป็น impulse เซลล์ประสาทจะนาส่ง impulse ในทิศทางเดียวเท่านั้น เซลล์ประสาทแบ่งเป็น 3 ชนิด
  • 46. ระบบประสาท (NERVOUS SYSTEM) 1. sensory (receptor) neurons (afferent) มีหน้าที่รับและนาส่ง impulse จาก sense organs(receptors) ไปยังCNS ซึ่ง receptors จะ เป็นตัวที่จับการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายในร่างกาย
  • 47. ระบบประสาท (NERVOUS SYSTEM) 2. motor neurons (efferent) มีหน้าที่นาส่ง impulses จาก CNS ไปยังกล้ามเนื้อและต่อมต่างๆของร่ายกาย กล้ามเนื้อ ตอบสนองต่อimpulse ด้วยการหดตัว ส่วนต่อมก็จะหลั่งสาร ออกมา
  • 48. ระบบประสาท (NERVOUS SYSTEM) 3. interneurons เป็นตัวที่เชื่อมต่อระหว่าง sensory และ motor พบเฉพาะใน CNS
  • 52. -การทางานของทุกระบบถูกควบคุมโดยระบบประสาท (nervous system) และระบบ ต่อมไร้ท่อ (endocrine system) ระบบประสาท (NERVOUS SYSTEM)
  • 53. -เซลล์ประสาท (neuron or nerve cell) เป็นเซลล์ที่มีคุณสมบัติในการเปลี่ยนแปลง พลังงานจากรูปแบบหนึ่งไปเป็นอีกรูปแบบหนึ่ง (transducer) เช่นเปลี่ยนจาก สารเคมี ความร้อน และความดันที่มากระตุ้น (stimulus) ให้เป็นสัญญาณไฟฟ้ า (electrical signal) ที่เรียกว่า nerve impulse หรือ action potential ระบบประสาท (NERVOUS SYSTEM)
  • 54. เส้นประสาทสมอง (Cranial nerves) เส้นประสาทสมอง (Cranial nerves) เป็นเส้นประสาทที่ออกมาจากสมอง โดยตรง ซึ่งต่างจากเส้นประสาทไขสันหลังที่ออกมาจากแต่ละส่วนของไขสันหลัง จัดอยู่ ในระบบประสาทนอกส่วนกลาง
  • 55. โครงสร้างเซลล์ประสาทและซิแนปส์ (Synapse) -เซลล์ประสาท (neurons) ประกอบด้วย 1. ตัวเซลล์ (cell body or soma) เป็นส่วนที่มี Nucleus ribosome mitochondria และGolgi apparatus 2. แขนง (processes) คือ Dendrite and axon
  • 56. Dendrite -dendrite นาคาสั่ง/ข้อมูลจากเซลล์อื่นในรูปของ สัญญาณไฟฟ้ ามายัง cell body (ทาหน้าที่คล้ายเสา อากาศ) -มักมีแขนงสั้นๆ จานวนมาก เพื่อให้มีพื้นที่ผิว มากและสามารถรับข้อมูลได้มากๆ ก่อนจะ ส่งข้อมูลไปยัง cell body -มี polyribosome (or Nissl body) อยู่ในบริเวณที่ dendrite รับข้อมูล -คาสั่งอาจจะส่งหรือไม่ส่งต่อไปยังaxon ขึ้นอยู่ กับความแรงของสัญญาณว่าถึง threshold หรือไม่ -ในเซลล์ประสาทที่ไม่มี dendrite จะรับข้อมูล โดยตรงทาง cell body
  • 57. Cell body -Cell body หรือ soma รับข้อมูลจาก dendrite และส่งคาสั่ง ต่อไปยัง axon (ทาหน้าที่คล้าย maintenance site) -ประกอบด้วย nucleus&organelle ต่าง ๆ เหมือนเซลล์ทั่วไป -ganglion (ganglia):การเข้ามารวมกลุ่มกันของnerve cell body ในบริเวณ PNS เช่นที่ dorsal root ganglion (or sensory ganglion) -Nucleus (nuclei):การเข้ามารวมกลุ่มกันของnerve cell body ในสมอง (CNS)ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
  • 58. -axon นาคาสั่งในรูปของ action potential จาก cell bodyไปยังเซลล์/neuron อื่น (ทา หน้าที่คล้ายสายเคเบิล) นอกจากนี้ยังทาหน้าที่ ขนส่งสารที่ cell body สร้างไปยัง axon ending หรือจาก axon ending cell body -axon เชื่อมต่อกับ cell body ตรงบริเวณที่ เรียกว่า axon hillox -axon hillox: รวบรวมสัญญาณที่ส่งมาจาก dendrite และก่อให้เกิด action potential (ถ้า สัญญาณที่รวบรวมได้ไม่ถึง threshold ก็ไม่เกิด action potential) -Nerve: มัดของ axons หลายๆอันมารวมกัน Axon
  • 59. -synaptic terminal (axon ending):ส่วนปลายของaxon ทาหน้าที่หลั่งสาร neurotransmitter -synapse:บริเวณที่ synaptic terminal ไปสัมผัสกับเซลล์เป้ าหมาย(neuron/effector) -เซลล์ที่ส่งสัญญาณเรียก presynaptic cell -เซลล์เป้ าหมายเรียก postsynaptic cell (จะมี receptorต่อneurotransmitterของ presynaptic cell) Synaptic terminal
  • 60. เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง axon และ dendrite Axon Dendrite 1.นาข้อมูล/สัญญาณออกจากเซลล์ 1.นาข้อมูล/สัญญาณเข้าสู่เซลล์ 2.smooth surface 2.rough surface (dendritic spine) 3.มี 1 axon/cell 3.ส่วนใหญ่มีมากกว่า 1 dendrite/cell 4.ไม่มี ribosome 4.มี ribosome 5.มี myelin 5.ไม่มี myelin 6.มีการแตกแขนงในตาแหน่งที่ห่างจาก cell body 6.แตกแขนงในตาแหน่งที่ใกล้กับ cell body
  • 61. -Glia:ทาหน้าที่ค้าจุนเซลล์ประสาท มีจานวนมากกว่าเซลล์ประสาท 10-50 เท่า ไม่มี บทบาทในการส่งสัญญาณประสาท -Astrocyte:glia cellในCNSเกิดtight junctionรอบๆcapillary ทาให้เกิด Blood-brain barrier -Oligodendrocyte(ในCNS)และSchwann cell (ในPNS): glial cell ที่เป็นmyelin sheath Supporting cell or glial cells or glia
  • 63. Neuron แบ่งเป็น 3 ชนิด ตามการนาคาสั่ง 1. Receptor (sensory) neuron อาจทาหน้าที่ เป็นตัวรับในการรับสิ่งเร้าโดยตรง (เป็น receptor neuron) เช่น olfactory nerve cells หรือรับคาสั่งจาก receptor cell (เช่น photoreceptor cell) อีกทีหนึ่ง (เป็น sensory neuron) แล้วแปลคาสั่งจากสิ่งเร้าในรูปแบบ ต่างๆเป็น electrical signal ส่งไปยังinterneuron หรือ motor neuron โดยตรง 2.Interneuron รับข้อมูลจาก receptor neuron, sensory neuron หรือ interneuron อื่น รวบรวมข้อมูล แปลผล และส่งคาสั่งไปยัง motor neuron 3.Effector (motor) neuron นาคาสั่งในการ ตอบสนองจาก interneuron ไปยัง effector cells
  • 64. 1.ส่วนที่รับสัญญาณเข้า (sensory input) จาก sensory receptor 2.ส่วนที่รวบรวมและแปลผล (integration center): CNS 3.ส่วนที่ส่งสัญญาณออก (motor output) ไปยัง effector cells การทางานของระบบประสาท จะประสานงานกัน 3 ส่วน PNS
  • 65. Reflex arc motor neuron บริเวณที่มี interneuronรวม กันมากที่สุดคือสมอง integration center or interneuron sensory receptor sensory neuron effector
  • 66. Membrane potential -membrane potential: ความต่างศักย์ที่เยื่อเซลล์ เนื่องจากความแตกต่างของอิออน ภายใน-นอก เซลล์ (Na+ K+ Cl- และโปรตีน) ปกติมีค่า= -50 ถึง -100 mV (ค่าติดลบหมายถึงภายในเซลล์มีขั้วเป็นลบเมื่อ เทียบกับนอกเซลล์) -สามารถวัดได้โดยใช้ microelectrode ต่อกับ voltmeter หรือoscilloscope หรือใช้ micromanipulator วัด -membrane potential ของเซลล์ประสาทขณะที่ยัง ไม่ถูกกระตุ้นเรียก resting potential
  • 67. -Chemically-gated ion channels: เป็นประตูที่เปิด-ปิดเมื่อได้รับการกระตุ้นจาก สารเคมี เช่น neurotransmitter โดย gated ion channel จะจาเพาะต่อ ion ชนิดใด ชนิดหนึ่งเท่านั้น -Voltage-gated ion channels: เป็นประตูที่เปิด-ปิดจากการกระตุ้นของ membrane potential
  • 68. Hyperpolarization และ depolarization Hyperpolarization: เป็นการเพิ่ม ศักย์ไฟฟ้ าที่เยื่อเซลล์ เช่น จาก การเปิดของ K+ channel, K+ เคลื่อนออกจากเซลล์เพิ่มขึ้น ทา ให้ภายในเยื่อเซลล์มีประจุเป็น ลบเพิ่มขึ้น (-70mV -90mV) Depolarization: เป็นการลด ศักย์ไฟฟ้ าที่เยื่อเซลล์ เช่น จาก การเปิดของ Na+ channel, Na+ เคลื่อนเข้าสู่เซลล์เพิ่มขึ้น ทาให้ ภายในเยื่อเซลล์มีประจุเป็นลบ ลดลง(-70mV -50mV) Graded potential การเปลี่ยนแปลงศักย์ไฟฟ้ า (hyper & depolarization) ตามความแรงของสิ่งเร้า
  • 69. Action potential -action potential: การเปลี่ยนแปลง membrane potential อย่างรวดเร็วของเซลล์ ประสาทเมื่อได้รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้า ที่ทาให้เกิด depolarization จนถึงระดับ threshold potential -เกิดที่ axon เท่านั้น และเป็นแบบ all-or-none แบ่งเป็น 5 ระยะดังนี้ 1.Resting state 2.Threshold 3.Depolarization 4.Repolarization 5.Undershoot
  • 70. ระยะที่ 1: Resting State -ทั้ง voltage-gated Na+ และ K+ channel ปิด ไม่เกิดการ เปลี่ยนแปลงต่อ membrane’s resting potential
  • 71. ระยะที่ 2: Threshold -สิ่งเร้ามากระตุ้น ทาให้ Na+ channel บางส่วนเปิด ถ้าการไหลของ Na+ เข้าสู่ เซลล์มากพอจนถึงระดับ threshold potential จะกระตุ้น Na+ gate เปิดมากขึ้น และกระตุ้นให้เกิด action potential
  • 72. ระยะที่ 3: Depolarization -activation gate ของ Na+ channel เปิด แต่ K+ channelยังคงปิดอยู่ ดังนั้นการเคลื่อนที่ของ Na+เข้าภายในเซลล์จึง ทาให้ภายในเซลล์มี ประจุเป็นบวกมากขึ้น (หรือเป็นลบลดลง)
  • 73. ระยะที่ 4: Repolarization -inactivation gate ของ Na+ channel ปิด และ K+ channel เปิด ทาให้ Na+ไม่สามารถเคลื่อนเข้าสู่ ภายในเซลล์ได้อีก ในขณะที่ K+จะ เคลื่อนออกนอกเซลล์ จึงทาให้ภายใน เซลล์มีประจุเป็นลบเพิ่มขึ้น กลับคืนสู่ สภาวะ resting membrane potential
  • 74. ระยะที่ 5: Undershoot -gate ทั้งสองอันของ Na+ ปิด แต่ K+ channel ยังเปิดอยู่ (relatively slow gate) จึงทา ให้ภายในเซลล์มีประจุลดลงต่ากว่า resting membrane potential หลังจากนั้นเซลล์ จะกลับสู่สภาวะปกติ(Na+-K+ pump)และพร้อมจะตอบสนองต่อการกระตุ้นลาดับถัดไป repolarizationและundershoot = refractory period
  • 75. Propagation of action potential 1.ขณะที่เกิด action potential (ในตาแหน่งที่ 1) N+ เคลื่อนเข้าสู่ภายในเซลล์ ซึ่ง Na+ ที่เคลื่อนเข้ามา ภายในเซลล์จะแพร่ไปยังบริเวณข้างเคียง(ตาแหน่งที่ 2) และสามารถกระตุ้นให้บริเวณข้างเคียงเกิด depolarization และ action potential ได้ในที่สุด 2.ขณะที่ ตาแหน่งที่ 2 เกิด action potential ในตาแหน่ง ที่ 1 จะเกิด repolarization (refractory period) จึงทา ให้ไม่สามารถเกิด action potential ในทิศทาง ย้อนกลับได้ 3.หลังจากนั้น action potential จะเคลื่อนไปสู่ ตาแหน่งที่ 3 และตาแหน่งที่ 2 จะเกิด refractory period และ ตาแหน่งที่ 1 จะกลับสู่สภาวะ resting stage ต่อไป -การเคลื่อนของ action potential บน axon จึง เคลื่อนไปในทิศทางเดียว(ออกจาก cell body) เท่านั้น
  • 76. Saltatory conduction -ใน myelinated axon การเกิด action potential จะเกิดระหว่าง node of Ranvier หนึ่ง ไปยังอีก node หนึ่ง เพราะการเคลื่อนที่ของ Na+ และ K+ เข้า-ออกจากเซลล์เกิดได้ เฉพาะบริเวณ node of Ranvier เท่านั้น ลักษณะนี้เรียก saltatory conduction -ความเร็วในการเคลื่อนของaction potential ไปตาม axon จะขึ้นอยู่กับความกว้าง ของ axon ยิ่งกว้างยิ่งเคลื่อนได้เร็ว -แต่ในพวก myelinated axon ถึงแม้จะมีขนาดเล็กแต่ action potential ก็เคลื่อนได้เร็ว
  • 77. Electrical synapse -บริเวณ presynatic membrane และ postsynaptic membrane เชื่อมต่อกันด้วย gap junction ดังนั้น ion current จากaction potential จึงสามารถเคลื่อนจากเซลล์ ประสาทหนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่งได้โดยตรง Presynaptic membrane Postsynaptic membrane
  • 78. Chemical synapse 1.action potential ที่ synaptic terminal ทาให้เกิด Ca+ influx 2.synaptic vesicle รวมกับเยื่อเซลล์ 3.หลั่งneurotransmitter สู่ synaptic cleft และเคลื่อนไปจับกับ ตัวรับที่ postsynatic membrane 4.การจับทาให้ ion channel (เช่น Na+) เปิด, Na+ เคลื่อนเข้าใน เซลล์ เกิด depolarization
  • 79. The organization of neurons into systems The simple circuits: nerve nets -สัตว์พวกแรกที่เริ่มมีระบบประสาทที่ แท้จริงคือ cnidarians เรียก nerve net -ในดาวทะเล ระบบประสาทจะ ซับซ้อนขึ้น โดยจะมี nerve ring เชื่อม กับ radial nerve ที่เชื่อมอยู่กับ nerve net ในแต่ละแขนของดาวทะเลอีกที หนึ่ง
  • 80. Complex circuits -สิ่งมีชีวิตตั้งแต่พวกหนอนตัวแบนเป็นต้นไป จะมีการรวมกันของเซลล์ประสาท (ganglion) ที่บริเวณหัว เรียก cephalization -พลานาเรียจะมีการเรียงตัวของเส้นประสาทบริเวณด้านข้างลาตัวทั้ง 2 ข้างและจะมี เส้นประสาทเชื่อม เรียก transverse nerve -ตั้งแต่พวกหนอนตัวกลมขึ้นไป จะมีการเรียงตัวของเส้นประสาทอยู่ทางด้านท้อง เรียก ventral nerve cord -ในแมลงมีการรวมกันของเซลล์ประสาท เรียก glangion ในแต่ละข้อปล้องของลาตัว
  • 81. -ในสัตว์มีกระดูกสันหลัง จะมี dorsal hollow nerve cord มาแทนที่ ventral nerve cord และไม่มี segmental ganglia
  • 82. ระบบประสาทแบ่งเป็น 1.ระบบประสาทส่วนกลาง (Central nervous system; CNS): สมองและไขสันหลัง ทาหน้าที่ รวบรวมและแปลผลข้อมูล 2.ระบบประสาทรอบนอก (Peripheral nervous system; PNS): เส้นประสาทสมอง(cranial nerve) เส้นประสาทไขสันหลัง(spinal nerve) และปมประสาท (ganglia) ทาหน้าที่นาสัญญาณประสาท เข้า-ออก CNS และควบคุมการ เปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม ภายในร่างกาย ระบบประสาทในสัตว์มีกระดูกสันหลัง
  • 83. Peripheral Nervous System -ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมี cranial nerve 12 คู่ spinal nerve 31 คู่ -cranial nerve ส่วนใหญ่ & spinal nerve ทั้งหมด ประกอบด้วย sensory & motor neuron ยกเว้น olfactory & optic nerve เป็นเฉพาะ sensory nerve -sensory division ประกอบด้วย sensory neuron นาคาสั่งจาก sensory receptor ไปยัง CNS -motor division ประกอบด้วย motor neuron นา คาสั่งจาก CNS ไปยัง effector cells -SNS นาคาสั่งไปยัง skeletal muscle เพื่อตอบสนองต่อ external stimuli -ANS นาคาสั่งไปยัง smooth & cardiac muscle เพื่อตอบสนองต่อ external stimuli
  • 84. 1.ส่วนที่รับสัญญาณเข้า (sensory input) จาก sensory receptor 2.ส่วนที่รวบรวมและแปลผล (integration center): CNS 3.ส่วนที่ส่งสัญญาณออก (motor output) ไปยัง effector cells การทางานของระบบประสาท จะประสานงานกัน 3 ส่วน PNS
  • 85. Parasympathetic and sympathetic nervous system -parasympathetic และ sympathetic มักจะทางาน ตรงข้ามกัน (antagonist) -sym มักจะกระตุ้นการ ทางานของอวัยวะที่ทาให้เกิด การตื่นตัวและก่อให้เกิด พลังงาน ในขณะที่ parasym จะเกิดตรงกันข้าม -sympathetic neuron มักจะหลั่ง norepinephrine -parasympathetic neuron มักจะหลั่ง acetylcholine preganglionic ganglion, Achpostganglionic ganglion
  • 89. The Limbic System The limbic system generates the feeling; emotion and memory
  • 90. อ้างอิง The limbic system generates the feeling; emotion and memory www.kts.ac.th/e-learning/mahidol/pe/...PE_2550/ระบบประสาท.ppt www.tta.in.th/uploadfile/1097/SC-13-429-1438-1097.ppt sumon-kananit.wikispaces.com/file/view/ระบบประสาท.ppt reg.ksu.ac.th/teacher/myweb/bio2/Nerve%20cell.ppt www.sc.chula.ac.th/courseware/GenBio105/Nervous- system_2_12_4.ppt unchai.files.wordpress.com www.wjd.ac.th/webnew/e-learning/science/media/...2/present- 1.ppt