SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
1
ใบงานเรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ (ENDOCRINE
SYSTEM)
รายวิชา ชีววิทยา 2 ผู้สอน ครูสำาเร็จ นางสีคุณ
การทำางานของร่างกาย จะถูกควบคุมโดยระบบควบคุม 2 ระบบ คือ
ระบบประสาท และระบบต่อมไร้ท่อ
1. ระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine System) เป็นระบบที่ยุ่งยากซับซ้อน
และมีความสัมพันธ์กับระบบต่างๆ ของร่างกาย แทบทุกระบบ โดยเฉพาะ
ระบบประสาทและระบบไหลเวียนเลือด โดยทั่วๆ ไปแล้วต่อมไร้ท่อจะ
เกี่ยวข้องกับกระบวนการเมแทบอลิซึมต่างๆ ของร่างกาย รักษาสภาพ
แวดล้อมภายใน อันได้แก่ นำ้าและเกลือแร่ ควบคุมอุณหภูมิของร่างกายให้
คงที่ โครงสร้างส่วนใหญ่ของต่อมไร้ท่อเป็นพวกเนื้อเยื่อบุผิว
สารเคมีที่ถูกผลิตจากต่อมไร้ท่อเรียกว่า ฮอร์โมน (Hormone)
ซึ่งฮอร์โมนส่วนใหญ่จะพวกโปรตีนและสเตอรอยด์ และถูกส่งเข้ากระแส
เลือดไปสู่เซลล์และเนื้อเยื่อหรืออวัยวะเป้าหมาย ซึ่งจะเกิดผลแตกต่างกัน
ไป เช่น อาจจะไปยับยั้งการทำางาน หรือกระตุ้นการทำางาน หรือ
เปลี่ยนแปลงหน้าที่ของเซลล์ก็ได้ ตัวอย่างเช่น ฮอร์โมนอินซูลิน จากตับ
อ่อนทำาให้กลูโคสเข้าสู่เซลล์กล้ามเนื้อได้ดีขึ้น แต่จะไม่ไปเปลี่ยนการเข้า
ออกของกลูโคสในอวัยวะอื่นๆ เช่น ที่ไตหรือสมอง ทั้งๆ ที่อินซุลินก็เข้าไป
ถึงอวัยวะนั้นๆ ทางเลือด ลักษณะเช่นนี้เรียกว่า ความจำาเพาะของฮอร์โมน
ซึ่งฮอร์โมนจะมีผลต่อเซลล์เป้าหมายเท่านั้น
หน้าที่ของฮอร์โมน
1. ควบคุมระบบพลังงานของร่างกาย
2. ควบคุมปริมาณนำ้า และเกลือแร่ในร่างกาย
3. ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกาย
ควบคุมระบบสืบพันธ์และต่อมนำ้านม ซึ่งหน้าที่ดังกล่าวเป็นผล
จากการทำางานของฮอร์โมนหลายๆ ชนิดพร้อมๆ กัน เพื่อก่อให้เกิดผลตาม
ที่ร่างกายต้องการ
ประเภทและคุณสมบัติของฮอร์โมน ฮอร์โมน แบ่งตาม
คุณสมบัติทางเคมีออกได้เป็น 4 ประเภท คือ
1. เพปไทด์ฮอร์โมน (Peptide Hormone) ประกอบด้วยกรดอะ
มิโนที่ต่อกันด้วยโซ่เพปไทด์ ได้แก่ ฮอร์โมนจากไฮโพทาลามัส ต่อมใต้
สมอง ตับอ่อน และ จากต่อมพาราไทรอยด์
2
2. สเตอรอยด์ฮอร์โมน (Steroid Hormone) ได้แก่ ฮอร์โมนที่
สร้างจากต่อมหมวกไต รังไข่ และอัณฑะ
3. อะมีนฮอร์โมน (Amines Hormone) เป็นฮอร์โมนที่ได้จากก
รดอะมิโน โดยตัดเอาหมู่คาร์บอกซิล (Carboxyl group) ออกได้อมีน
ฮอร์โมนกล่มนี้ได้แก่ ฮอร์โมนไทรอกซิน และคาเทคอลามีน
4. ไกลโคโปรตีนฮอร์โมน (Glycoprotein Hoemone) โครงสร้างของ
ฮอร์โมนชนิดนี้ จะมีคาร์โบไฮเดรต เป็นองค์ประกอบในโมเลกุล ซึ่งเป็น
ส่วนแสดงบทบาทของฮอร์โมน ฮอร์โมนกลุ่มนี้ได้แก่ ฮอร์โมนโกนาโดโท
รพินส์ (FSH, LH, HCG, และ TSH) อย่างไรก็ตาม ต่อมไร้ท่อแทบทุก
ต่อม จะถูกควบคุมโดยฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง และอาจมีต่อมที่เป็นอิสระ
ไม่ถูกควบคุมโดยฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง ได้แก่ ต่อมพาราไทรอยด์ ซึ่ง
จะขับฮอร์โมนเพื่อควบคุมระดับแคลเซียมในนำ้าเลือด และปริมาณ
แคลเซียมในนำ้าเลือด ก็เป็นตัวควบคุมการผลิตและขับฮอร์โมนจากต่อม
พาราไทรอยด์ ตามกลไกป้อนกลับเชิงลบ
ต่อมใต้สมอง (Pituitary Gland หรือ Hypophysis)
ต่อมใต้สมอง มีขนาดเล็กเท่าเมล็ดถั่วเขียว แต่ขับฮอร์โมนได้
มากชนิดที่สุด และควบคุมต่อมไร้ท่ออื่นๆ แทบทุกต่อม จึงได้ชื่อว่า
มาสเตอร์แกลนด์ (Master gland) ต่อมใต้สมองแบ่งออกเป็น 2 ส่วน แต่ละ
ส่วนขับฮอร์โมน ได้ดังนี้
1. ต่อมใต้สมองส่วนหน้า (Adenohypophysis) เป็นส่วน
ที่ใหญ่ที่สุด และผลิตฮอร์โมนได้มาก
ชนิดที่สุด ฮอร์โมนที่ผลิตจากส่วนนี้ มีดังนี้
1.1 โกรท ฮอร์โมน (Growth Hormone = GH) ทำา
หน้าที่กระตุ้นการเจริญเติบโตของร่างกาย
1.2 ฟอลริเคิล สติมิวเลติง ฮอร์โมน (Folliclle
Stimulatung Hormone = FSH) ทำาหน้าที่ กระตุ้นการพัฒนารังไข่ใน
หญิง และอสุจิในชาย
1.3 ลูตีไนซิง ฮอร์โมน (Luteinizing Hormone =
LH) ทำาหน้าที่กระตุ้นการตกไข่ในหญิง และอสุจิในชาย เช่นเดียวกับ
FSH
1.4 สตีโอโทรฟิก ฮอร์โมน (Luteotrophic
Hormone = LTH) ทำาหน้าที่กระตุ้นการสร้างนำ้านม
1.5ไทรอยด์ สติมิวเลติง ฮอร์โมน (Thyroid
Stimulaing Hormone = TSH) ทำาหน้าที่กระตุ้นต่อมไทรอยด์ให้เจริญ
3
1.6 อะดรีโนคอร์ติโคโทรฟิก ฮอร์โมน
(Adrenocorticotophic Hormone = ACTH) ทำาหน้าที่กระตุ้นอะดรีนัล
คอร์เทกซ์ เพื่อผลิต หรือลดฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์
2. ต่อมใต้สมองส่วนหลัง (Neurohypophysis) ผลิต
ฮอร์โมนได้ ดังนี้
2.1 แอนติไดยูเรติก ฮอร์โมน (Antidiuretic
Hormone = ADH) หรือวาโซเพรสซิน ทำาหน้าที่ควบคุมการดูดนำ้ากลับ
ของหลอดรวบรวมของไต
2.2 ออกซิโทซิน (Oxytocin) ถูกสร้างเฉพาะใน
หญิงมีครรภ์ ช่วยให้มดลูกหดตัวตอนคลอด ทำาให้คลอดได้ง่ายขึ้น และ
ช่วยในการหลั่งนำ้านมในระยะให้นม
ต่อมหมวกไต (Adrenal gland)
ต่อมหมวกไต อยู่เหนือไตทั้งสองข้าง ประกอบด้วย 2
ส่วน คือ ส่วนชั้นในเรียกว่า อะดรีนัล เมดัลลา (Adrenal medulla) และ
ส่วนชั้นนอกเรียกว่า อะดรีนัล คอร์เทกซ์ (Adenal cortex) แต่ละส่วนขับ
ฮอร์โมน ดังนี้
1. อะดรีนัล เมดัลลา อยู่ชั้นในผลิตฮอร์โมนที่สำาคัญ 2
ชนิด คือ
1.1 อะดรีนาลีน หรืออีพิเนฟริน (Adrenalin หรือ
Epinephrine) มีผลทำาให้หลอดเลือดขยายตัว ตับและกล้ามเนื้อสลาย
ไกลโคเจนให้เป็นกลูโคส ทำาให้มีกำาลังยกของหนักๆ ได้
1.2 นอร์อะดรีนาลีน หรือนอร์อีพิเนฟริน
(Noradrenalin หรือ Norepinephrine) มีผลทำาให้หลอดเลือดหดตัว
ทำาให้ความดันเลือดสูง
2. อะดรีนัล คอร์เทกซ์ อยู่ชั้นนอก ผลิตสเตอรอยด์
ฮอร์โมน ดังนี้
2.1 ไมเนอราโลคอร์ติคอยด์ (Mineralocorticoids)
ทำาหน้าที่ควบคุมนำ้าและเกลือแร่ โดยการดูดโซเดียมไอออนกลับ และขับ
โพแทสเซียมไอออน ออกทิ้งที่บริเวณหลอดไต ไมเนอราโลคอร์ติคอยด์ ที่
สำาคัญที่สุดคือ อัลโดสเตอโรน (Aldosterone)
2.2 กลูโคคอร์ติคอยด์ (Glucocorticoids) มีผลใน
การควบคุมการสลายกลูโคส โปรตีนและไขมัน กลูโคคอร์ติคอยด์ที่สำาคัญ
4
ที่สุด คือ คอร์ติโซล (Cortisol) มีผลตรงข้ามกับฮอร์โมนอินซูลิน และยัง
รักษาดุลนำ้าและเกลือแร่ด้วย
2.3 แอนโดรเจน (Androgens) เป็นฮอร์โมนที่
ควบคุมพัฒนาการของร่างกายเมื่อเข้าสู่วัยรุ่นผลิตได้ในปริมาณที่น้อยมาก
ในส่วนอะดรีนัล คอร์เทกซ์ แอนโดรเจนที่สำาคัญในเพศชาย คือ เทสโทส
เตอโรนซึ่งผลิตจากอัณฑะ ส่วนในหญิง คือ อีสโทรเจน ซึ่งผลิตจากรังไข่
เป็นส่วนใหญ่
ต่อมในตับอ่อน (Gland in Pancreas) ต่อมในตับอ่อน อาจ
เรียกชื่อว่า ต่อมลางเกอร์ฮาน (lsles of Lahgerhan) ตามชื่อผู้ค้นพบ เป็น
ต่อมที่ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์ ที่แทรกอยู่ในตับอ่อน มี 2 ชนิด คือ
1. บีต้า-เซลล์ (Beta-Cell) ผลิตฮอร์โมนชื่อ อินซูลิน
(Insulin hormone) ทำาหน้าที่ควบคุมนำ้าตาลในกระแสเลือด โดยเร่งการ
เปลี่ยนกลูโคส ให้เป็นไกลโคเจนเก็บสะสมไว้ที่ตับและกล้ามเนื้อ เร่งกานใช้
กลูโคสในร่างกาย
2. แอลฟา-เซลล์ (Alpha-Cell) อยู่รอบนอกของต่อมใน
ตับอ่อน ผลิตฮอร์โมนชื่อ กลูคากอน (Glucagon) มีผลตรงข้ามกับฮอร์โมน
อินซูลิน เช่น เร่งการสลายไกลโคเจนจากตับ และกล้ามเนื้อให้เป็นกลูโคส
เข้าสู่กระแสเลือด เร่งการเปลี่ยนกรดอะมิโน และไขมันเป็นกลูโคส
ต่อมไทรอยด์ (Thyroid Gland)
ต่อมไทรอยด์ ตั้งอยู่ใกล้กล่องเสียง ผลิตฮอร์โมนที่สำาคัญ 2
ชนิด คือ
1. ไทรอกซิน หรือ เทตระไอโอโดไทโรนีน (Thyroxin
หรือ Tetraiodothyronone = T) เป็นกรดอะมิโนที่มีไอโอดีนอยู่ด้วย มีผล
ต่อการกระตุ้นเบซัล เมแทบอลิซึม เพิ่มการใช้ออกซิเจน การดูดซึมกลูโคส
และการสร้างโปรตีน การขับฮอร์โมนไทรอกซินจะถูกควบคุมโดย TSH
จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า
2. แคลซิโทนิน (Calcitonin) ไม่มีไอโอดีนเป็นองค์
ประกอบ ทำาหน้าที่ลดระดับแคลเซียมในเลือด เพิ่มการขับแคลเซี่ยมทิ้ง
ออกพร้อมนำ้าปัสสาวะ แคลเซียมบางส่วนจะไปสะสมที่กระดูกเพิ่มขึ้น ปกติ
ฮอร์โมนนี้จะทำางานตรงข้ามกับฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์
ต่อมพาราไทรอยด์ (Parathroid Gland)
ต่อมพาราไทรอยด์ เป็นต่อมเล็กๆ อยู่ตรงผิวด้านหลังของต่อม
ไทรอยด์ ผลิตฮอร์โมน ชื่อ พาราทอร์โมน (Parathormone = PTH) ทำา
5
หน้าที่ร่วมกับแคลซิโทนิน โดยควบคุมแคลเซียมในร่างกายช่วยให้
แคลเซียมในทางเดินอาหารถูกดูดซึมมากขึ้น สลายแคลเซียมจากกระดูก
เข้าสู่กระแสเลือด เป็นการเพิ่มระดับแคลเซียมในเลือด ดังนั้น พาราทอร์
โมน จึงทำาหน้าที่ตรงข้ามกับแคลซิโทนิน
รังไข่และอัณฑะ (Ovaries and Testis)
รังไข่และอัณฑะ โดยปกติจะมีบทบาทน้อยมากต่อการออก
กำาลังกาย รังไข่และอัณฑะจะเรียกรวมกันว่า โกแนด (Gonads) ทำาหน้าที่
ผลิตฮอร์โมนเพศ ฮอร์โมนในเพศชาย เรียกว่า แอนโดรเจน และแอนโดร
เจนที่สำาคัญที่สุดคือ เทสโทสเตอโรน ซึ่งผลิตจากเซลล์แทรก (Interstitial
cell) ในอัณฑะ ทำาหน้าที่ควบคุมการเจริญของอัณฑะ พัฒนาความเป็น
ชาย และควบคุมความต้องการทางเพศ ส่วนในหญิงรังไข่จะผลิตฮอร์โมน
อีสโทรเจน ทำาหน้าที่พัฒารังไข่ การพัฒนาของไข่ ควบคุมความเป็นเพศ
หญิง และความต้องการทางเพศ ในระยะที่มีการตกไข่ (Ovulation) รังไข่
และรกจะผลิตฮอร์โมนโพรเจสเตอโรน (Progesterone) โดยการควบคุม
ของฮอร์โมน LH และ FSH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า โพรเจสเตอโรนทำา
หน้าที่ควบคุมการเจริญเติบโตของผนังมดลูก การตกไข่ การมีประจำาเดือน
และควบคุมการเจริญของต่อมนำ้านม
ตาราง... สรุปฮอร์โมนจากระบบต่อมไร้ท่อและหน้าที่สำาคัญ
ฮอร์โมน ต้นกำาเนิด ตัวกระตุ้น อวัยวะเป้า
หมาย
ผลของฮอร์โมน
ออกซิโท
ซิน
ต่อมใต้สมอง
ส่วนหลัง
กระแส
ประสาท
ต่อมนำ้านม,
มดลูก
ผลิตนำ้านม,การหด
ตัวของมดลูกตอน
คลอด
ADH
หรือ วา
โซเพรส
ซิน
ต่อมใต้สมอง
ส่วนหลัง
ปริมาณ
เลือดที่ลด
ลง,ความ
ดันเลือดสูง
ไต, ท่อใน
กล้ามเนื้อ
เรียบ
กระตุ้นการดูดนำ้า
กลับของท่อไต
GH ต่อมใต้สมอง
ส่วนหน้า
กระแส
ประสาท,
ความเครีย
ทุกเซลล์ พัฒนาการเจริญ
เติบโต ปล่อยกรด
ไขมันอิสระ
6
ด
TSH ต่อมใต้สมอง
ส่วนหน้า
กระแส
ประสาท,ไ
ทรอกซิน
ในเลือดตำ่า
ต่อมไทรอยด์ ผลิตและลดฮอร์โมน
จากต่อมไทรอยด์
ACTH ต่อมใต้สมอง
ส่วนหน้า
กระแส
ประสาท,ค
วามเครียด
อะดรีนัล คอร์
เทกซ์
ผลิตและลดกลูโค
คอร์ติคอยด์
ไทรอก
ซิน(T3)
ไตรไอ
โอโดไท
โร
นีน(T4)
ต่อมไทรอยด์ TSH ทุกเนื้อเยื่อ เพิ่มเบซัลเมแทบอลิ
ซึม พัฒนาการเจริญ
เติบโต การสลายไข
มัน
กลูโคติ
คอย
ด์(คอร์ติ
โซล)
อะดรีนัล คอร์
เทกซ์
ACTH,
ความเครีย
ด
ตับ, ทุก
เนื้อเยื่อ
ควบคุมการสลาย
กลูโคส, โปรตีน
ไมเนอ
ราโล
คอร์ติ
คอย
ด์(อัลโด
สเตอ
โรน)
อะดรีนัล คอร์
เทกซ์
การลดลง
ของ Na+
ในเลือด
ไต รักษาดุล Na+
LH ต่อมใต้สมอง
ส่วนหน้า
ฮอร์โมน
เพศ
อัณฑะ และ
รังไข่
ผลิตฮอร์โมนเพศ,
การพัฒนาไข่
LTH
(Prolact
in)
ต่อมใต้สมอง
ส่วนหน้า
กระแส
ประสาท,
ฮอร์โมน
เพศหญิง
ต่อมนำ้านม ขับนำ้านมในระยะให้
นม
FSH ต่อมใต้สมอง
ส่วนหน้า
กระแส
ประสาท,
อีสโทรเจน
อัณฑะ และ
รังไข่
สร้างอสุจิ, พัฒนาไข่
7
ลดลง
อีสโทร
เจน
รังไข่, รก LH มดลูก, ต่อม
นำ้ำนม
พัฒนำมดลูก, กำร
เติบโตทุติยภูมิ,
สะสม Na+ Ca 2 +
ฮอร์โมน ต้นกำำเนิด ตัวกระตุ้น อวัยวะเป้ำ
หมำย
ผลของฮอร์โมน
โพรเจสเตอ
โรน
รังไข่, รก LH, FSH มดลูก, ต่อม
นำ้ำนม
พัฒนำมดลูก, ต่อม
นำ้ำนม สร้ำงอสุจิ,
ควบคุมกำรเติบโต
ทุติยภูมิ
แอนโดร
เจน(เทส
โทสเตอ
โรน)
อัณฑะ, อะ
ดรีนัล คอร์
เทกซ์
LH ถุงเก็บอสุจิ,
ต่อมลูกหมำก
กระดูก กล้ำม
เนื้อ
พัฒนำมดลูก, ต่อม
นำ้ำนม สร้ำงอสุจิ,
ควบคุมกำรเติบโต
ทุติยภูมิ
พำรำทอร์
โมน
พำรำ
ไทรอยด์
ปริมำณ
แคลเซียม
ในเลือดลด
ลง
กระดูก, ไต เพิ่มปริมำณ
แคลเซียมในเลือด
แคลซิโท
นิน
ต่อมไทรอยด์
(C-cell)
ระดับ
แคลเซียม
ในเลือดสูง
ขึ้น
กระดูก ลดระดับแคลเซียม
ในเลือด
อินซูลิน ตับอ่อน
(Beta-cell)
กลูโคสใน
เลือดสูงขึ้น
ทุกเนื้อเยื่อ ลดระดับกลูโคสใน
เลือด
กลูคำกอน ตับอ่อน
(Alpha-cell)
กลูโคสใน
เลือดลด
ลง,กรดอะ
มิโนใน
เลือดสูงขึ้น
ตับเนื้อเยื่อ
อื่นๆ
เพิ่มระดับกลูโคส
ในเลือด
อีพิเนฟริน,
นอร์อี
พิเนฟริน
อะดรีนัลเมดัล
ลำ ปลำยประ
สำทซิมพำเท
กำรกระตุ้
นของซิม
พำเทติก
ทุกเนื้อเยื่อ เพิ่มกลูโคสในเลือด
ตับ กล้ำมเนื้อสลำย
ไกลโคเจน
8
ติก
อีริโทพอยอิ
ทิน(Erythr
opoietin)
ไต, เนื้อเยื่อ
อื่นๆ
Hypoxia ไขกระดูก ควบคุมกำรผลิต
เม็ดเลือดแดง
แบบฝึกหัด .... ระบบต่อมไร้ท่อ
(ทำำลงสมุด 5 คะแนน)
นักเรียน ที่ไม่ทำำ คิดถึงครูบ้ำงว่ำ ครูจะเอำคะแนนมำจำกไหน ตัดเกรดให้
เธอ
1. ต่อมไร้ท่อ สัมพันธ์กับระบบ .................... มำกที่สุด.
2. โครงสร้ำงส่วนใหญ่ของต่อมไร้ท่อ เป็นพวก .......................
3. สำรเคมีที่ถูกผลิตจำกต่อมไร้ท่อ เรียกว่ำ .........................
4. โครงสร้ำงของฮอร์โมนส่วนใหญ่ จะเป็นพวกโปรตีน และ
.........................
5. ฮอร์โมนหนึ่งๆ จะมีผลต่อเซลล์เป้ำหมำยเท่ำนั้น ลักษณะเช่นนี้เรียกว่ำ
................
6. ฮอร์โมนที่สร้ำงจำกต่อมหมวกไต รังไข่แลอัณฑะ เป็นฮอร์โมนประเภท
................
7. ต่อมไร้ท่อ เป็นต่อมอิสระไม่ถูกควบคุมโดยฮอร์โมนจำกต่อมใต้สมอง
ได้แก่ ......................
8. มำสเตอร์แกลนด์ หมำยถึง ......................
9. ......................... เป็นฮอร์โมนที่ทำำหน้ำที่กระตุ้นกำรเจริญเติบโต
ของร่ำงกำย.
10. .................. เป็นฮอร์โมนจำกต่อมใต้สมองส่วนหลัง ถูกสร้ำงเฉพำะ
ในหญิงมีครรภ์ ช่วยให้มดลูก
หดตัวตอนคลอด และช่วยในกำรหลั่งนำ้ำนมในระยะให้นม
11. บีตำเซลล์ในตับอ่อน ผลิตฮอร์โมนชื่อ ................... ทำำหน้ำที่ควบคุม
ระดับนำ้ำตำลในเลือด
12. ฮอร์โมนจำกต่อมไทรอยด์ ซึ่งเป็นกรดอะมิโน ที่มีไอโอดีนอยู่ด้วย
เรียกว่ำฮอร์โมน .......................
9
13. ฮอร์โมนจำกต่อมไทรอยด์ ที่ไม่มีไอโอดีนเป็นองค์ประกอบ ช่วยลด
ระดับแคลเซียมในเลือด เรียก
ฮอร์โมนนี้ว่ำ .......................
14. ฮอร์โมนที่ควบคุมเมแทบอลิซึม ของแคลเซียม คือ ................
15. แอนโดรเจนในเพศชำย ที่สำำคัญที่สุด คือ ..................
16. ฮอร์โมนที่ควบคุมกำรพัฒนำไข่ รังไข่ ควบคุมควำมเป็นเพศหญิง คือ
ฮอร์โมน ..................
17. ในระยะที่มีกำรตกไข่ รังไข่และรกจะผลิตฮอร์โมน ชื่อ
........................
18. ฮอร์โมน ............... ป้องกันกำรตกไข่ กำรมีประจำำเดือน และกำร
เจริญของต่อมนำ้ำนม
19. กำรให้อินซูลิน วิธีที่นิยมทำำกัน คือ กำรฉีดอินซูลินเข้ำสู่ ...............
20. คอกพอก เกิดจำกต่อม ............... ทำำงำนมำกเกินไป.
 เฉลย
1) ประสำท
2) เนื้อเยื่อบุผิว
3) ฮอร์โมน
4) สเตอรอยด์
5) ควำมจำำเพำะของฮอร์โมน
6) สเตอรอยด์ฮอร์โมน
7) ต่อมพำรำไทรอยด์
8) ต่อมใต้สมอง
9) โกรทฮอร์โมน
10) ออกซิโทซิน
11) อินซูลิน
10
12) ไทรอกซิน
13) แคลซิโทนิน
14) พาราทอร์โมน
15) เทสโทสเตอโรน
16) อีสโทรเจน
17) โพรเจสเตอโรน
18) โพรเจสเตอโรน
19) กล้ามเนื้อ
20) ไทรอยด์
 JARUPUN 

More Related Content

What's hot

พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent BondSaipanya school
 
รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์dnavaroj
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011Namthip Theangtrong
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองsukanya petin
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญsukanya petin
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6Nattapong Boonpong
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)Thanyamon Chat.
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์oraneehussem
 

What's hot (20)

พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 
รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
 
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกายชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์
 

Similar to ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน

9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530CUPress
 
ฮอร์โมน...มนุษย์
ฮอร์โมน...มนุษย์ฮอร์โมน...มนุษย์
ฮอร์โมน...มนุษย์dgnjamez
 
ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์dgnjamez
 
ฮอร์โมนมนุษย์
ฮอร์โมนมนุษย์ฮอร์โมนมนุษย์
ฮอร์โมนมนุษย์dgnjamez
 
ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์dgnjamez
 
ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์dgnjamez
 
ฮอร์โมนมนุษย์
ฮอร์โมนมนุษย์ฮอร์โมนมนุษย์
ฮอร์โมนมนุษย์dgnjamez
 
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creusสารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet CreusGarsiet Creus
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจN'apple Naja
 
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormoneเรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormonekasidid20309
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตIssara Mo
 
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 2
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 2เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 2
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 2Gawewat Dechaapinun
 

Similar to ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน (20)

9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530
 
ฮอร์โมน...มนุษย์
ฮอร์โมน...มนุษย์ฮอร์โมน...มนุษย์
ฮอร์โมน...มนุษย์
 
ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์
 
ฮอร์โมนมนุษย์
ฮอร์โมนมนุษย์ฮอร์โมนมนุษย์
ฮอร์โมนมนุษย์
 
ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์
 
ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์
 
ฮอร์โมนมนุษย์
ฮอร์โมนมนุษย์ฮอร์โมนมนุษย์
ฮอร์โมนมนุษย์
 
Endocrine system
Endocrine systemEndocrine system
Endocrine system
 
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creusสารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
 
Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
ระบบหายใจppt
ระบบหายใจpptระบบหายใจppt
ระบบหายใจppt
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormoneเรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
 
2
22
2
 
2
22
2
 
2
22
2
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
2 hormone p_lan
2 hormone p_lan2 hormone p_lan
2 hormone p_lan
 
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 2
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 2เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 2
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 2
 

More from สำเร็จ นางสีคุณ

แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า btsแบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า btsสำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการแบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการสำเร็จ นางสีคุณ
 
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนPpt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5สำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์ ป.6
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์  ป.6แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์  ป.6
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์ ป.6สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2553
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2553ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2553
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2553สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2552
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2552ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2552
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2552สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550สำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้นแบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้นสำเร็จ นางสีคุณ
 

More from สำเร็จ นางสีคุณ (20)

ของเล่นทำให้เกิดเสียง
ของเล่นทำให้เกิดเสียงของเล่นทำให้เกิดเสียง
ของเล่นทำให้เกิดเสียง
 
สาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรมสาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรม
 
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า btsแบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
 
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการแบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
 
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนPpt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
Ppt ติว ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
 
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์ ป.6
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์  ป.6แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์  ป.6
แบบทดสอบ เตรียมสอบ Nt วิชาวิทยาศาสตร์ ป.6
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2553
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2553ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2553
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2553
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2552
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2552ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2552
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2552
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
 
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้นแบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชการ Is1 30 คะแนน รายกลุ่ม 1 ชิ้น
 
Tutur(biology)0 net 2
Tutur(biology)0 net 2Tutur(biology)0 net 2
Tutur(biology)0 net 2
 
Tutur(biology)0 net 1
Tutur(biology)0 net 1Tutur(biology)0 net 1
Tutur(biology)0 net 1
 
Tutur(biology)0 net 3
Tutur(biology)0 net 3Tutur(biology)0 net 3
Tutur(biology)0 net 3
 

ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน

  • 1. 1 ใบงานเรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ (ENDOCRINE SYSTEM) รายวิชา ชีววิทยา 2 ผู้สอน ครูสำาเร็จ นางสีคุณ การทำางานของร่างกาย จะถูกควบคุมโดยระบบควบคุม 2 ระบบ คือ ระบบประสาท และระบบต่อมไร้ท่อ 1. ระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine System) เป็นระบบที่ยุ่งยากซับซ้อน และมีความสัมพันธ์กับระบบต่างๆ ของร่างกาย แทบทุกระบบ โดยเฉพาะ ระบบประสาทและระบบไหลเวียนเลือด โดยทั่วๆ ไปแล้วต่อมไร้ท่อจะ เกี่ยวข้องกับกระบวนการเมแทบอลิซึมต่างๆ ของร่างกาย รักษาสภาพ แวดล้อมภายใน อันได้แก่ นำ้าและเกลือแร่ ควบคุมอุณหภูมิของร่างกายให้ คงที่ โครงสร้างส่วนใหญ่ของต่อมไร้ท่อเป็นพวกเนื้อเยื่อบุผิว สารเคมีที่ถูกผลิตจากต่อมไร้ท่อเรียกว่า ฮอร์โมน (Hormone) ซึ่งฮอร์โมนส่วนใหญ่จะพวกโปรตีนและสเตอรอยด์ และถูกส่งเข้ากระแส เลือดไปสู่เซลล์และเนื้อเยื่อหรืออวัยวะเป้าหมาย ซึ่งจะเกิดผลแตกต่างกัน ไป เช่น อาจจะไปยับยั้งการทำางาน หรือกระตุ้นการทำางาน หรือ เปลี่ยนแปลงหน้าที่ของเซลล์ก็ได้ ตัวอย่างเช่น ฮอร์โมนอินซูลิน จากตับ อ่อนทำาให้กลูโคสเข้าสู่เซลล์กล้ามเนื้อได้ดีขึ้น แต่จะไม่ไปเปลี่ยนการเข้า ออกของกลูโคสในอวัยวะอื่นๆ เช่น ที่ไตหรือสมอง ทั้งๆ ที่อินซุลินก็เข้าไป ถึงอวัยวะนั้นๆ ทางเลือด ลักษณะเช่นนี้เรียกว่า ความจำาเพาะของฮอร์โมน ซึ่งฮอร์โมนจะมีผลต่อเซลล์เป้าหมายเท่านั้น หน้าที่ของฮอร์โมน 1. ควบคุมระบบพลังงานของร่างกาย 2. ควบคุมปริมาณนำ้า และเกลือแร่ในร่างกาย 3. ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกาย ควบคุมระบบสืบพันธ์และต่อมนำ้านม ซึ่งหน้าที่ดังกล่าวเป็นผล จากการทำางานของฮอร์โมนหลายๆ ชนิดพร้อมๆ กัน เพื่อก่อให้เกิดผลตาม ที่ร่างกายต้องการ ประเภทและคุณสมบัติของฮอร์โมน ฮอร์โมน แบ่งตาม คุณสมบัติทางเคมีออกได้เป็น 4 ประเภท คือ 1. เพปไทด์ฮอร์โมน (Peptide Hormone) ประกอบด้วยกรดอะ มิโนที่ต่อกันด้วยโซ่เพปไทด์ ได้แก่ ฮอร์โมนจากไฮโพทาลามัส ต่อมใต้ สมอง ตับอ่อน และ จากต่อมพาราไทรอยด์
  • 2. 2 2. สเตอรอยด์ฮอร์โมน (Steroid Hormone) ได้แก่ ฮอร์โมนที่ สร้างจากต่อมหมวกไต รังไข่ และอัณฑะ 3. อะมีนฮอร์โมน (Amines Hormone) เป็นฮอร์โมนที่ได้จากก รดอะมิโน โดยตัดเอาหมู่คาร์บอกซิล (Carboxyl group) ออกได้อมีน ฮอร์โมนกล่มนี้ได้แก่ ฮอร์โมนไทรอกซิน และคาเทคอลามีน 4. ไกลโคโปรตีนฮอร์โมน (Glycoprotein Hoemone) โครงสร้างของ ฮอร์โมนชนิดนี้ จะมีคาร์โบไฮเดรต เป็นองค์ประกอบในโมเลกุล ซึ่งเป็น ส่วนแสดงบทบาทของฮอร์โมน ฮอร์โมนกลุ่มนี้ได้แก่ ฮอร์โมนโกนาโดโท รพินส์ (FSH, LH, HCG, และ TSH) อย่างไรก็ตาม ต่อมไร้ท่อแทบทุก ต่อม จะถูกควบคุมโดยฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง และอาจมีต่อมที่เป็นอิสระ ไม่ถูกควบคุมโดยฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง ได้แก่ ต่อมพาราไทรอยด์ ซึ่ง จะขับฮอร์โมนเพื่อควบคุมระดับแคลเซียมในนำ้าเลือด และปริมาณ แคลเซียมในนำ้าเลือด ก็เป็นตัวควบคุมการผลิตและขับฮอร์โมนจากต่อม พาราไทรอยด์ ตามกลไกป้อนกลับเชิงลบ ต่อมใต้สมอง (Pituitary Gland หรือ Hypophysis) ต่อมใต้สมอง มีขนาดเล็กเท่าเมล็ดถั่วเขียว แต่ขับฮอร์โมนได้ มากชนิดที่สุด และควบคุมต่อมไร้ท่ออื่นๆ แทบทุกต่อม จึงได้ชื่อว่า มาสเตอร์แกลนด์ (Master gland) ต่อมใต้สมองแบ่งออกเป็น 2 ส่วน แต่ละ ส่วนขับฮอร์โมน ได้ดังนี้ 1. ต่อมใต้สมองส่วนหน้า (Adenohypophysis) เป็นส่วน ที่ใหญ่ที่สุด และผลิตฮอร์โมนได้มาก ชนิดที่สุด ฮอร์โมนที่ผลิตจากส่วนนี้ มีดังนี้ 1.1 โกรท ฮอร์โมน (Growth Hormone = GH) ทำา หน้าที่กระตุ้นการเจริญเติบโตของร่างกาย 1.2 ฟอลริเคิล สติมิวเลติง ฮอร์โมน (Folliclle Stimulatung Hormone = FSH) ทำาหน้าที่ กระตุ้นการพัฒนารังไข่ใน หญิง และอสุจิในชาย 1.3 ลูตีไนซิง ฮอร์โมน (Luteinizing Hormone = LH) ทำาหน้าที่กระตุ้นการตกไข่ในหญิง และอสุจิในชาย เช่นเดียวกับ FSH 1.4 สตีโอโทรฟิก ฮอร์โมน (Luteotrophic Hormone = LTH) ทำาหน้าที่กระตุ้นการสร้างนำ้านม 1.5ไทรอยด์ สติมิวเลติง ฮอร์โมน (Thyroid Stimulaing Hormone = TSH) ทำาหน้าที่กระตุ้นต่อมไทรอยด์ให้เจริญ
  • 3. 3 1.6 อะดรีโนคอร์ติโคโทรฟิก ฮอร์โมน (Adrenocorticotophic Hormone = ACTH) ทำาหน้าที่กระตุ้นอะดรีนัล คอร์เทกซ์ เพื่อผลิต หรือลดฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์ 2. ต่อมใต้สมองส่วนหลัง (Neurohypophysis) ผลิต ฮอร์โมนได้ ดังนี้ 2.1 แอนติไดยูเรติก ฮอร์โมน (Antidiuretic Hormone = ADH) หรือวาโซเพรสซิน ทำาหน้าที่ควบคุมการดูดนำ้ากลับ ของหลอดรวบรวมของไต 2.2 ออกซิโทซิน (Oxytocin) ถูกสร้างเฉพาะใน หญิงมีครรภ์ ช่วยให้มดลูกหดตัวตอนคลอด ทำาให้คลอดได้ง่ายขึ้น และ ช่วยในการหลั่งนำ้านมในระยะให้นม ต่อมหมวกไต (Adrenal gland) ต่อมหมวกไต อยู่เหนือไตทั้งสองข้าง ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนชั้นในเรียกว่า อะดรีนัล เมดัลลา (Adrenal medulla) และ ส่วนชั้นนอกเรียกว่า อะดรีนัล คอร์เทกซ์ (Adenal cortex) แต่ละส่วนขับ ฮอร์โมน ดังนี้ 1. อะดรีนัล เมดัลลา อยู่ชั้นในผลิตฮอร์โมนที่สำาคัญ 2 ชนิด คือ 1.1 อะดรีนาลีน หรืออีพิเนฟริน (Adrenalin หรือ Epinephrine) มีผลทำาให้หลอดเลือดขยายตัว ตับและกล้ามเนื้อสลาย ไกลโคเจนให้เป็นกลูโคส ทำาให้มีกำาลังยกของหนักๆ ได้ 1.2 นอร์อะดรีนาลีน หรือนอร์อีพิเนฟริน (Noradrenalin หรือ Norepinephrine) มีผลทำาให้หลอดเลือดหดตัว ทำาให้ความดันเลือดสูง 2. อะดรีนัล คอร์เทกซ์ อยู่ชั้นนอก ผลิตสเตอรอยด์ ฮอร์โมน ดังนี้ 2.1 ไมเนอราโลคอร์ติคอยด์ (Mineralocorticoids) ทำาหน้าที่ควบคุมนำ้าและเกลือแร่ โดยการดูดโซเดียมไอออนกลับ และขับ โพแทสเซียมไอออน ออกทิ้งที่บริเวณหลอดไต ไมเนอราโลคอร์ติคอยด์ ที่ สำาคัญที่สุดคือ อัลโดสเตอโรน (Aldosterone) 2.2 กลูโคคอร์ติคอยด์ (Glucocorticoids) มีผลใน การควบคุมการสลายกลูโคส โปรตีนและไขมัน กลูโคคอร์ติคอยด์ที่สำาคัญ
  • 4. 4 ที่สุด คือ คอร์ติโซล (Cortisol) มีผลตรงข้ามกับฮอร์โมนอินซูลิน และยัง รักษาดุลนำ้าและเกลือแร่ด้วย 2.3 แอนโดรเจน (Androgens) เป็นฮอร์โมนที่ ควบคุมพัฒนาการของร่างกายเมื่อเข้าสู่วัยรุ่นผลิตได้ในปริมาณที่น้อยมาก ในส่วนอะดรีนัล คอร์เทกซ์ แอนโดรเจนที่สำาคัญในเพศชาย คือ เทสโทส เตอโรนซึ่งผลิตจากอัณฑะ ส่วนในหญิง คือ อีสโทรเจน ซึ่งผลิตจากรังไข่ เป็นส่วนใหญ่ ต่อมในตับอ่อน (Gland in Pancreas) ต่อมในตับอ่อน อาจ เรียกชื่อว่า ต่อมลางเกอร์ฮาน (lsles of Lahgerhan) ตามชื่อผู้ค้นพบ เป็น ต่อมที่ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์ ที่แทรกอยู่ในตับอ่อน มี 2 ชนิด คือ 1. บีต้า-เซลล์ (Beta-Cell) ผลิตฮอร์โมนชื่อ อินซูลิน (Insulin hormone) ทำาหน้าที่ควบคุมนำ้าตาลในกระแสเลือด โดยเร่งการ เปลี่ยนกลูโคส ให้เป็นไกลโคเจนเก็บสะสมไว้ที่ตับและกล้ามเนื้อ เร่งกานใช้ กลูโคสในร่างกาย 2. แอลฟา-เซลล์ (Alpha-Cell) อยู่รอบนอกของต่อมใน ตับอ่อน ผลิตฮอร์โมนชื่อ กลูคากอน (Glucagon) มีผลตรงข้ามกับฮอร์โมน อินซูลิน เช่น เร่งการสลายไกลโคเจนจากตับ และกล้ามเนื้อให้เป็นกลูโคส เข้าสู่กระแสเลือด เร่งการเปลี่ยนกรดอะมิโน และไขมันเป็นกลูโคส ต่อมไทรอยด์ (Thyroid Gland) ต่อมไทรอยด์ ตั้งอยู่ใกล้กล่องเสียง ผลิตฮอร์โมนที่สำาคัญ 2 ชนิด คือ 1. ไทรอกซิน หรือ เทตระไอโอโดไทโรนีน (Thyroxin หรือ Tetraiodothyronone = T) เป็นกรดอะมิโนที่มีไอโอดีนอยู่ด้วย มีผล ต่อการกระตุ้นเบซัล เมแทบอลิซึม เพิ่มการใช้ออกซิเจน การดูดซึมกลูโคส และการสร้างโปรตีน การขับฮอร์โมนไทรอกซินจะถูกควบคุมโดย TSH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า 2. แคลซิโทนิน (Calcitonin) ไม่มีไอโอดีนเป็นองค์ ประกอบ ทำาหน้าที่ลดระดับแคลเซียมในเลือด เพิ่มการขับแคลเซี่ยมทิ้ง ออกพร้อมนำ้าปัสสาวะ แคลเซียมบางส่วนจะไปสะสมที่กระดูกเพิ่มขึ้น ปกติ ฮอร์โมนนี้จะทำางานตรงข้ามกับฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์ ต่อมพาราไทรอยด์ (Parathroid Gland) ต่อมพาราไทรอยด์ เป็นต่อมเล็กๆ อยู่ตรงผิวด้านหลังของต่อม ไทรอยด์ ผลิตฮอร์โมน ชื่อ พาราทอร์โมน (Parathormone = PTH) ทำา
  • 5. 5 หน้าที่ร่วมกับแคลซิโทนิน โดยควบคุมแคลเซียมในร่างกายช่วยให้ แคลเซียมในทางเดินอาหารถูกดูดซึมมากขึ้น สลายแคลเซียมจากกระดูก เข้าสู่กระแสเลือด เป็นการเพิ่มระดับแคลเซียมในเลือด ดังนั้น พาราทอร์ โมน จึงทำาหน้าที่ตรงข้ามกับแคลซิโทนิน รังไข่และอัณฑะ (Ovaries and Testis) รังไข่และอัณฑะ โดยปกติจะมีบทบาทน้อยมากต่อการออก กำาลังกาย รังไข่และอัณฑะจะเรียกรวมกันว่า โกแนด (Gonads) ทำาหน้าที่ ผลิตฮอร์โมนเพศ ฮอร์โมนในเพศชาย เรียกว่า แอนโดรเจน และแอนโดร เจนที่สำาคัญที่สุดคือ เทสโทสเตอโรน ซึ่งผลิตจากเซลล์แทรก (Interstitial cell) ในอัณฑะ ทำาหน้าที่ควบคุมการเจริญของอัณฑะ พัฒนาความเป็น ชาย และควบคุมความต้องการทางเพศ ส่วนในหญิงรังไข่จะผลิตฮอร์โมน อีสโทรเจน ทำาหน้าที่พัฒารังไข่ การพัฒนาของไข่ ควบคุมความเป็นเพศ หญิง และความต้องการทางเพศ ในระยะที่มีการตกไข่ (Ovulation) รังไข่ และรกจะผลิตฮอร์โมนโพรเจสเตอโรน (Progesterone) โดยการควบคุม ของฮอร์โมน LH และ FSH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า โพรเจสเตอโรนทำา หน้าที่ควบคุมการเจริญเติบโตของผนังมดลูก การตกไข่ การมีประจำาเดือน และควบคุมการเจริญของต่อมนำ้านม ตาราง... สรุปฮอร์โมนจากระบบต่อมไร้ท่อและหน้าที่สำาคัญ ฮอร์โมน ต้นกำาเนิด ตัวกระตุ้น อวัยวะเป้า หมาย ผลของฮอร์โมน ออกซิโท ซิน ต่อมใต้สมอง ส่วนหลัง กระแส ประสาท ต่อมนำ้านม, มดลูก ผลิตนำ้านม,การหด ตัวของมดลูกตอน คลอด ADH หรือ วา โซเพรส ซิน ต่อมใต้สมอง ส่วนหลัง ปริมาณ เลือดที่ลด ลง,ความ ดันเลือดสูง ไต, ท่อใน กล้ามเนื้อ เรียบ กระตุ้นการดูดนำ้า กลับของท่อไต GH ต่อมใต้สมอง ส่วนหน้า กระแส ประสาท, ความเครีย ทุกเซลล์ พัฒนาการเจริญ เติบโต ปล่อยกรด ไขมันอิสระ
  • 6. 6 ด TSH ต่อมใต้สมอง ส่วนหน้า กระแส ประสาท,ไ ทรอกซิน ในเลือดตำ่า ต่อมไทรอยด์ ผลิตและลดฮอร์โมน จากต่อมไทรอยด์ ACTH ต่อมใต้สมอง ส่วนหน้า กระแส ประสาท,ค วามเครียด อะดรีนัล คอร์ เทกซ์ ผลิตและลดกลูโค คอร์ติคอยด์ ไทรอก ซิน(T3) ไตรไอ โอโดไท โร นีน(T4) ต่อมไทรอยด์ TSH ทุกเนื้อเยื่อ เพิ่มเบซัลเมแทบอลิ ซึม พัฒนาการเจริญ เติบโต การสลายไข มัน กลูโคติ คอย ด์(คอร์ติ โซล) อะดรีนัล คอร์ เทกซ์ ACTH, ความเครีย ด ตับ, ทุก เนื้อเยื่อ ควบคุมการสลาย กลูโคส, โปรตีน ไมเนอ ราโล คอร์ติ คอย ด์(อัลโด สเตอ โรน) อะดรีนัล คอร์ เทกซ์ การลดลง ของ Na+ ในเลือด ไต รักษาดุล Na+ LH ต่อมใต้สมอง ส่วนหน้า ฮอร์โมน เพศ อัณฑะ และ รังไข่ ผลิตฮอร์โมนเพศ, การพัฒนาไข่ LTH (Prolact in) ต่อมใต้สมอง ส่วนหน้า กระแส ประสาท, ฮอร์โมน เพศหญิง ต่อมนำ้านม ขับนำ้านมในระยะให้ นม FSH ต่อมใต้สมอง ส่วนหน้า กระแส ประสาท, อีสโทรเจน อัณฑะ และ รังไข่ สร้างอสุจิ, พัฒนาไข่
  • 7. 7 ลดลง อีสโทร เจน รังไข่, รก LH มดลูก, ต่อม นำ้ำนม พัฒนำมดลูก, กำร เติบโตทุติยภูมิ, สะสม Na+ Ca 2 + ฮอร์โมน ต้นกำำเนิด ตัวกระตุ้น อวัยวะเป้ำ หมำย ผลของฮอร์โมน โพรเจสเตอ โรน รังไข่, รก LH, FSH มดลูก, ต่อม นำ้ำนม พัฒนำมดลูก, ต่อม นำ้ำนม สร้ำงอสุจิ, ควบคุมกำรเติบโต ทุติยภูมิ แอนโดร เจน(เทส โทสเตอ โรน) อัณฑะ, อะ ดรีนัล คอร์ เทกซ์ LH ถุงเก็บอสุจิ, ต่อมลูกหมำก กระดูก กล้ำม เนื้อ พัฒนำมดลูก, ต่อม นำ้ำนม สร้ำงอสุจิ, ควบคุมกำรเติบโต ทุติยภูมิ พำรำทอร์ โมน พำรำ ไทรอยด์ ปริมำณ แคลเซียม ในเลือดลด ลง กระดูก, ไต เพิ่มปริมำณ แคลเซียมในเลือด แคลซิโท นิน ต่อมไทรอยด์ (C-cell) ระดับ แคลเซียม ในเลือดสูง ขึ้น กระดูก ลดระดับแคลเซียม ในเลือด อินซูลิน ตับอ่อน (Beta-cell) กลูโคสใน เลือดสูงขึ้น ทุกเนื้อเยื่อ ลดระดับกลูโคสใน เลือด กลูคำกอน ตับอ่อน (Alpha-cell) กลูโคสใน เลือดลด ลง,กรดอะ มิโนใน เลือดสูงขึ้น ตับเนื้อเยื่อ อื่นๆ เพิ่มระดับกลูโคส ในเลือด อีพิเนฟริน, นอร์อี พิเนฟริน อะดรีนัลเมดัล ลำ ปลำยประ สำทซิมพำเท กำรกระตุ้ นของซิม พำเทติก ทุกเนื้อเยื่อ เพิ่มกลูโคสในเลือด ตับ กล้ำมเนื้อสลำย ไกลโคเจน
  • 8. 8 ติก อีริโทพอยอิ ทิน(Erythr opoietin) ไต, เนื้อเยื่อ อื่นๆ Hypoxia ไขกระดูก ควบคุมกำรผลิต เม็ดเลือดแดง แบบฝึกหัด .... ระบบต่อมไร้ท่อ (ทำำลงสมุด 5 คะแนน) นักเรียน ที่ไม่ทำำ คิดถึงครูบ้ำงว่ำ ครูจะเอำคะแนนมำจำกไหน ตัดเกรดให้ เธอ 1. ต่อมไร้ท่อ สัมพันธ์กับระบบ .................... มำกที่สุด. 2. โครงสร้ำงส่วนใหญ่ของต่อมไร้ท่อ เป็นพวก ....................... 3. สำรเคมีที่ถูกผลิตจำกต่อมไร้ท่อ เรียกว่ำ ......................... 4. โครงสร้ำงของฮอร์โมนส่วนใหญ่ จะเป็นพวกโปรตีน และ ......................... 5. ฮอร์โมนหนึ่งๆ จะมีผลต่อเซลล์เป้ำหมำยเท่ำนั้น ลักษณะเช่นนี้เรียกว่ำ ................ 6. ฮอร์โมนที่สร้ำงจำกต่อมหมวกไต รังไข่แลอัณฑะ เป็นฮอร์โมนประเภท ................ 7. ต่อมไร้ท่อ เป็นต่อมอิสระไม่ถูกควบคุมโดยฮอร์โมนจำกต่อมใต้สมอง ได้แก่ ...................... 8. มำสเตอร์แกลนด์ หมำยถึง ...................... 9. ......................... เป็นฮอร์โมนที่ทำำหน้ำที่กระตุ้นกำรเจริญเติบโต ของร่ำงกำย. 10. .................. เป็นฮอร์โมนจำกต่อมใต้สมองส่วนหลัง ถูกสร้ำงเฉพำะ ในหญิงมีครรภ์ ช่วยให้มดลูก หดตัวตอนคลอด และช่วยในกำรหลั่งนำ้ำนมในระยะให้นม 11. บีตำเซลล์ในตับอ่อน ผลิตฮอร์โมนชื่อ ................... ทำำหน้ำที่ควบคุม ระดับนำ้ำตำลในเลือด 12. ฮอร์โมนจำกต่อมไทรอยด์ ซึ่งเป็นกรดอะมิโน ที่มีไอโอดีนอยู่ด้วย เรียกว่ำฮอร์โมน .......................
  • 9. 9 13. ฮอร์โมนจำกต่อมไทรอยด์ ที่ไม่มีไอโอดีนเป็นองค์ประกอบ ช่วยลด ระดับแคลเซียมในเลือด เรียก ฮอร์โมนนี้ว่ำ ....................... 14. ฮอร์โมนที่ควบคุมเมแทบอลิซึม ของแคลเซียม คือ ................ 15. แอนโดรเจนในเพศชำย ที่สำำคัญที่สุด คือ .................. 16. ฮอร์โมนที่ควบคุมกำรพัฒนำไข่ รังไข่ ควบคุมควำมเป็นเพศหญิง คือ ฮอร์โมน .................. 17. ในระยะที่มีกำรตกไข่ รังไข่และรกจะผลิตฮอร์โมน ชื่อ ........................ 18. ฮอร์โมน ............... ป้องกันกำรตกไข่ กำรมีประจำำเดือน และกำร เจริญของต่อมนำ้ำนม 19. กำรให้อินซูลิน วิธีที่นิยมทำำกัน คือ กำรฉีดอินซูลินเข้ำสู่ ............... 20. คอกพอก เกิดจำกต่อม ............... ทำำงำนมำกเกินไป.  เฉลย 1) ประสำท 2) เนื้อเยื่อบุผิว 3) ฮอร์โมน 4) สเตอรอยด์ 5) ควำมจำำเพำะของฮอร์โมน 6) สเตอรอยด์ฮอร์โมน 7) ต่อมพำรำไทรอยด์ 8) ต่อมใต้สมอง 9) โกรทฮอร์โมน 10) ออกซิโทซิน 11) อินซูลิน
  • 10. 10 12) ไทรอกซิน 13) แคลซิโทนิน 14) พาราทอร์โมน 15) เทสโทสเตอโรน 16) อีสโทรเจน 17) โพรเจสเตอโรน 18) โพรเจสเตอโรน 19) กล้ามเนื้อ 20) ไทรอยด์  JARUPUN 