SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
วิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 24120
อาจารย์ผู้สอน อ.ดร.อนุชา โสมาบุตร
วิชาเคมี
ครูผู้สอน ครู สุวิชา ชาพิทักษ์
ระดับชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 4/3
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น
(ศึกษาศาสตร์)
จานวนนักเรียน 33 คน
4
วิธีการเรียนการสอน
ชี้แจงเนื้อหาที่จะเรียน
ต่อไป/มอบหมายงาน
เปิดวิดีโอการเรียนรู้
ทบทวนเนื้อหาเดิม/
สอนเนื้อหาใหม่
ลาดับ
1
3
2
นักเรียนฟังและมีการ
ตอบรับ
ฟัง/ดูประกอบกับ
หนังสือ
นักเรียนฟัง/จดบันทึก
ดูเนื้อหาตามครู
และเมื่อมีข้อสงสัยก็ถาม
ไม่มี
VDO,PPT,Projector,
Computer
ไม่มี
บทบาทครู บทบาทนักเรียน การใช้สื่อ ICT
ตั้งคาถามก่อนเรียน
Internet,
smart phone
ค้นหาคาตอบ/ตอบ
คาถาม
1. ครูมีขั้นตอน วิธีการจัดการเรียนการสอนอย่างไร
- ครูมีบทบาทอย่างไร
จากการสังเกตวิธีการสอนและบทบาทของครูพบว่า
ครูให้ความใส่ใจกับนักเรียนทุกคน ครูเป็นมิตรมีความเป็นกันเอง ทาให้นักเรียน
กล้าพูดกล้าแสดงออกมากขึ้น เมื่อมีข้อสงสัยในเนื้อหานักเรียนก็สามารถถามในสิ่งที่
สงสัยได้ทันที
- ครูเกร็งในบางครั้ง
- ครูคุมห้องเรียนไม่อยู่ เพราะนักเรียนส่วนใหญ่ไม่ตั้งใจเรียนและฟังเวลา
ที่ครูสอน
- นักเรียน มีบทบาทอย่างไร
จากการสังเกตบทบาทในการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ศึกษาศาสตร์) รายวิชาเคมี พบว่า
บทบาทของนักเรียนมีการแสดงออกที่แตกต่างกัน และสามารถแบ่งช่วงเวลา
ของพฤติกรรมได้ 2 แบบ คือ ขณะฟังครูบรรยายสอน และขณะที่ครูเปิด VDO
การเรียนรู้ให้ดู
1. ขณะฟังครูบรรยาย สอน
2. ขณะที่ครูเปิด VDO การเรียนรู้
1. ขณะฟังครูบรรยาย สอน
ในช่วงแรกนักเรียนตั้งใจฟังที่ครูสอน เมื่อเวลาผ่านไปได้ไม่นาน มีนักเรียน
เริ่มไม่ฟังครูสอน คือ
- นักเรียนบางคนมีการนาการบ้านวิชาอื่นขึ้นมาทาขณะครูสอน
- นักเรียนบางคนมีการเล่นโทรศัพท์ เล่นเกม Facebook Twitter
เล่น Internet
- นักเรียนบางคนนอนหลับในห้องเรียน
แต่ก็มีนักเรียนบางส่วนที่ตั้งใจฟังครูเวลาครูสอนมีส่วนร่วมในเวลาเรียน เมื่อครู
ถามคาถามยังมีนักเรียนร่วมตอบคาถามด้วย และเมื่อนักเรียนมีข้อสงสัย
นักเรียนก็จะยกมือขึ้นถามครู
- นักเรียน มีบทบาทอย่างไร
2. ขณะที่ครูเปิด VDO การเรียนรู้
เมื่อครูเปิด VDO การเรียนรู้ให้นักเรียนดูประกอบกับการเรียนและใน
หนังสือ เห็นได้ชัดเจนว่านักเรียนส่วนใหญ่ไม่สนใจ VDO ที่ครูเปิดให้ดู จะมี
ส่วนน้อยมาก ประมาณ 2-3 คนที่ตั้งใจฟัง VDO เพราะคนส่วนมากจะหันหน้า
พูดคุยกันซึ่งเรื่องที่พูดคุยกันไม่เกี่ยวกับเรื่องเรียน นาการบ้านวิชาอื่นขึ้นมาทา
เล่นโทรศัพท์ นอนหลับ แต่เมื่อครูหยุด VDO และอธิบายรายละเอียด นักเรียน
จะหยุดทาสิ่งที่ทาอยู่ ณ ขณะนั้นและฟังครูอธิบาย แต่ฟังได้เพียงเล็กน้อย
เท่านั้นนักเรียนก็กลับไปทาเหมือนเดิม
- นักเรียน มีบทบาทอย่างไร
- มีสื่อ อุปกรณ์หรือการใช้ ICT อย่างไรบ้าง
อุปกรณ์ ICT โปรเจคเตอร์
คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค
ซอฟแวร์ วิดีโอสื่อการสอน
Microsoft office Power point
2. สัมภาษณ์อาจารย์ว่าอาจารย์ออกแบบการเรียนการสอนอย่างไร
(ทาไมจึงสอนแบบนี้)
1. ครูมีการออกแบบการสอนในห้องเรียนอย่างไร
-ออกแบบการสอนโดยการนาสื่อ PowerPoint มาใช้ในการนาเสนอ
ประกอบการบรรยาย มีวีดีโอจาก YouTube โดยทั่วไปจะเลือกวีดีโอที่มีความ
น่าเชื่อถือ เช่น วีดีโอของกระทรวงวิทยาศาสตร์ ซึ่งถือว่ามีความน่าเชื่อถือมาก
2. ครูมีเทคนิคในการสอนอย่างไร
-ปกติจะมีการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นกิจกรรมกลุ่ม การทางาน
เป็นกลุ่ม เป็นการเรียนแบบ Structure ให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยตัวเอง แต่ถ้าเป็น
ชั่วโมงเรียนที่เป็นการบรรยาย เรียนทฤษฎี จะให้เด็กนักเรียนเรียนตามสบาย
ฟังครูสอน และจดบันทึกตาม ไม่มีกิจกรรมกลุ่มอย่างเช่นชั่วโมงนี้ที่มาสังเกต
การสอน
3. ครูมีวิธีการจัดกับปัญหาในชั้นเรียนอย่างไร
- ครูจะให้นักเรียนยกมือขึ้นถามได้ทันทีที่มีข้อสงสัยหรือคาถามที่
ต้องการถามได้ตลอดเวลา และเมื่อครูสอนจบแต่ละเรื่องจะทบทวนนักเรียน
โดยการถามคาถามเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน และถามต่อว่าเข้าใจหรือไม่ มีข้อ
สงสัยอะไรเพื่อตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนและเพื่อไม่ให้นักเรียนลืม
เรื่องที่เรียนมา นอกจากนั้นก็จะให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดท้ายบท ครูก็จะเดิน
ดูรอบๆ คอยถามนักเรียนว่าทาได้หรือไม่ และปัญหาที่อีกอย่างคือนักเรียน
ผู้ชายไปเข้าค่ายนักศึกษาวิชาทหาร ทาให้ไม่ได้เรียน ครูจึงนัดสอนเพิ่มเพื่อ
สอนและทบทวนเนื้อหาเดิมให้นักเรียน
4.นักเรียนเข้าใจหรือไม่
- นักเรียนโรงเรียนนี้เป็นเด็กอารมณ์ดี และเรียนรู้เร็วมาก ถ้าสอนเนื้อหาที่
ง่ายเกินไปนักเรียนก็จะไม่ฟังและบอกว่าเรียนพิเศษผ่านมาแล้ว ดังนั้นครูจึงสอนสิ่ง
ที่ยากกว่าในหนังสือ แต่ถ้าครูสอนตามหนังสือนักเรียนก็จะเริ่มไม่ฟังเพราะเด็กที่นี่
ติดสื่อITมาก ถ้าเด็กไม่ฟังก็จะเล่นโทรศัพท์ เสียงสะท้อนส่วนใหญ่ก็บอกว่านักเรียน
ที่นี่ไม่ค่อยอยากเรียนและไม่สนใจ เนื่องจากนักเรียนเรียนพิเศษผ่านมาแล้ว เราจึง
ต้องเตรียมตัวและเขียนแผนการสอนมาเป็นอย่างดี
5. อาจารย์มีวิธีการเลือกสื่อ ICT อย่างไร
- ครูจะเลือกสื่อที่มีความน่าเชื่อถือ และก็จะเปิดดูเนื้อหาของวิดีโอก่อนว่า
มีรูปแบบเนื้อหาอย่างไร ตรงกับเรื่องที่จะสอนหรือไม่ แล้วมีความเชื่อถือมากน้อย
เพียงใด และส่วนใหญ่ครูจะเลือกสื่อของกระทรวงวิทยาศาสตร์
3. ลองวิเคราะห์ว่า อาจารย์จัดการเรียนรู้ตามแนวคิด/
ทฤษฎีใด / สภาพที่เกิด หรือหลักฐานเชิงประจักษ์ที่ชี้ชัดคือ
อะไร
ทฤษฎีการเรียนรู้คอนสตรัคติวิสต์ (constructivism)
เชื่อว่า การเรียนรู้ เป็นกระบวนการสร้างมากกว่า การรับความรู้
ดังนั้น เป้าหมายของการจัดการเรียนการสอนจะสนับสนุนการสร้างมากกว่า
ความพยายามในการถ่ายทอดความรู้ ดังนั้น กลุ่มแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
จะมุ่งเน้นการสร้างความรู้ใหม่อย่างเหมาะสมของแต่ละบุคคล และเชื่อว่า
สิ่งแวดล้อมมีความสาคัญในการสร้างความหมายตามความเป็นจริง
แนวคิดพื้นฐานของทฤษฎี คอนสตรัคติวิสต์ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1. Cognitive Constructivism มีพื้นฐานมาจากแนวคิดของ Piaget
แนวคิดของทฤษฎีนี้ เน้นผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้ โดยเป็นผู้สร้างความรู้ โดยการ
ลงมือกระทา
2. Social Constructivism เป็นทฤษฎีที่มีรากฐานมาจาก Lev
Vygotsky ซึ่งมีแนวคิดที่สาคัญที่ว่า ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม มีบทบาทสาคัญในการ
พัฒนาด้านพุทธิปัญญา
การเรียนรู้แบบ 5E (Inquiry Cycle)
เป็นการเรียนรู้ที่ยึดการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎี Constructivism โดย
ใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ประกอบด้วย
1.ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement)
2.ขั้นสารวจและค้นหา (Exploration)
3.ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป ( Explanation)
4.ขั้นขยายความรู้ ( Elaboration)
5.ขั้นประเมิน ( Evaluation)
ความสัมพันธ์ของทฤษฎีกับวิธีการสอนของครู
1.ขั้นสร้างความสนใจ ครูจะเกริ่นเนื้อหาก่อนเรียนโดยจะนา
เนื้อหาไปเชื่อมโยงกับชีวิตประจาวันและนาเนื้อหาในวิชาเคมีมาถาม
เกี่ยวกับสสารในชีวิตประจาวัน
2.ขั้นสารวจและค้นหา เมื่อครูตั้งคาถามนักเรียนก็เริ่มค้นหา
ข้อมูลและตอบคาถาม
3.ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป นักเรียนจะร่วมกันหาคาตอบ
ปรึกษาหารือกันและร่วมกันตอบคาถาม
4.ขั้นขยายความรู้ ครูจึงเริ่มสอนพร้อมกับเฉลยคาถามที่ถาม
ก่อนเรียน
5.ขั้นประเมิน ครูจะถามคาถามเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน และให้
นักเรียนทาแบบฝึกหัด และพอสอนเนื้อหาจบในแต่ละบทจะมีการสอบเก็บ
คะแนนในแต่ละบท
นาย ธีรวัฒน์ สารมะโน.(2550). ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์.
สืบค้นข้อมูลเมื่อวันที่ 9 กันยายน 2558 จาก
https://www.gotoknow.org/posts/109256
ดร.อนุชา โสมาบุตร.(2556). ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ . สืบค้นข้อมูลเมื่อวันที่
10 กันยายน 2558 จาก
https://teacherweekly.wordpress.com/2013/09/25/
constructivist-theory/
นางนัทธมน คาครุฑ.(2553). กิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5E. สืบค้นข้อมูลเมื่อวันที่
5 กันยายน 2558 จากhttp://www.sahavicha.com/?name=
media&file=readmedia&id=2109
สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาวกาญจนา จันทะสุระ 573050198-6
2. นางสาวพรวิภา อ่อนละมูล 573050666-9
3. นายไมตรี สุ่มมาตร 573050669-3
4. นางสาวอัณชญา พวงแสง 573050673-2
สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
ชั้นปีที่ 2

More Related Content

What's hot

เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้าน
aapiaa
 
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูลหน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
ให้รัก นำทาง
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
Yanee Chaiwongsa
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
Pochchara Tiamwong
 
4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย
krupornpana55
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
savokclash
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
Tanyarad Chansawang
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
poms0077
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
kittitach06709
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
Krupol Phato
 
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
Wijitta DevilTeacher
 

What's hot (20)

เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้าน
 
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูลหน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
 
Cippa model
Cippa modelCippa model
Cippa model
 
ศึกษารายการณี
ศึกษารายการณีศึกษารายการณี
ศึกษารายการณี
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
 
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการพฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
 
สังเกตการสอน
สังเกตการสอนสังเกตการสอน
สังเกตการสอน
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
 

Similar to สังเกตการสอน

สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
Noom Theerayut
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
jittraphorn
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
mina612
 
613050502-4 เสฏฐวุฒิ พูลหน่าย รายงานทางวิชาการ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้...
613050502-4 เสฏฐวุฒิ พูลหน่าย รายงานทางวิชาการ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้...613050502-4 เสฏฐวุฒิ พูลหน่าย รายงานทางวิชาการ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้...
613050502-4 เสฏฐวุฒิ พูลหน่าย รายงานทางวิชาการ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้...
SETTAWUTPOOLNAI
 

Similar to สังเกตการสอน (20)

การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
 
สำรวจการใช้ ICT ในการเรียนรู้
สำรวจการใช้ ICT ในการเรียนรู้สำรวจการใช้ ICT ในการเรียนรู้
สำรวจการใช้ ICT ในการเรียนรู้
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
 
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
Plan e book
Plan e bookPlan e book
Plan e book
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5
 
613050502-4 เสฏฐวุฒิ พูลหน่าย รายงานทางวิชาการ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้...
613050502-4 เสฏฐวุฒิ พูลหน่าย รายงานทางวิชาการ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้...613050502-4 เสฏฐวุฒิ พูลหน่าย รายงานทางวิชาการ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้...
613050502-4 เสฏฐวุฒิ พูลหน่าย รายงานทางวิชาการ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้...
 
Charpter 3
Charpter 3Charpter 3
Charpter 3
 
ใบงาน2 8
ใบงาน2 8ใบงาน2 8
ใบงาน2 8
 
Titiya-Act-Power1
Titiya-Act-Power1Titiya-Act-Power1
Titiya-Act-Power1
 
Titiya_Act-Power1
Titiya_Act-Power1Titiya_Act-Power1
Titiya_Act-Power1
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
บทบาทและแนวโน้มของ ICT ในการเรียนการสอน
บทบาทและแนวโน้มของ ICT ในการเรียนการสอนบทบาทและแนวโน้มของ ICT ในการเรียนการสอน
บทบาทและแนวโน้มของ ICT ในการเรียนการสอน
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
 
งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)
งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)
งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)
 
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียงคู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
 

สังเกตการสอน