SlideShare a Scribd company logo
1 of 78
Download to read offline
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 1
1 อะตอมและตารางธาตุ
1.1 แบบจําลองอะตอม
แบบจําลอง นักวิทยาศาสตร ทฤษฎี
ดาลตัน (John Dalton)
อะตอมเปนทรงกลม แบงแยกไมได
ทอมสัน
(Joseph J. Thomson)
- มีอนุภาคที่มีประจุบวก เรียกวา
โปรตอน
- มีอนุภาคที่มีประจุลบ เรียกวา
อิเล็กตรอน
- จํานวนโปรตอน = จํานวน
อิเล็กตรอน
- e/m = -1.76 x 108
C/g = คาคงที่
รัทเธอรฟอรด
(Ernest Rutherford)
- อะตอมมีลักษณะโปรง
- ประกอบดวยโปรตอนรวมกันอยูตรง
กลางนิวเคลียส ซึ่งมีขนาดเล็กแตมีมวล
มาก
- สวนอิเล็กตรอน มีมวลนอยมาก จะวิ่ง
อยูรอบๆ นิวเคลียส
นีล บอร (Niels Bohr)
อะตอมเปนทรงกลม ประกอบดวย
โปรตอนและนิวตรอน รวมกันเปน
นิวเคลียสอยูตรงกลาง
มีอิเล็กตรอนวิ่งเปนโคจรหรือระดับ
พลังงานรอบๆ นิวเคลียส
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 2
1.2 สเปกตรัมของแสงจากอะตอม
นักวิทยาศาสตร การคนพบ
ไอแซค นิวตัน
ทดลองแยกแสงขาวโดยใชปริซึม
กุสตาฟ คีรัชฮอฟฟ
ชาวเยอรมัน
“สเปกโตสโคป”
ใชแยกสเปกตรัม
ของแสงขาวและ
ใชตรวจเสน
สเปกตรัมของธาตุที่ถูกเผา
โรแบรต บุนเซน
เผาสารจนรอนแดง แลวใชสเปกโตสโคป
ตรวจสอบเสนสเปกตรัมของแรตางๆ
และระบุธาตุ องคประกอบของแรที่
นํามาศึกษา พบวา มีเสนสเปกตรัม
เกิดขึ้นเมื่อเผาสาร อธิบายไดดังนี้
โดยปกติอิเล็กตรอนในอะตอม
จะอยูในระดับพลังงานต่ําสุดที่ภาวะ
พื้นฐาน (ground state) เมื่ออะตอม
ไดรับพลังงาน (ภายนอก) เพิ่ม
อิเล็กตรอนในอะตอมจะไปอยูในระดับ
พลังงานที่สูงกวา เรียกวา สภาวะกระตุน
(excited state) ที่สภาวะกระตุนนี้
อะตอมจะไมเสถียร จึงมีการปรับตัวโดย
อิเล็กตรอนจะวิ่งสูสภาวะที่มีพลังงานต่ํา
โดยอิเล็กตรอนจะคายพลังงานสวนเกิน
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 3
ออกมา ในรูปแบบพลังงานรังสี ปรากฏ
เปน สเปกตรัม
ส เ ป ก ต รั ม คื อ ค ลื่ น
แมเหล็กไฟฟาที่มีความยาวคลื่นและ
ความถี่ ซึ่งเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลง
ระดับพลังงานของอิเล็กตรอน
1.3 การจัดอิเล็กตรอนในอะตอม
อิเล็กตรอนอยูใน “ออรบิทัล (orbital)” ซึ่งชนิดของ orbital ตางๆ มีดังนี้
s-orbital
(มี 1 ออรบิทัล)
p-orbital
(มี 3 ออรบิทัล)
d-orbital
(มี 5 ออรบิทัล)
f-orbital
(มี 7 ออรบิทัล)
*** ในแตละออรบิทัลบรรจุอิเล็กตรอนได 2 ตัว
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 4
การจัดเรียงอิเล็กตรอน (electron configuration) จะเปนไปตามลําดับดังนี้
ชั้นที่ (n) ออรบิทัลที่มีในแต
ละชั้น
1 1s
2 2s 2p
3 3s 3p 3d
4 4s 4p 4d 4f
5 5s 5p 5d 5f
6 6s 6p 6d 6f
7 7s 7p 7d 7f
เมื่อออรบิทัลทุกชนิดอยูรวมกันในอะตอม
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 5
อิเล็กตรอนคอนฟกุเรชันของธาตุ จึงเขียนเปน
1s , 2s , 2p , 3s , 3p , 4s , 3d, 4p, 5s , 4d , 5p , 6s , 4f , 5d , 6p , 7s
10Ne มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเปน = 1s2
, 2s2
, 2p6
(2 . 8 )
9F มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเปน
8O มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเปน
7N มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเปน
6C มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเปน
5B มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเปน
4Be มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเปน
3Li มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเปน
= 1s2
, 2s2
, 2p5
(2 . 7 )
= 1s2
, 2s2
, 2p4
(2 . 6 )
= 1s2
, 2s2
, 2p3
(2 . 5 )
= 1s2
, 2s2
, 2p2
(2 . 4 )
= 1s2
, 2s2
, 2p1
(2 . 3 )
= 1s2
, 2s2
(2 . 2 )
= 1s2
, 2s1
(2 . 1 )
1.4 แบบจําลองอะตอมแบบกลุมหมอก
ชโรดิงเจอร (Erwin Schrödinger)
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 6
A
1.5 ตารางธาตุและสมบัติบางประการของธาตุตามหมูและตามคาบ
ตารางธาตุ
ลักษณะสําคัญของตารางธาตุ
เรียงธาตุ ตามเลขอะตอม จากนอยไปมาก
เรียงธาตุ จากซายไปขวา เรียกวา คาบ (Period) มี 7 คาบ
เรียงธาตุ จากบนลงลาง เรียกวา หมู (group, column, series) มี 8 หมู
หมูที่สําคัญคือ
หมู I เปนโลหะ เรียกวา alkali
หมู II เปนโลหะ เรียกวา alkaline earth
หมู VII เปนอโลหะ เรียกวา halogen
หมู VIII เปนอโลหะ(ที่ๆไมวองไวในการเกิดปฏิกิริยาเคมี) เรียกวา inert gas,
rare noble gas
ธาตุ เปนอะตอม มีสัญลักษณเขียน X แทนทุกธาตุและสัญลักษณ นิวเคลียรเขียน ZX
อาน Z X A
H
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 7
11 12 12 13
11 12 12 13
12 12
Z แทน เลขอะตอม atomic number = proton = electron
X แทน สัญลักษณ symbol
A แทน เลขมวล atomic mass = proton + neutron
ธาตุหรืออะตอมของธาตุในตารางธาตุจะมี
IsotoPeหมายถึงธาตุที่มีเลขอะตอมหรือprotonหรือเปนธาตุชนิดเดียวกันแตมีneutronตางกันไดแก
5B = 5B และ 6C = 2C
IsotoNe หมายถึง ธาตุที่มี neutron เทากันแตมีเลขอะตอมตางกัน เชน
5B = 6C และ 5B = 6C
IsobAr หมายถึงธาตุที่มีเลขมวล เทากัน เชน
5B = 6C
IsoElectron หมายถึงอนุภาค(อะตอม , ion, โมเลกุล) ที่มีจํานวนอิเล็กตรอนเทากัน จะได
วาอิเล็กตรอนของ ion บวกของธาตุหมูตางๆ = ionลบของธาตุหมูตางๆ =กาซเฉื่อย
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 8
เลขอะตอมของธาตุหมู VIII สัมพันธกับ e/n และธาตุ/คาบ ดังนี้
ชั้น,คาบที่
(n)
e/n = 2n2
ธาตุ/
คาบ
เลขอะตอมของธาตุหมู
VIII
ธาตุ เรียง e/ คาบ
1 2 2 2 He 2
2 8 8 10 Ne 2, 8
3 18 8 18 Ar 2, 8, 8
4 32 18 36 Kr 2, 8, 18, 8
5 18 54 Xe 2, 8, 18, 18, 8
≤ 8 32 86 Rn 2, 8, 18, 32, 18,
พิจารณาจาก
1. การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงาน (n) = 2n2
จะไดจํานวนอิเล็กตรอนในระดับพลังงาน = 2, 8, 18, 32 …. ≤ 8
2. จํานวนธาตุในคาบจะสัมพันธกับจํานวน e/n = 2, 8, 18, 18, 32, …..
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 9
ตารางแสดงคุณสมบัติบางประการของธาตุ หมู VIII
สัญลักษณ เลข
อะตอม
การจัดเรียง
อิเล็กตรอน
รัศมี
อะตอม
IE1
(kJ/mol)
m.p.
(°C)
b.p.
(°C)
He 2 2 93 2,397 -270 -269
Ne 10 2, 8 112 2,087 -249 -246
Ar 18 2, 8, 8 154 1,527 -189 -186
Kr 36 2, 8, 18, 8 169 1,357 -157 -152
Xe 54 2, 8, 18, 18, 8 190 1,177 -112 -108
Rn 86 2, 8, 18, 32, 18, 8 220 1,043 -71 -62
ตารางแสดงสมบัติบางประการของธาตุหมู 1
ธาตุ เลข
อะตอม
การจัดเรียง
อิเล็กตรอน
รัศมี
อะตอม*
IE1
(kJ/mol)
m.p.
(°C)
b.p.
(°C)
E° (V)
M+
+ë
Li 3 2, 1 152 526 180 0.53 -3.05
Na 11 2, 8, 1 186 502 98 0.97 -2.71
K 19 2, 8, 8, 1 227 425 64 0.86 -2.92
Rb 37 2, 8, 18, 8, 1 248 409 39 1.53 -2.92
Cs 55 2, 8, 18, 18, 8, 1 265 382 28 1.89 -2.92
*รัศมีอะตอมในโลหะเทากับครึ่งหนึ่งของของระยะยาวระหวางนิวเคลียสของอะตอมที่อยูถัดกันในผลึกของโลหะ
สมบัติบางประการของธาตุในคาบที่ 2
หมู/ธาตุ
สมบัติของธาตุ
I
Li
II
Be
III
B
IV
C
V
N
VI
O
VII
F
VIII
Ne
เลขอะตอม
การจัดอิเล็กตรอน
IE1 (kJ/mol)
อิเล็กโทรเนกาติวิตี
รัศมีอะตอม (pm)
จุดหลอมเหลว (°C)
ชนิดของธาตุ
3
2, 1
526
1.0
123*
180
โลหะ
4
2, 2
906
1.5
89*
1280
โลหะ
5
2, 3
807
2.0
80*
2,030
กึ่งโลหะ
6
2, 4
1,093
2.5
77*
3,500
อโลหะ
7
2, 5
1,407
3.0
74*
-210
อโลหะ
8
2, 6
1,320
3.5
74*
-218
อโลหะ
9
2, 7
1,687
4.0
72*
-220
อโลหะ
10
2, 8
2,087
160**
-249
อโลหะ
* รัศมีโคเวเลนต ** รัศมีวันเดอรวาลส
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 10
สมบัติบางประการของธาตุในคาบที่ 3
หมู/
ธาตุ
สมบัติของธาตุ
I
Na
II
Mg
III
Al
IV
Si
V
P
VI
S
VII
Cl
VIII
Ar
เลขอะตอม
การจัดอิเล็กตรอน
IE1 (kJ/mol)
อิเล็กโทรเนกาติวิตี
รัศมีอะตอม (pm)
จุดหลอมเหลว (°C)
ชนิดของธาตุ
11
2, 8, 1
502
0.9
157*
98
โลหะ
12
2, 8, 2
744
1.2
136*
649
โลหะ
13
2, 8, 3
548
1.5
125*
660
โลหะ
14
2, 8, 4
793
1.8
117*
1,410
กึ่งโลหะ
15
2, 8, 5
1,018
2.1
110*
44
อโลหะ
16
2, 8, 6
1,006
2.5
104*
113
อโลหะ
17
2, 8, 7
1,257
3.0
99*
-101
อโลหะ
18
2, 8, 8
1,527
-
192**
-189
อโลหะ
* รัศมีโคเวเลนต ** รัศมีวันเดอรวาลส
*** หมายเหตุ โลหะ ให e ไป ขนาดจะเล็กลง เกิดไอออนบวก
เกิดพันธะไอออนิก
อโลหะ รับ e มา ขนาดใหญขึ้น เกิดไอออนลบ
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 11
ความสัมพันธระหวางขนาดอะตอมกับคา EN : -อะตอมขนาดใหญ คา EN ต่ํา
สมบัติของสารประกอบ O2-
, Cl-
, H-
ของธาตุบางชนิด
ออกไซด (oxide)
สูตร
Na2O
Na2O2
MgO Al2O3 SiO2
P4O6
P4O10
SO2
SO3
Cl2O
สถานะที่ 20°C ของแข็ง ของแข็ง ของแข็ง ของแข็ง ของแข็ง กาซ
ของเหลว
กาซ
ชนิดของพันธะ อิออนิก อิออนิก อิออนิก โคเวเลนต โคเวเลนต โคเวเลนต โคเวเลนต
ความเปนกรด/เบส เบส เบส แอมโฟเทอริก กรด กรด กรด กรด
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 12
คลอไรด (chloride)
สูตร NaCl MgCl AlCl3 SiCl4
PCl3
PCl5
S2Cl2
สถานะที่ 20°C ของแข็ง ของแข็ง ของแข็ง ของเหลว ของเหลว
ของแข็ง
ของเหลว
ชนิดของพันธะ อิออนิก อิออนิก โคเวเลนต โคเวเลนต โคเวเลนต
อิออนิก
โคเวเลนต
เมื่อสัมผัสกับอากาศชื้น - - ควัน ควัน ควัน ควัน
ไฮไดรด (hydride)
สูตร NaH MgH2 (AlH3)n SiH4 PH3 H2S HCl
สถานะที่ 20°C ของแข็ง ของแข็ง ของแข็ง กาซ กาซ กาซ กาซ
ชนิดของพันธะ อิออนิก อิออนิก โคเวเลนต โคเวเลนต โคเวเลนต โคเวเลนต โคเวเลนต
ตัวอยางขอสอบ
ธาตุ K , L , และ M มีเลขอะตอม 10 , 14 , และ 20 ตามลําดับ ธาตุทั้งสามจะอยูในหมูและคาบ
ใดตามลําดับ ดังนี้
หมู คาบ หมู คาบ
1.) 2 , 4 , 8 และ 2 , 3 , 4 2.) 4 , 8 , 2 และ 3 , 2 , 4
3.) 4 , 2 , 8 และ 4 , 3 , 8 4.) 8 , 4 , 2 และ 2 , 3 , 4
หลัก พิจารณาจากเลขอะตอมของหมู VIII
2He 10Ne 18Ar 36Kr………..
10K อยูในหมู VIII
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 13
โจทยถาม1. การจัดเรียงธาตุ ตามคาบ/ตามหมู ใหตามหา
ก. ธาตุหมู VIIIเพราะเปนธาตุไมวองไวในการเกิดปฏิกิริยาเคมีไดแกธาตุ 2He 10Ne 18Ar 36Kr 54Xe8 6Rn
ข. ตามหาธาตุหมู VII (F) ∴มีคา EN (Electronegativity) สูงสุด
3Li Be B C N O F 10Ne
EN 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0 3.5 4.0 -
11Na Mg Al Si P S Cl 18Ar
EN 0.9 1.2 1.5 1.8 2.1 2.5 2.8 -
ค. ตามหาธาตุหมู I เพราะวา ***ในทุก ๆ คาบ ขนาดหมู I ใหญสุด***
โลหะ คาบ 2 3Li Be B
ขนาด(pm) 152 111 88
Li+
Be2+
B3+
60 31 20
คาบ 3 11Na Mg Al
ขนาด (pm) 186 160 143
Na+
Mg2+
Al3+
95 65 50
ธาตุในคาบ 2 6C 7N 8O 9F
ขนาด (Å) 0.77 0.70 0.66 0.64
ไอออนของธาตุในคาบ 2 N3-
O2-
F-
ขนาด (Å) 1.71 1.40 1.36
อโลหะ
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 14
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 15
ง. ตามหาคา IONISATION ENERGY; IE
- คาพลังงานไอออไนเซชัน IE อิเล็กโตรเนกาติวีตี EN และความเปนอโลหะของธาตุ จะเพิ่มตามคาบ
และจะลดลงตามหมู
18Ar + IE1 18Ar+
+ e1
2 . 8 . 8 2 . 8 . 7
19K + IE1 19K+
+ e1 19K+
+ IE2 19K2+
+ e2
2 . 8 . 8 .1 2 .8 . 8 2 .8 . 8 2 .8 . 7
20Ca + IE1 20Ca+
+ e1
2 . 8 . 8 . 2 2 . 8 . 8 . 1
20Ca+
+ IE2 20Ca2+
+ e2 20Ca2+
+ IE3 20Ca3+
+ e3
2 . 8 . 8 . 1 2 . 8 . 8 2 . 8 . 8 2 . 8 . 7
IE ของธาตุตามคาบเพิ่ม ตามหมูลด คา IE ของธาตุต่ําสุดตามเลขหมู
5B เรียง e = 2, 3
IE1 < IE2 < IE3 << IE4 < IE5
800 2,500 3,600 25,000 32,000
ขอมูลตอไปนี้ ใชประกอบการตอบคําถามขอ 1-5
สมบัติ
ธาตุ
จุดหลอมเหลว
o
C
จุดเดือด
o
C
ความหนาแนน
g/cm3
จุดหลอมเหลวคลอไรดของธาตุ
o
C
A
B
C
D
E
F
660
1280
113
114
1540
44
2450
2480
445
183
3000
280
2.70
1.85
1.96
4.94
7.86
1.82
193
405
-80
27
670
-91
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 16
1. ธาตุที่นาจะเปนโลหะ คือกลุมของธาตุในขอใด
1. A, B, E 2. A, C, D 3. A, D, E 4. C, D, F
2. กลุมธาตุที่นาจะนําไฟฟาได
1. E, F 2. A, F 3. A, D 4. B, C
3. ออกไซดของธาตุกลุมใดที่ละลายน้ําแลวใหสารละลายที่เปนกรด
1. A, B 2. B, C 3. C, F 4. D, E
4. ธาตุกลุมใด มีคาพลังงานไอออไนเซชันต่ําสุด
1. A, B 2. A, C 3. A, D 4. D, F
5. ธาตุกลุมใดมีแรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุลสูงที่สุด
1. B, C 2. C, D 3. A, E 4. E, F
6. พลังงานไอออไนเซชัน 6 ลําดับ มีคาเทากับ 1.093, 2.359, 4.627, 5.229, 37.838, 47.285 เมกาจูล
ตอโมลผลตางของพลังงานไอออไนเซชันระหวางระดับพลังงานที่ 1กับระดับพลังงานที่ 2เปนกี่เมกาจูลตอ
โมล
1. 1.266 2. 9.447 3. 31.609 4. 46.192
7. สัญลักษณของธาตุ A ที่มีจํานวนอิเล็กตรอน = 91 จํานวนนิวตรอนเทากับ 140 คือขอใด
1. Pa91
140 2. Pa140
91 3. Pa231
91 4. Pa91
231
ตารางนี้ใชประกอบการตอบคําถามขอ 8-9
ธาตุ
เลขอะตอม
A
10
B
16
C
18
D
24
E
32
8. ธาตุที่อยูหมูเดียวกัน คือ
1. A กับ C 2. B กับ E 3. A กับ B 4. B กับ D
9. ธาตุที่เปนโลหะทรานซิชัน คือ
1. A 2. B 3. C 4. D
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 17
10. ตารางธาตุตอไปนี้ ใชประกอบในการตอบคําถามขอ 10-13
I II III IV V VI VII VIII
A B D F
C E
1. B มีเวเลนตอิเล็กตรอนนอยกวา C 2. B มีคาอิเล็กโตรเนกาติวิตีมากกวา C
3. B มีขนาดของอะตอมใหญกวา A 4. B มีจุดหลอมเหลวต่ํากวา C
11. เมื่อธาตุ C ทําปฏิกิริยากับธาตุ E สารประกอบที่ไดควรมีสูตรอยางไร
1. C2E 2. CE 3. CE2 4. C2E3
12. สารใดมีสมบัติเปนสารประกอบอิออนิกมากที่สุด
1. AB 2. AC . AD 4. AE
13. สมบัติที่ถูกตองของธาตุ A และ D คือขอใด
1. A มีจํานวนเวเลนตอิเล็กตรอนมากกวา D 2. A มีสมบัติเปนโลหะนอยกวา D
3. พลังงานไอออไนเซชันของ D มากกวา A 4. คาอิเล็กตรอนแอฟนิตีของ A มากกวา B
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 18
2 พันธะเคมี
ชนิดของพันธะ ชนิดของธาตุที่
เกิดพันธะกัน
หลักการ
พันธะอิออนิก โลหะ + อโลหะ **มีการรับ/ใหอิเล็กตรอน**
-โลหะ (EN&IE ต่ํา) ให ë เกิดเปน cation ขนาด
-อโลหะ (EN&IE สูง) รับ ë เกิดเปน anion ขนาด
พันธะโคเวเลนท อโลหะ + อโลหะ ใชอิเล็กตรอนรวมกัน
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 19
พันธะโลหะ โลหะ + โลหะ อิเล็กตรอนวิ่งไปทั่ว
(ทะเลอิเล็กตรอน) ทําให
- นําไฟฟาได
- เปนมันวาว
- เหนียว
พันธะไฮโดรเจน เกิดจาก
สารประกอบที่มี
- H ตอ “N” คือ
NH3
- H ตอ “O”
คือ H2O ,
R’OH , RCOOH
- H ตอ “F”
คือ HF
อยูระหวางพันธะอิออนิกและโคเวเลนต
เกิดประจุบางสวน (δ+
/δ-
)
1. ขอความเกี่ยวกับพันธะเคมีขอใดถูกตอง
1. พันธะเคมีเกิดขึ้นเมื่อแตละอะตอมเปนจํานวนคี่เทานั้น
2. พลังงานของพลังงานเคมีจะเพิ่มขึ้นตามความยาวของพันธะ
3. พันธะเคมีเกิดจากแรงดึงดูดระหวางนิวเคลียสกับอิเล็กตรอน
4. พันธะเคมีเกิดจากแรงกระทําระหวางอิเล็กตรอนกับอิเล็กตรอน
ตอบ ขอ 3 เพราะวา การเกิดสารประกอบระหวางธาตุกับธาตุพิจารณาดังนี้
โลหะ + อโลหะ เกิดสารประกอบไอออนิก เกิดพันธะเคมี เรียกวา พันธะอิออนิก
เนื่องจาก โลหะ - ให ‘e’ ไป
- เกิดไอออนบวก
- เกิดพันธะอิออนิก
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 20
2. ขอความตอไปนี้เกี่ยวกับนิยามพันธะเคมี
1. สารประกอบอิออนิกมักจะเกิดระหวางธาตุที่มีพลังงานอิออไนเซชันต่ํากับธาตุที่มีคา
อิเล็กโตรเนเกติวิตีสูง
2. เมื่อหลอมเหลวสารประกอบอิออนิกนําไฟฟาได
3. สารประกอบอิออนิกจะเปนปฏิกิริยาดูดความรอน
4. สารประกอบยึดเหนี่ยวกันดวยแรงไฟฟา
ตอบ ขอ 4 เพราะวา สารประกอบอิออนิกเกิดจาก
- โลหะ + อโลหะ
- โลหะให ‘e’ ไปเปลี่ยนเปน ION บวก อโลหะรับ ‘e’ มาเปลี่ยนเปน ION ลบ
- ในโครงสรางผลึกของสารประกอบอิออนิก จึงยึดเหนี่ยวกันดวยไอออนบวกกับไอออนลบ
3. การเปลี่ยนแปลงในขอใดที่จะบอกไดทันทีวาเปนการเปลี่ยนแปลงประเภทคายพลังงาน
1. H2(g) + I2(g) 2HI(g)
2. C(g) + O2(g) CO2(g)
3. HF(g) H2(g) + F2(g)
4. CH4(g) + Cl2(g) CH3Cl(g) + HCl(g)
ตอบ ขอ 2 เพราะวา การสรางสารใหมจากอะตอมตองคายพลังงานจึงใชหลักทั่วๆ ไปวา
สราง (พันธะ) คาย (พลังงาน) สลาย (พันธะ) ดูด (พลังงาน)
4. ขอใดเปนการเปลี่ยนแปลงแบบคายพลังงาน
ก. C(g) + 2O(g) CO2(g)
ข. H2O(g) H2O(g)
ค. F2(g) + 2e-
2F-
(g)
ง. CH4(g) + 2e-
C(g) + 4H(g)
1. ก และ ค 2. ก และ ข 3. ค เทานั้น 4. ง เทานั้น
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 21
ตอบ ขอ 1 เพราะวา ก และ ค สรางสารใหม
ข เปลี่ยนสถานะ ของแข็ง + E ของเหลว + E กาซ
ค สลายสารใหเปนอะตอม
5. ขอมูลตอไปนี้ใชในการตอบคําถาม
H2O(g) + 926 kJ 2H(g) + O(g)
CO2(g) + 1490 kJ C(g) + 2O(g)
O2(g) + 498 kJ 2O(g)
CH4(g) + 1724 kJ C(g) + 4H(g)
การเรียงลําดับความแข็งแรงของพันธะโคเวเลนต ขอใดถูกตอง
1. C=O > O=O > H-O > C-H 2. C-H > C=O > H-O > O=O
3. O=O > H-O > C=O > C-H 4. C-H > H-O > O=O > C=O
ตอบ ขอ 1 เพราะวา พลังงานสลายพันธะคูมากกวาพลังงานสลายพันธะเดี่ยว ดูไดจาก
พลังงาน C≡C > C=C > C-C
∼900 600 300
6. โมเลกุลและไอออนในขอใดมีจํานวนอิเล็กตรอนทั้งหมดเทากัน
1. CO O2 CN-
NO+
2. CN-
NO+
N2 CO
2. O2 CN-
NO+
N2 4. NO+
N2 CO O2
ตอบ ขอ 2 เพราะวา ใชหลักหาอิเล็กตรอนของธาตุกอนจะงาย พิจารณาขอ 1., 3., 4.,
มี O 2 = 2 (O) = 2 x 8 = 16
สวน CO = C + O = 6 + 8 = 14
N2 = 2 (N) = 2 x 7 = 14
ขอ 1 และ 4 อิเล็กตรอนของ CO ≠ O2
3. อิเล็กตรอนของ O2 ≠ N2
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 22
7. ขอใดที่มีการเรียงสภาพมีขั้วของโมเลกุลจากนอยไปมาก
1. CO2 NH3 CCl4 2. HF CH4 CCl4
3. NO2 BeCl2 H2S 4. BeCl2 PBr3 PCl3
8. ขอใดประกอบดวยโมเลกุลที่มีรูปรางเปนมุมงอ
1. SO2 Cl2O H2S 2. BeF2 SiO2 CO2
3. CS2 C2H2 HCN 4. Cl2O SiO2 CO2
9. โมเลกุลของสารประกอบตอไปนี้ที่มุมพันธะของคารบอนและอะตอมทั้งสองมีคาใกลเคียงกันที่สุด
ก. CH3COOH
ข. CH2CH2
ค. CH3CHO
ง. HOCH2CH2
1. ก เทานั้น 2. ข เทานั้น
3. ก และ ค 4. ข และ ง
10. กําหนดธาตุ X, Y และ Z มีเลขอะตอมเทากับ 17, 35 และ 54 ตามลําดับ มีสูตร
ก. XF3 ข. YF5 ค. ZF2
สารในขอใดบางที่อะตอมกลางมีจํานวนอิเล็กตรอนคูโดดเดี่ยวเทากับ 1 คู
1. ก เทานั้น 2. ข เทานั้น
3. ค เทานั้น 4. ก และ ค
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 23
3 ปริมาณสัมพันธในปฏิกิริยาเคมี
1. ธาตุ A 1010
อะตอมมีมวล = x กรัม ถาใชสาร B 1 อะตอม มีมวล = y กรัม เปนมาตรฐาน ธาตุ A มี
มวลอะตอมเทากับ
1. 10
10
xy
2.
y
x10
10−
3.
x
y10
10−
4.
y
10
10−
2. ผลการทดลองจากการนําเอาธาตุ A ทําเปนออกไซด มีดังนี้
ครั้งที่ 1 A (กรัม) ออกไซดของ A (กรัม)
1
2
3
4
1
2
3
4
1.88
3.76
5.76
7.56
(มวลอะตอมของ A = 27 มวลโมเลกุลของออกไซด = 102)
สูตรอยางงายของออกไซดของ A คือ
1. AO2 2. A2O3 3. A3O4 4. A2O5
3. สารละลาย A เขมขน 9 โมล/ดม3
ปริมาตร 2 ซม3
ถาเติมสาร B เขมขน 3 โมล/ดม3
ลงไปเรื่อยๆ จะ
เกิดตะกอนตองใชสาร B ไป 4 ซม3
สาร A จะทําปฏิกิริยากับสาร B คือ
1. BaCl2 + H2SO4 2. H3PO4 + CaCl2
3. H2SO4 + BaCl2 4. CaCl2 + H3PO4
4. กําหนดให
1. น้ํา 36 กรัม
2. กาซ CO2 1.2 x 1024
โมเลกุล
3. H2(g) 2.24 ลิตร ที่ STP
4. กาซ CO มี C = 24 กรัม
5. กรด H2SO4 มี S อยู = 6.02 x 1023
อะตอม
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 24
ขอใดที่มีจํานวนโมเลกุลเทากัน
1. ขอ 1, 2 และ 3 2. ขอ 2, 3 และ 4
3. ขอ 1, 3 และ 4 4. ถูกทุกขอ
5. นําเกลือโครเมียมชนิดหนึ่งมีสูตร Na2CrO4.nH2O ไปวิเคราะหพบวามีโครเมียมอยู 15.2% โดยมีคา
ของ “n” เทากับ
1. 2 2. 5 3. 7 4. 10
6. นําสาร X2(CO3)3 มา 19.00 กรัม ไปเผาไดออกไซดของ X เทากับ 16.00 กรัม กับกาซ
คารบอนไดออกไซดเทานั้น ( C = 12, O = 16) จะไดวา
1. CO 2. 2CO2 3. 3CO2 4. 3C
7. กรดออนโมโนโปรติก 4.56 กรัม นําไปละลายในเบนซีน 100 กรัม จะมีจุดเยือกแข็งลดลง 0.512o
C
ถาสารนี้ 1 โมล ละลายในเบนซีน 1000 กรัม ทําใหจุดเยือกแข็งลดลง 5.12o
C ขอใดสรุปถูกตอง
1. มวลโมเลกุลของกรดในน้ํา = 456
2. กรดนี้มีไฮโดรเจนถูกแทนที่ได 2 อะตอม
3. กรดนี้แตกตัวไดหมดในน้ํา
4. มวลโมเลกุลของกรดในเบนซีน = 456
8. นําผลึก Na2S2O3.5H2O มา 0.310 กรัม ทําเปนสารละลายดวยน้ําจนมีปริมาตร 250 cm3
แลวผาน
กาซ Cl2 ลงไปจนเกิดปฏิกิริยาอยางสมบูรณ ขจัด Cl2(g) ดวย N2(g) แลวนําสารละลายมา 25 cm3
ไปทดลองไดผลไดดังนี้ เติม
1. KOH (aq) 1.0 M 12.5 cm3
ปฏิกิริยาเปนกลางพอดี
2. AgNO3 (aq) 1.0 M 10 cm3
เกิดตะกอนสมบูรณพอดี
3. BaCl2 (aq) เกิดตะกอนขาว 0.583 กรัม
1) จงเขียนสมการที่ดุลแลวของปฏิกิริยานี้
2) ปริมาณผลิตภัณฑที่ไดแตละขอมีคากี่โมลและกี่โมล/ลิตร(มวลโมเลกุลของNa2S2O3.5H2O=248)
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 25
4 ของแข็ง ของเหลว กาซ
1. ขอใดที่ถูกตองเกี่ยวกับทฤษฎีจลนของกาซ
1) โมเลกุลของกาซมีปริมาตรนอยมากเมื่อเปรียบเทียบกับปริมาตรของภาชนะ
2) ที่อุณหภูมิเดียวกัน กาซทุกชนิดจะมีพลังงานจลนของทุกโมเลกุลเทากัน
3) โมเลกุลของกาซอยูหางกันมากจึงไมมีแรงดึงดูดระหวางกัน
4) โมเลกุลของกาซเคลื่อนที่เปนเสนตรง เมื่อเกิดการชนกันเอง แตละโมเลกุลจะมีพลังงานจลน
เปลี่ยนไป แตพลังงานรวมยังคงที่
1. ขอ 1, 2 และ 3 2. ขอ 1 และ 2 เทานั้น
3. ขอ 1 และ 4 เทานั้น 4. ขอ 1 และ 3 เทานั้น
2. กาซตอไปนี้ กลุมใดแพรไดเร็วเทากัน (C = 12, H = 1, P = 31, S = 32, Cl 35.5, N = 14, O = 16)
1. CO2 , H2S , PH3 2. CH3 , Cl SO2 , N2O
3. CO2 , C3H8 , N2O 4. HCl , NO2 , NH3
3. ผลการทดลองการเปรียบเทียบปริมาตรระหวาง V กับ P ของกาซชนิดหนึ่งที่มีมวลคงที่ไดรูปกราฟ
เปนดังนี้ ที่อุณหภูมิ 300K ถาความดันที่จุด B มีคานอยกวาจุด A 4 เทา ในขณะที่ปริมาตรของ A
= 400 cm3
อุณหภูมิ ณ จุด E จะเทากับ
1. 400 2. 1200 3. 1500 4. 1600
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 26
4. พิจารณาปรากฏการณตอไปนี้
ก. เมื่อตั้งขวดน้ําอัดลมไวกลางแดดนานๆ ขวดจะระเบิด
ข. การผุดขึ้นของฟองกาซในขวดน้ําอัดลมเมื่อเปดฝาขวด
ค. การพองตัวของขนมปง เมื่อเติม NaHCO 3 แลวนําไปอบ
ง. ขวดน้ําอัดลมแตก เมื่อแชทิ้งไวในชองน้ําแข็งเปนเวลานาน
ปรากฏการณใดเปนไปตามกฎของชารล หรือกฎของบอยล
เปนไปตามกฎของชารล เปนไปตามกฎของบอยล
1.
2.
3.
4.
ค
ก, ค
ก
ง
ข
ง
ข, ง
ข
5. จุดเดือดของสาร A, B และ C เทากับ 35o
C, 65o
C และ 56o
C ตามลําดับ คํากลาวในขอถูกตอง
1. ที่ 25o
C ความดันไอของสาร A มีความดันไอต่ํากวาสาร C
2. ลําดับแรงดึงดูดระหวางโมเลกุลของสารทั้ง 3 ชนิด เปนดังนี้ สาร B > สาร C > สาร A
3.ที่ความดันต่ํากวาความดันไอณจุดเดือดปกติของสารสารBจะมีจุดเดือดสูงกวาจุดเดือดปกติ
4. สามารถแยกสาร A, B, C ที่ผสมกันไดโดยการกลั่น
6. ขอใดกลาวไดถูกตอง
1. ของแข็งทุกชนิดไมมีความดันไอ
2. ของแข็งทุกชนิดขณะหลอมเหลวอุณหภูมิคงที่
3. ของแข็งมีชองวางระหวางอนุภาคนอยมากจึงเคลื่อนที่ไดในระยะสั้นๆ
4. ของแข็งที่มีมากกวา 1 อัญรูป จะมีการจัดเรียงโมเลกุลหรืออะตอมตางกันได
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 27
7. กําหนดให
สาร จุดหลอมเหลว o
C จุดเดือด o
C
A
B
C
D
-115
27
15
113
-100
90
70
440
ที่อุณหภูมิหองสารใดอยูในสถานะของแข็ง
1. B, C, D 2. A, C 3. B, C 4. D
8. จากขอมูลที่กําหนดให
การนําไฟฟาในสถานะ
สาร จุดเดือด o
C จุดหลอมเหลว o
C
ของแข็ง เมื่อหลอมเหลว
A
B
C
D
-253
357
1390
4827
-259
-39
747
>3550
ไมนํา
นํา
ไมนํา
ไมนํา
ไมนํา
นํา
นํา
ไมนํา
สาร A, B, C และ D ควรเปนสารใด
A B C D
1.
2.
3.
4.
CH4
H2
NH3
N2
Na
Hg
S
Fe
NaCl
NaBr
KCl
CaCl2
แกรไฟท
เพชร
Si
S
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 28
5 อัตราเร็วในการเกิดปฏิกิริยาเคมี (Rate)
1. เมื่อนํากาซ N2O5 ไปละลายในตัวทําละลายอินทรียชนิดหนึ่ง N2O5 จะสลายตัวไดดังสมการ
2N2O5(g) 4NO2(g) + O2(g)
ถา NO2 ละลายไดในตัวทําละลายอินทรียนั้น แต O2 ไมละลาย จะวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยานี้ไมได
ดวยวิธีใด
1. การวัดปริมาตรกาซ O2 ที่เกิดขึ้น 2. การวัดความดันของกาซ O2 ที่เกิดขึ้น
3. การวัดมวลของสารละลาย 4. การวัดการนําไฟฟาของสารละลาย
2. อัตราเร็วของปฏิกิริยาไปขางหนา A(s) + B(g) C(s) + D(g) เปลี่ยนแปลงตามเวลา
ดังกราฟรูปใด
1. 2.
3
.
4.
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 29
3. จากการทดลองวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยา โดยการจับเวลาตั้งแตเริ่มตนจนปฏิกิริยาสิ้นสุดที่อุณหภูมิ
ตางๆ กัน พบวาไดผลดังนี้
อุณหภูมิ o
C เวลาที่ใช (วินาที)
16
40
56
400
50
12.5
อัตราของปฏิกิริยานี้จะเพิ่มเปน 2 เทา เมื่อเพิ่มอุณหภูมิขึ้นเทาใด
1. 8o
C 2. 10o
C 3. 12o
C 4. 16o
C
4. ปฏิกิริยายอนกลับ x y มีพลังงานกอกัมมันตไปขางหนาเทากับ 100 kJ/mol มีพลังงาน
กอกัมมันตยอนกลับ 75 kJ/mol ปฏิกิริยานี้เปนปฏิกิริยาชนิดใด
1. คายความรอน 25 kJ/mol 2. คายความรอน 175 kJ/mol
3. ดูดความรอน 25 kJ/mol 4. ดูดความรอน 175 kJ/mol
5. การทดลองในขอใดมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงที่สุดที่อุณหภูมิเดียวกัน
1. ใสแผนสังกะสี 1 ชิ้น หนัก 1 กรัม ลงในกรด HCl 0.1 mol/dm3
2. ใสแผนสังกะสี 2 ชิ้น หนักชิ้นละ 0.5 กรัม ลงในกรด HCl 0.2 M
3. ใสผงสังกะสีละเอียดหนัก 1 กรัม ลงในกรด HCl 0.1 mol/dm3
4. ใสผลสังกะสีละเอียดหนัก 1 กรัม ลงในกรด HCl 0.2 M
6. พิจารณาปฏิกิริยาการสลายตัวของ N2O เปน N2 และ O2 ดังสมการความสัมพันธระหวางความ
เขมขนของ N2O (mol.dm-3
) กับเวลา (s) เปนดังนี้
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 30
ขอใดถูก
1. อัตราการเกิดของ O2 เทากับ 0.001 mol dm-3
s-1
2. ถาทําการทดลองใหมโดยเพิ่มความเขมขน N2O เปน 2 เทา อัตราการลดลงของ N2O
จะเปน 2 เทาดวย
3. การทดลองที่ใช N2O เขมขนตั้งตน 0.10 mol dm-3
เวลาผานไป 10 วินาที จะเหลือ
N2O 0.09 mol dm-3
4. การทดลองที่ใช N2O ความเขมขนตั้งตน 0.10 mol dm-3
เวลาผานไป 50 วินาที แกสผสม
จะมีอัตราสวนโดยโมล N2O : N2 : O2 เทากับ 1 : 1 : 2
7. กราฟแสดงพลังงานและการดําเนินไปของปฏิกิริยาเปนดังนี้
พิจารณาขอสรุปตอไปนี้
ก. พลังงานกอกัมมันตของปฏิกิริยา A2 + B2 2AB มีคาเทากับ 40 kJ
ข. ปฏิกิริยา 2AB A2 + B2 เปนปฏิกิริยาคายความรอน 10 kJ
ค. ปฏิกิริยา A2 + B2 2AB เปนปฏิกิริยาดูดความรอน
ง. พลังงานกอกัมมันตของปฏิกิริยาไปขางหนามากกวาพลังงานกอกัมมันตของปฏิกิริยายอนกลับ
ขอใดถูก
1. ก และ ข เทานั้น 2. ค และ ง เทานั้น
3. ก, ข และ ค 4. ง เทานั้น
8. โลหะอลูมิเนียมทําปฏิกิริยากับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซดดังสมการ
2Al(s) + 2NaOH(aq) + 6H2O(l) 2NaAl(OH)4(aq) + 3H2(g)
ถาทําการทดลอง 2 ตอน ดังนี้
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 31
ตอนที่ 1 ใชแผนอลูมิเนียมขนาด 0.5 ซม. x 10 ซม. 1 ชิ้น
ตอนที่ 2 ใชอลูมิเนียมเปนกอนกลม 1 กอน
น้ําหนักของอลูมิเนียมที่ใชทั้งสองตอนเทากัน
ถาขอมูลที่ไดจากผลการทดลองการทําปฏิกิริยาดังกลาวมีดังนี้
ความเขมขนของสารละลาย
NaOH
ความเขมขนของสารละลาย NaAl(OH)4 (mol dm-3
)
เวลา (s)
ตอนที่ 1 ตอนที่ 2 ตอนที่ 1 ตอนที่ 2
0
2
4
6
a
x
y
z
a
A
B
c
b
e
f
g
d
h
i
J
ขอใดผิด
ก. x > A ข. z < c ค. b = d = 0 ง. f > i
1. ก เทานั้น 2. ก และ ข 3. ก, ข และ ค 4. ก, ข, ค และ ง
9. ไนโตรเจนเพนทอกไซดเปนของแข็งไอออนิกไมมีสี [NO2]+
[NO3]-
เมื่อใหความรอนที่ 32o
C 1 atm จะ
ไดแกส N2O5 ซึ่งจะสลายตอไปเปนแกสสีน้ําตาลของไนโตรเจนไดออกไซดและออกซิเจน
[NO2]+
[NO3]-
(s) N2O5(g)
2N2O5(g) 4NO(g) + O2(g)
ขอสรุปใดผิด
1. อัตราการเกิด NO2 = 4 เทาของอัตราการเกิด O2
2. อัตราการเกิด NO2 = 2 เทาของอัตราการเกิด N2O5
3. อัตราการเกิด O2 = 1/4 เทาของอัตราการเกิด NO2
4. อัตราการเกิด O2 = 2 เทาของอัตราการเกิด N2O5
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 32
10. สาร A สลายตัวดังสมการ A 2C ไดขอมูลตามตารางดังนี้
เวลา , วินาที [A] , mol dm-3
0
2
5
7
10
3.0
2.6
2.0
1.6
1.0
จากขอมูลขางตน [C] ที่เวลา 8 วินาที ควรเปนเทาใด
1. 1.4 2. 1.6 3. 2.6 4. 3.2
11. พิจารณากราฟของปฏิกิริยา A + B
(ก) พลังงานกระตุนของปฏิกิริยายอนกลับมีคาเทาใด
(ข) พลังงานของปฏิกิริยายอนกลับนี้มีคาเพิ่มขึ้นหรือลดลงเทาใด
ขอใดถูกตอง
1. (ก) a+b+c , (ข) ลด d
2. (ก) b+c+d , (ข) เพิ่ม d
3. (ก) a+b , (ข) เพิ่ม (c+d)
4. (ก) b , (ข) ลด (c+d)
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 33
12. จากกราฟพลังงานไอออไนเซชันลําดับที่ 1 ของ a h ซึ่งเปนธาตุในคาบที่ 3
ขอความใดเปนไปไมได
1. a ทําปฏิกิริยากับน้ําเกิดกาซ และสารละลายที่ไดมีสมบัติเปนเบส
2. c ไมเกิดสารประกอบกับ b แตเกิดสารประกอบกับ f มีสูตร c2f5
3. สารประกอบของ f มีเลขออกซิเจนหลายคาระหวาง 0 -2 ถึง +6 และมีเวเลนตอิเล็กตรอน
เทากับออกซิเจน
4. g เปนธาตุหมูเดียวกับฟลูออรีนและโบรมีน สารประกอบของ f จึงมีเลขออกซิเดชั่น -1
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 34
6 สมดุลเคมี
1. จากปฏิกิริยาดูดความรอนตอไปนี้
C(s) + H2O(g) CO(g) + H2(g)
อยากทราบวาสภาวะใดที่จะทําใหปริมาณกาซ CO และกาซ H2 ลดลง
1. เพิ่มอุณหภูมิ 2. เพิ่มปริมาตร 3. เพิ่มความดัน 4. เพิ่มปริมาณไอน้ํา
2. ถาปฏิกิริยานี้อยูในภาวะสมดุล
Cu(s) + 2Ag+
(aq) Cu2+
(aq) + Ag(s)
ขอสรุปขอใดถูก
1. ความเขมขนของสารตั้งตนและผลิตภัณฑเทากัน
2. ความเขมขนของสารตั้งตนและผลิตภัณฑจะคงที่
3. ความเขมขนของสารตั้งตนจะเทากัน
4. ความเขมขนของผลิตภัณฑจะเทากัน
3. ในปฏิกิริยาที่อยูในภาวะสมดุล
HF(aq) + H2O(l) H3O+
(aq) + F-
(aq)
ถาทิศทางของสมดุลเกิดจากขวามาซาย จะสรุปไดวา
1. HF เปนกรดแก 2. F-
เปนเบสแกกวานี้
3. คาคงที่สมดุลมากกวา 4. คาคงที่สมดุลเทากับ 1 โดยประมาณ
4. ปฏิกิริยา X เปนปฏิกิริยาดูดพลังงาน สวนปฏิกิริยา Y เปนปฏิกิริยาคายพลังงาน ถาเปลี่ยนแปลง
อุณหภูมิ การทดลอง จะมีผลตออัตราการเกิดปฏิกิริยา (R) และคาคงที่สมดุล (K) ดังขอใด
ขอ ปฏิกิริยา อุณหภูมิมากขึ้น R K
1
2
3
4
X (ดูด)
X (ดูด)
Y (คาย)
Y (คาย)
เพิ่มขึ้น
ลดลง
เพิ่มขึ้น
ลดลง
มากขึ้น
ลดลง
ลดลง
มากขึ้น
มากขึ้น
มากขึ้น
มากขึ้น
ลดลง
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 35
5. คาคงที่สมดุลของปฏิกิริยา H2(g) + I2(g) 2HI(g) มีคาเทากับ 55.17 ที่อุณหภูมิหนึ่ง ถา
เติม H2(g) และ I2(g) อยางละ 1.00 mol ลงในขวด 0.50 dm3
ความเขมขนของ H2 และ HI ที่ภาวะ
สมดุลจะเปนกี่โมลตอลูกบาศกเดซิเมตร
ขอ [H2] [HI]
1
2
3
4
0.07
0.07
0.42
0.42
1.93
3.86
1.58
3.16
หลัก ปฏิกิริยา H2(g) + I2(g) = 2HI(g) K = 55.17
เติม 0.50 dm3
มี H2 และ I2 อยางละ = 1.0 โมล
1.0 dm3
= 2 โมล
6. คาคงที่สมดุลของปฏิกิริยา 2HI H2 + I2 มีคา 2.0 x 10-2
คาคงที่สมดุลของปฏิกิริยา HI ½ H2 + ½ I2 มีคาเทาใด
1. 1.0 x 10-2
2. 2.0 x 10-2
3. 1.0 x 10-1
4. 1.4 x 10-1
หลัก ปฏิกิริยาเดียวกัน Kใหม = (Kเดิม)n
, n = ตัวเลขที่คูณตลอดของปฏิกิริยาเดิม
7. ปฏิกิริยา 2SO2(g) + O2(g) 2SO3(g) เปนปฏิกิริยาคายความรอน การกระทําในขอ
ใดไมมีผลกระทบตอสมดุลของระบบตางจากขออื่นๆ
1. เพิ่มความดันของ O 2 โดยใหปริมาตรคงที่
2. เพิ่มความดันของระบบโดยการเติมกาซเฉื่อย
3. ลดอุณหภูมิของระบบลงโดยใหความดังคงที่
4. ลดปริมาตรของระบบลงครึ่งหนึ่งในสภาพที่เปนระบบปด
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 36
8. พิจารณาภาวะสมดุลของสมการตอไปนี้
ก. N2(g) + 3H2(g) 2NH3(g)
ข. ½ N2(g) + 3/2 H2(g) NH3(g)
ค. 1/3 N2(g) + H2(g) 2/3 NH3(g)
ขอใดอธิบายความสัมพันธระหวางคาคงที่สมดุล k1, k2, k3 ไดถูกตอง
1. 321 kkk = 2. 3
312 kkk = 3. 2/3
321 kkk = 4. 3
321 kkk =
9. พิจารณาคา k ของปฏิกิริยาตอไปนี้
A(g) + B(g) 2C(g) k 1
D(g) + E(g) A(g) + C(g) k2
E(g) + F(g) 2B(g) + G(g) k 3
คาคงที่สมดุลของปฏิกิริยา 3A(g) + F(g) 2C(g) + D(g) + G(g) มีคาเทาใด
1.
2
2
31
k
kk
2.
2
3
2
1
k
kk
3.
3
3
2
1
k
kk
4.
2
31
k
kk
10. จากการเผากาซฟอสจีน COCl2 ในภาชนะ 2 ลิตร ปฏิกิริยาการสลายตัวเปนดังนี้
COCl2(g) CO(g) + Cl2(g)
เมื่อปฏิกิริยาเขาสูสภาวะสมดุล พบวาความเขมขนของฟอสจีนเทากับ 0.40 โมล/ลิตร เมื่อเติม
ฟอสจีนลงไปอีกจนปฏิกิริยาเขมสูภาวะสมดุลอีกครั้งหนึ่ง พบวาความเขมขนของฟอสจีนเทากับ
1.6 โมล/ลิตร ความเขมขนของ CO จะเปลี่ยนไปอยางไร
1. เพิ่มขึ้นเปน 2 เทา 2. ลดลงครึ่งหนึ่ง
3. เพิ่มขึ้นเปน 4 เทา 4. เพิ่มเปน 1.2 โมล/ลิตร
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 37
7 กรด – เบส
ตารางขอมูลใชประกอบการตอบคําถามขอ 1
อินดิเคเตอร
ชวง pH และสีของ
สารละลาย
ชวง pH และสีของ
สารละลาย
ชวง pH และสีของ
สารละลาย
เมธิลออเรนจ
เมธิลเรด
ฟนอลฟทาลีน
โบรโมไธมอลบลู
1-3 สีแดง
นอยกวา 4.4 สีแดง
1-7 ไมมีสี
นอยกวา 6 สีเหลือง
3-4 สีสม
4.4-6.2 สีสม
8.3-10 สีชมพู
6.0-7.6 สีเขียว
มากกวา 5 สีเหลือง
มากกวา 6.3 สีเหลือง
มากกวา 6.3 สีเหลือง
มากกวา 7.6 สีน้ําเงิน
1. ในการทดสอบสารละลายชนิดหนึ่ง แบงสารออกเปน 4 หลอดแลวเติมสารละลายอินดิเคเตอรลงใน
แตละหลอด ผลการทดลองเปนดังนี้
หลอดที่ 1 เติมเมธิลออเรนจ 1 หยด สารละลายมีสีเหลือง
หลอดที่ 2 เติมเมธิลเรด 1 หยด สารละลายมีสีสม
หลอดที่ 3 เติมฟนอลฟทาลีน 1 หยด สารละลายไมมีสี
หลอดที่ 4 เติมโบรโมไธมอลบลู 1 หยด สารละลายมีสีเขียว
การแปลความหมายขอมูลที่ถูกตองที่สุด คือ
1. สารละลายมี pH ประมาณ 5.0 – 6.0
2. สารละลายมี pH ประมาณ 8.5 – 9.5
3. สารละลายมี pH ประมาณ 4.0 – 4.5
4. สารละลายมี pH ประมาณ 2.0 – 3.0
2. สารละลาย 5 ชนิด ที่มีสารกระกอบคูหนึ่งละลายอยู คือ
I) CH3COONa และ CH3COOCH3
II) CH3COONa และ CH3COOH
III) NaOH และ NaCl
IV) NH3 และ (NH4)2CO3
V) NH3 และ NaCN
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 38
สารละลายคูใดจะมีการเปลี่ยนแปลงคา pH นอยมาก เมื่อเติมกรดหรือเบสลงไป
1. I และ II 2. II และ IV 3. I และ III 4. III และ V
3. ถาผสมสารละลาย A และสารละลาย B เขาดวยกัน A จะทําหนาที่เปนกรด B จะทําหนาที่เปนเบส
แลว A, B คือสารคูใด
1. CH3COOH, HCl 2. Ba(OH)2, NaHCO3
3. KCl, CH3COONa 4. NaHCO3, NH3
4. ในปฏิกิริยาตอไปนี้ ปฏิกิริยาใดที่ HCO3
-
อิออนทําหนาที่เปนกรด
1. HCO3
-
(aq) + H2O(l) H2CO3(aq) + OH-
(aq)
2. HCO3
-
(aq) + OH-
(aq) H2CO3(aq) + CO3
2-
(aq)
3. HCO3
-
(aq) + HSO4
-
(aq) H2CO3(aq) + SO4
2-
(aq)
4. HCO3
-
(aq) + CH3COOH(aq) H2O(l) + CO2(g) + CH3COO-
(aq)
5. ถาหยดฟนอลฟทาลีนลงในสารละลาย A จะไดสีแดงแตถาลงในสารละลาย B จะไมมีสี แสดงวา
อยางไร
1. A เปนเบส B เปนกรด 2. pH ของสารละลายทั้งสองไมเทากัน
3. A และ B ทําปฏิกิริยาสะเทิน 4. A เปนกรด B เปนเบส
6. เมื่อผสมสารละลาย NaOH 0.1 M จํานวน 100 cm3
กับสารละลาย HCl 0.2 M จํานวน 100 cm3
เขาดวยกัน จะได NaCl ในสารละลายผสมกี่โมล และความเขมขนของ NaCl เปนกี่ mol/dm3
1. 0.01, 0.05 2. 0.02, 0.10 3. 0.01, 0.10 4. 0.02, 0.20
7. น้ําสมสายชูชนิดหนึ่งมีความหนาแนน 1.13 g/cm3
ระบุวามีกรดอะซิติกละลายอยูรอยละ 8 โดยมวล
น้ําสมสายชูจะมีความเขมขนของกรดอะซิติกคิดเปนกี่โมล/dm3
1. 0.13 2. 1.33 3. 1.51 4. 7.1
8. เมื่อผสมสารละลาย CH3COOH 0.2 M จํานวน 10 cm3
และสารละลาย NaOH 0.1 M จํานวน 10
cm3
เขาดวยกัน สารละลายนี้จะเปนสารละลายที่มีสมบัติอยางไร
1. สารละลายบัฟเฟอรที่มี pH < 7
2. สารละลายบัฟเฟอรที่มี pH > 7
3. สารละลายที่มี pH = 7
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 39
4. สารละลายที่ประกอบดวย CH3COONa อยางเดียว
9.เมื่อนําสารละลายที่มี pH=5จํานวน10cm3
มาผสมน้ําใหได 100cm3
จะไดสารละลายที่มีคาpHเทากับ
1. 10 2. 6 3. 4 4. 1
10. เมื่อนําสารละลายชนิดหนึ่งมาติเตรตดวยเบส ที่จุดยุติสารละลายมีไฮโดรเนี่ยมประมาณ 1.0 x 10-7
mol/dm3
อินดิเคเตอรที่ควรใชคือ
1. เมธิลออเรนจ 2. เมธิลเรด
3. ฟนอลฟทาลีน 4. โบรโมไธมิลบลู
11. ขอความใดตอไปนี้ไมถูกตอง
1. ในการติเตรตสารละลาย NH3 กับกรด HCl ควรเลือกใชเมธิลเรด เปนอินดิเคเตอร
2. ในการติเตรตสารละลายกรดแกกับเบสออนควรเลือกใชเมธิลเรดเปนอินดิเคเตอร
3. ในการติเตรต CH3COOH กับ NaOH ควรเลือกใชฟนอลฟทาลีนเปนอินดิเคเตอร
4. ในการติเตรตอัมโมเนียกับไฮโดรคลอริก ควรเลือกใชฟนอลฟทาลีนเปนอินดิเคเตอร
12. ขอใดที่สารทุกตัวเปนกรดออน
1. HF , HNO2 , HCOOH , HBr , HCN 2. HCN , HI , H2S , HF , HCOOH
3. HI , HF, HCN , HBr , HNO2 4. HF , HNO2 , HCOOH , HCN , H2S
13. ขอใดเปนคูเบสของกรด ตอไปนี้ตามลําดับ
HSO3
-
, H2PO4
-
, HCO3
-
1. SO3
-
, HPO4
2-
, CO3
2-
2. H2SO3 , H3PO4 , H2CO3
3. HSO3
-
, HPO4
2-
, CO3
2-
4. SO3
2-
,HPO4
2-
,H2CO3
14. ขอใดไอออนแตละชนิดในน้ํามีสมบัติเปนกรด เปนขอถูกตอง
1. NH4
+
CO3
2-
CH3COO-
2. H2PO4
-
HCO3
-
NO3
-
3. NH4
+
H2PO4
-
HCO3
-
4. HS-
H2PO4
-
CH3COO-
15. กรดชนิดหนึ่งมีมวลเทากับ M สารละลาย X มีเนื้อกรดละลายอยู a% โดยมวล มีความหนาแนน d
g/cm3
ถาตองการเตรียมสารละลายของกรดนี้ 500 cm3
เขมขน 0.02 mol/dm3
จะตองใช
สารละลาย X กี่ลูกบาศกเดซิเมตร
1. ad / M 2. ad / 1000 M 3. 1000 M / ad 4. M / ad
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 40
8 ไฟฟาเคมี
1. ปฏิกิริยาใดตอไปนี้เปนปฏิกิริยารีดอกซ
1. CO2(s) CO2(g)
2. CS2(l) + 3Cl2(g) CCl4(l) + S2Cl2(l)
3. CH3COOH + C2H5OH CH3COOC2H5 + H2O
4. CaCO3(s) CaO(s) + CO2(g)
2. เลขออกซิเดชันโลหะอะตอมกลางในขอใดตอไปนี้มีคาสูงกวา +2
1. [Cu(CN)4]2+
2. [CrCl6]4-
3. [Fe(CN)4]2-
4. [Ni(NH3)4]2+
3. เลขออกซิเดชันของ P, S และ Zr ในสารประกอบ 3 ชนิดตอไปนี้เปนเทาใด ตามลําดับ
ขอ NaNH4HPO4.4H2O Na2S2O3.5H2O ZrCl2.O.8H2O
1.
2.
3.
4.
+3
+5
+3
+5
+4
+2
+2
+4
+2
+4
+4
+2
4. เซลลไฟฟาเคมีชนิดหนึ่งใช Pt เปนขั้วไฟฟาเกิดปฏิกิริยาเคมีดังนี้
A3+
(aq) + B+
(aq) A2+
(aq) + B2+
(aq) , E°cell = +0.51 V
ขอความใดถูกตอง
1. แผนภาพเซลลไฟฟาเคมีเปนดังนี้ Pt/A2+
(aq),A3+
(aq)//B2+
(aq)/Pt
2. B+
ทําหนาที่เปนตัวรีดิวซ และ A3+
เกิดปฏิกิริยารีดักชัน
3. ปฏิกิริยานี้เกิดขึ้นเองโดยมี A3+
ทําหนาที่เปนตัวรีดิวซ
4. B+
มีความสามารถในการชิงอิเล็กตรอนไดดีกวา A3+
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 41
5.เมื่อจุมโลหะ4ชนิดลงในสารละลายซัลเฟตของโลหะทั้ง4ชนิดดังแสดงในตารางไดรับผลการทดลองดังนี้
⁄ แสดงวา มีผลึกมาเกาะที่แทนโลหะ
X ไมมีการเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได
สารละลายซัลเฟต
โลหะ
R S T U
R
S
T
U
X
X
X
⁄
⁄
X
⁄
⁄
⁄
X
X
⁄
X
X
X
X
อันดับความสามารถในการรับอิเล็กตรอนของไออนของโลหะทั้ง 4 ชนิดเปนไปดังขอใด
1. R<S<T<U 2. S<R<T<U
3. U<S<T<R 4. U<R<T<S
6. ปฏิกิริยาการจายไฟของเซลลสะสมไฟฟาแบบตะกั่วเปนดังนี้
ขั้ว A : PbO2(s) + SO4
2-
(aq) + 4H+
(aq) + 2e-
PbSO4(s) + 2H2O(l)
ขั้ว B : Pb(s) + SO4
2-
(aq) PbSO4(s) + 2e-
เมื่อเซลลนี้ถูกใชงานไประยะหนึ่งแลวนําไปอัดไฟจะเกิดอะไรขึ้น
1. กรดซัลฟูริก (H2SO4) เกิดกลับมาอยางเดิม
2. ขั้ว A เกิด reduction ขั้ว B เกิด oxidation
3. PbSO4 จะเกิดขึ้นทั้งที่แอโนดและที่แคโทด
4. PbO2(s) ละลายออกมาในสารละลายกรด
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 42
7. กําหนดคา E° ใหดังนี้
E° (V)
Fe2+
(aq) + 2e-
Fe(s) -0.44
Ni2+
(aq) + 2e-
Ni(s) -0.24
Pb2+
(aq) + 2e-
Pb(s) -0.13
Cl2(g) + 2e-
2Cl-
+1.36
Zn2+
(aq) + 2e-
Zn(s) -0.76
O2(g) + 2H+
(aq) + 2e-
H2O(l) +1.23
พิจารณาเซลลไฟฟาที่ประกอบดวยขั้วไฟฟาตอไปนี้
ก. Fe/Fe2+
(1 M) และ Ni/Ni2+
(1 M)
ข. Pb/Pb2+
(1 M) และ Pt/Cl2(1 atm)/Cl-
(1 M)
ค. Zn/Zn2+
(1 M) และ Pt/O2(1 atm)/H2O
เซลลไฟฟาใดมีปฏิกิริยาเกิดขึ้นไดเอง และเรียงลําดับ คา E เซลล
ขอใดถูกตอง
ขอ เชลลไฟฟา ลําดับคา E เซลล
1.
2.
3.
4.
ก , ข
ข , ค
ก , ข , ค
ก , ข , ค
ข > ก > ค
ค > ข > ก
ค > ข > ก
ข > ก > ค
8. ขอใดไมใชปฏิกิริยารีดอกซ
1. 3C2H4 + 2KMnO4 + 4H2O 3CH2(OH)CH2(OH) + 2MnO2 + 2KOH
2. Zn2Fe(CN)6 + 8NaOH 2Na2ZnO2 + Na4Fe(CN)6 + 4H2O
3. Cu2S + 14HNO3 2Ca(NO3)2 + H2SO4 + 10NO2 + 6H2O
2
1
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 43
สะพานเกลือ
M2+
N3+
P3+
M N P a
4. CaCr2O7 + 3H2C2O4 + 4H2C2O4 + 4H2SO4 CaSO4 + Cr2(SO4)3 + 6CO2 + 7H2O
9. M, N, P และ Q เปนแทงโลหะ จุมอยูในสารละลายอิเล็กโตรไลทเขมขมอยางละ 1 mol/dm3
ถา
ตองการชุบโลหะ P บนแทงโลหะ Q ดังรูปเซลล
ขอใดถูกตอง
ขอ แทงโลหะ ขั้วไฟฟา
1.
2.
3.
4.
N
M
O
P
แคโทด
แอโนด
ลบ
บวก
10. ในการแยกสลายสารละลาย CuSO4 ดวยไฟฟา ขอความตอไปนี้ขอใดถูกตองที่สุด จะตองใชคา
ศักยไฟฟามาตรฐานที่กําหนดใหประกอบในการตอบคําถาม
E° (V)
Cu2+
+ 2e-
Cu(s) +0.34
2H2O + 2e-
H2 + 2OH-
-0.41
O2 + 4H+
+ 2e-
2H2O +0.815
S2O8
2-
+ 2e-
2SO4
2-
+0.815
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 44
1. ไดทองแดงที่แอโนด ไดกาซออกซิเจนที่แคโทด
2. ไดทองแดงที่แอโนด ไดกาซไฮโดรเจนที่แคโทด
3. ไดกาซออกซิเจนที่แอโนด ไดกาซไฮโดรเจนที่แคโทด
4. ไดกาซออกซิเจนที่แอโนด ไดทองแดงที่แคโทด
11.
สวนประกอบ
ชนิดของเซลล แอโนด แคโทด อิเล็กโตรไลท
A
B
C
D
Zn
Zn
Zn
Zn
C และ MnO2
C , NH4
+
และ MnO2
HgO
Ag2O
สารละลาย KOH
น้ํา NH4Cl , ZnCl2
สารละลาย KOH
สารละลาย KOH
เชลล A , B , C และ D นาจะเปนเซลลใดตามลําดับ
1. ถานไฟฉาย เซลลอัลคาไลน เซลลปรอท เซลลเงิน
2. เซลลอัลคาไลน ถานไฟฉาย เซลลปรอท เซลลเงิน
3. ถานไฟฉาย เซลลอัลคาไลน เซลลเงิน เซลลปรอท
4. เซลลอัลคาไลน ถานไฟฉาย เซลลเงิน เซลลปรอท
12. จากขอสรุปในการชุบโลหะดวยไฟฟา ตอไปนี้
ก. สารละลายอิเล็กโตรไลทตองมีไอออนของโลหะที่ตองการเคลือบปนอยูกับสารละลาย
ไซยาไนด
ข. สิ่งที่ตองการชุบควรตอที่ขั้วแอโนด
ค. ตองการชุบชิ้นงานดวยโลหะใด ตองตอโลหะนั้นที่ขั้วแคโทด
ง. การทดลองสามารถตอกระแสไฟฟาตรงหรือกระแสตามบานได
จ. โลหะที่แอโนดตองบริสุทธิ์และไมควรชุบนานเกินไป
ขอสรุปใดผิด
1. ก ข และ ค 2. ค ง และ จ 3. ก ง และ จ 4. ข ค และ ง
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 45
9 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
ตัวอยางขอสอบ
1. ในการถลุงแรชนิดใดที่เกิดกาซ SO2 ซึ่งเปนกาซพิษ
1. แรเหล็ก 2. แรดีบุก
3. แรพลวงสติปไนต 4. แรเงิน
2. ปฏิกิริยาใดตอไปนี้ไมเกิดขึ้นในเตาถลุงขณะที่ถลุงดีบุก
1. CaCO3(s) CaO(s) + CO2(g)
2. 2CO(g) + O2(g) CO2(g)
3. C(s) + CO2(g) 2CO(g)
4. CaO(s) + SiO2(l) CaSiO3(l)
3. กําหนดให
ก. สารประกอบออกไซด + คารบอน โลหะ + CO2(g)
ข. การผลิตปุยอัมโมเนียวัตถุดิบที่สําคัญ คือ ยูเรีย
ค. สูตรของผงชูรส คือ
ง. การผลิตสารผงฟอกขาว คือ ปฏิกิริยาระหวาง Cl2(g) กับ NaOH มีอัตราสวนจํานวนโมล = 1:2
ขอใดถูก
1. ถูกทุกขอ 2. ขอ ก และ ง ถูก
3. ขอ ก, ข และ ง ถูก 4. ขอ ข และ ค ถูก
4. แรรัตนชาติใดที่มีความแข็งมากที่สุด
1. มรกต 2. โกเมน 3. ไพลิน 4. เพทาย
5. ขอใดไมเปนอุตสาหกรรมเซรามิกส
1. อุตสาหกรรมทําเครื่องสุขภัณฑ 2. อุตสาหกรรมทําซีเมนต
3. อุตสาหกรรมแกว 4. อุตสาหกรรมทําพีวีซี
6. หลักการผลิตเกลือโซเดียมที่เรียกวา เกลือสินเธาว คือ
เผา
NaO C CH2
O
CH2
H
C COOH
NH2
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 46
1. การละลาย การกรอง การระเหย การตกผลึก
2. การกรอง การระเหย การตกผลึก
3. การระเหย และการตกผลึก
4. การละลาย การระเหย การตกผลึก
7. โรงงานอุตสาหกรรมใชสาร NaOH, BaCl2, Na2CO3 และ HCl เพื่อทําใหสารละลายโซเดียมคลอไรด
บริสุทธิ์ จะชวยขจัดสารทุกตัวตามลําดับในขอใดตอไปนี้
1. Mg2+
Ba2+
H+
SO4
2-
2. Ca2+
Ba2+
SO4
2-
CO3
2-
3. Mg2+
SO4
2-
Ca2+
CO3
2-
4. Mg2+
CO3
2-
Ba2+
SO4
2-
8. โซดาแอชเปนสารเคมีที่มีสูตรอยางไร เมื่อผลิตโซดาแอชดวยวิธีโซลเวย จะตองใชกาซใดผลิต
1. Na2CO3 และใชกาซ NH3 2. Na2CO3 และใชกาซ CO
3. NaHCO3 และใชกาซ NH3 4. NaHCO3 และใชกาซ CO
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 47
10 เคมีอินทรีย
1. พันธะคารบอน/สูตรโครงสรางไอโซเมอริซึม
1.1) พันธะคารบอน พันธะของคารบอนแตละชนิดมีความแข็งแรงไมเทากัน พลังงานพันธะ
หวางคารบอนมีดังนี้
C ≡ C > C = C > C ⎯ C
พลังงานพันธะ ≈ 900 600 300 kg/mol
ความยาวพันธะ 121 134 154 pm
1.2) สูตรโครงสรางไอโซเมอริซึม
ไอโซเมอร (Isomer)คือสารที่มีสูตรโมเลกุลเหมือนกันแตสูตรโครงสรางตางกันแบงออกได
ดังนี้
ก. ไอโซเมอรเชิงโครงสราง (Constitutional isomers หรือ structural isomers) ตางที่ “การตอ
กันของอะตอม” เชน
C2H6O: H3CH2C-O-H แอลกอฮอล (alcohol) ↔ อีเทอร (ether) H3C-O-CH3
C2H6O2: H-CO-O-CH3เอสเทอร (ester) ↔ กรดอินทรีย H3C-CO-O-H
C3H6O: H3C-CO-CH3 คีโตน(ketone) ↔แอลดีไฮด(aldehyde) H3CH2C-CHO
ข. สเตอริโอไอโซเมอร (stereoisomers) การตอกันของอะตอมเหมือนกัน แตตางกันที่ “การ
วางตัวของอะตอมในที่วาง” สเตอริโอไอโซเมอรเกิดขึ้น
เฉพาะสารที่ C มีหมูแทนที่ทั้ง 4 ตางกัน โดยไอโซเมอรที่
ไดจะเปนภาพสะทอนในกระจกเงา
คูไอโซเมอรนี้เรียกวา “อิแนนทิโอเมอร
(enantiomers)” ซึ่งซอนทับกันไมสนิทเหมือนมือซาย
และมือขวาของเรา
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 48
ค. ไอโซเมอรเชิงเรขาคณิต (Geometrical isomers) (เปน subset ของสเตอริโอไอโซเมอร)
การตอกันของอะตอมเหมือนกัน แตตางกันที่ “การวางตัวของอะตอมในที่วาง” ของสารประกอบที่มี
C=C หรือสารประกอบที่เปนวง โดย C ที่ตําแหนงพันธะคูแตละอะตอมตองมีหมูแทนที่ตางกัน การระบุ
โครงสรางใช
- cis เรียกสารที่มีโครงสรางที่มีหมูเหมือนกันอยูดานเดียวกันของระนาบของ C=C หรือระนาบวง
- trans เรียกสารที่มีโครงสรางที่มีหมูเหมือนกันอยูดานตรงขามของระนาบของ C=C หรือระนาบวง
เชน
C C
HH
Br Br
C C
BrH
Br H Br
Br
Br
Br
cis-1,2-dibromoethane
trans-1,2-
dibromoethane
cis-1,2-
dibromocyclohexane
trans-1,2-
dibromocyclohexane
เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4”
วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา
หนา 49
สารประกอบของ C มี 2 ประเภท
1. C + H เรียกวา สารประกอบไฮโดรคารบอน มี 2 ชนิด
การเรียกชื่อ*
ชนิดของสาร สูตรทั่วไป
คําขึ้นตน คําลงทาย
การเผาไหม คุณสมบัติ
แอลเคน
(alkane)
CnH2n+2 - เ-น
(+ane)
ไซโคลแอลเคน
(cycloalkane)
CnH2n ไซโคล- เ-น
(+ane)
ไมมีเขมา 1. ปฏิกิริยาแทนที่ (เมื่อมีแสง) ให
กาซที่เปนกรด
C C
H
H
H
H
H
H
Br2
แสง
C C
H
Br
H
H
H
H
แอลคีน
(alkene)
CnH2n - -ีน
(+ene)
ไซโคลแอลคีน
(cycloalkene)
CnH2n-2 ไซโคล- -ีน
(+ene)
มีเขมา 1. ปฏิกิริยาการเติม
C C
H
H
H
H
Br2 C C
H
Br
H
H
Br
H
2. ปฏิกิริยาออกซิเดชัน (ฟอกสีดาง
ทับทิม)
C C
CH3
H
H
H
2 KMnO4 4 H2O
C C
H
CH3
OH
H
H
OH
2 MnO2 2 KOH
แอลไคน
(alkyne)
CnH2n-2 ไ-น
(+yne)
มีเขมามาก 1. ปฏิกิริยาการเติม
C C
Br
H
Br
Br
H
Br
Br2C C HH 2
อะโรมาติก-
ไฮโดรคารบอน*
*
(aromatic
hydrocarbon)
- - -ีน
(+ene)
มีเขมามาก 1. ปฏิกิริยาแทนที่
H
HH
H
H H
H2SO4
SO3H
HH
H
H H
H2O
เคมี
เคมี
เคมี
เคมี
เคมี
เคมี
เคมี
เคมี
เคมี
เคมี
เคมี
เคมี
เคมี
เคมี
เคมี
เคมี
เคมี
เคมี
เคมี
เคมี
เคมี
เคมี
เคมี
เคมี
เคมี
เคมี
เคมี
เคมี
เคมี

More Related Content

What's hot

วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอมวิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอมTutor Ferry
 
พันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsพันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsDr.Woravith Chansuvarn
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)Ajchariya Sitthikaew
 
โครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atomsโครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม AtomsBELL N JOYE
 
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์Pat Jitta
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent BondSaipanya school
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมีTharit Khumon
 
Onet เคมี M6
Onet เคมี M6Onet เคมี M6
Onet เคมี M6oraneehussem
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond kruannchem
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุchemnpk
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุkrupatcharee
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)Ajchariya Sitthikaew
 

What's hot (20)

วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอมวิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
พันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsพันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bonds
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
 
โครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atomsโครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atoms
 
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
 
1.โครงสร้างอะตอม
1.โครงสร้างอะตอม1.โครงสร้างอะตอม
1.โครงสร้างอะตอม
 
Chemical bond
Chemical bondChemical bond
Chemical bond
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 
Solid Liquid And Gas
Solid   Liquid  And   GasSolid   Liquid  And   Gas
Solid Liquid And Gas
 
chemical bonding
chemical bondingchemical bonding
chemical bonding
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
Chemical bonding1
Chemical bonding1Chemical bonding1
Chemical bonding1
 
Chemical
ChemicalChemical
Chemical
 
Onet เคมี M6
Onet เคมี M6Onet เคมี M6
Onet เคมี M6
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond
 
Study 1
Study 1Study 1
Study 1
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
 

Similar to เคมี

ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
แบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอมแบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอมsripa16
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์oraneehussem
 
ไฮบริไดเซชัน
ไฮบริไดเซชันไฮบริไดเซชัน
ไฮบริไดเซชันMaruko Supertinger
 
Science o net51
Science o net51Science o net51
Science o net51Yam Moo
 
วิทยาศาสตร์ Onet'51
วิทยาศาสตร์ Onet'51วิทยาศาสตร์ Onet'51
วิทยาศาสตร์ Onet'51Prapasson Tiptem
 
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์momaysnail
 
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์waratchaya603
 
Onetวิทยาศาสตร์51
Onetวิทยาศาสตร์51Onetวิทยาศาสตร์51
Onetวิทยาศาสตร์51chonnipha
 
ข้อสอบ O-net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net 51 วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O-net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net 51 วิทยาศาสตร์603_Suttiruk
 
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์Saran Pankeaw
 

Similar to เคมี (20)

M cmu-01-10-54-p1
M cmu-01-10-54-p1M cmu-01-10-54-p1
M cmu-01-10-54-p1
 
เคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอมเคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอม
 
Atom
AtomAtom
Atom
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
แบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอมแบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอม
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
ไฮบริไดเซชัน
ไฮบริไดเซชันไฮบริไดเซชัน
ไฮบริไดเซชัน
 
Science m6
Science m6Science m6
Science m6
 
Science o net51
Science o net51Science o net51
Science o net51
 
M6 science-2551
M6 science-2551M6 science-2551
M6 science-2551
 
วิทยาศาสตร์ Onet'51
วิทยาศาสตร์ Onet'51วิทยาศาสตร์ Onet'51
วิทยาศาสตร์ Onet'51
 
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
 
Science m6
Science m6Science m6
Science m6
 
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
Onetวิทยาศาสตร์51
Onetวิทยาศาสตร์51Onetวิทยาศาสตร์51
Onetวิทยาศาสตร์51
 
วิท
วิทวิท
วิท
 
ข้อสอบ O-net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net 51 วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O-net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net 51 วิทยาศาสตร์
 
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
 
Si
SiSi
Si
 

เคมี

  • 1. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 1 1 อะตอมและตารางธาตุ 1.1 แบบจําลองอะตอม แบบจําลอง นักวิทยาศาสตร ทฤษฎี ดาลตัน (John Dalton) อะตอมเปนทรงกลม แบงแยกไมได ทอมสัน (Joseph J. Thomson) - มีอนุภาคที่มีประจุบวก เรียกวา โปรตอน - มีอนุภาคที่มีประจุลบ เรียกวา อิเล็กตรอน - จํานวนโปรตอน = จํานวน อิเล็กตรอน - e/m = -1.76 x 108 C/g = คาคงที่ รัทเธอรฟอรด (Ernest Rutherford) - อะตอมมีลักษณะโปรง - ประกอบดวยโปรตอนรวมกันอยูตรง กลางนิวเคลียส ซึ่งมีขนาดเล็กแตมีมวล มาก - สวนอิเล็กตรอน มีมวลนอยมาก จะวิ่ง อยูรอบๆ นิวเคลียส นีล บอร (Niels Bohr) อะตอมเปนทรงกลม ประกอบดวย โปรตอนและนิวตรอน รวมกันเปน นิวเคลียสอยูตรงกลาง มีอิเล็กตรอนวิ่งเปนโคจรหรือระดับ พลังงานรอบๆ นิวเคลียส
  • 2. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 2 1.2 สเปกตรัมของแสงจากอะตอม นักวิทยาศาสตร การคนพบ ไอแซค นิวตัน ทดลองแยกแสงขาวโดยใชปริซึม กุสตาฟ คีรัชฮอฟฟ ชาวเยอรมัน “สเปกโตสโคป” ใชแยกสเปกตรัม ของแสงขาวและ ใชตรวจเสน สเปกตรัมของธาตุที่ถูกเผา โรแบรต บุนเซน เผาสารจนรอนแดง แลวใชสเปกโตสโคป ตรวจสอบเสนสเปกตรัมของแรตางๆ และระบุธาตุ องคประกอบของแรที่ นํามาศึกษา พบวา มีเสนสเปกตรัม เกิดขึ้นเมื่อเผาสาร อธิบายไดดังนี้ โดยปกติอิเล็กตรอนในอะตอม จะอยูในระดับพลังงานต่ําสุดที่ภาวะ พื้นฐาน (ground state) เมื่ออะตอม ไดรับพลังงาน (ภายนอก) เพิ่ม อิเล็กตรอนในอะตอมจะไปอยูในระดับ พลังงานที่สูงกวา เรียกวา สภาวะกระตุน (excited state) ที่สภาวะกระตุนนี้ อะตอมจะไมเสถียร จึงมีการปรับตัวโดย อิเล็กตรอนจะวิ่งสูสภาวะที่มีพลังงานต่ํา โดยอิเล็กตรอนจะคายพลังงานสวนเกิน
  • 3. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 3 ออกมา ในรูปแบบพลังงานรังสี ปรากฏ เปน สเปกตรัม ส เ ป ก ต รั ม คื อ ค ลื่ น แมเหล็กไฟฟาที่มีความยาวคลื่นและ ความถี่ ซึ่งเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลง ระดับพลังงานของอิเล็กตรอน 1.3 การจัดอิเล็กตรอนในอะตอม อิเล็กตรอนอยูใน “ออรบิทัล (orbital)” ซึ่งชนิดของ orbital ตางๆ มีดังนี้ s-orbital (มี 1 ออรบิทัล) p-orbital (มี 3 ออรบิทัล) d-orbital (มี 5 ออรบิทัล) f-orbital (มี 7 ออรบิทัล) *** ในแตละออรบิทัลบรรจุอิเล็กตรอนได 2 ตัว
  • 4. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 4 การจัดเรียงอิเล็กตรอน (electron configuration) จะเปนไปตามลําดับดังนี้ ชั้นที่ (n) ออรบิทัลที่มีในแต ละชั้น 1 1s 2 2s 2p 3 3s 3p 3d 4 4s 4p 4d 4f 5 5s 5p 5d 5f 6 6s 6p 6d 6f 7 7s 7p 7d 7f เมื่อออรบิทัลทุกชนิดอยูรวมกันในอะตอม
  • 5. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 5 อิเล็กตรอนคอนฟกุเรชันของธาตุ จึงเขียนเปน 1s , 2s , 2p , 3s , 3p , 4s , 3d, 4p, 5s , 4d , 5p , 6s , 4f , 5d , 6p , 7s 10Ne มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเปน = 1s2 , 2s2 , 2p6 (2 . 8 ) 9F มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเปน 8O มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเปน 7N มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเปน 6C มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเปน 5B มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเปน 4Be มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเปน 3Li มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเปน = 1s2 , 2s2 , 2p5 (2 . 7 ) = 1s2 , 2s2 , 2p4 (2 . 6 ) = 1s2 , 2s2 , 2p3 (2 . 5 ) = 1s2 , 2s2 , 2p2 (2 . 4 ) = 1s2 , 2s2 , 2p1 (2 . 3 ) = 1s2 , 2s2 (2 . 2 ) = 1s2 , 2s1 (2 . 1 ) 1.4 แบบจําลองอะตอมแบบกลุมหมอก ชโรดิงเจอร (Erwin Schrödinger)
  • 6. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 6 A 1.5 ตารางธาตุและสมบัติบางประการของธาตุตามหมูและตามคาบ ตารางธาตุ ลักษณะสําคัญของตารางธาตุ เรียงธาตุ ตามเลขอะตอม จากนอยไปมาก เรียงธาตุ จากซายไปขวา เรียกวา คาบ (Period) มี 7 คาบ เรียงธาตุ จากบนลงลาง เรียกวา หมู (group, column, series) มี 8 หมู หมูที่สําคัญคือ หมู I เปนโลหะ เรียกวา alkali หมู II เปนโลหะ เรียกวา alkaline earth หมู VII เปนอโลหะ เรียกวา halogen หมู VIII เปนอโลหะ(ที่ๆไมวองไวในการเกิดปฏิกิริยาเคมี) เรียกวา inert gas, rare noble gas ธาตุ เปนอะตอม มีสัญลักษณเขียน X แทนทุกธาตุและสัญลักษณ นิวเคลียรเขียน ZX อาน Z X A H
  • 7. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 7 11 12 12 13 11 12 12 13 12 12 Z แทน เลขอะตอม atomic number = proton = electron X แทน สัญลักษณ symbol A แทน เลขมวล atomic mass = proton + neutron ธาตุหรืออะตอมของธาตุในตารางธาตุจะมี IsotoPeหมายถึงธาตุที่มีเลขอะตอมหรือprotonหรือเปนธาตุชนิดเดียวกันแตมีneutronตางกันไดแก 5B = 5B และ 6C = 2C IsotoNe หมายถึง ธาตุที่มี neutron เทากันแตมีเลขอะตอมตางกัน เชน 5B = 6C และ 5B = 6C IsobAr หมายถึงธาตุที่มีเลขมวล เทากัน เชน 5B = 6C IsoElectron หมายถึงอนุภาค(อะตอม , ion, โมเลกุล) ที่มีจํานวนอิเล็กตรอนเทากัน จะได วาอิเล็กตรอนของ ion บวกของธาตุหมูตางๆ = ionลบของธาตุหมูตางๆ =กาซเฉื่อย
  • 8. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 8 เลขอะตอมของธาตุหมู VIII สัมพันธกับ e/n และธาตุ/คาบ ดังนี้ ชั้น,คาบที่ (n) e/n = 2n2 ธาตุ/ คาบ เลขอะตอมของธาตุหมู VIII ธาตุ เรียง e/ คาบ 1 2 2 2 He 2 2 8 8 10 Ne 2, 8 3 18 8 18 Ar 2, 8, 8 4 32 18 36 Kr 2, 8, 18, 8 5 18 54 Xe 2, 8, 18, 18, 8 ≤ 8 32 86 Rn 2, 8, 18, 32, 18, พิจารณาจาก 1. การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงาน (n) = 2n2 จะไดจํานวนอิเล็กตรอนในระดับพลังงาน = 2, 8, 18, 32 …. ≤ 8 2. จํานวนธาตุในคาบจะสัมพันธกับจํานวน e/n = 2, 8, 18, 18, 32, …..
  • 9. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 9 ตารางแสดงคุณสมบัติบางประการของธาตุ หมู VIII สัญลักษณ เลข อะตอม การจัดเรียง อิเล็กตรอน รัศมี อะตอม IE1 (kJ/mol) m.p. (°C) b.p. (°C) He 2 2 93 2,397 -270 -269 Ne 10 2, 8 112 2,087 -249 -246 Ar 18 2, 8, 8 154 1,527 -189 -186 Kr 36 2, 8, 18, 8 169 1,357 -157 -152 Xe 54 2, 8, 18, 18, 8 190 1,177 -112 -108 Rn 86 2, 8, 18, 32, 18, 8 220 1,043 -71 -62 ตารางแสดงสมบัติบางประการของธาตุหมู 1 ธาตุ เลข อะตอม การจัดเรียง อิเล็กตรอน รัศมี อะตอม* IE1 (kJ/mol) m.p. (°C) b.p. (°C) E° (V) M+ +ë Li 3 2, 1 152 526 180 0.53 -3.05 Na 11 2, 8, 1 186 502 98 0.97 -2.71 K 19 2, 8, 8, 1 227 425 64 0.86 -2.92 Rb 37 2, 8, 18, 8, 1 248 409 39 1.53 -2.92 Cs 55 2, 8, 18, 18, 8, 1 265 382 28 1.89 -2.92 *รัศมีอะตอมในโลหะเทากับครึ่งหนึ่งของของระยะยาวระหวางนิวเคลียสของอะตอมที่อยูถัดกันในผลึกของโลหะ สมบัติบางประการของธาตุในคาบที่ 2 หมู/ธาตุ สมบัติของธาตุ I Li II Be III B IV C V N VI O VII F VIII Ne เลขอะตอม การจัดอิเล็กตรอน IE1 (kJ/mol) อิเล็กโทรเนกาติวิตี รัศมีอะตอม (pm) จุดหลอมเหลว (°C) ชนิดของธาตุ 3 2, 1 526 1.0 123* 180 โลหะ 4 2, 2 906 1.5 89* 1280 โลหะ 5 2, 3 807 2.0 80* 2,030 กึ่งโลหะ 6 2, 4 1,093 2.5 77* 3,500 อโลหะ 7 2, 5 1,407 3.0 74* -210 อโลหะ 8 2, 6 1,320 3.5 74* -218 อโลหะ 9 2, 7 1,687 4.0 72* -220 อโลหะ 10 2, 8 2,087 160** -249 อโลหะ * รัศมีโคเวเลนต ** รัศมีวันเดอรวาลส
  • 10. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 10 สมบัติบางประการของธาตุในคาบที่ 3 หมู/ ธาตุ สมบัติของธาตุ I Na II Mg III Al IV Si V P VI S VII Cl VIII Ar เลขอะตอม การจัดอิเล็กตรอน IE1 (kJ/mol) อิเล็กโทรเนกาติวิตี รัศมีอะตอม (pm) จุดหลอมเหลว (°C) ชนิดของธาตุ 11 2, 8, 1 502 0.9 157* 98 โลหะ 12 2, 8, 2 744 1.2 136* 649 โลหะ 13 2, 8, 3 548 1.5 125* 660 โลหะ 14 2, 8, 4 793 1.8 117* 1,410 กึ่งโลหะ 15 2, 8, 5 1,018 2.1 110* 44 อโลหะ 16 2, 8, 6 1,006 2.5 104* 113 อโลหะ 17 2, 8, 7 1,257 3.0 99* -101 อโลหะ 18 2, 8, 8 1,527 - 192** -189 อโลหะ * รัศมีโคเวเลนต ** รัศมีวันเดอรวาลส *** หมายเหตุ โลหะ ให e ไป ขนาดจะเล็กลง เกิดไอออนบวก เกิดพันธะไอออนิก อโลหะ รับ e มา ขนาดใหญขึ้น เกิดไอออนลบ
  • 11. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 11 ความสัมพันธระหวางขนาดอะตอมกับคา EN : -อะตอมขนาดใหญ คา EN ต่ํา สมบัติของสารประกอบ O2- , Cl- , H- ของธาตุบางชนิด ออกไซด (oxide) สูตร Na2O Na2O2 MgO Al2O3 SiO2 P4O6 P4O10 SO2 SO3 Cl2O สถานะที่ 20°C ของแข็ง ของแข็ง ของแข็ง ของแข็ง ของแข็ง กาซ ของเหลว กาซ ชนิดของพันธะ อิออนิก อิออนิก อิออนิก โคเวเลนต โคเวเลนต โคเวเลนต โคเวเลนต ความเปนกรด/เบส เบส เบส แอมโฟเทอริก กรด กรด กรด กรด
  • 12. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 12 คลอไรด (chloride) สูตร NaCl MgCl AlCl3 SiCl4 PCl3 PCl5 S2Cl2 สถานะที่ 20°C ของแข็ง ของแข็ง ของแข็ง ของเหลว ของเหลว ของแข็ง ของเหลว ชนิดของพันธะ อิออนิก อิออนิก โคเวเลนต โคเวเลนต โคเวเลนต อิออนิก โคเวเลนต เมื่อสัมผัสกับอากาศชื้น - - ควัน ควัน ควัน ควัน ไฮไดรด (hydride) สูตร NaH MgH2 (AlH3)n SiH4 PH3 H2S HCl สถานะที่ 20°C ของแข็ง ของแข็ง ของแข็ง กาซ กาซ กาซ กาซ ชนิดของพันธะ อิออนิก อิออนิก โคเวเลนต โคเวเลนต โคเวเลนต โคเวเลนต โคเวเลนต ตัวอยางขอสอบ ธาตุ K , L , และ M มีเลขอะตอม 10 , 14 , และ 20 ตามลําดับ ธาตุทั้งสามจะอยูในหมูและคาบ ใดตามลําดับ ดังนี้ หมู คาบ หมู คาบ 1.) 2 , 4 , 8 และ 2 , 3 , 4 2.) 4 , 8 , 2 และ 3 , 2 , 4 3.) 4 , 2 , 8 และ 4 , 3 , 8 4.) 8 , 4 , 2 และ 2 , 3 , 4 หลัก พิจารณาจากเลขอะตอมของหมู VIII 2He 10Ne 18Ar 36Kr……….. 10K อยูในหมู VIII
  • 13. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 13 โจทยถาม1. การจัดเรียงธาตุ ตามคาบ/ตามหมู ใหตามหา ก. ธาตุหมู VIIIเพราะเปนธาตุไมวองไวในการเกิดปฏิกิริยาเคมีไดแกธาตุ 2He 10Ne 18Ar 36Kr 54Xe8 6Rn ข. ตามหาธาตุหมู VII (F) ∴มีคา EN (Electronegativity) สูงสุด 3Li Be B C N O F 10Ne EN 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0 3.5 4.0 - 11Na Mg Al Si P S Cl 18Ar EN 0.9 1.2 1.5 1.8 2.1 2.5 2.8 - ค. ตามหาธาตุหมู I เพราะวา ***ในทุก ๆ คาบ ขนาดหมู I ใหญสุด*** โลหะ คาบ 2 3Li Be B ขนาด(pm) 152 111 88 Li+ Be2+ B3+ 60 31 20 คาบ 3 11Na Mg Al ขนาด (pm) 186 160 143 Na+ Mg2+ Al3+ 95 65 50 ธาตุในคาบ 2 6C 7N 8O 9F ขนาด (Å) 0.77 0.70 0.66 0.64 ไอออนของธาตุในคาบ 2 N3- O2- F- ขนาด (Å) 1.71 1.40 1.36 อโลหะ
  • 14. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 14
  • 15. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 15 ง. ตามหาคา IONISATION ENERGY; IE - คาพลังงานไอออไนเซชัน IE อิเล็กโตรเนกาติวีตี EN และความเปนอโลหะของธาตุ จะเพิ่มตามคาบ และจะลดลงตามหมู 18Ar + IE1 18Ar+ + e1 2 . 8 . 8 2 . 8 . 7 19K + IE1 19K+ + e1 19K+ + IE2 19K2+ + e2 2 . 8 . 8 .1 2 .8 . 8 2 .8 . 8 2 .8 . 7 20Ca + IE1 20Ca+ + e1 2 . 8 . 8 . 2 2 . 8 . 8 . 1 20Ca+ + IE2 20Ca2+ + e2 20Ca2+ + IE3 20Ca3+ + e3 2 . 8 . 8 . 1 2 . 8 . 8 2 . 8 . 8 2 . 8 . 7 IE ของธาตุตามคาบเพิ่ม ตามหมูลด คา IE ของธาตุต่ําสุดตามเลขหมู 5B เรียง e = 2, 3 IE1 < IE2 < IE3 << IE4 < IE5 800 2,500 3,600 25,000 32,000 ขอมูลตอไปนี้ ใชประกอบการตอบคําถามขอ 1-5 สมบัติ ธาตุ จุดหลอมเหลว o C จุดเดือด o C ความหนาแนน g/cm3 จุดหลอมเหลวคลอไรดของธาตุ o C A B C D E F 660 1280 113 114 1540 44 2450 2480 445 183 3000 280 2.70 1.85 1.96 4.94 7.86 1.82 193 405 -80 27 670 -91
  • 16. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 16 1. ธาตุที่นาจะเปนโลหะ คือกลุมของธาตุในขอใด 1. A, B, E 2. A, C, D 3. A, D, E 4. C, D, F 2. กลุมธาตุที่นาจะนําไฟฟาได 1. E, F 2. A, F 3. A, D 4. B, C 3. ออกไซดของธาตุกลุมใดที่ละลายน้ําแลวใหสารละลายที่เปนกรด 1. A, B 2. B, C 3. C, F 4. D, E 4. ธาตุกลุมใด มีคาพลังงานไอออไนเซชันต่ําสุด 1. A, B 2. A, C 3. A, D 4. D, F 5. ธาตุกลุมใดมีแรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุลสูงที่สุด 1. B, C 2. C, D 3. A, E 4. E, F 6. พลังงานไอออไนเซชัน 6 ลําดับ มีคาเทากับ 1.093, 2.359, 4.627, 5.229, 37.838, 47.285 เมกาจูล ตอโมลผลตางของพลังงานไอออไนเซชันระหวางระดับพลังงานที่ 1กับระดับพลังงานที่ 2เปนกี่เมกาจูลตอ โมล 1. 1.266 2. 9.447 3. 31.609 4. 46.192 7. สัญลักษณของธาตุ A ที่มีจํานวนอิเล็กตรอน = 91 จํานวนนิวตรอนเทากับ 140 คือขอใด 1. Pa91 140 2. Pa140 91 3. Pa231 91 4. Pa91 231 ตารางนี้ใชประกอบการตอบคําถามขอ 8-9 ธาตุ เลขอะตอม A 10 B 16 C 18 D 24 E 32 8. ธาตุที่อยูหมูเดียวกัน คือ 1. A กับ C 2. B กับ E 3. A กับ B 4. B กับ D 9. ธาตุที่เปนโลหะทรานซิชัน คือ 1. A 2. B 3. C 4. D
  • 17. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 17 10. ตารางธาตุตอไปนี้ ใชประกอบในการตอบคําถามขอ 10-13 I II III IV V VI VII VIII A B D F C E 1. B มีเวเลนตอิเล็กตรอนนอยกวา C 2. B มีคาอิเล็กโตรเนกาติวิตีมากกวา C 3. B มีขนาดของอะตอมใหญกวา A 4. B มีจุดหลอมเหลวต่ํากวา C 11. เมื่อธาตุ C ทําปฏิกิริยากับธาตุ E สารประกอบที่ไดควรมีสูตรอยางไร 1. C2E 2. CE 3. CE2 4. C2E3 12. สารใดมีสมบัติเปนสารประกอบอิออนิกมากที่สุด 1. AB 2. AC . AD 4. AE 13. สมบัติที่ถูกตองของธาตุ A และ D คือขอใด 1. A มีจํานวนเวเลนตอิเล็กตรอนมากกวา D 2. A มีสมบัติเปนโลหะนอยกวา D 3. พลังงานไอออไนเซชันของ D มากกวา A 4. คาอิเล็กตรอนแอฟนิตีของ A มากกวา B
  • 18. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 18 2 พันธะเคมี ชนิดของพันธะ ชนิดของธาตุที่ เกิดพันธะกัน หลักการ พันธะอิออนิก โลหะ + อโลหะ **มีการรับ/ใหอิเล็กตรอน** -โลหะ (EN&IE ต่ํา) ให ë เกิดเปน cation ขนาด -อโลหะ (EN&IE สูง) รับ ë เกิดเปน anion ขนาด พันธะโคเวเลนท อโลหะ + อโลหะ ใชอิเล็กตรอนรวมกัน
  • 19. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 19 พันธะโลหะ โลหะ + โลหะ อิเล็กตรอนวิ่งไปทั่ว (ทะเลอิเล็กตรอน) ทําให - นําไฟฟาได - เปนมันวาว - เหนียว พันธะไฮโดรเจน เกิดจาก สารประกอบที่มี - H ตอ “N” คือ NH3 - H ตอ “O” คือ H2O , R’OH , RCOOH - H ตอ “F” คือ HF อยูระหวางพันธะอิออนิกและโคเวเลนต เกิดประจุบางสวน (δ+ /δ- ) 1. ขอความเกี่ยวกับพันธะเคมีขอใดถูกตอง 1. พันธะเคมีเกิดขึ้นเมื่อแตละอะตอมเปนจํานวนคี่เทานั้น 2. พลังงานของพลังงานเคมีจะเพิ่มขึ้นตามความยาวของพันธะ 3. พันธะเคมีเกิดจากแรงดึงดูดระหวางนิวเคลียสกับอิเล็กตรอน 4. พันธะเคมีเกิดจากแรงกระทําระหวางอิเล็กตรอนกับอิเล็กตรอน ตอบ ขอ 3 เพราะวา การเกิดสารประกอบระหวางธาตุกับธาตุพิจารณาดังนี้ โลหะ + อโลหะ เกิดสารประกอบไอออนิก เกิดพันธะเคมี เรียกวา พันธะอิออนิก เนื่องจาก โลหะ - ให ‘e’ ไป - เกิดไอออนบวก - เกิดพันธะอิออนิก
  • 20. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 20 2. ขอความตอไปนี้เกี่ยวกับนิยามพันธะเคมี 1. สารประกอบอิออนิกมักจะเกิดระหวางธาตุที่มีพลังงานอิออไนเซชันต่ํากับธาตุที่มีคา อิเล็กโตรเนเกติวิตีสูง 2. เมื่อหลอมเหลวสารประกอบอิออนิกนําไฟฟาได 3. สารประกอบอิออนิกจะเปนปฏิกิริยาดูดความรอน 4. สารประกอบยึดเหนี่ยวกันดวยแรงไฟฟา ตอบ ขอ 4 เพราะวา สารประกอบอิออนิกเกิดจาก - โลหะ + อโลหะ - โลหะให ‘e’ ไปเปลี่ยนเปน ION บวก อโลหะรับ ‘e’ มาเปลี่ยนเปน ION ลบ - ในโครงสรางผลึกของสารประกอบอิออนิก จึงยึดเหนี่ยวกันดวยไอออนบวกกับไอออนลบ 3. การเปลี่ยนแปลงในขอใดที่จะบอกไดทันทีวาเปนการเปลี่ยนแปลงประเภทคายพลังงาน 1. H2(g) + I2(g) 2HI(g) 2. C(g) + O2(g) CO2(g) 3. HF(g) H2(g) + F2(g) 4. CH4(g) + Cl2(g) CH3Cl(g) + HCl(g) ตอบ ขอ 2 เพราะวา การสรางสารใหมจากอะตอมตองคายพลังงานจึงใชหลักทั่วๆ ไปวา สราง (พันธะ) คาย (พลังงาน) สลาย (พันธะ) ดูด (พลังงาน) 4. ขอใดเปนการเปลี่ยนแปลงแบบคายพลังงาน ก. C(g) + 2O(g) CO2(g) ข. H2O(g) H2O(g) ค. F2(g) + 2e- 2F- (g) ง. CH4(g) + 2e- C(g) + 4H(g) 1. ก และ ค 2. ก และ ข 3. ค เทานั้น 4. ง เทานั้น
  • 21. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 21 ตอบ ขอ 1 เพราะวา ก และ ค สรางสารใหม ข เปลี่ยนสถานะ ของแข็ง + E ของเหลว + E กาซ ค สลายสารใหเปนอะตอม 5. ขอมูลตอไปนี้ใชในการตอบคําถาม H2O(g) + 926 kJ 2H(g) + O(g) CO2(g) + 1490 kJ C(g) + 2O(g) O2(g) + 498 kJ 2O(g) CH4(g) + 1724 kJ C(g) + 4H(g) การเรียงลําดับความแข็งแรงของพันธะโคเวเลนต ขอใดถูกตอง 1. C=O > O=O > H-O > C-H 2. C-H > C=O > H-O > O=O 3. O=O > H-O > C=O > C-H 4. C-H > H-O > O=O > C=O ตอบ ขอ 1 เพราะวา พลังงานสลายพันธะคูมากกวาพลังงานสลายพันธะเดี่ยว ดูไดจาก พลังงาน C≡C > C=C > C-C ∼900 600 300 6. โมเลกุลและไอออนในขอใดมีจํานวนอิเล็กตรอนทั้งหมดเทากัน 1. CO O2 CN- NO+ 2. CN- NO+ N2 CO 2. O2 CN- NO+ N2 4. NO+ N2 CO O2 ตอบ ขอ 2 เพราะวา ใชหลักหาอิเล็กตรอนของธาตุกอนจะงาย พิจารณาขอ 1., 3., 4., มี O 2 = 2 (O) = 2 x 8 = 16 สวน CO = C + O = 6 + 8 = 14 N2 = 2 (N) = 2 x 7 = 14 ขอ 1 และ 4 อิเล็กตรอนของ CO ≠ O2 3. อิเล็กตรอนของ O2 ≠ N2
  • 22. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 22 7. ขอใดที่มีการเรียงสภาพมีขั้วของโมเลกุลจากนอยไปมาก 1. CO2 NH3 CCl4 2. HF CH4 CCl4 3. NO2 BeCl2 H2S 4. BeCl2 PBr3 PCl3 8. ขอใดประกอบดวยโมเลกุลที่มีรูปรางเปนมุมงอ 1. SO2 Cl2O H2S 2. BeF2 SiO2 CO2 3. CS2 C2H2 HCN 4. Cl2O SiO2 CO2 9. โมเลกุลของสารประกอบตอไปนี้ที่มุมพันธะของคารบอนและอะตอมทั้งสองมีคาใกลเคียงกันที่สุด ก. CH3COOH ข. CH2CH2 ค. CH3CHO ง. HOCH2CH2 1. ก เทานั้น 2. ข เทานั้น 3. ก และ ค 4. ข และ ง 10. กําหนดธาตุ X, Y และ Z มีเลขอะตอมเทากับ 17, 35 และ 54 ตามลําดับ มีสูตร ก. XF3 ข. YF5 ค. ZF2 สารในขอใดบางที่อะตอมกลางมีจํานวนอิเล็กตรอนคูโดดเดี่ยวเทากับ 1 คู 1. ก เทานั้น 2. ข เทานั้น 3. ค เทานั้น 4. ก และ ค
  • 23. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 23 3 ปริมาณสัมพันธในปฏิกิริยาเคมี 1. ธาตุ A 1010 อะตอมมีมวล = x กรัม ถาใชสาร B 1 อะตอม มีมวล = y กรัม เปนมาตรฐาน ธาตุ A มี มวลอะตอมเทากับ 1. 10 10 xy 2. y x10 10− 3. x y10 10− 4. y 10 10− 2. ผลการทดลองจากการนําเอาธาตุ A ทําเปนออกไซด มีดังนี้ ครั้งที่ 1 A (กรัม) ออกไซดของ A (กรัม) 1 2 3 4 1 2 3 4 1.88 3.76 5.76 7.56 (มวลอะตอมของ A = 27 มวลโมเลกุลของออกไซด = 102) สูตรอยางงายของออกไซดของ A คือ 1. AO2 2. A2O3 3. A3O4 4. A2O5 3. สารละลาย A เขมขน 9 โมล/ดม3 ปริมาตร 2 ซม3 ถาเติมสาร B เขมขน 3 โมล/ดม3 ลงไปเรื่อยๆ จะ เกิดตะกอนตองใชสาร B ไป 4 ซม3 สาร A จะทําปฏิกิริยากับสาร B คือ 1. BaCl2 + H2SO4 2. H3PO4 + CaCl2 3. H2SO4 + BaCl2 4. CaCl2 + H3PO4 4. กําหนดให 1. น้ํา 36 กรัม 2. กาซ CO2 1.2 x 1024 โมเลกุล 3. H2(g) 2.24 ลิตร ที่ STP 4. กาซ CO มี C = 24 กรัม 5. กรด H2SO4 มี S อยู = 6.02 x 1023 อะตอม
  • 24. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 24 ขอใดที่มีจํานวนโมเลกุลเทากัน 1. ขอ 1, 2 และ 3 2. ขอ 2, 3 และ 4 3. ขอ 1, 3 และ 4 4. ถูกทุกขอ 5. นําเกลือโครเมียมชนิดหนึ่งมีสูตร Na2CrO4.nH2O ไปวิเคราะหพบวามีโครเมียมอยู 15.2% โดยมีคา ของ “n” เทากับ 1. 2 2. 5 3. 7 4. 10 6. นําสาร X2(CO3)3 มา 19.00 กรัม ไปเผาไดออกไซดของ X เทากับ 16.00 กรัม กับกาซ คารบอนไดออกไซดเทานั้น ( C = 12, O = 16) จะไดวา 1. CO 2. 2CO2 3. 3CO2 4. 3C 7. กรดออนโมโนโปรติก 4.56 กรัม นําไปละลายในเบนซีน 100 กรัม จะมีจุดเยือกแข็งลดลง 0.512o C ถาสารนี้ 1 โมล ละลายในเบนซีน 1000 กรัม ทําใหจุดเยือกแข็งลดลง 5.12o C ขอใดสรุปถูกตอง 1. มวลโมเลกุลของกรดในน้ํา = 456 2. กรดนี้มีไฮโดรเจนถูกแทนที่ได 2 อะตอม 3. กรดนี้แตกตัวไดหมดในน้ํา 4. มวลโมเลกุลของกรดในเบนซีน = 456 8. นําผลึก Na2S2O3.5H2O มา 0.310 กรัม ทําเปนสารละลายดวยน้ําจนมีปริมาตร 250 cm3 แลวผาน กาซ Cl2 ลงไปจนเกิดปฏิกิริยาอยางสมบูรณ ขจัด Cl2(g) ดวย N2(g) แลวนําสารละลายมา 25 cm3 ไปทดลองไดผลไดดังนี้ เติม 1. KOH (aq) 1.0 M 12.5 cm3 ปฏิกิริยาเปนกลางพอดี 2. AgNO3 (aq) 1.0 M 10 cm3 เกิดตะกอนสมบูรณพอดี 3. BaCl2 (aq) เกิดตะกอนขาว 0.583 กรัม 1) จงเขียนสมการที่ดุลแลวของปฏิกิริยานี้ 2) ปริมาณผลิตภัณฑที่ไดแตละขอมีคากี่โมลและกี่โมล/ลิตร(มวลโมเลกุลของNa2S2O3.5H2O=248)
  • 25. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 25 4 ของแข็ง ของเหลว กาซ 1. ขอใดที่ถูกตองเกี่ยวกับทฤษฎีจลนของกาซ 1) โมเลกุลของกาซมีปริมาตรนอยมากเมื่อเปรียบเทียบกับปริมาตรของภาชนะ 2) ที่อุณหภูมิเดียวกัน กาซทุกชนิดจะมีพลังงานจลนของทุกโมเลกุลเทากัน 3) โมเลกุลของกาซอยูหางกันมากจึงไมมีแรงดึงดูดระหวางกัน 4) โมเลกุลของกาซเคลื่อนที่เปนเสนตรง เมื่อเกิดการชนกันเอง แตละโมเลกุลจะมีพลังงานจลน เปลี่ยนไป แตพลังงานรวมยังคงที่ 1. ขอ 1, 2 และ 3 2. ขอ 1 และ 2 เทานั้น 3. ขอ 1 และ 4 เทานั้น 4. ขอ 1 และ 3 เทานั้น 2. กาซตอไปนี้ กลุมใดแพรไดเร็วเทากัน (C = 12, H = 1, P = 31, S = 32, Cl 35.5, N = 14, O = 16) 1. CO2 , H2S , PH3 2. CH3 , Cl SO2 , N2O 3. CO2 , C3H8 , N2O 4. HCl , NO2 , NH3 3. ผลการทดลองการเปรียบเทียบปริมาตรระหวาง V กับ P ของกาซชนิดหนึ่งที่มีมวลคงที่ไดรูปกราฟ เปนดังนี้ ที่อุณหภูมิ 300K ถาความดันที่จุด B มีคานอยกวาจุด A 4 เทา ในขณะที่ปริมาตรของ A = 400 cm3 อุณหภูมิ ณ จุด E จะเทากับ 1. 400 2. 1200 3. 1500 4. 1600
  • 26. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 26 4. พิจารณาปรากฏการณตอไปนี้ ก. เมื่อตั้งขวดน้ําอัดลมไวกลางแดดนานๆ ขวดจะระเบิด ข. การผุดขึ้นของฟองกาซในขวดน้ําอัดลมเมื่อเปดฝาขวด ค. การพองตัวของขนมปง เมื่อเติม NaHCO 3 แลวนําไปอบ ง. ขวดน้ําอัดลมแตก เมื่อแชทิ้งไวในชองน้ําแข็งเปนเวลานาน ปรากฏการณใดเปนไปตามกฎของชารล หรือกฎของบอยล เปนไปตามกฎของชารล เปนไปตามกฎของบอยล 1. 2. 3. 4. ค ก, ค ก ง ข ง ข, ง ข 5. จุดเดือดของสาร A, B และ C เทากับ 35o C, 65o C และ 56o C ตามลําดับ คํากลาวในขอถูกตอง 1. ที่ 25o C ความดันไอของสาร A มีความดันไอต่ํากวาสาร C 2. ลําดับแรงดึงดูดระหวางโมเลกุลของสารทั้ง 3 ชนิด เปนดังนี้ สาร B > สาร C > สาร A 3.ที่ความดันต่ํากวาความดันไอณจุดเดือดปกติของสารสารBจะมีจุดเดือดสูงกวาจุดเดือดปกติ 4. สามารถแยกสาร A, B, C ที่ผสมกันไดโดยการกลั่น 6. ขอใดกลาวไดถูกตอง 1. ของแข็งทุกชนิดไมมีความดันไอ 2. ของแข็งทุกชนิดขณะหลอมเหลวอุณหภูมิคงที่ 3. ของแข็งมีชองวางระหวางอนุภาคนอยมากจึงเคลื่อนที่ไดในระยะสั้นๆ 4. ของแข็งที่มีมากกวา 1 อัญรูป จะมีการจัดเรียงโมเลกุลหรืออะตอมตางกันได
  • 27. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 27 7. กําหนดให สาร จุดหลอมเหลว o C จุดเดือด o C A B C D -115 27 15 113 -100 90 70 440 ที่อุณหภูมิหองสารใดอยูในสถานะของแข็ง 1. B, C, D 2. A, C 3. B, C 4. D 8. จากขอมูลที่กําหนดให การนําไฟฟาในสถานะ สาร จุดเดือด o C จุดหลอมเหลว o C ของแข็ง เมื่อหลอมเหลว A B C D -253 357 1390 4827 -259 -39 747 >3550 ไมนํา นํา ไมนํา ไมนํา ไมนํา นํา นํา ไมนํา สาร A, B, C และ D ควรเปนสารใด A B C D 1. 2. 3. 4. CH4 H2 NH3 N2 Na Hg S Fe NaCl NaBr KCl CaCl2 แกรไฟท เพชร Si S
  • 28. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 28 5 อัตราเร็วในการเกิดปฏิกิริยาเคมี (Rate) 1. เมื่อนํากาซ N2O5 ไปละลายในตัวทําละลายอินทรียชนิดหนึ่ง N2O5 จะสลายตัวไดดังสมการ 2N2O5(g) 4NO2(g) + O2(g) ถา NO2 ละลายไดในตัวทําละลายอินทรียนั้น แต O2 ไมละลาย จะวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยานี้ไมได ดวยวิธีใด 1. การวัดปริมาตรกาซ O2 ที่เกิดขึ้น 2. การวัดความดันของกาซ O2 ที่เกิดขึ้น 3. การวัดมวลของสารละลาย 4. การวัดการนําไฟฟาของสารละลาย 2. อัตราเร็วของปฏิกิริยาไปขางหนา A(s) + B(g) C(s) + D(g) เปลี่ยนแปลงตามเวลา ดังกราฟรูปใด 1. 2. 3 . 4.
  • 29. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 29 3. จากการทดลองวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยา โดยการจับเวลาตั้งแตเริ่มตนจนปฏิกิริยาสิ้นสุดที่อุณหภูมิ ตางๆ กัน พบวาไดผลดังนี้ อุณหภูมิ o C เวลาที่ใช (วินาที) 16 40 56 400 50 12.5 อัตราของปฏิกิริยานี้จะเพิ่มเปน 2 เทา เมื่อเพิ่มอุณหภูมิขึ้นเทาใด 1. 8o C 2. 10o C 3. 12o C 4. 16o C 4. ปฏิกิริยายอนกลับ x y มีพลังงานกอกัมมันตไปขางหนาเทากับ 100 kJ/mol มีพลังงาน กอกัมมันตยอนกลับ 75 kJ/mol ปฏิกิริยานี้เปนปฏิกิริยาชนิดใด 1. คายความรอน 25 kJ/mol 2. คายความรอน 175 kJ/mol 3. ดูดความรอน 25 kJ/mol 4. ดูดความรอน 175 kJ/mol 5. การทดลองในขอใดมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงที่สุดที่อุณหภูมิเดียวกัน 1. ใสแผนสังกะสี 1 ชิ้น หนัก 1 กรัม ลงในกรด HCl 0.1 mol/dm3 2. ใสแผนสังกะสี 2 ชิ้น หนักชิ้นละ 0.5 กรัม ลงในกรด HCl 0.2 M 3. ใสผงสังกะสีละเอียดหนัก 1 กรัม ลงในกรด HCl 0.1 mol/dm3 4. ใสผลสังกะสีละเอียดหนัก 1 กรัม ลงในกรด HCl 0.2 M 6. พิจารณาปฏิกิริยาการสลายตัวของ N2O เปน N2 และ O2 ดังสมการความสัมพันธระหวางความ เขมขนของ N2O (mol.dm-3 ) กับเวลา (s) เปนดังนี้
  • 30. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 30 ขอใดถูก 1. อัตราการเกิดของ O2 เทากับ 0.001 mol dm-3 s-1 2. ถาทําการทดลองใหมโดยเพิ่มความเขมขน N2O เปน 2 เทา อัตราการลดลงของ N2O จะเปน 2 เทาดวย 3. การทดลองที่ใช N2O เขมขนตั้งตน 0.10 mol dm-3 เวลาผานไป 10 วินาที จะเหลือ N2O 0.09 mol dm-3 4. การทดลองที่ใช N2O ความเขมขนตั้งตน 0.10 mol dm-3 เวลาผานไป 50 วินาที แกสผสม จะมีอัตราสวนโดยโมล N2O : N2 : O2 เทากับ 1 : 1 : 2 7. กราฟแสดงพลังงานและการดําเนินไปของปฏิกิริยาเปนดังนี้ พิจารณาขอสรุปตอไปนี้ ก. พลังงานกอกัมมันตของปฏิกิริยา A2 + B2 2AB มีคาเทากับ 40 kJ ข. ปฏิกิริยา 2AB A2 + B2 เปนปฏิกิริยาคายความรอน 10 kJ ค. ปฏิกิริยา A2 + B2 2AB เปนปฏิกิริยาดูดความรอน ง. พลังงานกอกัมมันตของปฏิกิริยาไปขางหนามากกวาพลังงานกอกัมมันตของปฏิกิริยายอนกลับ ขอใดถูก 1. ก และ ข เทานั้น 2. ค และ ง เทานั้น 3. ก, ข และ ค 4. ง เทานั้น 8. โลหะอลูมิเนียมทําปฏิกิริยากับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซดดังสมการ 2Al(s) + 2NaOH(aq) + 6H2O(l) 2NaAl(OH)4(aq) + 3H2(g) ถาทําการทดลอง 2 ตอน ดังนี้
  • 31. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 31 ตอนที่ 1 ใชแผนอลูมิเนียมขนาด 0.5 ซม. x 10 ซม. 1 ชิ้น ตอนที่ 2 ใชอลูมิเนียมเปนกอนกลม 1 กอน น้ําหนักของอลูมิเนียมที่ใชทั้งสองตอนเทากัน ถาขอมูลที่ไดจากผลการทดลองการทําปฏิกิริยาดังกลาวมีดังนี้ ความเขมขนของสารละลาย NaOH ความเขมขนของสารละลาย NaAl(OH)4 (mol dm-3 ) เวลา (s) ตอนที่ 1 ตอนที่ 2 ตอนที่ 1 ตอนที่ 2 0 2 4 6 a x y z a A B c b e f g d h i J ขอใดผิด ก. x > A ข. z < c ค. b = d = 0 ง. f > i 1. ก เทานั้น 2. ก และ ข 3. ก, ข และ ค 4. ก, ข, ค และ ง 9. ไนโตรเจนเพนทอกไซดเปนของแข็งไอออนิกไมมีสี [NO2]+ [NO3]- เมื่อใหความรอนที่ 32o C 1 atm จะ ไดแกส N2O5 ซึ่งจะสลายตอไปเปนแกสสีน้ําตาลของไนโตรเจนไดออกไซดและออกซิเจน [NO2]+ [NO3]- (s) N2O5(g) 2N2O5(g) 4NO(g) + O2(g) ขอสรุปใดผิด 1. อัตราการเกิด NO2 = 4 เทาของอัตราการเกิด O2 2. อัตราการเกิด NO2 = 2 เทาของอัตราการเกิด N2O5 3. อัตราการเกิด O2 = 1/4 เทาของอัตราการเกิด NO2 4. อัตราการเกิด O2 = 2 เทาของอัตราการเกิด N2O5
  • 32. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 32 10. สาร A สลายตัวดังสมการ A 2C ไดขอมูลตามตารางดังนี้ เวลา , วินาที [A] , mol dm-3 0 2 5 7 10 3.0 2.6 2.0 1.6 1.0 จากขอมูลขางตน [C] ที่เวลา 8 วินาที ควรเปนเทาใด 1. 1.4 2. 1.6 3. 2.6 4. 3.2 11. พิจารณากราฟของปฏิกิริยา A + B (ก) พลังงานกระตุนของปฏิกิริยายอนกลับมีคาเทาใด (ข) พลังงานของปฏิกิริยายอนกลับนี้มีคาเพิ่มขึ้นหรือลดลงเทาใด ขอใดถูกตอง 1. (ก) a+b+c , (ข) ลด d 2. (ก) b+c+d , (ข) เพิ่ม d 3. (ก) a+b , (ข) เพิ่ม (c+d) 4. (ก) b , (ข) ลด (c+d)
  • 33. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 33 12. จากกราฟพลังงานไอออไนเซชันลําดับที่ 1 ของ a h ซึ่งเปนธาตุในคาบที่ 3 ขอความใดเปนไปไมได 1. a ทําปฏิกิริยากับน้ําเกิดกาซ และสารละลายที่ไดมีสมบัติเปนเบส 2. c ไมเกิดสารประกอบกับ b แตเกิดสารประกอบกับ f มีสูตร c2f5 3. สารประกอบของ f มีเลขออกซิเจนหลายคาระหวาง 0 -2 ถึง +6 และมีเวเลนตอิเล็กตรอน เทากับออกซิเจน 4. g เปนธาตุหมูเดียวกับฟลูออรีนและโบรมีน สารประกอบของ f จึงมีเลขออกซิเดชั่น -1
  • 34. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 34 6 สมดุลเคมี 1. จากปฏิกิริยาดูดความรอนตอไปนี้ C(s) + H2O(g) CO(g) + H2(g) อยากทราบวาสภาวะใดที่จะทําใหปริมาณกาซ CO และกาซ H2 ลดลง 1. เพิ่มอุณหภูมิ 2. เพิ่มปริมาตร 3. เพิ่มความดัน 4. เพิ่มปริมาณไอน้ํา 2. ถาปฏิกิริยานี้อยูในภาวะสมดุล Cu(s) + 2Ag+ (aq) Cu2+ (aq) + Ag(s) ขอสรุปขอใดถูก 1. ความเขมขนของสารตั้งตนและผลิตภัณฑเทากัน 2. ความเขมขนของสารตั้งตนและผลิตภัณฑจะคงที่ 3. ความเขมขนของสารตั้งตนจะเทากัน 4. ความเขมขนของผลิตภัณฑจะเทากัน 3. ในปฏิกิริยาที่อยูในภาวะสมดุล HF(aq) + H2O(l) H3O+ (aq) + F- (aq) ถาทิศทางของสมดุลเกิดจากขวามาซาย จะสรุปไดวา 1. HF เปนกรดแก 2. F- เปนเบสแกกวานี้ 3. คาคงที่สมดุลมากกวา 4. คาคงที่สมดุลเทากับ 1 โดยประมาณ 4. ปฏิกิริยา X เปนปฏิกิริยาดูดพลังงาน สวนปฏิกิริยา Y เปนปฏิกิริยาคายพลังงาน ถาเปลี่ยนแปลง อุณหภูมิ การทดลอง จะมีผลตออัตราการเกิดปฏิกิริยา (R) และคาคงที่สมดุล (K) ดังขอใด ขอ ปฏิกิริยา อุณหภูมิมากขึ้น R K 1 2 3 4 X (ดูด) X (ดูด) Y (คาย) Y (คาย) เพิ่มขึ้น ลดลง เพิ่มขึ้น ลดลง มากขึ้น ลดลง ลดลง มากขึ้น มากขึ้น มากขึ้น มากขึ้น ลดลง
  • 35. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 35 5. คาคงที่สมดุลของปฏิกิริยา H2(g) + I2(g) 2HI(g) มีคาเทากับ 55.17 ที่อุณหภูมิหนึ่ง ถา เติม H2(g) และ I2(g) อยางละ 1.00 mol ลงในขวด 0.50 dm3 ความเขมขนของ H2 และ HI ที่ภาวะ สมดุลจะเปนกี่โมลตอลูกบาศกเดซิเมตร ขอ [H2] [HI] 1 2 3 4 0.07 0.07 0.42 0.42 1.93 3.86 1.58 3.16 หลัก ปฏิกิริยา H2(g) + I2(g) = 2HI(g) K = 55.17 เติม 0.50 dm3 มี H2 และ I2 อยางละ = 1.0 โมล 1.0 dm3 = 2 โมล 6. คาคงที่สมดุลของปฏิกิริยา 2HI H2 + I2 มีคา 2.0 x 10-2 คาคงที่สมดุลของปฏิกิริยา HI ½ H2 + ½ I2 มีคาเทาใด 1. 1.0 x 10-2 2. 2.0 x 10-2 3. 1.0 x 10-1 4. 1.4 x 10-1 หลัก ปฏิกิริยาเดียวกัน Kใหม = (Kเดิม)n , n = ตัวเลขที่คูณตลอดของปฏิกิริยาเดิม 7. ปฏิกิริยา 2SO2(g) + O2(g) 2SO3(g) เปนปฏิกิริยาคายความรอน การกระทําในขอ ใดไมมีผลกระทบตอสมดุลของระบบตางจากขออื่นๆ 1. เพิ่มความดันของ O 2 โดยใหปริมาตรคงที่ 2. เพิ่มความดันของระบบโดยการเติมกาซเฉื่อย 3. ลดอุณหภูมิของระบบลงโดยใหความดังคงที่ 4. ลดปริมาตรของระบบลงครึ่งหนึ่งในสภาพที่เปนระบบปด
  • 36. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 36 8. พิจารณาภาวะสมดุลของสมการตอไปนี้ ก. N2(g) + 3H2(g) 2NH3(g) ข. ½ N2(g) + 3/2 H2(g) NH3(g) ค. 1/3 N2(g) + H2(g) 2/3 NH3(g) ขอใดอธิบายความสัมพันธระหวางคาคงที่สมดุล k1, k2, k3 ไดถูกตอง 1. 321 kkk = 2. 3 312 kkk = 3. 2/3 321 kkk = 4. 3 321 kkk = 9. พิจารณาคา k ของปฏิกิริยาตอไปนี้ A(g) + B(g) 2C(g) k 1 D(g) + E(g) A(g) + C(g) k2 E(g) + F(g) 2B(g) + G(g) k 3 คาคงที่สมดุลของปฏิกิริยา 3A(g) + F(g) 2C(g) + D(g) + G(g) มีคาเทาใด 1. 2 2 31 k kk 2. 2 3 2 1 k kk 3. 3 3 2 1 k kk 4. 2 31 k kk 10. จากการเผากาซฟอสจีน COCl2 ในภาชนะ 2 ลิตร ปฏิกิริยาการสลายตัวเปนดังนี้ COCl2(g) CO(g) + Cl2(g) เมื่อปฏิกิริยาเขาสูสภาวะสมดุล พบวาความเขมขนของฟอสจีนเทากับ 0.40 โมล/ลิตร เมื่อเติม ฟอสจีนลงไปอีกจนปฏิกิริยาเขมสูภาวะสมดุลอีกครั้งหนึ่ง พบวาความเขมขนของฟอสจีนเทากับ 1.6 โมล/ลิตร ความเขมขนของ CO จะเปลี่ยนไปอยางไร 1. เพิ่มขึ้นเปน 2 เทา 2. ลดลงครึ่งหนึ่ง 3. เพิ่มขึ้นเปน 4 เทา 4. เพิ่มเปน 1.2 โมล/ลิตร
  • 37. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 37 7 กรด – เบส ตารางขอมูลใชประกอบการตอบคําถามขอ 1 อินดิเคเตอร ชวง pH และสีของ สารละลาย ชวง pH และสีของ สารละลาย ชวง pH และสีของ สารละลาย เมธิลออเรนจ เมธิลเรด ฟนอลฟทาลีน โบรโมไธมอลบลู 1-3 สีแดง นอยกวา 4.4 สีแดง 1-7 ไมมีสี นอยกวา 6 สีเหลือง 3-4 สีสม 4.4-6.2 สีสม 8.3-10 สีชมพู 6.0-7.6 สีเขียว มากกวา 5 สีเหลือง มากกวา 6.3 สีเหลือง มากกวา 6.3 สีเหลือง มากกวา 7.6 สีน้ําเงิน 1. ในการทดสอบสารละลายชนิดหนึ่ง แบงสารออกเปน 4 หลอดแลวเติมสารละลายอินดิเคเตอรลงใน แตละหลอด ผลการทดลองเปนดังนี้ หลอดที่ 1 เติมเมธิลออเรนจ 1 หยด สารละลายมีสีเหลือง หลอดที่ 2 เติมเมธิลเรด 1 หยด สารละลายมีสีสม หลอดที่ 3 เติมฟนอลฟทาลีน 1 หยด สารละลายไมมีสี หลอดที่ 4 เติมโบรโมไธมอลบลู 1 หยด สารละลายมีสีเขียว การแปลความหมายขอมูลที่ถูกตองที่สุด คือ 1. สารละลายมี pH ประมาณ 5.0 – 6.0 2. สารละลายมี pH ประมาณ 8.5 – 9.5 3. สารละลายมี pH ประมาณ 4.0 – 4.5 4. สารละลายมี pH ประมาณ 2.0 – 3.0 2. สารละลาย 5 ชนิด ที่มีสารกระกอบคูหนึ่งละลายอยู คือ I) CH3COONa และ CH3COOCH3 II) CH3COONa และ CH3COOH III) NaOH และ NaCl IV) NH3 และ (NH4)2CO3 V) NH3 และ NaCN
  • 38. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 38 สารละลายคูใดจะมีการเปลี่ยนแปลงคา pH นอยมาก เมื่อเติมกรดหรือเบสลงไป 1. I และ II 2. II และ IV 3. I และ III 4. III และ V 3. ถาผสมสารละลาย A และสารละลาย B เขาดวยกัน A จะทําหนาที่เปนกรด B จะทําหนาที่เปนเบส แลว A, B คือสารคูใด 1. CH3COOH, HCl 2. Ba(OH)2, NaHCO3 3. KCl, CH3COONa 4. NaHCO3, NH3 4. ในปฏิกิริยาตอไปนี้ ปฏิกิริยาใดที่ HCO3 - อิออนทําหนาที่เปนกรด 1. HCO3 - (aq) + H2O(l) H2CO3(aq) + OH- (aq) 2. HCO3 - (aq) + OH- (aq) H2CO3(aq) + CO3 2- (aq) 3. HCO3 - (aq) + HSO4 - (aq) H2CO3(aq) + SO4 2- (aq) 4. HCO3 - (aq) + CH3COOH(aq) H2O(l) + CO2(g) + CH3COO- (aq) 5. ถาหยดฟนอลฟทาลีนลงในสารละลาย A จะไดสีแดงแตถาลงในสารละลาย B จะไมมีสี แสดงวา อยางไร 1. A เปนเบส B เปนกรด 2. pH ของสารละลายทั้งสองไมเทากัน 3. A และ B ทําปฏิกิริยาสะเทิน 4. A เปนกรด B เปนเบส 6. เมื่อผสมสารละลาย NaOH 0.1 M จํานวน 100 cm3 กับสารละลาย HCl 0.2 M จํานวน 100 cm3 เขาดวยกัน จะได NaCl ในสารละลายผสมกี่โมล และความเขมขนของ NaCl เปนกี่ mol/dm3 1. 0.01, 0.05 2. 0.02, 0.10 3. 0.01, 0.10 4. 0.02, 0.20 7. น้ําสมสายชูชนิดหนึ่งมีความหนาแนน 1.13 g/cm3 ระบุวามีกรดอะซิติกละลายอยูรอยละ 8 โดยมวล น้ําสมสายชูจะมีความเขมขนของกรดอะซิติกคิดเปนกี่โมล/dm3 1. 0.13 2. 1.33 3. 1.51 4. 7.1 8. เมื่อผสมสารละลาย CH3COOH 0.2 M จํานวน 10 cm3 และสารละลาย NaOH 0.1 M จํานวน 10 cm3 เขาดวยกัน สารละลายนี้จะเปนสารละลายที่มีสมบัติอยางไร 1. สารละลายบัฟเฟอรที่มี pH < 7 2. สารละลายบัฟเฟอรที่มี pH > 7 3. สารละลายที่มี pH = 7
  • 39. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 39 4. สารละลายที่ประกอบดวย CH3COONa อยางเดียว 9.เมื่อนําสารละลายที่มี pH=5จํานวน10cm3 มาผสมน้ําใหได 100cm3 จะไดสารละลายที่มีคาpHเทากับ 1. 10 2. 6 3. 4 4. 1 10. เมื่อนําสารละลายชนิดหนึ่งมาติเตรตดวยเบส ที่จุดยุติสารละลายมีไฮโดรเนี่ยมประมาณ 1.0 x 10-7 mol/dm3 อินดิเคเตอรที่ควรใชคือ 1. เมธิลออเรนจ 2. เมธิลเรด 3. ฟนอลฟทาลีน 4. โบรโมไธมิลบลู 11. ขอความใดตอไปนี้ไมถูกตอง 1. ในการติเตรตสารละลาย NH3 กับกรด HCl ควรเลือกใชเมธิลเรด เปนอินดิเคเตอร 2. ในการติเตรตสารละลายกรดแกกับเบสออนควรเลือกใชเมธิลเรดเปนอินดิเคเตอร 3. ในการติเตรต CH3COOH กับ NaOH ควรเลือกใชฟนอลฟทาลีนเปนอินดิเคเตอร 4. ในการติเตรตอัมโมเนียกับไฮโดรคลอริก ควรเลือกใชฟนอลฟทาลีนเปนอินดิเคเตอร 12. ขอใดที่สารทุกตัวเปนกรดออน 1. HF , HNO2 , HCOOH , HBr , HCN 2. HCN , HI , H2S , HF , HCOOH 3. HI , HF, HCN , HBr , HNO2 4. HF , HNO2 , HCOOH , HCN , H2S 13. ขอใดเปนคูเบสของกรด ตอไปนี้ตามลําดับ HSO3 - , H2PO4 - , HCO3 - 1. SO3 - , HPO4 2- , CO3 2- 2. H2SO3 , H3PO4 , H2CO3 3. HSO3 - , HPO4 2- , CO3 2- 4. SO3 2- ,HPO4 2- ,H2CO3 14. ขอใดไอออนแตละชนิดในน้ํามีสมบัติเปนกรด เปนขอถูกตอง 1. NH4 + CO3 2- CH3COO- 2. H2PO4 - HCO3 - NO3 - 3. NH4 + H2PO4 - HCO3 - 4. HS- H2PO4 - CH3COO- 15. กรดชนิดหนึ่งมีมวลเทากับ M สารละลาย X มีเนื้อกรดละลายอยู a% โดยมวล มีความหนาแนน d g/cm3 ถาตองการเตรียมสารละลายของกรดนี้ 500 cm3 เขมขน 0.02 mol/dm3 จะตองใช สารละลาย X กี่ลูกบาศกเดซิเมตร 1. ad / M 2. ad / 1000 M 3. 1000 M / ad 4. M / ad
  • 40. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 40 8 ไฟฟาเคมี 1. ปฏิกิริยาใดตอไปนี้เปนปฏิกิริยารีดอกซ 1. CO2(s) CO2(g) 2. CS2(l) + 3Cl2(g) CCl4(l) + S2Cl2(l) 3. CH3COOH + C2H5OH CH3COOC2H5 + H2O 4. CaCO3(s) CaO(s) + CO2(g) 2. เลขออกซิเดชันโลหะอะตอมกลางในขอใดตอไปนี้มีคาสูงกวา +2 1. [Cu(CN)4]2+ 2. [CrCl6]4- 3. [Fe(CN)4]2- 4. [Ni(NH3)4]2+ 3. เลขออกซิเดชันของ P, S และ Zr ในสารประกอบ 3 ชนิดตอไปนี้เปนเทาใด ตามลําดับ ขอ NaNH4HPO4.4H2O Na2S2O3.5H2O ZrCl2.O.8H2O 1. 2. 3. 4. +3 +5 +3 +5 +4 +2 +2 +4 +2 +4 +4 +2 4. เซลลไฟฟาเคมีชนิดหนึ่งใช Pt เปนขั้วไฟฟาเกิดปฏิกิริยาเคมีดังนี้ A3+ (aq) + B+ (aq) A2+ (aq) + B2+ (aq) , E°cell = +0.51 V ขอความใดถูกตอง 1. แผนภาพเซลลไฟฟาเคมีเปนดังนี้ Pt/A2+ (aq),A3+ (aq)//B2+ (aq)/Pt 2. B+ ทําหนาที่เปนตัวรีดิวซ และ A3+ เกิดปฏิกิริยารีดักชัน 3. ปฏิกิริยานี้เกิดขึ้นเองโดยมี A3+ ทําหนาที่เปนตัวรีดิวซ 4. B+ มีความสามารถในการชิงอิเล็กตรอนไดดีกวา A3+
  • 41. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 41 5.เมื่อจุมโลหะ4ชนิดลงในสารละลายซัลเฟตของโลหะทั้ง4ชนิดดังแสดงในตารางไดรับผลการทดลองดังนี้ ⁄ แสดงวา มีผลึกมาเกาะที่แทนโลหะ X ไมมีการเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได สารละลายซัลเฟต โลหะ R S T U R S T U X X X ⁄ ⁄ X ⁄ ⁄ ⁄ X X ⁄ X X X X อันดับความสามารถในการรับอิเล็กตรอนของไออนของโลหะทั้ง 4 ชนิดเปนไปดังขอใด 1. R<S<T<U 2. S<R<T<U 3. U<S<T<R 4. U<R<T<S 6. ปฏิกิริยาการจายไฟของเซลลสะสมไฟฟาแบบตะกั่วเปนดังนี้ ขั้ว A : PbO2(s) + SO4 2- (aq) + 4H+ (aq) + 2e- PbSO4(s) + 2H2O(l) ขั้ว B : Pb(s) + SO4 2- (aq) PbSO4(s) + 2e- เมื่อเซลลนี้ถูกใชงานไประยะหนึ่งแลวนําไปอัดไฟจะเกิดอะไรขึ้น 1. กรดซัลฟูริก (H2SO4) เกิดกลับมาอยางเดิม 2. ขั้ว A เกิด reduction ขั้ว B เกิด oxidation 3. PbSO4 จะเกิดขึ้นทั้งที่แอโนดและที่แคโทด 4. PbO2(s) ละลายออกมาในสารละลายกรด
  • 42. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 42 7. กําหนดคา E° ใหดังนี้ E° (V) Fe2+ (aq) + 2e- Fe(s) -0.44 Ni2+ (aq) + 2e- Ni(s) -0.24 Pb2+ (aq) + 2e- Pb(s) -0.13 Cl2(g) + 2e- 2Cl- +1.36 Zn2+ (aq) + 2e- Zn(s) -0.76 O2(g) + 2H+ (aq) + 2e- H2O(l) +1.23 พิจารณาเซลลไฟฟาที่ประกอบดวยขั้วไฟฟาตอไปนี้ ก. Fe/Fe2+ (1 M) และ Ni/Ni2+ (1 M) ข. Pb/Pb2+ (1 M) และ Pt/Cl2(1 atm)/Cl- (1 M) ค. Zn/Zn2+ (1 M) และ Pt/O2(1 atm)/H2O เซลลไฟฟาใดมีปฏิกิริยาเกิดขึ้นไดเอง และเรียงลําดับ คา E เซลล ขอใดถูกตอง ขอ เชลลไฟฟา ลําดับคา E เซลล 1. 2. 3. 4. ก , ข ข , ค ก , ข , ค ก , ข , ค ข > ก > ค ค > ข > ก ค > ข > ก ข > ก > ค 8. ขอใดไมใชปฏิกิริยารีดอกซ 1. 3C2H4 + 2KMnO4 + 4H2O 3CH2(OH)CH2(OH) + 2MnO2 + 2KOH 2. Zn2Fe(CN)6 + 8NaOH 2Na2ZnO2 + Na4Fe(CN)6 + 4H2O 3. Cu2S + 14HNO3 2Ca(NO3)2 + H2SO4 + 10NO2 + 6H2O 2 1
  • 43. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 43 สะพานเกลือ M2+ N3+ P3+ M N P a 4. CaCr2O7 + 3H2C2O4 + 4H2C2O4 + 4H2SO4 CaSO4 + Cr2(SO4)3 + 6CO2 + 7H2O 9. M, N, P และ Q เปนแทงโลหะ จุมอยูในสารละลายอิเล็กโตรไลทเขมขมอยางละ 1 mol/dm3 ถา ตองการชุบโลหะ P บนแทงโลหะ Q ดังรูปเซลล ขอใดถูกตอง ขอ แทงโลหะ ขั้วไฟฟา 1. 2. 3. 4. N M O P แคโทด แอโนด ลบ บวก 10. ในการแยกสลายสารละลาย CuSO4 ดวยไฟฟา ขอความตอไปนี้ขอใดถูกตองที่สุด จะตองใชคา ศักยไฟฟามาตรฐานที่กําหนดใหประกอบในการตอบคําถาม E° (V) Cu2+ + 2e- Cu(s) +0.34 2H2O + 2e- H2 + 2OH- -0.41 O2 + 4H+ + 2e- 2H2O +0.815 S2O8 2- + 2e- 2SO4 2- +0.815
  • 44. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 44 1. ไดทองแดงที่แอโนด ไดกาซออกซิเจนที่แคโทด 2. ไดทองแดงที่แอโนด ไดกาซไฮโดรเจนที่แคโทด 3. ไดกาซออกซิเจนที่แอโนด ไดกาซไฮโดรเจนที่แคโทด 4. ไดกาซออกซิเจนที่แอโนด ไดทองแดงที่แคโทด 11. สวนประกอบ ชนิดของเซลล แอโนด แคโทด อิเล็กโตรไลท A B C D Zn Zn Zn Zn C และ MnO2 C , NH4 + และ MnO2 HgO Ag2O สารละลาย KOH น้ํา NH4Cl , ZnCl2 สารละลาย KOH สารละลาย KOH เชลล A , B , C และ D นาจะเปนเซลลใดตามลําดับ 1. ถานไฟฉาย เซลลอัลคาไลน เซลลปรอท เซลลเงิน 2. เซลลอัลคาไลน ถานไฟฉาย เซลลปรอท เซลลเงิน 3. ถานไฟฉาย เซลลอัลคาไลน เซลลเงิน เซลลปรอท 4. เซลลอัลคาไลน ถานไฟฉาย เซลลเงิน เซลลปรอท 12. จากขอสรุปในการชุบโลหะดวยไฟฟา ตอไปนี้ ก. สารละลายอิเล็กโตรไลทตองมีไอออนของโลหะที่ตองการเคลือบปนอยูกับสารละลาย ไซยาไนด ข. สิ่งที่ตองการชุบควรตอที่ขั้วแอโนด ค. ตองการชุบชิ้นงานดวยโลหะใด ตองตอโลหะนั้นที่ขั้วแคโทด ง. การทดลองสามารถตอกระแสไฟฟาตรงหรือกระแสตามบานได จ. โลหะที่แอโนดตองบริสุทธิ์และไมควรชุบนานเกินไป ขอสรุปใดผิด 1. ก ข และ ค 2. ค ง และ จ 3. ก ง และ จ 4. ข ค และ ง
  • 45. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 45 9 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม ตัวอยางขอสอบ 1. ในการถลุงแรชนิดใดที่เกิดกาซ SO2 ซึ่งเปนกาซพิษ 1. แรเหล็ก 2. แรดีบุก 3. แรพลวงสติปไนต 4. แรเงิน 2. ปฏิกิริยาใดตอไปนี้ไมเกิดขึ้นในเตาถลุงขณะที่ถลุงดีบุก 1. CaCO3(s) CaO(s) + CO2(g) 2. 2CO(g) + O2(g) CO2(g) 3. C(s) + CO2(g) 2CO(g) 4. CaO(s) + SiO2(l) CaSiO3(l) 3. กําหนดให ก. สารประกอบออกไซด + คารบอน โลหะ + CO2(g) ข. การผลิตปุยอัมโมเนียวัตถุดิบที่สําคัญ คือ ยูเรีย ค. สูตรของผงชูรส คือ ง. การผลิตสารผงฟอกขาว คือ ปฏิกิริยาระหวาง Cl2(g) กับ NaOH มีอัตราสวนจํานวนโมล = 1:2 ขอใดถูก 1. ถูกทุกขอ 2. ขอ ก และ ง ถูก 3. ขอ ก, ข และ ง ถูก 4. ขอ ข และ ค ถูก 4. แรรัตนชาติใดที่มีความแข็งมากที่สุด 1. มรกต 2. โกเมน 3. ไพลิน 4. เพทาย 5. ขอใดไมเปนอุตสาหกรรมเซรามิกส 1. อุตสาหกรรมทําเครื่องสุขภัณฑ 2. อุตสาหกรรมทําซีเมนต 3. อุตสาหกรรมแกว 4. อุตสาหกรรมทําพีวีซี 6. หลักการผลิตเกลือโซเดียมที่เรียกวา เกลือสินเธาว คือ เผา NaO C CH2 O CH2 H C COOH NH2
  • 46. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 46 1. การละลาย การกรอง การระเหย การตกผลึก 2. การกรอง การระเหย การตกผลึก 3. การระเหย และการตกผลึก 4. การละลาย การระเหย การตกผลึก 7. โรงงานอุตสาหกรรมใชสาร NaOH, BaCl2, Na2CO3 และ HCl เพื่อทําใหสารละลายโซเดียมคลอไรด บริสุทธิ์ จะชวยขจัดสารทุกตัวตามลําดับในขอใดตอไปนี้ 1. Mg2+ Ba2+ H+ SO4 2- 2. Ca2+ Ba2+ SO4 2- CO3 2- 3. Mg2+ SO4 2- Ca2+ CO3 2- 4. Mg2+ CO3 2- Ba2+ SO4 2- 8. โซดาแอชเปนสารเคมีที่มีสูตรอยางไร เมื่อผลิตโซดาแอชดวยวิธีโซลเวย จะตองใชกาซใดผลิต 1. Na2CO3 และใชกาซ NH3 2. Na2CO3 และใชกาซ CO 3. NaHCO3 และใชกาซ NH3 4. NaHCO3 และใชกาซ CO
  • 47. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 47 10 เคมีอินทรีย 1. พันธะคารบอน/สูตรโครงสรางไอโซเมอริซึม 1.1) พันธะคารบอน พันธะของคารบอนแตละชนิดมีความแข็งแรงไมเทากัน พลังงานพันธะ หวางคารบอนมีดังนี้ C ≡ C > C = C > C ⎯ C พลังงานพันธะ ≈ 900 600 300 kg/mol ความยาวพันธะ 121 134 154 pm 1.2) สูตรโครงสรางไอโซเมอริซึม ไอโซเมอร (Isomer)คือสารที่มีสูตรโมเลกุลเหมือนกันแตสูตรโครงสรางตางกันแบงออกได ดังนี้ ก. ไอโซเมอรเชิงโครงสราง (Constitutional isomers หรือ structural isomers) ตางที่ “การตอ กันของอะตอม” เชน C2H6O: H3CH2C-O-H แอลกอฮอล (alcohol) ↔ อีเทอร (ether) H3C-O-CH3 C2H6O2: H-CO-O-CH3เอสเทอร (ester) ↔ กรดอินทรีย H3C-CO-O-H C3H6O: H3C-CO-CH3 คีโตน(ketone) ↔แอลดีไฮด(aldehyde) H3CH2C-CHO ข. สเตอริโอไอโซเมอร (stereoisomers) การตอกันของอะตอมเหมือนกัน แตตางกันที่ “การ วางตัวของอะตอมในที่วาง” สเตอริโอไอโซเมอรเกิดขึ้น เฉพาะสารที่ C มีหมูแทนที่ทั้ง 4 ตางกัน โดยไอโซเมอรที่ ไดจะเปนภาพสะทอนในกระจกเงา คูไอโซเมอรนี้เรียกวา “อิแนนทิโอเมอร (enantiomers)” ซึ่งซอนทับกันไมสนิทเหมือนมือซาย และมือขวาของเรา
  • 48. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 48 ค. ไอโซเมอรเชิงเรขาคณิต (Geometrical isomers) (เปน subset ของสเตอริโอไอโซเมอร) การตอกันของอะตอมเหมือนกัน แตตางกันที่ “การวางตัวของอะตอมในที่วาง” ของสารประกอบที่มี C=C หรือสารประกอบที่เปนวง โดย C ที่ตําแหนงพันธะคูแตละอะตอมตองมีหมูแทนที่ตางกัน การระบุ โครงสรางใช - cis เรียกสารที่มีโครงสรางที่มีหมูเหมือนกันอยูดานเดียวกันของระนาบของ C=C หรือระนาบวง - trans เรียกสารที่มีโครงสรางที่มีหมูเหมือนกันอยูดานตรงขามของระนาบของ C=C หรือระนาบวง เชน C C HH Br Br C C BrH Br H Br Br Br Br cis-1,2-dibromoethane trans-1,2- dibromoethane cis-1,2- dibromocyclohexane trans-1,2- dibromocyclohexane
  • 49. เอกสารประกอบการสอนโครงการ “สรุปเขมโคงสุดทาย ครั้งที่ 4” วิชา เคมี ชื่อผูสอน รศ.อินทิรา หาญพงษพันธ และ รศ.ดร.บัญชา พูลโภคา หนา 49 สารประกอบของ C มี 2 ประเภท 1. C + H เรียกวา สารประกอบไฮโดรคารบอน มี 2 ชนิด การเรียกชื่อ* ชนิดของสาร สูตรทั่วไป คําขึ้นตน คําลงทาย การเผาไหม คุณสมบัติ แอลเคน (alkane) CnH2n+2 - เ-น (+ane) ไซโคลแอลเคน (cycloalkane) CnH2n ไซโคล- เ-น (+ane) ไมมีเขมา 1. ปฏิกิริยาแทนที่ (เมื่อมีแสง) ให กาซที่เปนกรด C C H H H H H H Br2 แสง C C H Br H H H H แอลคีน (alkene) CnH2n - -ีน (+ene) ไซโคลแอลคีน (cycloalkene) CnH2n-2 ไซโคล- -ีน (+ene) มีเขมา 1. ปฏิกิริยาการเติม C C H H H H Br2 C C H Br H H Br H 2. ปฏิกิริยาออกซิเดชัน (ฟอกสีดาง ทับทิม) C C CH3 H H H 2 KMnO4 4 H2O C C H CH3 OH H H OH 2 MnO2 2 KOH แอลไคน (alkyne) CnH2n-2 ไ-น (+yne) มีเขมามาก 1. ปฏิกิริยาการเติม C C Br H Br Br H Br Br2C C HH 2 อะโรมาติก- ไฮโดรคารบอน* * (aromatic hydrocarbon) - - -ีน (+ene) มีเขมามาก 1. ปฏิกิริยาแทนที่ H HH H H H H2SO4 SO3H HH H H H H2O