SlideShare a Scribd company logo
1 of 60
ระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำานักงานป้องกันควบคุม
ทำาไมเราต้องรู้เรื่องการ
เก็บตัวอย่าง?
 วางแผนในการเก็บตัวอย่าง
 การเก็บตัวอย่างที่เหมาะสมและพอเพียง
 บรรจุตัวอย่างได้ถูกต้องนำาส่งไปยังห้อง
ปฏิบัติการได้อย่างเหมาะสมและรวดเร็ว
 ปลอดภัย ลดการปนเปื้อน ลดความเสี่ยง
ของการแพร่ระบาดของโรค
วางแผนในการ
เก็บตัวอย่าง
 กำาหนดนิยามสาเหตุที่น่าจะ
เป็นไปได้
 ตัดสินใจจะเก็บตัวอย่างอะไร
บ้าง
 เลือกห้องปฏิบัติการที่สามารถ
ตรวจวิเคราะห์ได้
 ใครจะเป็นผู้เก็บและผู้นำาส่ง
 มีวิธีการการตัดสินใจในการ
แนวทางในการเก็บ
ตัวอย่าง
 วิธีการเก็บต้องปลอดภัย
และไม่ปนเปื้อน (safety
precaution)
 ติดป้ายแสดงตัวอย่างให้
ชัดเจน เช่น ชื่อ ชนิด
ตัวอย่าง ว/ด/ป ที่เก็บ ฯลฯ
อุปกรณ์ที่ต้องเตรียมก่อนการออก
สอบสวนโรค
1. Syringe
2. เข็ม
3. Alcohol
4. หลอดใส่
เลือด :
Clotted
blood, EDTA
5. ตะแกรงวาง
เลือด
8. กระติกนำ้าแข็ง
9. Ice pack
10. Rectal swab +
Media
11.
Nasopharyngeal
swab + Media
12. Nasal swab +
อุปกรณ์เก็บตัวอย่าง
1. ชุด
disposabl
e
2. นำ้ายา
ล้างมือ
3. ถุงมือ
4. Mask
5. แว่นตา
1. แบบ
สอบสวน
2. แบบส่งตัว
อย่าง
3. กล้องถ่าย
รูป
4. โทรศัพท์
และ
อุปกรณ์ป้องกันตนเอง อื่นๆ
อุปกรณ์ที่ต้องเตรียมก่อนการออก
สอบสวนโรค
การเก็บรักษา
ตัวอย่างก่อนนำาส่ง
 ต้องทราบว่าตัวอย่างที่
เก็บมาจะส่งตรวจอะไร
ตัวอย่างต้องถูกเก็บใน
อุณหภูมิที่เหมาะสม
การบรรจุและการนำา
ส่งตัวอย่าง
บรรจุ
ตัวอย่าง
ลงใน
ภาชนะ
ที่ปิด
มิดชิด
เหมาะ
สม
หลักการเก็บตัวอย่างส่งตรวจ
ทางห้องปฏิบัติการ
 จะเลือกเก็บตัวอย่างอะไร
 บริเวณไหนที่จะมีโอกาสพบเชื้อสูง
 ช่วงระยะเวลาที่เก็บ เมื่อใด
 ใส่ภาชนะอะไร
 อาหารเก็บรักษาเชื้อที่เหมาะสม
 การนำาส่งวัตถุตัวอย่างไปตรวจ
อย่างไร
 ข้อมูลของผู้ป่วย
“เก็บอย่างถูกต้องและนำา
”ส่งอย่างถูกต้อง
“ ป้องกันตนเองและการแพร่
”เชื้อสู่ชุมชน
ขั้นตอนการเก็บ
ตัวอย่าง
ป้องกันตนเองจาก
การติดเชื้อ
เตรียมผู้ต้องสงสัยว่าเป็น
พาหะหรือผู้ป่วย
การเก็บและส่งสิ่ง
ส่งตรวจ
ข้อแนะนำาการใช้เครื่องป้องกัน
ร่างกาย (PPE)
- มีการฝึกซ้อมใส่ ถอด ก่อนปฏิบัติงานจริง
- เลือก N-95 ที่เหมาะสมกับใบหน้า (Fit test)
- หลีกเลี่ยงการสัมผัสส่วนต่างๆ ของร่างกาย โดย
เฉพาะใบหน้า
ด้วยมือหรือถุงมือ
- หลีกเลี่ยงสัมผัสพื้นผิวอื่นๆด้วยเช่นกัน
- ถอดเครื่องป้องกันก่อนออกจาก Anteroom หาก
ไม่มี Anteroom
ให้ถอดในห้องผู้ป่วย ยกเว้น Mask
1.อธิบายให้เห็นความสำาคัญของการ
ตรวจหาเชื้อที่เป็นสาเหตุของการ
เกิดโรค แต่ละชนิด
2.อธิบายวิธีการเก็บตัวอย่าง ให้ผู้ถูก
เก็บเข้าใจ เพื่อให้คลายความกลัว
และให้ความร่วมมือได้ถูกต้องขณะ
ทำาการเก็บ
3.ควรให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกัน
ไข้หวัด
นก
(Avian
flu)
ไข้หวัดใหญ่
ระบาด
ใหญ่
ไข้หวัดใหญ่ไข้หวัดใหญ่
Influenza A
H (1 –16)
N (1- 9)
Influenza A
Influenza A:
H1N1, H3N2
Influenza B
ไข้หวัดใหญ่
ตามฤดูกาล
( Seasonal
Influenza )
• กลายพันธุ์
ผสมพันธุ์
• ติดต่อคนสู่คน
ตัวอย่างส่ง
ตรวจ
Throat swab
Nasopharyngeal
swab/Nasal swab
Nasopharyngeal
aspiration
Posterior pharynx
Tonsil
การเก็บตัวอย่าง
Throat swab
ใช้ไม้กดลิ้นผู้ป่วย ใช้ไม้ใช้ไม้กดลิ้นผู้ป่วย ใช้ไม้ Sterile dacronSterile dacron หรือหรือ
rayon swabrayon swab ((พลาสติกด้ามขาวพลาสติกด้ามขาว))
ถูบริเวณสองข้างของถูบริเวณสองข้างของ tonsiltonsil และและ posteriorposterior
pharynxpharynx จุ่มปลายจุ่มปลาย swabswab ลงในลงใน VTMVTM ตัดปลายตัดปลาย
ไม้ที่โผล่พ้นหลอดไม้ที่โผล่พ้นหลอด VTMVTM และปิดหลอดให้สนิท เก็บและปิดหลอดให้สนิท เก็บ
1.1. ผู้เก็บตัวอย่างต้องป้องกันตนเองจากการติดเชื้อผู้เก็บตัวอย่างต้องป้องกันตนเองจากการติดเชื้อ
และการแพร่เชื้อและการแพร่เชื้อ
2.2. อธิบายให้ผู้ป่วยคลายความกังวลอธิบายให้ผู้ป่วยคลายความกังวล
3.3. เตรียมผู้ป่วย โดยให้แหงนหน้าขึ้นจนสุด และเตรียมผู้ป่วย โดยให้แหงนหน้าขึ้นจนสุด และ
ค้างไว้ค้างไว้
4.4. วัดลวดสวอบวัดลวดสวอบ (Nasopharyngeal swab)(Nasopharyngeal swab) จากจาก
ปลายจมูกถึงติ่งหูผู้ป่วยปลายจมูกถึงติ่งหูผู้ป่วย
5.5. แล้วหักครึ่งให้ลวดทำามุมแล้วหักครึ่งให้ลวดทำามุม 9090 องศาองศา
6.6. ให้ผู้ป่วยหายใจเข้าลึก ๆ และหายใจออกยาว ๆให้ผู้ป่วยหายใจเข้าลึก ๆ และหายใจออกยาว ๆ
7.7. ให้ผู้ป่วยกลั่นหายใจขณะหายใจออกให้ผู้ป่วยกลั่นหายใจขณะหายใจออก
การเก็บตัวอย่าง
Nasopharynaeal
swab
8.8. ผู้เก็บตัวอย่างควรเข้าเก็บด้านหลังของผู้ป่วยผู้เก็บตัวอย่างควรเข้าเก็บด้านหลังของผู้ป่วย
เพื่อป้องกันการติดเชื้อเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
9.9. สอดลวดสวอบเข้าจนสุดของครึ่งที่ได้หักไว้สอดลวดสวอบเข้าจนสุดของครึ่งที่ได้หักไว้
โดยสอดลวดในทิศทางตั้งฉากกับใบหน้าของผู้โดยสอดลวดในทิศทางตั้งฉากกับใบหน้าของผู้
ป่วยป่วย
10.10. หมุนลวดสวอบโดยรอบประมาณหมุนลวดสวอบโดยรอบประมาณ 33 วินาทีวินาที
แล้วดึงลวดสวอบออกแล้วดึงลวดสวอบออก
11.11. จุ่มปลายสวอบลงในจุ่มปลายสวอบลงใน VTMVTM และตัดปลายลวดและตัดปลายลวด
ส่วนเกินจากหลอดทิ้งส่วนเกินจากหลอดทิ้ง
ปิดฝาให้สนิทปิดฝาให้สนิท
เก็บตัวอย่างใส่ในหลอดเก็บตัวอย่างใส่ในหลอด VTMVTM จำานวนจำานวน 22 หลอดหลอด
การเก็บตัวอย่าง
Nasopharynaeal swab
ใช้สายพลาสติกที่ต่อกับ
เครื่องดูด
สอดเข้าไปในช่องจมูก
(Nasopharyngeal)
เพื่อดูดเอานำ้าและเยื่อเมือก
บริเวณนั้น
ประมาณ 2-3 มล. ใส่ใน
Aspiration trap
กรณีดูดเสมหะได้น้อยให้
ใช้ VTM ล้างเซลล์ที่ค้างสาย
ลงในหลอด
เก็บใส่ในหลอด VTM
จำานวน 1 หลอด (ให้มี
Nasopharyngeal aspirate
Aspiration trap
1.1. ตัวอย่างหรือตัวอย่างหรือ SwabSwab ที่บรรจุในภาชนะต้องปิดที่บรรจุในภาชนะต้องปิด
จุกให้สนิทพันด้วยเทปหรือพาราฟิล์มจุกให้สนิทพันด้วยเทปหรือพาราฟิล์ม
2.2. ติดฉลากระบุชื่อผู้ป่วย วันที่เก็บตัวอย่าง ชนิดติดฉลากระบุชื่อผู้ป่วย วันที่เก็บตัวอย่าง ชนิด
ตัวอย่างตัวอย่าง
3.3. บรรจุใส่ถุงพลาสติกรัดยางให้แน่นบรรจุใส่ถุงพลาสติกรัดยางให้แน่น
4.4. แช่ในกระติกนำ้าแข็ง รีบนำาส่งทันทีแช่ในกระติกนำ้าแข็ง รีบนำาส่งทันที
5.5. ถ้าต้องรอ ควรเก็บในตู้เย็นถ้าต้องรอ ควรเก็บในตู้เย็น (4(4 องศาเซลเซีองศาเซลเซี
ยลยล)) ห้ามแช่ในช่องแช่แข็งของตู้เย็นห้ามแช่ในช่องแช่แข็งของตู้เย็น ((-20-20
องศาเซลเซียลองศาเซลเซียล)) ถ้าเก็บนานเกินถ้าเก็บนานเกิน 4848 ชั่วโมงชั่วโมง
เก็บที่เก็บที่ -70-70 องศาเซลเซียลองศาเซลเซียล
การนำาส่งตัว
อย่าง
ตัวอย่างส่งตรวจ
งที่เหมาะสม คือ paired serum
เลือดครั้งแรก ในวันที่ผู้ป่วยเข้ารับการรักษา
ะสม คือ ห่างจากวันเริ่มมีไข้ 0 - 4 วัน)
ครั้งที่ 2 ห่างจากวันเริ่มมีไข้ 7- 14 วัน หรือในวัน
กโรงพยาบาล กรณีตัวอย่างที่ 2 ห่างจากวันเริ่มมีไข
ให้นัดมาเจาะเลือดครั้งที่ 3 อีกครั้ง โดยห่างจากวันเ
1 วัน
วิธีการเก็บนำ้า
เหลือง (SERUM)
เจาะเลือดจากหลอดเลือดดำา วิธีปราศจาก
เชื้อ ประมาณ 3-5
มิลลิลิตร ใส่หลอดที่ปลอดเชื้อ ปั่นแยกเฉพาะนำ้า
เหลืองใส่ในหลอด
ปลอดเชื้อ ปิดจุกและพันด้วยพาราฟิลม์หรือเทป
ให้แน่น ปิดฉลาก
เขียนชื่อ-นามสกุลผู้ป่วย วันที่เจาะเลือด และระบุ
การตรวจที่ต้องการ
วิธีการเก็บนำ้าเหลือง
(SERUM) (ต่อ)
 ถ้าต้องการตรวจหาสารพันธุกรรมถ้าต้องการตรวจหาสารพันธุกรรม ((วิธีวิธี
PCR)PCR) เก็บตัวอย่างนำ้าเหลืองไว้ที่อุณหภูมิเก็บตัวอย่างนำ้าเหลืองไว้ที่อุณหภูมิ 4°c
และนำาส่งและนำาส่ง
ตัวอย่างส่งตรวจ
จากคน
เลือด
นำ้าไขสันหลัง ในผู้ป่วยกลุ่ม
อาการไข้สมองอักเสบ
นำ้าไขข้อ ในผู้ป่วยกลุ่มอาการ
ไขข้ออักเสบ
วิธีการเก็บเลือด
เจาะเลือด โดยวิธีปราศจากเชื้อ ประมาณ 5-10
มิลลิลิตร 2 ครั้ง ห่างกัน
15-30 นาที ลงในขวดเพาะเลี้ยงเชื้อ (ขวด
Hemoculture) หรืออาหารเลี้ยงเชื้อ
(Transport Media) ส่งตัวอย่างถึงห้องปฏิบัติการให้
เร็วที่สุด ห้ามแช่เย็น เก็บไว้ที่
อุณหภูมิห้อง ปิดฉลาก เขียนชื่อ-นามสกุลผู้ป่วย วันที่
เจาะเลือด
***ควรเก็บตัวอย่างก่อนให้ยาปฏิชีวนะด้วยเทคนิค
วิธีการเก็บนำ้าไขสันหลัง/นำ้า
ไขข้อ
เจาะนำ้าไขสันหลัง/นำ้าไขข้อ ใส่
อาหารเลี้ยงเชื้อ กรณีไม่มี
อาหารเลี้ยงเชื้อ (Transport
Media) ให้ใส่ขวดปราศจากเชื้อ
ส่งตัวอย่างถึงห้องปฏิบัติการให้
เร็วที่สุด ภายใน 24 ชั่วโมง
***การเก็บตัวอย่างควรทำาโดย
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญเท่านั้น
ตัวอย่างส่งตรวจ
จากอาหาร
อาหารลาบ หลู้ เลือด เนื้อสุกรดิบ หรือไม่
สุกพอ เก็บปริมาณ
25 – 200 กรัม หรือเก็บเท่าที่มีอาหารเหลือ ใส่
ถุงพลาสติก ใช้ยางรัด
ปากถุงให้แน่น ส่งตัวอย่างให้ถึงห้องปฏิบัติการ
เร็วที่สุด ภายใน 24
ชั่วโมง แช่นำ้าแข็ง เพื่อป้องกันอาหารเน่าเสีย
รวมทั้งป้องกันเชื้อไม่ก่อ
โรคอาหารเป็นพิษ
โรคอาหารเป็นพิษ
 เชื้อสาเหตุที่พบได้
 Staphylococcus aureus
 Salmonella spp., Shigella spp.,
 Vibrio parahemolyticus,
Pathogenic E.coli
 Aeromonas, Plesiomonas,
Bacillus cerus
 เชื้อที่แยกจาก rectal swab มากที่สุดคือ
Salmonella spp.
แหล่งพบเชื้อก่อโรคอาหาร
เป็นพิษ
 พบได้บ่อยในอาหารปรุงสุก อาหาร
กล่อง
 พบได้ในแหล่งอาหารตามตลาดสด
เช่น อาหารทะเล
 พบได้ในอาหารบรรจุเสร็จ เช่น
อาหารกระป๋อง ไอศกรีม นม
 พบเชื้อในนำ้าดื่ม นำ้าที่ใช้บริโภค
 Rectal swabs เก็บในขวด Cary-
Blair มีฝาปิดสนิท
 ก่อนเก็บตัวอย่าง จุ่มไม้ swab ลงใน
Cary Blair และบิดให้หมาด
 สอดให้ลึก 2-4 ซม. และหมุนเบาๆ
 จุ่มลงใน Cary-Blair ให้ลึกเกินครึ่ง
และปิดฝาให้สนิท
    เก็บตัวอย่างให้มีอุจจาระติดในไม้
swab   
การเก็บตัวอย่าง
Rectal swab
 Stool swab เก็บในขวด Cary-Blair
มีฝาปิดสนิท
 นำาไม้ swab ป้ายที่อุจจาระ
 จุ่มลงใน Cary-Blair ให้ลึกเกินครึ่งและ
ปิดฝาให้สนิท
   เก็บตัวอย่างให้มีอุจจาระติดในไม้
swab  
      Cary-Blair ที่แห้ง เชื้ออาจตายได้
 เก็บรักษาตัวอย่างที่อุณหภูมิห้อง
การเก็บตัวอย่าง
Stool swab
ctal swab/Stool swab เก็บก่อนให้ยาปฏิชีว
 swab เก็บในขวด Cary-Blair มีฝา
ปิดสนิท
 นำาไม้ swab จุ่มใน buffer พอ
หมาด
 ป้ายนิ้วทุกนิ้วจากปลายถึงข้อที่ 2
ของนิ้ว
 ป้ายนิ้วหัวแม่มือจากปลายถึงข้อที่
1  
 จุ่มลงใน Cary-Blair ให้ถึงก้นขวด
การเก็บตัวอย่าง
swab จากมือ
 swab เก็บในขวด Cary-Blair มีฝา
ปิดสนิท
 นำาไม้ swab จุ่มใน buffer พอหมาด
 ป้ายภาชนะส่วนที่สัมผัสอาหารให้มาก
ที่สุด ทำาซำ้า 3 ครั้ง
   ป้ายให้ได้เนื้อที่ประมาณ 4 ตารางนิ้ว 
      ป้ายภาชนะอย่างน้อย 5 ชิ้น ต่อ 1
การเก็บตัวอย่าง swab
จากภาชนะ
 นำ้าจากก๊อกนำ้า ทำาความสะอาดก๊อกแล้ว
เปิดทิ้งก่อน 1-2 นาที
 นำ้าจากบ่อคันโยก ทำาความสะอาดแล้วโยก
ทิ้งก่อน 5 นาที
 นำ้าจากบ่อคันโยก จุ่มขวดลงไปลึก 5-10
cm แล้วเปิดฝา
 ส่งตัวอย่างโดยเร็วที่สุด ภายใน 24
ชั่วโมง
ารเก็บตัวอย่างนำ้าทางจุลชีววิท
 ใช้วิธีปราศจากเชื้อและปริมาตรเพียงพอ
 เครื่องดื่มสุ่มเก็บจากหลายๆ จุด
 นำ้าบรรจุขวดและนำ้าแร่ สุ่มจากหลาย
ตำาแหน่งในโรงงาน
 นำ้าผลิตนำ้าแข็ง เก็บจุดก่อนเข้าซองนำ้าแข็ง
และรักษาสภาพเป็น
ก้อนแข็งจนถึงห้องปฏิบัติการ
การเก็บตัวอย่างนำ้าทาง
จุลชีววิทยา
 ขวดที่เก็บควรมีปากกว้าง ขนาดมากกว่า
500 มล.
 ถุงพลาสติกที่แห้งและสะอาด
 เก็บตัวอย่างประมาณ 500 มล.
 นำ้าที่อาจจะมีคลอรีน ต้องเติม 3% โซเดีย
มไธโอซัลเฟต 0.1 มล.
 นำ้าทุกชนิดปิดปากภาชนะให้สนิท และ
ารเก็บตัวอย่างนำ้าทางจุลชีววิท
 นำ้าทั่วไป เก็บด้วยวิธีเดียวกันกับตัวอย่าง
จุลชีววิทยา
 นำ้าประปา นำ้าบาดาล นำ้าจากก๊อกนำ้า เขย่า
ล้างภาชนะ 2-3 ครั้ง
 นำ้าแข็งรักษาสภาพเป็นก้อนแข็งจนถึงห้อง
ปฏิบัติการ
 นำ้าชนิดอื่นๆ เก็บรักษาที่ 20-30 องศา
เซลเซียส
ก็บตัวอย่างนำ้าทางกายภาพแล
ตัวอย่าง เช่น อาหารปรุงสำาเร็จ ไอศกรีม
จากถัง
 สุ่มเก็บหลายๆ จุด จุดละเท่ากัน โดยวิธี
ปราศจากเชื้อ
 ทิ้งให้อาหารเย็นก่อนตักและเก็บที่
ตำาแหน่งตำ่ากว่าผิวหน้า 1 นิ้ว
ปริมาณตัวอย่างที่เหมาะสม คือ 100 กรัม
หรือตามสภาพปัญหา
ก็บตัวอย่างอาหารที่ไม่ได้แบ่ง
 ตัวอย่าง เช่น อาหารกระป๋อง ไอศกรีม
แท่ง
 สุ่มตามวิธีสุ่ม (random sampling)
 ควรสุ่มจาก Lot เดียวกัน หรือวันที่ผลิต
เหมือนกัน
 อาหารที่มีหลายแบบ ต้องแยกเก็บตาม
ภาชนะบรรจุ
ารเก็บตัวอย่างอาหารที่แบ่งบรร
 การเก็บตัวอย่างนม UHT, Pasteurized
 ควรสุ่มจาก Lot เดียวกัน หรือวันที่ผลิต
เหมือนกัน 20 ถุง
 บรรจุในถุงพลาสติก ก่อนวางในกล่อง
โพม
ระวังไม่ให้นำ้าแข็งปนเปื้อนเข้าไปในถุง
พลาสติก
 ใส่นำ้าแข็งหรือ ICE PACK รอบถุง
ารเก็บตัวอย่างอาหารที่แบ่งบรร
อุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บตัวอย่าง
อาหารและนำ้า
ขวด Duran
ฝาเกลียว
ถุงพลาสติก (7x
11 นิ้ว)
ตัวอย่างนำ้า 200
มิลลิลิตร
ถุงพลาสติก (7x
11 นิ้ว)
ถุงพลาสติก/หลอดบรรจุในกระป๋อง
ที่มีฝาปิด
ปิดฝากระป๋องให้สนิท ใส่ใน
กระติก/กล่องโฟมที่มีนำ้าแข็ง
swab ใส่ถุงพลาสติก 3
ชั้น
Clotted blood
ในtube ขนาดใหญ่
รองด้วยสำาลี
...
การบรรจุหีบห่อตัวอย่างตรวจการบรรจุหีบห่อตัวอย่างตรวจ
49
การบรรจุหีบห่อตัวอย่างการบรรจุหีบห่อตัวอย่าง
ตรวจตรวจ
50
ตัวอย่างส่งตรวจที่ไม่เหมาะตัวอย่างส่งตรวจที่ไม่เหมาะ
สมสม
ขั้นตอนการส่งตัวอย่างตรวจ
ทางห้องปฏิบัติการ
น 1 ตรวจดูความเรียบร้อยของตัวอย่างที่นำาส1. ฉลากที่ติดตัวอย่าง ไม่เลอะเลือน มีรายละเอียด
: ชื่อ-นามสกุล, เพศ, อายุผู้ป่วย, วันที่เก็บตัวอย่าง
และหมายเลขลำาดับที่
(กรณีมีหลายตัวอย่าง) ทำาให้ครบถ้วน & ชัดเจน
2. สภาพของตัวอย่าง ไม่เสียหาย (แตก หัก รั่วซึม)
3. การนำาส่งตัวอย่างตรวจหาเชื้อไวรัส ต้องอยู่ใน
สภาพแช่เย็นตลอด
ยกเว้นส่งตรวจหาเชื้อแบคทีเรีย ไม่ต้องแช่เย็น
ที่สำาคัญ ห้ามเปิดกล่องนำาส่งตัวอย่างขณะนำาส่ง
ยกเว้นบางกรณีเท่านั้น
ออกหนังสือนำาส่งตัวอย่าง เขียนรายละเอียดให
1. รายละเอียดเบื้องต้นของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ตาม
เกณฑ์ของกรมควบคุมโรคหรือไม่ พบผู้ป่วยโรค
หรือสงสัยโรคใด สถานที่เกิดเหตุ, จำานวนผู้ป่วย,
ความรุนแรง?
2. รายละเอียดเกี่ยวกับผู้ป่วย: ชื่อ-นามสกุล, เพศ,
อายุ, ที่อยู่ อาการนำา
3. ส่งตรวจหาเชื้ออะไร เชื้อแบคทีเรีย –ไวรัส
ชนิดใด?
ขั้นตอนการส่งตัวอย่างตรวจทาง
ห้องปฏิบัติการ
ขั้นตอนการส่งตัวอย่างตรวจ
ทางห้องปฏิบัติการ
ขั้น 3 กรอกข้อมูลลงในแบบส่งตัวอย่าง
ตรวจวินิจฉัยโรค ของ
กรมวิทย์ฯ หรือศูนย์วิทย์ฯ
นครสวรรค์
ขั้นตอนการส่งตัวอย่างตรวจ
ทางห้องปฏิบัติการ
ขั้น 4 การนำาส่งตัว
อย่าง
การส่งตัวอย่างไปตรวจทางห้องปฏิบัติการที่สถาบันวิจัย
วิทยาศาสตร์สาธารณสุข
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์และศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์
นครสวรรค์ ขอให้ปฏิบัติ ดังนี้
1. กรณีส่งตัวอย่างไปห้องปฏิบัติการโดยตรง
หนังสือนำาส่งตัวอย่างส่งตรวจ ต้องมีข้อความระบุในตอน
ท้ายของหนังสือว่า
“สำาเนาเรียนผู้อำานวยการสำานักงานป้องกันควบคุมโรคที่
8 นครสวรรค์ และ
“สำาเนาเรียนนายแพทย์สาธารณสุข
จังหวัด………………”
และให้ส่งสำาเนา หนังสือนำาส่งพร้อมกับแบบส่งตัวอย่างตรวจ
วินิจฉัยโรค ของกรมวิทย์หรือ ศูนย์วิทย์ฯ และรายงานฉบับเบื้องต้น
หรือแบบสอบสวนโรคเฉพาะราย ให้กับ สคร.8 เพื่อเป็น หลักฐาน
ขั้นตอนการส่งตัวอย่างตรวจ
ทางห้องปฏิบัติการ
ขั้น 4 การนำาส่งตัว
อย่าง (ต่อ)
หากไม่ดำาเนินการส่งสำาเนาหนังสือนำาส่งและแบบส่งตัวอย่างฯ ดัง
กล่าวมาที่ สคร.8 หน่วยงานที่นำาส่งตัวอย่างไปตรวจทางห้อง
ปฏิบัติการ จะต้องเสียค่าใช้จ่ายสำาหรับการตรวจวิเคราะห์เอง
2. กรณีส่งตัวอย่างมาที่ สคร.8 โดยตรง
ให้นำาส่งตัวอย่างพร้อมแบบส่งตัวอย่างตรวจวินิจฉัยโรค
ของกรมวิทย์ฯหรือ
ศูนย์วิทย์ฯ นครสวรรค์ และรายงานเบื้องต้น หรือแบบ
สอบสวนเฉพาะราย
อนึ่ง สคร.8 จะจ่ายค่าตรวจวิเคราะห์ทางห้อง
ปฏิบัติการ เฉพาะตัวอย่าง กรณีการสอบสวนการ
ระบาดเท่านั้น
สิ่งที่ต้องนำาส่งควบคู่ไปกับ
ตัวอย่าง
1. ใบนำาส่งหรือใบประวัติผู้ป่วย
ว่ามีรายละเอียดครบถ้วนหรือไม่
2. ตรวจสอบสภาพของ
ตัวอย่าง, ปริมาณของตัวอย่าง
3. หนังสือนำาส่ง
 เก็บตัวอย่างหลังให้ยาปฏิชีวนะ
 ปริมาณตัวอย่างไม่เหมาะสม น้อยเกินไป
ทำาให้ตรวจไม่ได้
 ขวด/หลอดแก้วแตก ตัวอย่างรั่วซึม หก
เสียหาย เนื่องจากปิดฝาไม่แน่น และไม่พัน
เทปหรือพาราฟิลม์
 คุณภาพของตัวอย่างไม่ดี เช่น ตัวอย่าง
อาหารบูดเน่า เปลี่ยนสภาพ เม็ดเลือดแดง
ข้อผิดพลาดที่พบคือ
 นำาส่งไม่ถูกต้อง มักเข้าใจว่า specimens
ทุกชนิดเมื่อเก็บแล้วต้องแช่เย็นเสมอ ซึ่งไม่
ถูกต้อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเก็บเพื่อส่ง
ตรวจหาเชื้อแบคทีเรียจากผู้ป่วย หลาย
ชนิดห้ามแช่เย็น
 ฉลากที่ติดข้างหลอด เลอะเลือน/ หลุด
หาย
 อุณหภูมิระหว่างการนำาส่ง ไม่ถึง 4 0
C

ข้อผิดพลาดที่พบคือ
ติดต่อผู้ประสานงาน LAB
สคร.8
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สคร.8
นครสวรรค์
โทร. 056-221822 ต่อ 114
โทรสาร 056-226620, 229412
E-mail กลุ่มระบาดวิทยา : e-mail :
epid8@yahoo.com
ผู้รับงาน
นส.จิตติมา พานิชกิจ 08-1785-9283 e-
mail:jittima8@hotmail.com
60
กรมควบคุมโรคห่วงใย อยาก
ขอบคุ
ณครับ

More Related Content

What's hot

1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptxTinnakritWarisson
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxJessie SK
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapkrupornpana55
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติNU
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์kruood
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวkrupornpana55
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สุขศึกษาฯ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สุขศึกษาฯข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สุขศึกษาฯ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สุขศึกษาฯSuriyawaranya Asatthasonthi
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์koorimkhong
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศsariya25
 
อารมณ์ และความฉลาดทางอารมณ์
อารมณ์ และความฉลาดทางอารมณ์ อารมณ์ และความฉลาดทางอารมณ์
อารมณ์ และความฉลาดทางอารมณ์ Chainarong Maharak
 
รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...
รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...
รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...Sircom Smarnbua
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1jamjuree_ben
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนkrupornpana55
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนKrupol Phato
 
งานและกำลัง
งานและกำลังงานและกำลัง
งานและกำลังJiraporn
 

What's hot (20)

1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind map
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สุขศึกษาฯ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สุขศึกษาฯข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สุขศึกษาฯ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สุขศึกษาฯ
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
 
อารมณ์ และความฉลาดทางอารมณ์
อารมณ์ และความฉลาดทางอารมณ์ อารมณ์ และความฉลาดทางอารมณ์
อารมณ์ และความฉลาดทางอารมณ์
 
รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...
รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...
รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
 
งานและกำลัง
งานและกำลังงานและกำลัง
งานและกำลัง
 

Similar to การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)

แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...Loveis1able Khumpuangdee
 
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonหลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonSuradet Sriangkoon
 
Ic update 2012
Ic  update 2012Ic  update 2012
Ic update 2012techno UCH
 
รูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัยรูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัยRamkhamhaeng University
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัยguest9e1b8
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaWan Ngamwongwan
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์NuttoJung
 
Pat2 มีนาคม 2552
Pat2 มีนาคม 2552Pat2 มีนาคม 2552
Pat2 มีนาคม 2552Gitniphat Prom
 
1.pat2 2 52(มีนา)
1.pat2 2 52(มีนา)1.pat2 2 52(มีนา)
1.pat2 2 52(มีนา)Pattrawut Poom
 
วิชาวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ
วิชาวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ชีวะวิชาวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ
วิชาวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ชีวะTayicha Phunpowngam
 
Pat2Science
Pat2SciencePat2Science
Pat2Scienceppapad
 

Similar to การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ) (20)

แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
 
7.ภาควิชาปรสิตวิทยา
7.ภาควิชาปรสิตวิทยา7.ภาควิชาปรสิตวิทยา
7.ภาควิชาปรสิตวิทยา
 
4.5 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาปรสิตวิทยา
4.5 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาปรสิตวิทยา4.5 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาปรสิตวิทยา
4.5 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาปรสิตวิทยา
 
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonหลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
 
36
3636
36
 
การกำจัดลูกน้ำโดยวิธีธรรมชาติ
การกำจัดลูกน้ำโดยวิธีธรรมชาติการกำจัดลูกน้ำโดยวิธีธรรมชาติ
การกำจัดลูกน้ำโดยวิธีธรรมชาติ
 
Ic update 2012
Ic  update 2012Ic  update 2012
Ic update 2012
 
รูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัยรูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัย
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
 
Pat72
Pat72Pat72
Pat72
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
Pat2 มีนาคม 2552
Pat2 มีนาคม 2552Pat2 มีนาคม 2552
Pat2 มีนาคม 2552
 
Pat2 2552
Pat2 2552Pat2 2552
Pat2 2552
 
Pat2 2552
Pat2 2552Pat2 2552
Pat2 2552
 
1.pat2 2 52(มีนา)
1.pat2 2 52(มีนา)1.pat2 2 52(มีนา)
1.pat2 2 52(มีนา)
 
Science
ScienceScience
Science
 
Science
ScienceScience
Science
 
วิชาวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ
วิชาวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ชีวะวิชาวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ
วิชาวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ
 
Pat2Science
Pat2SciencePat2Science
Pat2Science
 

การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)