SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
Download to read offline
- 34 -
BIOLOGY§Ÿà¡◊Õ “√–°“√‡√’¬π√Ÿâæ◊Èπ∞“π·≈–‡æ‘Ë¡‡µ‘¡√“¬«‘™“ ç™’««‘∑¬“é √–¥—∫¡—∏¬¡»÷°…“
- 35 -
- 1 -
5
วิชาชีววิทยา อ.เจดา
1. การยอยอาหาร (Digestion)
เปนกระบวนการแปรสภาพโมเลกุลของสารอาหารขนาดใหญกลายเปนโมเลกุลขนาดเล็กที่สามารถแพรเขาสู
เซลลเพื่อนําไปใชประโยชนได แบงออกเปน 2 รูปแบบ คือ
1. การยอยอาหารภายในเซลล 2. การยอยอาหารภายนอกเซลล
การยอยอาหารในสัตวชั้นสูง มี 2 ขั้นตอน คือ
1. การยอยเชิงกล (Mechanical Digestion) 2. การยอยเชิงเคมี (Chemical Digestion)
ระบบยอยอาหารของมนุษย มีสวนประกอบดังนี้
ปาก (Mouth) ประกอบดวย
ฟน (Teeth)
ลิ้น (Tongue)
ตอมน้ําลาย (Salivary Gland)
คอหอย (Pharynx)
หลอดอาหาร (Esophagus)
การยอยอาหารในสัตวบางชนิด
ฟองน้ํา---Collar Cell หรือ Choanocyte
ไฮดรา ปะการัง ดอกไมทะเล(Gastrovascular Cavity)
พลานาเรีย มีคอหอย (Pharynx)
พยาธิใบไม มีอวัยวะดูดเกาะ (Sucker) สโคเล็กซ (Scolex)”
ไสเดือนดิน มีทางเดินอาหารสมบูรณ มีกึ๋น (Gizzard)
แมลง มีทางเดินอาหารสมบูรณ มีปากหลายรูปแบบ
2. ANIMAL PHISIOLOGY
กระเพาะอาหาร (Stomach)
Mucous Cell , Parietal Cell ,Chief Cell
ลําไสเล็ก (Small Intestine)
Duodenum ,Jejunum ,Ileum
อวัยวะที่เกี่ยวของกับการยอยในลําไส
เล็ก ไดแก
ตับออน (Pancreas) , ตับ (Liver)
ลําไสใหญ (Large Intestine)
ANIMAL PHISIOLOGY
- 2 -
7
วิชาชีววิทยา อ.เจดา
3. ระบบหายใจ
การหายใจ (Respiration) เปนกระบวนการสลายสารอาหารของสิ่งมีชีวิตเพื่อใหไดพลังงานออกมาใชในการ
ดํารงชีพ ประกอบดวย
1. การหายใจภายนอก (External Respiration)
2. การหายใจภายใน (Internal Respiration)
โครงสรางระบบหายใจของมนุษย แบงเปน 2 สวน คือ
1. สวนที่เปนทางผานอากาศ (Air Passage)
 จมูก (Nose
 คอหอย (Pharynx
 กลองเสียง (Larynx)
 หลอดลมคอ (Trachea
 หลอดลม (Bronchus)
 หลอดลมฝอย (Bronchiole)
4. ระบบขับถาย
การขับถาย (Excretion) เปนการกําจัดของเสียที่เกิดจากเมแทบอลิซึมของสิ่งมีชีวิต เชน แอมโมเนียยู
เรีย กรดยูริก คารบอนไดออกไซด
สิ่งมีชีวิตแตละชนิดมีกลไกในการรักษาสมดุลของรางกายแตกตางกัน
- สิ่งมีชีวิตเซลล พารามีเซียม จะมีคอนแทรกไทลแวคิวโอล (Contractile Vacuole) ควบคุมสมดุลน้ํา และ
กําจัดของเสียออกภายนอกเซลล
- พวกฟองน้ําและพวกไนดาเรีย กําจัดของเสียโดยการแพรผานเยื่อหุมเซลล และขับออกทาง
Gastrovascular Cavity และปาก ตามลําดับ
2. สวนแลกเปลี่ยนแกส (Air Exchange)
ถุงลม (Alveolus) เปนถุงเล็กๆ มีผนังบาง และมีหลอดเลือดฝอย
มาเลี้ยงเพื่อแลกเปลี่ยนแกสการนําอากาศเขาและออกจากปอด
ควบคุมโดยศูนยควบคุมการสูดลมหายใจ ซึ่งอยูที่สมองสวนทาย
คือ Medulla Oblongata มี 2 ขั้นตอน คือ
 การหายใจเขา
 การหายใจออก
- 3 -
8
วิชาชีววิทยา อ.เจดา
- พวกหนอนตัวแบน มี เฟลมเซลล (Flame Cell) กระจายตลอดความยาวลําตัว
- พวกแอนเนลิด เชน ไสเดือนดิน มี เนฟริเดียม (Nephridium) 1 คูตอปลอง ภายในมีซิเลียโบกพัดของเสียออก
ภายนอกรางกาย
- พวกอารโทรพอด เชน แมลง มี ทอมัลพิเกียน (Malpighian Tubule)
ปลาน้ําจืด ปลาน้ําเค็ม นก นกทะเล สัตวเลื้อยคลาน
อวัยวะขับถายของมนุษย คือ ไต (Kidney) ประกอบดวย
เนื้อเยื่อ 2 ชั้น คือ คอรเทกซ (Cortex) อยูชั้นนอกและเมดัลลา (Medulla) อยูชั้นใน
กรวยไต (Pelvis) ทอไต (Ureter) กระเพาะปสสาวะ (Urinary Bladder)และ ทอปสสาวะ (Urethra) ตามลําดับ
ไตแตละขางประกอบดวย หนวยไต (Nephron) มีโครงสรางสําคัญ ดังนี้
1. โบวแมนสแคปซูล (Bowman’s Capsule)
2. โกลเมอรูลัส (Glomerulus)
3. ทอหนวยไต--- ทอขดสวนตน (Proximal Convoluted Tubule) หวงเฮนเล (Loop Of Henle) ทอขดสวนทาย
(Distal Convoluted Tubule)
การกรองของเสียที่หนวยไตมีขั้นตอน ดังนี้
- 4 -
9
วิชาชีววิทยา อ.เจดา
5. ระบบหมุนเวียนเลือด
สัตวชั้นสูงมีระบบหมุนเวียนเลือดชวยในการลําเลียงสารอยางมี
ประสิทธิภาพ ซึ่งแบงออกเปน 2 รูปแบบ คือ
1. ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปด
2. ระบบหมุนเวียนเลือดแบบปด
การลําเลียงสารในไสเดือนดิน
การลําเลียงสารในพวกมอลลัสค หมึก และหอย
การลําเลียงสารในแมลง
การลําเลียงสารในสัตวมีกระดูกสันหลัง
โครงสรางของหัวใจ ลิ้นหัวใจ หองหัวใจ
ความดันเลือด (Blood Pressure) ความดันซิสโทลิก (Systolic Pressure) ความดันไดแอสโทลิก (Diastolic
Pressure)
- 5 -
6
วิชาชีววิทยา อ.เจดา
2. การสลายสารอาหารระดับเซลล
1. การหายใจแบบใชออกซิเจน (Aerobic Respiration)
1.1 ไกลโคไลซิส (Glycolysis)
1.2 การสรางแอซีติลโคเอนไซม
1.3 วัฏจักรเครบส (Kreb’s Cycle)
1.4 การถายทอดอิเล็กตรอน
2. การหายใจแบบไมใชออกซิเจน (Anaerobic Respiration)
2.1 การหมักแอลกอฮอล (Alcoholic Fermentation) 2.2 การหมักกรดแลกติก (Lactic Acid Fermentation)
เปรียบเทียบ Aerobic Respiration กับ Anaerobic Respiration
Aerobic Respiration Anaerobic Respiration
มีครบ 4 ขั้นตอน มีเฉพาะไกลโคไลซิส
เกิด 36-38 ATP ตอกลูโคส 1
โมเลกุล
เกิด 2 ATP ตอ กลูโคส 1
โมเลกุล
ผลผลิต Co2 H2 O ATP ยีสตเกิด เอทานอล Co2 ATP
สัตว เกิด แลกติก ATP
เกิดในไซโทพลาสซึมและ
ไมโทคอนเดรีย
เกิดในเฉพาะไซโทพลาสซึม
- 6 -
10
วิชาชีววิทยา อ.เจดา
เสนเลือด (Blood Vessel) แบงเปน 3 ชนิด คือ
1. เสนอารเทอรี (Artery)
2. เสนเวน (Vein)
3. เสนเลือดฝอย (Capillary)
3.1 น้ําเลือด (Plasma
3.2 เม็ดเลือด (Blood Corpuscle)
เซลลเม็ดเลือดขาว (White Blood Cell หรือ Leucocyte)
เซลลเม็ดเลือดแดง (Red Blood Cell หรือ Erythrocyte)
กลไกการแข็งตัวของเลือด*
ระบบ ABO
หมูเลือดระบบนี้มีแอนติเจน 2 ชนิด และมีแอนติบอดี 2 ชนิด คือ A และ B ซึ่งสามารถถายทอดทาง
พันธุกรรมไดโดยยีนประเภทมัลติเปลแอลลีล (Multiple Allele) แบงออกเปน 4 หมู
ระบบ Rh
ระบบน้ําเหลือง
ระบบน้ําเหลือง (Lymph) เปนของเหลวซึ่งซึมผานเสนเลือดฝอยออกมาหลอเลี้ยงอยูรอบๆ เซลล ประกอบดวย
น้ํา กลูโคส อัลบูมิน ฮอรโมน เอนไซม แกส เซลลเม็ดเลือดขาว (แตไมมีเซลลเม็ดเลือดแดงและเพลตเลต)
ทอน้ําเหลือง (Lymph Vessel)
อวัยวะน้ําเหลือง (Lymphatic Organ) ไดแก
1. ตอมน้ําเหลือง (Lymph Node)
2. มาม (Spleen)
3. ตอมไทมัส (Thymus Gland)
ภูมิคุมกันของรางกายมนุษย ไดแก
1. ภูมิคุมกันโดยกําเนิด (Innate Immunity) เปนการปองกันและกําจัดแอนติเจนที่เกิดขึ้นเองในรางกายกอนที่
รางกายจะไดรับแอนติเจน
2. ภูมิคุมกันกอเอง (Active Immunization)
Granule Leucocyte
นิวโทรฟล (Neutrophil)
อีโอซิโนฟล (Eosinophil)
เบโซฟล (Basophil)
เฮพาริน (Heparin)
Nongranule Leucocyte
โมโนไซต (Monocyte)
ลิมโฟไซต (Lymphocyte)
- 7 -
11
วิชาชีววิทยา อ.เจดา
6. การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
- การเคลื่อนไหวแบบอะมีบา (Amoeboid Movement)---เทาเทียม (Pseudopodium
- การเคลื่อนไหวโดยใชแฟลเจลลัม (Flagellum)---ไมโครทิวบูล (Microtubule) เรียงตัวแบบ 9 + 2
- การเคลื่อนไหวโดยใชซิเลีย (Cilia) พบในพวกพารามีเซียม (Paramecium)
- การเคลื่อนไหวของสัตวไมมีกระดูกสันหลัง มีรูปแบบแตกตางกันดังนี้
แมงกะพรุน (Jelly Fish)
พลานาเรีย (Planaria)
ไสเดือนดิน (Earth Worm)
หอยฝาเดียว (Gastropods)
หมึก (Squid)
ดาวทะเล(star fish)
แมลง
ปลา
นก
เสือชีตา
การเคลื่อนไหวของมนุษย ตองอาศัยการทํางานรวมกันของระบบอวัยวะดังตอไปนี้
ระบบโครงกระดูก กระดูกมนุษยมีทั้งหมด 206 ชิ้น แบงออกเปน
1. กระดูกแกน (Axial Skeleton) เปนโครงกระดูกแกนกลางของรางกาย มี 80 ชิ้น
2. กระดูกรยางค (Appendicular Skeleton) เชื่อมตอกับกระดูกแกนมี 126 ชิ้น
ระบบกลามเนื้อ รางกายมนุษยประกอบดวยกลามเนื้อมากกวา 500 มัด แบงออกเปน 3 ประเภท คือ
1. กลามเนื้อลาย (Striated Muscle)
2. กลามเนื้อหัวใจ (Cardiac Muscle)
3. กลามเนื้อเรียบ (Smooth Muscle)
- 8 -
16
วิชาชีววิทยา อ.เจดา
7. อวัยวะสืบพันธุ (Gonad)
7.1 อัณฑะ (Testis) -----แอนโดเจน (Androgen) เชน เทสโทสเทอโร (Testoserone)
7.2 รังไข (Ovary)--------อีสโทรเจน (estrogen) และ โพรเจสเทอโรน (progesterone) ออกมา
8. รก ---- HCG (Human chorionic gonadotropin) และ โพรเจสเทอโรน (Progesterone)
9. ตอมไธมัส (Thymus gland) ------ ฮอรโมนไทโมซิน (Thymosin)
10. กระเพาะอาหาร ---------แกสทริน (Gastrin)
11.ลําไสเล็ก (intestin) ---------- ซีครีทิน (Secretin)
9. พฤติกรรมของสัตว
พฤติกรรม (Behavior) เปนปฏิกิริยาที่สิ่งมีชีวิตแสดงออกมา เพื่อตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลง
สภาพแวดลอมทั้งภายนอกและภายใน
สิ่งเรา ---หนวยรับความรูสึก---ระบบประสาทสวนกลาง---หนวยปฏิบัติงาน---พฤติกรรม
9.1 พฤติกรรมที่มีมาแตกําเนิด (Inherited Behavior)
1. พฤติกรรมแบบไคนีซีส (Kinesis)
2. พฤติกรรมแบบแทกซิส (Taxis)
3.พฤติกรรมแบบรีเฟลกซ (Reflex)
4.พฤติกรรมแบบรีเฟลกซตอเนื่อง (Chain Of Reflex)
9.3 พฤติกรรมทางสังคม
การสื่อสารดวยทาทาง (Visual Communication)
การสื่อสารดวยเสียง (Sound Communication)
การสื่อสารดวยสารเคมี------ฟโรโมน (Pheromone)
การสื่อสารดวยการสัมผัส (Tactile Communication)
9.2 พฤติกรรมที่เกิดจากการรับรู (Learning
Behavior)
1. พฤติกรรมแบบแฮบบิชูเอชัน (Habituation)
2. พฤติกรรมแบบฝงใจ (Imprinting Behavior)
3. พฤติกรรมแบบลองผิดลองถูก (Trial And Error)
4. พฤติกรรมแบบมีเงื่อนไข (Conditioning)
5. พฤติกรรมแบบใชเหตุผล (Reasoning)
- 9 -
12
วิชาชีววิทยา อ.เจดา
7. การรับรูและการตอบสนอง
โพรโทซัว ยังไมมีเซลลประสาท มีเสนใยประสานงาน (Coordinating Fiber)
สัตวไมมีกระดูกสันหลัง
-ไนดาเรียน---รางแหประสาท (Nerve Net)
-ดาวทะเล---วงแหวนประสาท (Nerve Ring)
-หนอนตัวแบน เชน พลานาเรีย มีปมประสาท (Nerve Ganglion)
-แอนเนลิด (ไสเดือนดิน) และพวกอารโทรพอด (แมลง) มีปมประสาทสมอง (Cerebral Ganglia)
-สัตวมีกระดูกสันหลังและมนุษยมีระบบประสาทเจริญดี มี สมอง (Brain) และไขสันหลัง (Spinal Cord)
Myofibril
- 10 -
13
วิชาชีววิทยา อ.เจดา
เซลลประสาท ประกอบดวย 2 สวน คือ
1. ตัวเซลล (Cell Body)
2. ใยประสาท (Nerve Fiber) คือ เดนไดรต (Dendrite) และ แอกซอน (Axon)
จําแนกเปน 3 ประเภท คือ
1. เซลลประสาทรับความรูสึก (Sensory Neuron หรือ Afferent Neuron)
2. เซลลประสาทสั่งการ (Motor Neuron หรือ Efferent Neuron)
3. เซลลประสาทประสานงาน (Association Neuron หรือ Interneuron)
สมอง (brain) แบงออกเปน 3 สวน คือ
1. สมองสวนหนา (Forebrain หรือ Prosencepalon) ประกอบดวย
1.1 เซรีบรัม (Cerebrum)
1.2 ออลแฟกทอรีบัลบ (Olfactory Bulb)
1.3 ทาลามัส (Thalamus)
1.4 ไฮโพทาลามัส (Hypothalamus)
2. สมองสวนกลาง (Midbrain หรือ Mesencephalon)
3. สมองสวนทาย (Hind Brain หรือ Rhombencephalon)
3.1 เซรีเบลลัม (Cerebellum)
3.2 พอนส (Pons)
3.3 เมดัลลาออบลองกาตา (Medulla Oblongata)
- 11 -
14
วิชาชีววิทยา อ.เจดา
อวัยวะรับสัมผัส (Sense Organ)
1. นัยนตา ประกอบดวยเนื้อเยื่อ 3 ชั้น ดังนี้
1. สเคลอรา (Sclera)
2. โครอยด (Choroid)
3. เรตินา (Retina) พบ เซลลรูปแทง (Rod Cell) เซลลรูปกรวย (Cone Cell)
2. หู ประกอบดวน สองสวนคือ
1. หูสวนนอก (Outer Ear) ประกอบดวย
o ใบหู (Pinna)
o รูหู (External Auditary Canal)
o เยื่อแกวหู (Tympanic Membrane)
2. หูสวนกลาง (Middle Ear) ประกอบดวย
- กระดูกหูรูปคอน (Malleus) ทั่ง (Incus) และโกลน (Stapes)
- ทอยูสเตเชียน (Eustachian Tube)
3. หูสวนใน (Inner Ear) - คอเคลีย (Cochlea) เซมิเซอรคิวลารแคแนล (Semicircular Canal
3.จมูก 4. ลิ้น 5. ผิวกาย
8. ระบบตอมไรทอ
ระบบตอมไรทอ (Endocrine System) สรางสารเคมี เรียกวา “ฮอรโมน (Hormone)” เขาสูกระแสเลือด
ลําเลียงไปยังอวัยวะเปาหมาย (Target Organ) เพื่อควบคุมการทํางานของอวัยวะใหเปนปกติ แบงออกเปน 2
กลุมใหญ ๆ คือ
(1) พวกที่รางกายพอจะขาดได (Non-essential endocrine gland)ไดแก ตอมใตสมอง (Pituitary gland)
ตอมหมวกไตสวนใน (Adrenal gland) อัณฑะ (Testis) และรังไข (Ovary) ตอมไพเนียล(Pineal gland)
ตอมไทรอยด (Parathyroid glad)
(2) พวกที่รางกายขาดไมได (Essential endocrine gland) ไดแก ไอสเลตออฟแลงเกอรฮานส (Islets of
Langerhans)ที่ตับออน ตอมหมวกไตสวนนอก (Adrenal gland) ตอมพาราไทรอยด (Thyroid
gland)
- 12 -
15
วิชาชีววิทยา อ.เจดา
1. ตอมไพเนียล (pineal gland ) สราง ฮอรโมนเมลาโทนิน (Melatonin)
2. ตอมใตสมอง (Pituitary Gland หรือ Hypophysis)
1.1 ตอมใตสมองสวนหนา
 โกรทฮอรโมน (Growth Hormone : GH )
 โกนาโดโทรฟน (Gonadotrophin) 1. ฟอลลิเคิล สติมิวเลติงฮอรโมน (FSH)
2. ลูทิไนซิงฮอรโมน (Luteinizing Hormone : LH)
 ฮอรโมนโพรแลกติน (Prolactin)
 ฮอรโมนอะดรีโนคอรติโคโทรฟน (Aadrenocorticotropic hormone ; ACTH )
 ฮอรโมนไทรอยด (Thyroid stimulting hormone;TSH)
1.2 ตอมใตสมองสวนกลาง--- เมลาโนไซตสติมิวเลติงฮอรโมน (MSH)
1.3 ตอมใตสมองสวนหลัง--- ออกซีโทซิน (Oxytocin)
วาโซเพรสซิน (Vasopressin)
3. ตอมไทรอยด (Thyroid Gland) ----- ไทรอกซิน (Thyroxin) แคลซิโตนิน(Calcitonin)
4.ตอมพาราไทรอยด (Parathyroid Gland) ----พาราไทรอยดฮอรโมน (Parathyroid hormone ; PTH)
5. ไอสเลตออฟแลงเกอรฮานส (Islets Of Langerhans) ที่ตับออน
 อินซูลิน (Insulin)
 กลูคากอน (Glucagon)
6. ตอมหมวกไต (Adrenal Gland)
6.1 อะดรีนัลคอรเทกซ (Adrenal Cortex)
 กลูโคคอรติคอยดฮอรโมน
(Glucocorticoid Hormone)
 มิเนราโลคอรติคอยดฮอรโมน
(Mineralocorticoid Hormone)
 ฮอรโมนเพศ (Sex Hormone)
6.2 อะดรีนัลเมดัลลา (Adrenal Medulla)
 อะดรีนาลินฮอรโมน (Adrenalin Hormone)
 นอรอะดรีนาลินฮอรโมน (Noradrenalin Hormone)
- 13 -
17
วิชาชีววิทยา อ.เจดา
10. การสืบพันธุและการเจริญเติบโต
การสืบพันธุ (Reproduction) สิ่งมีชีวิตมีการสรางชีวิตใหมที่มีลักษณะพันธุกรรมเหมือนบรรพบุรุษเพื่อให
สามารถดํารงเผาพันธุตอไปได
1. การสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศ (Asexual Reproduction )
2. การสืบพันธุแบบอาศัยเพศ (Sexual Reproduction)
การปฏิสนธิ มี 2 แบบ คือ
1. การปฏิสนธิภายนอก (External Fertilization)
2. การปฏิสนธิภายใน (Internal Fertilization)
การสืบพันธุของมนุษย
ระบบสืบพันธุเพศชาย
อัณฑะ (Testis)
1. ถุงอัณฑะ (Scrotum)
2. หลอดสรางอสุจิ (Seminiferous Tubules)
3. หลอดเก็บอสุจิ (Epididymis)
4. เซลลอินเตอรสติเชียล (Interstitial Cell)
5.ทอนําอสุจิ (Vas Defferens)
6. ตอมสรางน้ําเลี้ยงอสุจิ (Seminal Vesicle)
7. ตอมลูกหมาก (Prostate Gland)
8. ตอมคาวเปอร (Cowper’s Gland)
9. ทอฉีดอสุจิ (Ejaculatory Duct)
10. ทอปสสาวะ (Urethra)
 น้ําอสุจิ (Semen)
 อสุจิ (sperm)
- 14 -
18
วิชาชีววิทยา อ.เจดา
ระบบสืบพันธุเพศหญิง
1. รังไข (Ovary)
2. ปกมดลูกหรือทอนําไข (oviduct หรือ fallopian tube)
3.มดลูก (Uterus)
4.ชองคลอด (vagina)
5.อวัยวะสืบพันธุสวนนอกของหญิง
การสรางเซลลสืบพันธุเพศเมียหรือเซลลไข (oogenesis)
การเจริญเติบโต
การเจริญเติบโตของสัตว ซึ่งจะมีการเปลี่ยนแปลงเปนระยะตางๆ ดังนี้
ระยะคลีเวจ (Cleavage)
ระยะบลาสทูลา (Blastula)
ระยะแกสทูลา (Gastrula)
 Ectoderm
 Mesoderm
 Endoderm
- 15 -
1
วิชาชีววิทยา อ.เจดา
3. การศึกษาดานชีววิทยา
4. การใชกลองจุลทรรศน
กลองจุลทรรศนแบบใชแสง (Light Microscope ; LM)
กลองจุลทรรศนอิเล็กตรอน (Electron Microscope)
1.ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต---ลักษณะสําคัญของสิ่งมีชีวิต
 สิ่งมีชีวิตมีการสืบพันธุ (Reproduction
 สิ่งมีชีวิตมีการจัดระบบโครงสรางที่แนนอน
 สิ่งมีชีวิตมีปฏิกิริยาเคมีภายในเซลล (Metabolism)
 สิ่งมีชีวิตมีการเจริญเติบโต มีอายุขัยและมีขนาดจํากัด
 สิ่งมีชีวิตมีการตอบสนองตอสิ่งเรา (Irritability)
 สิ่งมีชีวิตมีการเคลื่อนไหว (Movement)
 สิ่งมีชีวิตมีการปรับตัวใหเขากับสิ่งแวดลอม
 สิ่งมีชีวิตมีการรักษาดุลยภาพของรางกาย
3. เคมีเปนพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
สารอนินทรีย
เกลือแร (Mineral) น้ํา
สารอินทรีย
- คารโบไฮเดรต (Carbohydrate)
- โปรตีน (Protein)
- ลิพิด (Lipid)
- วิตามิน (Vitamin)
- กรดนิวคลีอิก (Nucleic Acid)
1. INTRO TO BIO & CYTOLOGY
2. การศึกษาชีววิทยา
ชีววิทยา (Biology)
องคประกอบของชีววิทยา มี 2 สวน คือ
กระบวนการ (Process)
- การสังเกต (Observation)
- การกําหนดปญหา (Problem)
- การตั้งสมมติฐาน (Hypothesis)
- การตรวจสอบสมมติฐาน (Testing The Hypothesis)
- การวิเคราะหและสรุปผล (Analysis And
Conclusion
ความรู (Knowledge)
ขอเท็จจริง (Fact) ขอมูล (Data) ทฤษฎี (Theory) กฎ (Law)
เมแทบอลิซึม (Metabolism) แบงเปน
แคแทบอลิซึม (Catabolism)
แอนาบอลิซึม (Anabolism)
เอนไซม
สมบัติของเอนไซม
การเสียสภาพธรรมชาติของเอนไซม
การทํางานของเอนไซม
การยับยั้งการทํางานของเอนไซม มี 3 แบบ
สารเก็บพลังงานหมุนเวียนของเซลล
INTRO TO BIO & CYTOLOGY
- 16 -
2
วิชาชีววิทยา อ.เจดา
4. เซลลของสิ่งมีชีวิต
เซลล (Cell) หมายถึง หนวยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต มีรูปรางลักษณะและขนาดแตกตางขึ้นอยูกับชนิด
ของสิ่งมีชีวิต
4.1 เซลลของสิ่งมีชีวิต
โพรคาริโอต (Prokaryote) ไดแก พวกแบคทีเรีย ไมโคพลาสมา และสาหรายสีเขียวแกมน้ําเงิน
ยูคาริโอต (Eukaryote) ไดแก พวกโพรทิสต ฟงไจ พืช และสัตว
- 17 -
19
วิชาชีววิทยา อ.เจดา
1. พันธุกรรมและการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 พันธุศาสตร หมายถึง วิชาทางชีววิทยาแขนงหนึ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมของยีนอันเปนตัวควบคุม
การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความแปรผันตาง ๆ ของสิ่งมีชีวิต
 พันธุกรรม(กรรมพันธุ) หมายถึง การถายทอดลักษณะตาง ๆ ของสิ่งมีชีวิตจากรุนหนึ่งไปยังอีกรุนหนึ่ง
หรือจากบรรพบุรุษไปสูลูกหลาน
 ลักษณะทางพันธุกรรม คือ ลักษณะความเหมือนที่ไดรับการถายทอดมาจากบรรพบุรุษ
 ความแปรผันทางพันธุกรรม
แปรผันตอเนื่อง
แปรผันไมตอเนื่อง
สรุปคําตางๆที่จําเปนทางพันธุศาสตร
1. จีน (gene) คือ ลักษณะทางพันธุกรรมซึ่งเปนสวนหนึ่งของโครโมโซม โครโมโซมของคนมี 23 คู และ
มีจีนอยูประมาณ 50,000 จีน จีนเหลานี้จะกระจายอยูในโครโมโซมแตละคูและควบคุมการถายทอดลักษณะไดสู
ลูกประมาณ 50,000 ลักษณะ
2. แอลลีล (allele) คือ จีนที่เปนคูเดียวกันเรียกวาเปน แอลลีลิก (allelic) ตอกันหมายความวาแอลลีล
เหลานั้นจะมีตําแหนงเดียวกันบนโครโมโซมที่เปนคูกัน (homologous chromosome)
3. จีโนไทป (genotype) หมายถึงจีนที่ควบคุมลักษณะของสิ่งมีชีวิต เชน TT, tt, Tt
4. ฟโนไทป (phenotype) หมายถึง ลักษณะที่ปรากฏออกมาใหเห็นซึ่งเปนผลจากการแสดงออกของจี
โนไทปนั่นเอง เชน TT, Tt มีจีนไทปตางกันแตมีฟโนไทปเหมือนกัน คือ เปนตนสูงทั้งคู
5. ฮอมอไซกัส (homozygous) หมายถึง คูของแอลลีลซึ่งเหมือนกัน เชน TT จัดเปนฮอมอไซกัสโด
มิแนนต (homozygous dominant) เนื่องจากลักษณะทั้งคูเปนลักษณะเดนหรือ tt จัดเปนฮอมอไซกัสรีเซสซีฟ
(homozygous recessive)เนื่องจากลักษณะทั้งคูเปนลักษณะดอย เราเรียกวาพันธุแท
6. เฮเทอโรไซกัส (heterozygous) หมายถึง คูของแอลลีลที่ไมเหมือนกัน เชน Tt ลักษณะของเฮเทอโร
ไซโกตเราเรียกวาเปนพันธทาง
7. ลักษณะเดน (dominant) คือลักษณะที่แสดงออกเมื่อเปนฮอมอไซกัสโดมิแนนตและเฮเทอโรไซโกต
8. ลักษณะดอย (recessive) คือลักษณะที่จะถูกขมเมื่ออยูในรูปของเฮเทอโรไซโกตและจะแสดงออก
เมื่อเปนฮอมอไซกัสรีเซสซีฟ
3. GENERAL GENETICSGENERAL GENETICS
- 18 -
20
วิชาชีววิทยา อ.เจดา
กฏขอที่ 1 กฏแหงการแยก (Law of Segregation)
สาระสําคัญ คือ ยีนที่อยูคูกันจะแยกตัวออกจากกันไปอยูในแตละเซลลสืบพันธุ กอนที่จะมารวมตัวกัน
ใหมเมื่อมีการปฏิสนธิ
กฏขอที่ 2 กฏแหงการรวมกลุมอยางอิสระ (Law of independent assortment)
สาระสําคัญ คือ ยีนที่เปนคูกันเมื่อแยกออกจากกันแลว แตละยีนจะไปกับยีนอื่นใดก็ไดอยางอิสระ นั้น
คือ เซลลสืบพันธุจะมีการรวมกลุมของหนวยพันธุกรรมของลักษณะตางๆ โดยการรวมกลุมที่เปนไปอยางอิสระ
ลักษณะทางพันธุกรรมที่นอกเหนือจากกฏของเมนเดล
1 ลักษณะเดนไมสมบูรณ (Incomplete dominance)
2 ลักษณะขมรวมกัน (Codominance)
3 มัลติเปล อัลลีล (Multiple alleles)
4 พอลียีนส (Polygenes)
5. การถายทอดลักษณะโดยยีนในโครโมโซม (Sex linked gene)
6. ยีนในโครโมโซมเดียวกัน
7.พันธุกรรมที่ขึ้นกับอิทธิพลของเพศ (sex-influenced gene)
8.พันธุกรรมจํากัดเพศ (sex-limited gene)
พงศาวรีหรือพันธุประวัติ (Pedigree)
คือ ขอมูลที่ไดจากการสืบประวัติสายพันธุ การศึกษาลักษณะที่ผิดปกติหรือโรคที่ถายทอดทางพันธุกรรม
นักพันธุศาสตรนิยมใชสัญลักษณแสดงบุคคลตางๆ ในครอบครัว ทั้งที่แสดงลักษณะและไมไดแสดงลักษณะ
แลวเขียนเปนผังแสดงการถายทอด
วิเคราะหไดอยางไร
1. ถาเปน Monohybrid cross อัตราสวน Phenotype จะไมเทากับ 3:1
2. ถาเปน Dihybrid cross อัตราสวน Phenotype จะไมเทากับ 9:3:3:1
- 19 -
21
วิชาชีววิทยา อ.เจดา
2. โครโมโซมและสารพันธุกรรม
โครงสรางของสารพันธุกรรม
การจําลองตัวของ DNA (DNA Replication)
DNA -----------------------> mRNA -----------------------------> โปรตีนTranscription Translation
DNA Replication
Reverse Transcription
- 20 -
22
วิชาชีววิทยา อ.เจดา
Transcription
Transcription และ Translation เปนกระบวนการที่เกิดขึ้นเพื่อควบคุมการสรางสารที่ความสาคัญมาก
ในสิ่งมีชีวิตซึ่งสารนั้นคือ โปรตีน
ชนิดของ RNA
RNA แบงเปน 3 ประเภทคือ เมสเซ็นเจอรอารเอนเอ (messenger RNA ; mRNA) ทรานสเฟอรอารเอน
เอ (transfer RNA ; tRNA) และ ไรโบโซมอลอารเอนเอ (ribosomal RNA ; rRNA) RNA
Translation
- 21 -
3
วิชาชีววิทยา อ.เจดา
4.2 การลําเลียงสารผานเซลล การรักษาดุลยภาพของเซลลเปนหนาที่สําคัญของเยื่อหุมเซลล โดยเยื่อหุมเซลล
จะควบคุมการผานเขา-ออก
ของสารระหวางสิ่งแวดลอมภายนอกกับภายในเซลล ซึ่งการลําเลียงสารเขา-ออกเซลลมี 2 รูปแบบดวยกัน ดังนี้
1. การลําเลียงสารแบบผานเยื่อหุมเซลล
2. การลําเลียงสารแบบไมผานเยื่อหุมเซลล
การลําเลียงสารแบบผานเยื่อหุมเซลล
1. การลําเลียงสารแบบผานเยื่อหุมเซลลแบงออกเปน 2 ประเภทใหญ คือ
การลําเลียงแบบไมใชพลังงานซึ่งแบงออกเปน 3 วิธี คือ
1.1 การแพร (Diffusion)
1.2 ออสโมซิส (Osmosis)
1.3 การแพรแบบฟาซิลิเทต (Facilitated Diffusion)
การลําเลียงแบบใชพลังงาน หรือแอกทีฟทรานสปอรต (Active Transport)
2. การลําเลียงสารแบบไมผานเยื่อหุมเซลล
การลําเลียงสารแบบไมผานเยื่อหุมเซลลแบงออกเปน 2 ประเภทใหญ คือ
1. เอกโซไซโทซิส (Exocytosis)
2. เอนโดไซโทซิส (Endocytosis) ซึ่งแบงออกเปน 3 วิธี คือ
2.1 ฟาโกไซโทซิส (Phagocytosis)
2.2 พิโนไซโทซิส (Pinocytosis)
2.3 การนําสารเขาสูเซลลโดยอาศัยตัวรับ (Receptor-Mediated Endocytosis)
- 22 -
4
วิชาชีววิทยา อ.เจดา
1.3 การแบงเซลล
Mitosis เปนกระบวนการแบงเซลลเพื่อเพิ่มจํานวนเซลล เซลลใหมที่เกิดขึ้นจะมีจํานวนโครโมโซมเทากับเซลล
เริ่มตน
Meiosis เปนกระบวนการแบงเซลลเพื่อลดจํานวนโครโมโซม โดยเซลลใหมที่เกิดขึ้นจะมีจํานวนโครโมโซมลดลง
เปนครึ่งหนึ่งของจํานวนโครโมโซมในเซลลเริ่มตน
- 23 -
23
วิชาชีววิทยา อ.เจดา
วิวัฒนาการ (Evolution)
การเปลี่ยนแปลงในระดับประชากรของสิ่งมีชีวิต เปนการเปลี่ยนแปลงองคประกอบของยีนในประชากร
ทีละเล็กทีละนอยสะสมตามระยะเวลาที่ผานไปจนกระทั่งประชากรใหมมีความแตกตางจากประชากรเดิม ใน
ที่สุดเกิดเปนสิ่งมีชีวิตสปชีสใหม
ทฤษฎีทางวิวัฒนาการ
 ลารมารค (Lamarck)
 ชารลส ดารวิน (Charles Darwin)
การคํานวณเกี่ยวกับพันธุศาสตรประชากร
1. ความถี่ของแอลลีล (Allele Frequency) คือ การหาอัตราสวนของแอลลีลชนิดหนึ่งตอจํานวนของแอลลีล
ทั้งหมดในยีนพูลนั้น
2. ความถี่ของจีโนไทป (Genotype Frequency) คือ อัตราสวนของจีโนไทปชนิดใดชนิดหนึ่งตอจํานวนจีโนไทป
ทั้งหมดในประชากร
4. EVOLUTION
Hardy Weinberg Theory ทฤษฏีฮารดีไวนเบิรก
หลักการหาคาความถี่ของแอลลีลเมื่อทราบวาผานไปกี่รุน ใชหลักการสมการไบโนเมียล (Binomial Equation)
กําหนด A และ a เปนแอลลีลทั้งหมดของยีน เอ โดยที่แอลลีล A มีความถี่ p และแอลลีล a มีความถี่ q
โดยที่ p + q = 1 และ (p + q)2 = 1 และ (p + q)n = 1 โดยที่ n เปนจํานวนรุน เมื่อแตกสมการออกมา (p + q)2 = p2 + 2pq + q2
โดยที่ในความเปนจริงแลว p2 = ความถี่ของจีโนไทป AA 2pq = ความถี่ของจีโนไทป Aa q2 = ความถี่ของจีโนไทป aa
EVOLUTION
- 24 -
24
วิชาชีววิทยา อ.เจดา
ความหลากหลายทางชีวภาพ คือ ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตชนิดตางๆ ที่ดํารงชีวิตอยูในแหลงที่อยูอาศัย
เดียวกันหรือแตกตางกัน ซึ่งสิ่งมีชีวิตตางชนิดกันจะมีความแตกตางกันทั้งในดานชนิดและจํานวน หรือแมเปน
สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันก็อาจมีความแตกตางหลากหลายไดเชนกัน
มี 3 ประเภท ดังนี้
 ความหลากหลายทางพันธุกรรม (genetic diversity)
 ความหลากหลายทางชนิดพันธุ (species diversity)
 ความหลากหลายทางระบบนิเวศ(ecological diversity)
ประเภทของสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตแบงออกเปน 2 ประเภท ตามจํานวนเซลล
1. สิ่งมีชีวิตเซลลเดียว
2. สิ่งมีชีวิตหลายเซลล
สิ่งมีชีวิตแบงออกเปน 5 อาณาจักร ตามลักษณะรวมภายนอกและภายในเซลล ดังนี้
1. อาณาจักรมอเนอรา (Monera Kingdom)
2. อาณาจักรโพรทิสตา (Protista Kingdom)
3. อาณาจักรฟงไจ (Fungi Kingdom)
4. อาณาจักรพืช (Plantae Kingdom)
5. อาณาจักรสัตว (Animalia Kingdom)
อนุกรมวิธาน (Taxonomy) กฎเกณฑในการจัดจําแนกสิ่งมีชีวิตออกเปนหมวดหมูซึ่งมีสวนประกอบที่
สําคัญ 3 สวน คือ
1. การจําแนกสิ่งมีชีวิตออกเปนหมวดหมู (Classification)
เราสามารถจัดหมวดหมูของสิ่งมีชีวิตออกเปน 7 หมวดหมูหลักๆ จากใหญไปเล็กไดดังนี้
Kingdom Phylum Class Order Family Genus Species
2. การตรวจสอบชนิดของสิ่งมีชีวิต (Identification)
3. การตั้งชื่อสิ่งมีชีวิต (Nomenclature)
6. BIODIVERSITY & TAXONOMY
สิ่งมีชีวิตแบงเปน 2 ประเภท ตามการมีเยื่อหุมนิวเคลียส ดังนี้
1. โพรคาริโอต (Procaryotic Cells)
2. ยูคาริโอต (Eucaryotic Cells)
BIODIVERSITY & TAXONOMY
- 25 -
25
วิชาชีววิทยา อ.เจดา
- 26 -
26
วิชาชีววิทยา อ.เจดา
6. 1 โครงสรางและหนาที่ของพืช
โครงสรางและหนาที่ของราก
สวนประกอบของราก
1. Root cap
2. Zone of cell division
3. Zone of cell elongation
4. Zone of cell maturation
โครงสรางและหนาที่ของลําตน
- Epidermis
- Cortex
- Stele
6. BOTANY & PLANT PHYSIOLOGY
ผังมโนทัศน เรื่อง เนื้อเยื่อพืช (plant tissue)
Apical
Meristem
intercalary
Meristem
Lateral
Meristem
Complex Permanent tissueSimple Permanent tissue
epidermis
parenchyma
collenchyma
endodermis
cork
xylem phloem
Vessel
member
tracheid
xylemfiber
xylem
parenchyma
Sievetube
member
Companion
cell
phloem
parenchyma
phloemfiber
sclereid fiber
แบงเปน
แบงตามความสามารถในการแบงตัว
แบงตามแหลงที่พบ
แบงเปน
แบงเปน แบงเปน
แบงเปน
แบงเปน
Plant tissues
Meristematic tissue
ปลายรากปลายยอด
ไดแก
Permanenttissue
sclerenchyma
BOTANY & PLANT PHISIOLOGY
- 27 -
27
วิชาชีววิทยา อ.เจดา
โครงสรางและหนาที่ของใบ
1. Epidermis
2. Mesophyll
3. vascular bundle
6.2 การลําเลียงสารในพืช
การเคลื่อนที่ของน้ําและการลําเลียงน้ํา
1. จากในดินไปถึงชั้นเอนโดเดอรมิส
- Apoplast น้ําจะผานผนังเซลลหรือชองวางระหวางเซลล
- Symplast น้ําจะผานไซโทพลาซึมและชอง Plasmodesmata
2. แรงที่ชวยในการลําเลียงในพืช
- Capillary Action
- Root Pressure
-Transpiration Pull
การลําเลียงอาหารของพืช
การไหลของมวลสาร (Mass flow) ในโฟลเอ็มเนื่องจากแรงดัน ซึ่งเกิดจากความแตกตางของแรงดันเตง
(turgor pressure) ของเซลลตนทาง (ที่ใบ) ที่สูงกวาจะผลักดันเกิดการไหลของมวลสารจากซีฟทิวปไปยัง
ปลายทาง (ราก ลําตน) ที่มีแรงดันเตงต่ํากวา
 การลําเลียงทาง phloem เปนการลําเลียงสารอาหาร
 โฟลเอ็ม คือ เซลลของโฟลเอ็มตองมีชีวิต
ลําเลียงในแนวขึ้นและลง
- 28 -
28
วิชาชีววิทยา อ.เจดา
6.3 การสังเคราะหดวยแสง (Photosynthesis)
1. ปฏิกิริยาใชแสง ( light reaction )
การถายทอดอิเล็กตรอนเกิดขึ้นได 2 แบบคือ
1. ไมเปนวัฏจักร (Non Cyclic Electron Transport)
2. แบบเปนวัฏจักร (Cyclic Electron Transport)
2. ปฏิกิริยาตรึงคารบอนไดออกไซด ( CO2 fixation reaction )
- 29 -
29
วิชาชีววิทยา อ.เจดา
6.4 การสืบพันธุของพืชดอก
โครงสรางของดอก
การสรางเซลลสืบพันธุของพืชดอก
1. Pollen Grain or Male Gametophyte
2. Embryo Sac or Female Gametophyte
ประเภทของผล
1. ผลเดี่ยว (Simple Fruit)
2. ผลกลุม (Aggregate Fruit)
3. ผลรวม (Multiple Fruit)
- 30 -
30
วิชาชีววิทยา อ.เจดา
6.5 การตอบสนองของพืช
1. ฮอรโมนพืช
1. Auxin
2. Gibberellin
3. Cytokinin
4. Ethylene
5. Abscicic Acid
7.1 คํานิยามศัพทเกี่ยวกับระบบนิเวศ
 ประชากร (Population)
 กลุมสิ่งมีชีวิต (Community)
 แหลงที่อยูอาศัย (Habitat)
 ชีวบริเวณ (Biosphere)
7.2 ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตในเชิงอาหาร
1. ผูผลิต (Producers)
2. ผูบริโภค (Consumers)
ผูบริโภคพืช (Herbivores)
ผูบริโภค สัตว (Carnivores)
ผูบริโภคทั้งพืชและสัตว (Omnivores)
3.ผูยอยสลาย (Decomposers)
7.3 รูปแบบของการถายทอดพลังงาน
1. โซอาหาร (Food Chain)
2. สายใยอาหาร (Food Web)
การตอบสนองของพืชตอสิ่งแวดลอม
การเคลื่อนไหวที่เกิดจากการเจริญเติบโต การเคลื่อนไหวเนื่องจากความเตง
การเคลื่อนไหวอัตโนวัติ
การเคลื่อนไหว
แบบนิวเตชั่น
การเคลื่อนไหว
แบบเกลียว
การเคลื่อนไหวพาราโทนิก
nasty
photonasty
thermonasty
phototropism
geotropism
hydrotropism
chemotropism
tropism
guardcell movement
Contaet movement
sleep movement
แบงเปน
แบงเปน
แบงเปน แบงเปน
ไดแก ไดแก
เชน
photonasty
thermonasty
ไดแก
thermonasty
ไดแก
7. ECOLOGY
รูปแบบความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
1. ซิมไบโอซิส (Symbiosis) คือ
1.1 ภาวะเกื้อกูล (Commensalism)
1.2 ภาวะพึ่งพา (Mutualism)
1.3 ภาวะไดประโยชนรวมกัน (Protocooperation)
2. แอนทาโกนิซึม (Antagonism) คือ
2.1 ภาวะปรสิต (Parasitism)
2.2 ภาวะลาเหยื่อ (Predation)
2.3 ภาวะแขงขัน (Competition)
2.4 ภาวะการสรางสารยับยั้ง (Antibiosis)
3. นิวทรัลลิซึม (Neutralism) คือ
ECOLOGY
- 31 -
NOTE
- 33 -

More Related Content

What's hot

เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อเรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อOui Nuchanart
 
Digestive system mutipoint
Digestive system mutipointDigestive system mutipoint
Digestive system mutipointsupreechafkk
 
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemsupreechafkk
 
Maintenance of Life
Maintenance of LifeMaintenance of Life
Maintenance of LifeY'tt Khnkt
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหารบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหาร
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหารPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย Thitaree Samphao
 
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์ โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์ พัน พัน
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560Aphisit Aunbusdumberdor
 
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive systemชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive systemkasidid20309
 
Endocrine system สำหรับนักเรียนผู้ช่วยพยาบาล 2559
Endocrine system สำหรับนักเรียนผู้ช่วยพยาบาล 2559Endocrine system สำหรับนักเรียนผู้ช่วยพยาบาล 2559
Endocrine system สำหรับนักเรียนผู้ช่วยพยาบาล 2559Aphisit Aunbusdumberdor
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2Wichai Likitponrak
 

What's hot (20)

รักษาดุลม.5
รักษาดุลม.5รักษาดุลม.5
รักษาดุลม.5
 
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อเรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
Digestive system mutipoint
Digestive system mutipointDigestive system mutipoint
Digestive system mutipoint
 
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
 
Maintenance of Life
Maintenance of LifeMaintenance of Life
Maintenance of Life
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหารบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหาร
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์ โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
 
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive systemชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
 
การดำรงชีพ
การดำรงชีพการดำรงชีพ
การดำรงชีพ
 
Endocrine system สำหรับนักเรียนผู้ช่วยพยาบาล 2559
Endocrine system สำหรับนักเรียนผู้ช่วยพยาบาล 2559Endocrine system สำหรับนักเรียนผู้ช่วยพยาบาล 2559
Endocrine system สำหรับนักเรียนผู้ช่วยพยาบาล 2559
 
Endocrine system
Endocrine systemEndocrine system
Endocrine system
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 

Viewers also liked

เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์Wichai Likitponrak
 
รวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอนรวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอนWichai Likitponrak
 
พอลิเมอร์
พอลิเมอร์พอลิเมอร์
พอลิเมอร์K.s. Mam
 
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมีจลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมีnn ning
 
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรีดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรีTanchanok Pps
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์ เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์ K.s. Mam
 
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)Coco Tan
 
ยินดีกับทุกท่านนะคะ
ยินดีกับทุกท่านนะคะยินดีกับทุกท่านนะคะ
ยินดีกับทุกท่านนะคะMaruko Supertinger
 
นักเทคนิคการแพทย์
นักเทคนิคการแพทย์นักเทคนิคการแพทย์
นักเทคนิคการแพทย์Tanchanok Pps
 
Presentation MUGE101-57-047
Presentation MUGE101-57-047 Presentation MUGE101-57-047
Presentation MUGE101-57-047 Tanchanok Pps
 
ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด
ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด
ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด Tanchanok Pps
 
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์Tanchanok Pps
 
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010Coco Tan
 

Viewers also liked (20)

เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
 
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1
 
รวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอนรวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอน
 
แผนBioม.6 1
แผนBioม.6 1แผนBioม.6 1
แผนBioม.6 1
 
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
 
แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2
 
Fibers
FibersFibers
Fibers
 
พอลิเมอร์
พอลิเมอร์พอลิเมอร์
พอลิเมอร์
 
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมีจลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
 
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรีดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์ เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์
 
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
 
ยินดีกับทุกท่านนะคะ
ยินดีกับทุกท่านนะคะยินดีกับทุกท่านนะคะ
ยินดีกับทุกท่านนะคะ
 
นักเทคนิคการแพทย์
นักเทคนิคการแพทย์นักเทคนิคการแพทย์
นักเทคนิคการแพทย์
 
Presentation MUGE101-57-047
Presentation MUGE101-57-047 Presentation MUGE101-57-047
Presentation MUGE101-57-047
 
ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด
ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด
ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด
 
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
 
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
 

Similar to Biobook

Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6Tanchanok Pps
 
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ 2
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ 2ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ 2
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ 2Y'tt Khnkt
 
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration Tanchanok Pps
 
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติWichai Likitponrak
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คนThitiporn Parama
 
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 2
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 2เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 2
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 2Gawewat Dechaapinun
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตIssara Mo
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวWeeraphon Parawach
 
สไลด์ระบบขับถ่าย
สไลด์ระบบขับถ่ายสไลด์ระบบขับถ่าย
สไลด์ระบบขับถ่ายThanyamon Chat.
 
ต่อมไร้ท่อ54
ต่อมไร้ท่อ54ต่อมไร้ท่อ54
ต่อมไร้ท่อ54Oui Nuchanart
 

Similar to Biobook (20)

Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
 
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ 2
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ 2ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ 2
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ 2
 
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
 
2
22
2
 
2
22
2
 
2
22
2
 
Cell2
Cell2Cell2
Cell2
 
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
 
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 2
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 2เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 2
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 2
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
Endocrine system
Endocrine systemEndocrine system
Endocrine system
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติว
 
สไลด์ระบบขับถ่าย
สไลด์ระบบขับถ่ายสไลด์ระบบขับถ่าย
สไลด์ระบบขับถ่าย
 
Ppt digestive system
Ppt digestive systemPpt digestive system
Ppt digestive system
 
ต่อมไร้ท่อ54
ต่อมไร้ท่อ54ต่อมไร้ท่อ54
ต่อมไร้ท่อ54
 

More from ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข

การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 

More from ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข (20)

สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืชการลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
 
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
 
กลวิธีการสอน
กลวิธีการสอนกลวิธีการสอน
กลวิธีการสอน
 
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
Astro4 th
Astro4 thAstro4 th
Astro4 th
 
Astro4 th
Astro4 thAstro4 th
Astro4 th
 

Biobook

  • 3. - 1 - 5 วิชาชีววิทยา อ.เจดา 1. การยอยอาหาร (Digestion) เปนกระบวนการแปรสภาพโมเลกุลของสารอาหารขนาดใหญกลายเปนโมเลกุลขนาดเล็กที่สามารถแพรเขาสู เซลลเพื่อนําไปใชประโยชนได แบงออกเปน 2 รูปแบบ คือ 1. การยอยอาหารภายในเซลล 2. การยอยอาหารภายนอกเซลล การยอยอาหารในสัตวชั้นสูง มี 2 ขั้นตอน คือ 1. การยอยเชิงกล (Mechanical Digestion) 2. การยอยเชิงเคมี (Chemical Digestion) ระบบยอยอาหารของมนุษย มีสวนประกอบดังนี้ ปาก (Mouth) ประกอบดวย ฟน (Teeth) ลิ้น (Tongue) ตอมน้ําลาย (Salivary Gland) คอหอย (Pharynx) หลอดอาหาร (Esophagus) การยอยอาหารในสัตวบางชนิด ฟองน้ํา---Collar Cell หรือ Choanocyte ไฮดรา ปะการัง ดอกไมทะเล(Gastrovascular Cavity) พลานาเรีย มีคอหอย (Pharynx) พยาธิใบไม มีอวัยวะดูดเกาะ (Sucker) สโคเล็กซ (Scolex)” ไสเดือนดิน มีทางเดินอาหารสมบูรณ มีกึ๋น (Gizzard) แมลง มีทางเดินอาหารสมบูรณ มีปากหลายรูปแบบ 2. ANIMAL PHISIOLOGY กระเพาะอาหาร (Stomach) Mucous Cell , Parietal Cell ,Chief Cell ลําไสเล็ก (Small Intestine) Duodenum ,Jejunum ,Ileum อวัยวะที่เกี่ยวของกับการยอยในลําไส เล็ก ไดแก ตับออน (Pancreas) , ตับ (Liver) ลําไสใหญ (Large Intestine) ANIMAL PHISIOLOGY
  • 4. - 2 - 7 วิชาชีววิทยา อ.เจดา 3. ระบบหายใจ การหายใจ (Respiration) เปนกระบวนการสลายสารอาหารของสิ่งมีชีวิตเพื่อใหไดพลังงานออกมาใชในการ ดํารงชีพ ประกอบดวย 1. การหายใจภายนอก (External Respiration) 2. การหายใจภายใน (Internal Respiration) โครงสรางระบบหายใจของมนุษย แบงเปน 2 สวน คือ 1. สวนที่เปนทางผานอากาศ (Air Passage)  จมูก (Nose  คอหอย (Pharynx  กลองเสียง (Larynx)  หลอดลมคอ (Trachea  หลอดลม (Bronchus)  หลอดลมฝอย (Bronchiole) 4. ระบบขับถาย การขับถาย (Excretion) เปนการกําจัดของเสียที่เกิดจากเมแทบอลิซึมของสิ่งมีชีวิต เชน แอมโมเนียยู เรีย กรดยูริก คารบอนไดออกไซด สิ่งมีชีวิตแตละชนิดมีกลไกในการรักษาสมดุลของรางกายแตกตางกัน - สิ่งมีชีวิตเซลล พารามีเซียม จะมีคอนแทรกไทลแวคิวโอล (Contractile Vacuole) ควบคุมสมดุลน้ํา และ กําจัดของเสียออกภายนอกเซลล - พวกฟองน้ําและพวกไนดาเรีย กําจัดของเสียโดยการแพรผานเยื่อหุมเซลล และขับออกทาง Gastrovascular Cavity และปาก ตามลําดับ 2. สวนแลกเปลี่ยนแกส (Air Exchange) ถุงลม (Alveolus) เปนถุงเล็กๆ มีผนังบาง และมีหลอดเลือดฝอย มาเลี้ยงเพื่อแลกเปลี่ยนแกสการนําอากาศเขาและออกจากปอด ควบคุมโดยศูนยควบคุมการสูดลมหายใจ ซึ่งอยูที่สมองสวนทาย คือ Medulla Oblongata มี 2 ขั้นตอน คือ  การหายใจเขา  การหายใจออก
  • 5. - 3 - 8 วิชาชีววิทยา อ.เจดา - พวกหนอนตัวแบน มี เฟลมเซลล (Flame Cell) กระจายตลอดความยาวลําตัว - พวกแอนเนลิด เชน ไสเดือนดิน มี เนฟริเดียม (Nephridium) 1 คูตอปลอง ภายในมีซิเลียโบกพัดของเสียออก ภายนอกรางกาย - พวกอารโทรพอด เชน แมลง มี ทอมัลพิเกียน (Malpighian Tubule) ปลาน้ําจืด ปลาน้ําเค็ม นก นกทะเล สัตวเลื้อยคลาน อวัยวะขับถายของมนุษย คือ ไต (Kidney) ประกอบดวย เนื้อเยื่อ 2 ชั้น คือ คอรเทกซ (Cortex) อยูชั้นนอกและเมดัลลา (Medulla) อยูชั้นใน กรวยไต (Pelvis) ทอไต (Ureter) กระเพาะปสสาวะ (Urinary Bladder)และ ทอปสสาวะ (Urethra) ตามลําดับ ไตแตละขางประกอบดวย หนวยไต (Nephron) มีโครงสรางสําคัญ ดังนี้ 1. โบวแมนสแคปซูล (Bowman’s Capsule) 2. โกลเมอรูลัส (Glomerulus) 3. ทอหนวยไต--- ทอขดสวนตน (Proximal Convoluted Tubule) หวงเฮนเล (Loop Of Henle) ทอขดสวนทาย (Distal Convoluted Tubule) การกรองของเสียที่หนวยไตมีขั้นตอน ดังนี้
  • 6. - 4 - 9 วิชาชีววิทยา อ.เจดา 5. ระบบหมุนเวียนเลือด สัตวชั้นสูงมีระบบหมุนเวียนเลือดชวยในการลําเลียงสารอยางมี ประสิทธิภาพ ซึ่งแบงออกเปน 2 รูปแบบ คือ 1. ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปด 2. ระบบหมุนเวียนเลือดแบบปด การลําเลียงสารในไสเดือนดิน การลําเลียงสารในพวกมอลลัสค หมึก และหอย การลําเลียงสารในแมลง การลําเลียงสารในสัตวมีกระดูกสันหลัง โครงสรางของหัวใจ ลิ้นหัวใจ หองหัวใจ ความดันเลือด (Blood Pressure) ความดันซิสโทลิก (Systolic Pressure) ความดันไดแอสโทลิก (Diastolic Pressure)
  • 7. - 5 - 6 วิชาชีววิทยา อ.เจดา 2. การสลายสารอาหารระดับเซลล 1. การหายใจแบบใชออกซิเจน (Aerobic Respiration) 1.1 ไกลโคไลซิส (Glycolysis) 1.2 การสรางแอซีติลโคเอนไซม 1.3 วัฏจักรเครบส (Kreb’s Cycle) 1.4 การถายทอดอิเล็กตรอน 2. การหายใจแบบไมใชออกซิเจน (Anaerobic Respiration) 2.1 การหมักแอลกอฮอล (Alcoholic Fermentation) 2.2 การหมักกรดแลกติก (Lactic Acid Fermentation) เปรียบเทียบ Aerobic Respiration กับ Anaerobic Respiration Aerobic Respiration Anaerobic Respiration มีครบ 4 ขั้นตอน มีเฉพาะไกลโคไลซิส เกิด 36-38 ATP ตอกลูโคส 1 โมเลกุล เกิด 2 ATP ตอ กลูโคส 1 โมเลกุล ผลผลิต Co2 H2 O ATP ยีสตเกิด เอทานอล Co2 ATP สัตว เกิด แลกติก ATP เกิดในไซโทพลาสซึมและ ไมโทคอนเดรีย เกิดในเฉพาะไซโทพลาสซึม
  • 8. - 6 - 10 วิชาชีววิทยา อ.เจดา เสนเลือด (Blood Vessel) แบงเปน 3 ชนิด คือ 1. เสนอารเทอรี (Artery) 2. เสนเวน (Vein) 3. เสนเลือดฝอย (Capillary) 3.1 น้ําเลือด (Plasma 3.2 เม็ดเลือด (Blood Corpuscle) เซลลเม็ดเลือดขาว (White Blood Cell หรือ Leucocyte) เซลลเม็ดเลือดแดง (Red Blood Cell หรือ Erythrocyte) กลไกการแข็งตัวของเลือด* ระบบ ABO หมูเลือดระบบนี้มีแอนติเจน 2 ชนิด และมีแอนติบอดี 2 ชนิด คือ A และ B ซึ่งสามารถถายทอดทาง พันธุกรรมไดโดยยีนประเภทมัลติเปลแอลลีล (Multiple Allele) แบงออกเปน 4 หมู ระบบ Rh ระบบน้ําเหลือง ระบบน้ําเหลือง (Lymph) เปนของเหลวซึ่งซึมผานเสนเลือดฝอยออกมาหลอเลี้ยงอยูรอบๆ เซลล ประกอบดวย น้ํา กลูโคส อัลบูมิน ฮอรโมน เอนไซม แกส เซลลเม็ดเลือดขาว (แตไมมีเซลลเม็ดเลือดแดงและเพลตเลต) ทอน้ําเหลือง (Lymph Vessel) อวัยวะน้ําเหลือง (Lymphatic Organ) ไดแก 1. ตอมน้ําเหลือง (Lymph Node) 2. มาม (Spleen) 3. ตอมไทมัส (Thymus Gland) ภูมิคุมกันของรางกายมนุษย ไดแก 1. ภูมิคุมกันโดยกําเนิด (Innate Immunity) เปนการปองกันและกําจัดแอนติเจนที่เกิดขึ้นเองในรางกายกอนที่ รางกายจะไดรับแอนติเจน 2. ภูมิคุมกันกอเอง (Active Immunization) Granule Leucocyte นิวโทรฟล (Neutrophil) อีโอซิโนฟล (Eosinophil) เบโซฟล (Basophil) เฮพาริน (Heparin) Nongranule Leucocyte โมโนไซต (Monocyte) ลิมโฟไซต (Lymphocyte)
  • 9. - 7 - 11 วิชาชีววิทยา อ.เจดา 6. การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - การเคลื่อนไหวแบบอะมีบา (Amoeboid Movement)---เทาเทียม (Pseudopodium - การเคลื่อนไหวโดยใชแฟลเจลลัม (Flagellum)---ไมโครทิวบูล (Microtubule) เรียงตัวแบบ 9 + 2 - การเคลื่อนไหวโดยใชซิเลีย (Cilia) พบในพวกพารามีเซียม (Paramecium) - การเคลื่อนไหวของสัตวไมมีกระดูกสันหลัง มีรูปแบบแตกตางกันดังนี้ แมงกะพรุน (Jelly Fish) พลานาเรีย (Planaria) ไสเดือนดิน (Earth Worm) หอยฝาเดียว (Gastropods) หมึก (Squid) ดาวทะเล(star fish) แมลง ปลา นก เสือชีตา การเคลื่อนไหวของมนุษย ตองอาศัยการทํางานรวมกันของระบบอวัยวะดังตอไปนี้ ระบบโครงกระดูก กระดูกมนุษยมีทั้งหมด 206 ชิ้น แบงออกเปน 1. กระดูกแกน (Axial Skeleton) เปนโครงกระดูกแกนกลางของรางกาย มี 80 ชิ้น 2. กระดูกรยางค (Appendicular Skeleton) เชื่อมตอกับกระดูกแกนมี 126 ชิ้น ระบบกลามเนื้อ รางกายมนุษยประกอบดวยกลามเนื้อมากกวา 500 มัด แบงออกเปน 3 ประเภท คือ 1. กลามเนื้อลาย (Striated Muscle) 2. กลามเนื้อหัวใจ (Cardiac Muscle) 3. กลามเนื้อเรียบ (Smooth Muscle)
  • 10. - 8 - 16 วิชาชีววิทยา อ.เจดา 7. อวัยวะสืบพันธุ (Gonad) 7.1 อัณฑะ (Testis) -----แอนโดเจน (Androgen) เชน เทสโทสเทอโร (Testoserone) 7.2 รังไข (Ovary)--------อีสโทรเจน (estrogen) และ โพรเจสเทอโรน (progesterone) ออกมา 8. รก ---- HCG (Human chorionic gonadotropin) และ โพรเจสเทอโรน (Progesterone) 9. ตอมไธมัส (Thymus gland) ------ ฮอรโมนไทโมซิน (Thymosin) 10. กระเพาะอาหาร ---------แกสทริน (Gastrin) 11.ลําไสเล็ก (intestin) ---------- ซีครีทิน (Secretin) 9. พฤติกรรมของสัตว พฤติกรรม (Behavior) เปนปฏิกิริยาที่สิ่งมีชีวิตแสดงออกมา เพื่อตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลง สภาพแวดลอมทั้งภายนอกและภายใน สิ่งเรา ---หนวยรับความรูสึก---ระบบประสาทสวนกลาง---หนวยปฏิบัติงาน---พฤติกรรม 9.1 พฤติกรรมที่มีมาแตกําเนิด (Inherited Behavior) 1. พฤติกรรมแบบไคนีซีส (Kinesis) 2. พฤติกรรมแบบแทกซิส (Taxis) 3.พฤติกรรมแบบรีเฟลกซ (Reflex) 4.พฤติกรรมแบบรีเฟลกซตอเนื่อง (Chain Of Reflex) 9.3 พฤติกรรมทางสังคม การสื่อสารดวยทาทาง (Visual Communication) การสื่อสารดวยเสียง (Sound Communication) การสื่อสารดวยสารเคมี------ฟโรโมน (Pheromone) การสื่อสารดวยการสัมผัส (Tactile Communication) 9.2 พฤติกรรมที่เกิดจากการรับรู (Learning Behavior) 1. พฤติกรรมแบบแฮบบิชูเอชัน (Habituation) 2. พฤติกรรมแบบฝงใจ (Imprinting Behavior) 3. พฤติกรรมแบบลองผิดลองถูก (Trial And Error) 4. พฤติกรรมแบบมีเงื่อนไข (Conditioning) 5. พฤติกรรมแบบใชเหตุผล (Reasoning)
  • 11. - 9 - 12 วิชาชีววิทยา อ.เจดา 7. การรับรูและการตอบสนอง โพรโทซัว ยังไมมีเซลลประสาท มีเสนใยประสานงาน (Coordinating Fiber) สัตวไมมีกระดูกสันหลัง -ไนดาเรียน---รางแหประสาท (Nerve Net) -ดาวทะเล---วงแหวนประสาท (Nerve Ring) -หนอนตัวแบน เชน พลานาเรีย มีปมประสาท (Nerve Ganglion) -แอนเนลิด (ไสเดือนดิน) และพวกอารโทรพอด (แมลง) มีปมประสาทสมอง (Cerebral Ganglia) -สัตวมีกระดูกสันหลังและมนุษยมีระบบประสาทเจริญดี มี สมอง (Brain) และไขสันหลัง (Spinal Cord) Myofibril
  • 12. - 10 - 13 วิชาชีววิทยา อ.เจดา เซลลประสาท ประกอบดวย 2 สวน คือ 1. ตัวเซลล (Cell Body) 2. ใยประสาท (Nerve Fiber) คือ เดนไดรต (Dendrite) และ แอกซอน (Axon) จําแนกเปน 3 ประเภท คือ 1. เซลลประสาทรับความรูสึก (Sensory Neuron หรือ Afferent Neuron) 2. เซลลประสาทสั่งการ (Motor Neuron หรือ Efferent Neuron) 3. เซลลประสาทประสานงาน (Association Neuron หรือ Interneuron) สมอง (brain) แบงออกเปน 3 สวน คือ 1. สมองสวนหนา (Forebrain หรือ Prosencepalon) ประกอบดวย 1.1 เซรีบรัม (Cerebrum) 1.2 ออลแฟกทอรีบัลบ (Olfactory Bulb) 1.3 ทาลามัส (Thalamus) 1.4 ไฮโพทาลามัส (Hypothalamus) 2. สมองสวนกลาง (Midbrain หรือ Mesencephalon) 3. สมองสวนทาย (Hind Brain หรือ Rhombencephalon) 3.1 เซรีเบลลัม (Cerebellum) 3.2 พอนส (Pons) 3.3 เมดัลลาออบลองกาตา (Medulla Oblongata)
  • 13. - 11 - 14 วิชาชีววิทยา อ.เจดา อวัยวะรับสัมผัส (Sense Organ) 1. นัยนตา ประกอบดวยเนื้อเยื่อ 3 ชั้น ดังนี้ 1. สเคลอรา (Sclera) 2. โครอยด (Choroid) 3. เรตินา (Retina) พบ เซลลรูปแทง (Rod Cell) เซลลรูปกรวย (Cone Cell) 2. หู ประกอบดวน สองสวนคือ 1. หูสวนนอก (Outer Ear) ประกอบดวย o ใบหู (Pinna) o รูหู (External Auditary Canal) o เยื่อแกวหู (Tympanic Membrane) 2. หูสวนกลาง (Middle Ear) ประกอบดวย - กระดูกหูรูปคอน (Malleus) ทั่ง (Incus) และโกลน (Stapes) - ทอยูสเตเชียน (Eustachian Tube) 3. หูสวนใน (Inner Ear) - คอเคลีย (Cochlea) เซมิเซอรคิวลารแคแนล (Semicircular Canal 3.จมูก 4. ลิ้น 5. ผิวกาย 8. ระบบตอมไรทอ ระบบตอมไรทอ (Endocrine System) สรางสารเคมี เรียกวา “ฮอรโมน (Hormone)” เขาสูกระแสเลือด ลําเลียงไปยังอวัยวะเปาหมาย (Target Organ) เพื่อควบคุมการทํางานของอวัยวะใหเปนปกติ แบงออกเปน 2 กลุมใหญ ๆ คือ (1) พวกที่รางกายพอจะขาดได (Non-essential endocrine gland)ไดแก ตอมใตสมอง (Pituitary gland) ตอมหมวกไตสวนใน (Adrenal gland) อัณฑะ (Testis) และรังไข (Ovary) ตอมไพเนียล(Pineal gland) ตอมไทรอยด (Parathyroid glad) (2) พวกที่รางกายขาดไมได (Essential endocrine gland) ไดแก ไอสเลตออฟแลงเกอรฮานส (Islets of Langerhans)ที่ตับออน ตอมหมวกไตสวนนอก (Adrenal gland) ตอมพาราไทรอยด (Thyroid gland)
  • 14. - 12 - 15 วิชาชีววิทยา อ.เจดา 1. ตอมไพเนียล (pineal gland ) สราง ฮอรโมนเมลาโทนิน (Melatonin) 2. ตอมใตสมอง (Pituitary Gland หรือ Hypophysis) 1.1 ตอมใตสมองสวนหนา  โกรทฮอรโมน (Growth Hormone : GH )  โกนาโดโทรฟน (Gonadotrophin) 1. ฟอลลิเคิล สติมิวเลติงฮอรโมน (FSH) 2. ลูทิไนซิงฮอรโมน (Luteinizing Hormone : LH)  ฮอรโมนโพรแลกติน (Prolactin)  ฮอรโมนอะดรีโนคอรติโคโทรฟน (Aadrenocorticotropic hormone ; ACTH )  ฮอรโมนไทรอยด (Thyroid stimulting hormone;TSH) 1.2 ตอมใตสมองสวนกลาง--- เมลาโนไซตสติมิวเลติงฮอรโมน (MSH) 1.3 ตอมใตสมองสวนหลัง--- ออกซีโทซิน (Oxytocin) วาโซเพรสซิน (Vasopressin) 3. ตอมไทรอยด (Thyroid Gland) ----- ไทรอกซิน (Thyroxin) แคลซิโตนิน(Calcitonin) 4.ตอมพาราไทรอยด (Parathyroid Gland) ----พาราไทรอยดฮอรโมน (Parathyroid hormone ; PTH) 5. ไอสเลตออฟแลงเกอรฮานส (Islets Of Langerhans) ที่ตับออน  อินซูลิน (Insulin)  กลูคากอน (Glucagon) 6. ตอมหมวกไต (Adrenal Gland) 6.1 อะดรีนัลคอรเทกซ (Adrenal Cortex)  กลูโคคอรติคอยดฮอรโมน (Glucocorticoid Hormone)  มิเนราโลคอรติคอยดฮอรโมน (Mineralocorticoid Hormone)  ฮอรโมนเพศ (Sex Hormone) 6.2 อะดรีนัลเมดัลลา (Adrenal Medulla)  อะดรีนาลินฮอรโมน (Adrenalin Hormone)  นอรอะดรีนาลินฮอรโมน (Noradrenalin Hormone)
  • 15. - 13 - 17 วิชาชีววิทยา อ.เจดา 10. การสืบพันธุและการเจริญเติบโต การสืบพันธุ (Reproduction) สิ่งมีชีวิตมีการสรางชีวิตใหมที่มีลักษณะพันธุกรรมเหมือนบรรพบุรุษเพื่อให สามารถดํารงเผาพันธุตอไปได 1. การสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศ (Asexual Reproduction ) 2. การสืบพันธุแบบอาศัยเพศ (Sexual Reproduction) การปฏิสนธิ มี 2 แบบ คือ 1. การปฏิสนธิภายนอก (External Fertilization) 2. การปฏิสนธิภายใน (Internal Fertilization) การสืบพันธุของมนุษย ระบบสืบพันธุเพศชาย อัณฑะ (Testis) 1. ถุงอัณฑะ (Scrotum) 2. หลอดสรางอสุจิ (Seminiferous Tubules) 3. หลอดเก็บอสุจิ (Epididymis) 4. เซลลอินเตอรสติเชียล (Interstitial Cell) 5.ทอนําอสุจิ (Vas Defferens) 6. ตอมสรางน้ําเลี้ยงอสุจิ (Seminal Vesicle) 7. ตอมลูกหมาก (Prostate Gland) 8. ตอมคาวเปอร (Cowper’s Gland) 9. ทอฉีดอสุจิ (Ejaculatory Duct) 10. ทอปสสาวะ (Urethra)  น้ําอสุจิ (Semen)  อสุจิ (sperm)
  • 16. - 14 - 18 วิชาชีววิทยา อ.เจดา ระบบสืบพันธุเพศหญิง 1. รังไข (Ovary) 2. ปกมดลูกหรือทอนําไข (oviduct หรือ fallopian tube) 3.มดลูก (Uterus) 4.ชองคลอด (vagina) 5.อวัยวะสืบพันธุสวนนอกของหญิง การสรางเซลลสืบพันธุเพศเมียหรือเซลลไข (oogenesis) การเจริญเติบโต การเจริญเติบโตของสัตว ซึ่งจะมีการเปลี่ยนแปลงเปนระยะตางๆ ดังนี้ ระยะคลีเวจ (Cleavage) ระยะบลาสทูลา (Blastula) ระยะแกสทูลา (Gastrula)  Ectoderm  Mesoderm  Endoderm
  • 17. - 15 - 1 วิชาชีววิทยา อ.เจดา 3. การศึกษาดานชีววิทยา 4. การใชกลองจุลทรรศน กลองจุลทรรศนแบบใชแสง (Light Microscope ; LM) กลองจุลทรรศนอิเล็กตรอน (Electron Microscope) 1.ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต---ลักษณะสําคัญของสิ่งมีชีวิต  สิ่งมีชีวิตมีการสืบพันธุ (Reproduction  สิ่งมีชีวิตมีการจัดระบบโครงสรางที่แนนอน  สิ่งมีชีวิตมีปฏิกิริยาเคมีภายในเซลล (Metabolism)  สิ่งมีชีวิตมีการเจริญเติบโต มีอายุขัยและมีขนาดจํากัด  สิ่งมีชีวิตมีการตอบสนองตอสิ่งเรา (Irritability)  สิ่งมีชีวิตมีการเคลื่อนไหว (Movement)  สิ่งมีชีวิตมีการปรับตัวใหเขากับสิ่งแวดลอม  สิ่งมีชีวิตมีการรักษาดุลยภาพของรางกาย 3. เคมีเปนพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต สารอนินทรีย เกลือแร (Mineral) น้ํา สารอินทรีย - คารโบไฮเดรต (Carbohydrate) - โปรตีน (Protein) - ลิพิด (Lipid) - วิตามิน (Vitamin) - กรดนิวคลีอิก (Nucleic Acid) 1. INTRO TO BIO & CYTOLOGY 2. การศึกษาชีววิทยา ชีววิทยา (Biology) องคประกอบของชีววิทยา มี 2 สวน คือ กระบวนการ (Process) - การสังเกต (Observation) - การกําหนดปญหา (Problem) - การตั้งสมมติฐาน (Hypothesis) - การตรวจสอบสมมติฐาน (Testing The Hypothesis) - การวิเคราะหและสรุปผล (Analysis And Conclusion ความรู (Knowledge) ขอเท็จจริง (Fact) ขอมูล (Data) ทฤษฎี (Theory) กฎ (Law) เมแทบอลิซึม (Metabolism) แบงเปน แคแทบอลิซึม (Catabolism) แอนาบอลิซึม (Anabolism) เอนไซม สมบัติของเอนไซม การเสียสภาพธรรมชาติของเอนไซม การทํางานของเอนไซม การยับยั้งการทํางานของเอนไซม มี 3 แบบ สารเก็บพลังงานหมุนเวียนของเซลล INTRO TO BIO & CYTOLOGY
  • 18. - 16 - 2 วิชาชีววิทยา อ.เจดา 4. เซลลของสิ่งมีชีวิต เซลล (Cell) หมายถึง หนวยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต มีรูปรางลักษณะและขนาดแตกตางขึ้นอยูกับชนิด ของสิ่งมีชีวิต 4.1 เซลลของสิ่งมีชีวิต โพรคาริโอต (Prokaryote) ไดแก พวกแบคทีเรีย ไมโคพลาสมา และสาหรายสีเขียวแกมน้ําเงิน ยูคาริโอต (Eukaryote) ไดแก พวกโพรทิสต ฟงไจ พืช และสัตว
  • 19. - 17 - 19 วิชาชีววิทยา อ.เจดา 1. พันธุกรรมและการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม  พันธุศาสตร หมายถึง วิชาทางชีววิทยาแขนงหนึ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมของยีนอันเปนตัวควบคุม การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความแปรผันตาง ๆ ของสิ่งมีชีวิต  พันธุกรรม(กรรมพันธุ) หมายถึง การถายทอดลักษณะตาง ๆ ของสิ่งมีชีวิตจากรุนหนึ่งไปยังอีกรุนหนึ่ง หรือจากบรรพบุรุษไปสูลูกหลาน  ลักษณะทางพันธุกรรม คือ ลักษณะความเหมือนที่ไดรับการถายทอดมาจากบรรพบุรุษ  ความแปรผันทางพันธุกรรม แปรผันตอเนื่อง แปรผันไมตอเนื่อง สรุปคําตางๆที่จําเปนทางพันธุศาสตร 1. จีน (gene) คือ ลักษณะทางพันธุกรรมซึ่งเปนสวนหนึ่งของโครโมโซม โครโมโซมของคนมี 23 คู และ มีจีนอยูประมาณ 50,000 จีน จีนเหลานี้จะกระจายอยูในโครโมโซมแตละคูและควบคุมการถายทอดลักษณะไดสู ลูกประมาณ 50,000 ลักษณะ 2. แอลลีล (allele) คือ จีนที่เปนคูเดียวกันเรียกวาเปน แอลลีลิก (allelic) ตอกันหมายความวาแอลลีล เหลานั้นจะมีตําแหนงเดียวกันบนโครโมโซมที่เปนคูกัน (homologous chromosome) 3. จีโนไทป (genotype) หมายถึงจีนที่ควบคุมลักษณะของสิ่งมีชีวิต เชน TT, tt, Tt 4. ฟโนไทป (phenotype) หมายถึง ลักษณะที่ปรากฏออกมาใหเห็นซึ่งเปนผลจากการแสดงออกของจี โนไทปนั่นเอง เชน TT, Tt มีจีนไทปตางกันแตมีฟโนไทปเหมือนกัน คือ เปนตนสูงทั้งคู 5. ฮอมอไซกัส (homozygous) หมายถึง คูของแอลลีลซึ่งเหมือนกัน เชน TT จัดเปนฮอมอไซกัสโด มิแนนต (homozygous dominant) เนื่องจากลักษณะทั้งคูเปนลักษณะเดนหรือ tt จัดเปนฮอมอไซกัสรีเซสซีฟ (homozygous recessive)เนื่องจากลักษณะทั้งคูเปนลักษณะดอย เราเรียกวาพันธุแท 6. เฮเทอโรไซกัส (heterozygous) หมายถึง คูของแอลลีลที่ไมเหมือนกัน เชน Tt ลักษณะของเฮเทอโร ไซโกตเราเรียกวาเปนพันธทาง 7. ลักษณะเดน (dominant) คือลักษณะที่แสดงออกเมื่อเปนฮอมอไซกัสโดมิแนนตและเฮเทอโรไซโกต 8. ลักษณะดอย (recessive) คือลักษณะที่จะถูกขมเมื่ออยูในรูปของเฮเทอโรไซโกตและจะแสดงออก เมื่อเปนฮอมอไซกัสรีเซสซีฟ 3. GENERAL GENETICSGENERAL GENETICS
  • 20. - 18 - 20 วิชาชีววิทยา อ.เจดา กฏขอที่ 1 กฏแหงการแยก (Law of Segregation) สาระสําคัญ คือ ยีนที่อยูคูกันจะแยกตัวออกจากกันไปอยูในแตละเซลลสืบพันธุ กอนที่จะมารวมตัวกัน ใหมเมื่อมีการปฏิสนธิ กฏขอที่ 2 กฏแหงการรวมกลุมอยางอิสระ (Law of independent assortment) สาระสําคัญ คือ ยีนที่เปนคูกันเมื่อแยกออกจากกันแลว แตละยีนจะไปกับยีนอื่นใดก็ไดอยางอิสระ นั้น คือ เซลลสืบพันธุจะมีการรวมกลุมของหนวยพันธุกรรมของลักษณะตางๆ โดยการรวมกลุมที่เปนไปอยางอิสระ ลักษณะทางพันธุกรรมที่นอกเหนือจากกฏของเมนเดล 1 ลักษณะเดนไมสมบูรณ (Incomplete dominance) 2 ลักษณะขมรวมกัน (Codominance) 3 มัลติเปล อัลลีล (Multiple alleles) 4 พอลียีนส (Polygenes) 5. การถายทอดลักษณะโดยยีนในโครโมโซม (Sex linked gene) 6. ยีนในโครโมโซมเดียวกัน 7.พันธุกรรมที่ขึ้นกับอิทธิพลของเพศ (sex-influenced gene) 8.พันธุกรรมจํากัดเพศ (sex-limited gene) พงศาวรีหรือพันธุประวัติ (Pedigree) คือ ขอมูลที่ไดจากการสืบประวัติสายพันธุ การศึกษาลักษณะที่ผิดปกติหรือโรคที่ถายทอดทางพันธุกรรม นักพันธุศาสตรนิยมใชสัญลักษณแสดงบุคคลตางๆ ในครอบครัว ทั้งที่แสดงลักษณะและไมไดแสดงลักษณะ แลวเขียนเปนผังแสดงการถายทอด วิเคราะหไดอยางไร 1. ถาเปน Monohybrid cross อัตราสวน Phenotype จะไมเทากับ 3:1 2. ถาเปน Dihybrid cross อัตราสวน Phenotype จะไมเทากับ 9:3:3:1
  • 21. - 19 - 21 วิชาชีววิทยา อ.เจดา 2. โครโมโซมและสารพันธุกรรม โครงสรางของสารพันธุกรรม การจําลองตัวของ DNA (DNA Replication) DNA -----------------------> mRNA -----------------------------> โปรตีนTranscription Translation DNA Replication Reverse Transcription
  • 22. - 20 - 22 วิชาชีววิทยา อ.เจดา Transcription Transcription และ Translation เปนกระบวนการที่เกิดขึ้นเพื่อควบคุมการสรางสารที่ความสาคัญมาก ในสิ่งมีชีวิตซึ่งสารนั้นคือ โปรตีน ชนิดของ RNA RNA แบงเปน 3 ประเภทคือ เมสเซ็นเจอรอารเอนเอ (messenger RNA ; mRNA) ทรานสเฟอรอารเอน เอ (transfer RNA ; tRNA) และ ไรโบโซมอลอารเอนเอ (ribosomal RNA ; rRNA) RNA Translation
  • 23. - 21 - 3 วิชาชีววิทยา อ.เจดา 4.2 การลําเลียงสารผานเซลล การรักษาดุลยภาพของเซลลเปนหนาที่สําคัญของเยื่อหุมเซลล โดยเยื่อหุมเซลล จะควบคุมการผานเขา-ออก ของสารระหวางสิ่งแวดลอมภายนอกกับภายในเซลล ซึ่งการลําเลียงสารเขา-ออกเซลลมี 2 รูปแบบดวยกัน ดังนี้ 1. การลําเลียงสารแบบผานเยื่อหุมเซลล 2. การลําเลียงสารแบบไมผานเยื่อหุมเซลล การลําเลียงสารแบบผานเยื่อหุมเซลล 1. การลําเลียงสารแบบผานเยื่อหุมเซลลแบงออกเปน 2 ประเภทใหญ คือ การลําเลียงแบบไมใชพลังงานซึ่งแบงออกเปน 3 วิธี คือ 1.1 การแพร (Diffusion) 1.2 ออสโมซิส (Osmosis) 1.3 การแพรแบบฟาซิลิเทต (Facilitated Diffusion) การลําเลียงแบบใชพลังงาน หรือแอกทีฟทรานสปอรต (Active Transport) 2. การลําเลียงสารแบบไมผานเยื่อหุมเซลล การลําเลียงสารแบบไมผานเยื่อหุมเซลลแบงออกเปน 2 ประเภทใหญ คือ 1. เอกโซไซโทซิส (Exocytosis) 2. เอนโดไซโทซิส (Endocytosis) ซึ่งแบงออกเปน 3 วิธี คือ 2.1 ฟาโกไซโทซิส (Phagocytosis) 2.2 พิโนไซโทซิส (Pinocytosis) 2.3 การนําสารเขาสูเซลลโดยอาศัยตัวรับ (Receptor-Mediated Endocytosis)
  • 24. - 22 - 4 วิชาชีววิทยา อ.เจดา 1.3 การแบงเซลล Mitosis เปนกระบวนการแบงเซลลเพื่อเพิ่มจํานวนเซลล เซลลใหมที่เกิดขึ้นจะมีจํานวนโครโมโซมเทากับเซลล เริ่มตน Meiosis เปนกระบวนการแบงเซลลเพื่อลดจํานวนโครโมโซม โดยเซลลใหมที่เกิดขึ้นจะมีจํานวนโครโมโซมลดลง เปนครึ่งหนึ่งของจํานวนโครโมโซมในเซลลเริ่มตน
  • 25. - 23 - 23 วิชาชีววิทยา อ.เจดา วิวัฒนาการ (Evolution) การเปลี่ยนแปลงในระดับประชากรของสิ่งมีชีวิต เปนการเปลี่ยนแปลงองคประกอบของยีนในประชากร ทีละเล็กทีละนอยสะสมตามระยะเวลาที่ผานไปจนกระทั่งประชากรใหมมีความแตกตางจากประชากรเดิม ใน ที่สุดเกิดเปนสิ่งมีชีวิตสปชีสใหม ทฤษฎีทางวิวัฒนาการ  ลารมารค (Lamarck)  ชารลส ดารวิน (Charles Darwin) การคํานวณเกี่ยวกับพันธุศาสตรประชากร 1. ความถี่ของแอลลีล (Allele Frequency) คือ การหาอัตราสวนของแอลลีลชนิดหนึ่งตอจํานวนของแอลลีล ทั้งหมดในยีนพูลนั้น 2. ความถี่ของจีโนไทป (Genotype Frequency) คือ อัตราสวนของจีโนไทปชนิดใดชนิดหนึ่งตอจํานวนจีโนไทป ทั้งหมดในประชากร 4. EVOLUTION Hardy Weinberg Theory ทฤษฏีฮารดีไวนเบิรก หลักการหาคาความถี่ของแอลลีลเมื่อทราบวาผานไปกี่รุน ใชหลักการสมการไบโนเมียล (Binomial Equation) กําหนด A และ a เปนแอลลีลทั้งหมดของยีน เอ โดยที่แอลลีล A มีความถี่ p และแอลลีล a มีความถี่ q โดยที่ p + q = 1 และ (p + q)2 = 1 และ (p + q)n = 1 โดยที่ n เปนจํานวนรุน เมื่อแตกสมการออกมา (p + q)2 = p2 + 2pq + q2 โดยที่ในความเปนจริงแลว p2 = ความถี่ของจีโนไทป AA 2pq = ความถี่ของจีโนไทป Aa q2 = ความถี่ของจีโนไทป aa EVOLUTION
  • 26. - 24 - 24 วิชาชีววิทยา อ.เจดา ความหลากหลายทางชีวภาพ คือ ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตชนิดตางๆ ที่ดํารงชีวิตอยูในแหลงที่อยูอาศัย เดียวกันหรือแตกตางกัน ซึ่งสิ่งมีชีวิตตางชนิดกันจะมีความแตกตางกันทั้งในดานชนิดและจํานวน หรือแมเปน สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันก็อาจมีความแตกตางหลากหลายไดเชนกัน มี 3 ประเภท ดังนี้  ความหลากหลายทางพันธุกรรม (genetic diversity)  ความหลากหลายทางชนิดพันธุ (species diversity)  ความหลากหลายทางระบบนิเวศ(ecological diversity) ประเภทของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตแบงออกเปน 2 ประเภท ตามจํานวนเซลล 1. สิ่งมีชีวิตเซลลเดียว 2. สิ่งมีชีวิตหลายเซลล สิ่งมีชีวิตแบงออกเปน 5 อาณาจักร ตามลักษณะรวมภายนอกและภายในเซลล ดังนี้ 1. อาณาจักรมอเนอรา (Monera Kingdom) 2. อาณาจักรโพรทิสตา (Protista Kingdom) 3. อาณาจักรฟงไจ (Fungi Kingdom) 4. อาณาจักรพืช (Plantae Kingdom) 5. อาณาจักรสัตว (Animalia Kingdom) อนุกรมวิธาน (Taxonomy) กฎเกณฑในการจัดจําแนกสิ่งมีชีวิตออกเปนหมวดหมูซึ่งมีสวนประกอบที่ สําคัญ 3 สวน คือ 1. การจําแนกสิ่งมีชีวิตออกเปนหมวดหมู (Classification) เราสามารถจัดหมวดหมูของสิ่งมีชีวิตออกเปน 7 หมวดหมูหลักๆ จากใหญไปเล็กไดดังนี้ Kingdom Phylum Class Order Family Genus Species 2. การตรวจสอบชนิดของสิ่งมีชีวิต (Identification) 3. การตั้งชื่อสิ่งมีชีวิต (Nomenclature) 6. BIODIVERSITY & TAXONOMY สิ่งมีชีวิตแบงเปน 2 ประเภท ตามการมีเยื่อหุมนิวเคลียส ดังนี้ 1. โพรคาริโอต (Procaryotic Cells) 2. ยูคาริโอต (Eucaryotic Cells) BIODIVERSITY & TAXONOMY
  • 28. - 26 - 26 วิชาชีววิทยา อ.เจดา 6. 1 โครงสรางและหนาที่ของพืช โครงสรางและหนาที่ของราก สวนประกอบของราก 1. Root cap 2. Zone of cell division 3. Zone of cell elongation 4. Zone of cell maturation โครงสรางและหนาที่ของลําตน - Epidermis - Cortex - Stele 6. BOTANY & PLANT PHYSIOLOGY ผังมโนทัศน เรื่อง เนื้อเยื่อพืช (plant tissue) Apical Meristem intercalary Meristem Lateral Meristem Complex Permanent tissueSimple Permanent tissue epidermis parenchyma collenchyma endodermis cork xylem phloem Vessel member tracheid xylemfiber xylem parenchyma Sievetube member Companion cell phloem parenchyma phloemfiber sclereid fiber แบงเปน แบงตามความสามารถในการแบงตัว แบงตามแหลงที่พบ แบงเปน แบงเปน แบงเปน แบงเปน แบงเปน Plant tissues Meristematic tissue ปลายรากปลายยอด ไดแก Permanenttissue sclerenchyma BOTANY & PLANT PHISIOLOGY
  • 29. - 27 - 27 วิชาชีววิทยา อ.เจดา โครงสรางและหนาที่ของใบ 1. Epidermis 2. Mesophyll 3. vascular bundle 6.2 การลําเลียงสารในพืช การเคลื่อนที่ของน้ําและการลําเลียงน้ํา 1. จากในดินไปถึงชั้นเอนโดเดอรมิส - Apoplast น้ําจะผานผนังเซลลหรือชองวางระหวางเซลล - Symplast น้ําจะผานไซโทพลาซึมและชอง Plasmodesmata 2. แรงที่ชวยในการลําเลียงในพืช - Capillary Action - Root Pressure -Transpiration Pull การลําเลียงอาหารของพืช การไหลของมวลสาร (Mass flow) ในโฟลเอ็มเนื่องจากแรงดัน ซึ่งเกิดจากความแตกตางของแรงดันเตง (turgor pressure) ของเซลลตนทาง (ที่ใบ) ที่สูงกวาจะผลักดันเกิดการไหลของมวลสารจากซีฟทิวปไปยัง ปลายทาง (ราก ลําตน) ที่มีแรงดันเตงต่ํากวา  การลําเลียงทาง phloem เปนการลําเลียงสารอาหาร  โฟลเอ็ม คือ เซลลของโฟลเอ็มตองมีชีวิต ลําเลียงในแนวขึ้นและลง
  • 30. - 28 - 28 วิชาชีววิทยา อ.เจดา 6.3 การสังเคราะหดวยแสง (Photosynthesis) 1. ปฏิกิริยาใชแสง ( light reaction ) การถายทอดอิเล็กตรอนเกิดขึ้นได 2 แบบคือ 1. ไมเปนวัฏจักร (Non Cyclic Electron Transport) 2. แบบเปนวัฏจักร (Cyclic Electron Transport) 2. ปฏิกิริยาตรึงคารบอนไดออกไซด ( CO2 fixation reaction )
  • 31. - 29 - 29 วิชาชีววิทยา อ.เจดา 6.4 การสืบพันธุของพืชดอก โครงสรางของดอก การสรางเซลลสืบพันธุของพืชดอก 1. Pollen Grain or Male Gametophyte 2. Embryo Sac or Female Gametophyte ประเภทของผล 1. ผลเดี่ยว (Simple Fruit) 2. ผลกลุม (Aggregate Fruit) 3. ผลรวม (Multiple Fruit)
  • 32. - 30 - 30 วิชาชีววิทยา อ.เจดา 6.5 การตอบสนองของพืช 1. ฮอรโมนพืช 1. Auxin 2. Gibberellin 3. Cytokinin 4. Ethylene 5. Abscicic Acid 7.1 คํานิยามศัพทเกี่ยวกับระบบนิเวศ  ประชากร (Population)  กลุมสิ่งมีชีวิต (Community)  แหลงที่อยูอาศัย (Habitat)  ชีวบริเวณ (Biosphere) 7.2 ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตในเชิงอาหาร 1. ผูผลิต (Producers) 2. ผูบริโภค (Consumers) ผูบริโภคพืช (Herbivores) ผูบริโภค สัตว (Carnivores) ผูบริโภคทั้งพืชและสัตว (Omnivores) 3.ผูยอยสลาย (Decomposers) 7.3 รูปแบบของการถายทอดพลังงาน 1. โซอาหาร (Food Chain) 2. สายใยอาหาร (Food Web) การตอบสนองของพืชตอสิ่งแวดลอม การเคลื่อนไหวที่เกิดจากการเจริญเติบโต การเคลื่อนไหวเนื่องจากความเตง การเคลื่อนไหวอัตโนวัติ การเคลื่อนไหว แบบนิวเตชั่น การเคลื่อนไหว แบบเกลียว การเคลื่อนไหวพาราโทนิก nasty photonasty thermonasty phototropism geotropism hydrotropism chemotropism tropism guardcell movement Contaet movement sleep movement แบงเปน แบงเปน แบงเปน แบงเปน ไดแก ไดแก เชน photonasty thermonasty ไดแก thermonasty ไดแก 7. ECOLOGY รูปแบบความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ 1. ซิมไบโอซิส (Symbiosis) คือ 1.1 ภาวะเกื้อกูล (Commensalism) 1.2 ภาวะพึ่งพา (Mutualism) 1.3 ภาวะไดประโยชนรวมกัน (Protocooperation) 2. แอนทาโกนิซึม (Antagonism) คือ 2.1 ภาวะปรสิต (Parasitism) 2.2 ภาวะลาเหยื่อ (Predation) 2.3 ภาวะแขงขัน (Competition) 2.4 ภาวะการสรางสารยับยั้ง (Antibiosis) 3. นิวทรัลลิซึม (Neutralism) คือ ECOLOGY