SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
Download to read offline
L/O/G/O
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
วิทยาศาสตร์ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
โดย ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
w w w . k r u s e k s a n . c o m
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
1
2
อธิบายหลักการและผลของการใช้เทคโนโลยีชีวภาพ
ในการขยายพันธุ์ ปรับปรุงพันธุ์ และเพิ่มผลผลิตของ
สิ่งมีชีวิต
จุดประสงค์การเรียนรู้
นาการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการขยายพันธุ์
ปรับปรุงพันธุ์ และเพิ่มผลผลิตของสิ่งมีชีวิต
และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) คือ
กระบวนการนาชิ้นส่วนของสิ่งมีชีวิต หรือ สิ่งมีชีวิตมา
ปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลง เพื่อให้เกิดการเพิ่มผลผลิตของ
สิ่งมีชีวิต
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 เช่น การทาน้าปลา ซีอิ๊ว การหมักอาหาร หมักเหล้า
การทาปุ๋ยหมัก
1. เทคโนโลยีชีวภาพแบบดั้งเดิม
 ปัจจุบันมีเทคโนโลยีชีวภาพที่หลากหลายในการปรับปรุงพันธุ์ การ
ขยายพันธุ์ และเพิ่มผลผลิตของสิ่งมีชีวิต เช่น
- การผสมเทียม นิยมใช้กับ โค กระบือ สุกร ปลาตะเพียนขาว
ปลานิล ปลาดุก ฯลฯ
- การถ่ายฝากตัวอ่อน นิยมใช้กับ โค กระบือ
2. เทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่
 คือ การใช้เทคโนโลยีมาทาให้เกิดการปฏิสนธิของไข่และอสุจิโดยไม่
มีการร่วมเพศกันตามธรรมชาติ
 วิธีการผสมเทียม
มนุษย์จะเป็นผู้ฉีดเชื้ออสุจิของสัตว์เพศผู้เข้าไปในอวัยวะสืบพันธุ์
เพศเมียในระยะที่กาลังเป็น
อาการเป็นสัด สังเกตได้ดังนี้
- มีอาการเบื่ออาหาร
- ร้อนบ่อยๆ
- กระวนกระวาย
- อวัยวะเพศบวมแดง
2.1 การผสมเทียม (Artificial insemination)
 ขั้นตอนการผสมเทียม
สาหรับสัตว์ที่ปฏิสนธิภายใน ได้แก่ โค กระบือ สุกร มีขั้นตอนดังนี้
2.1 การผสมเทียม (Artificial insemination)
 ขั้นตอนการผสมเทียม
- คัดเลือกพ่อพันธุ์ที่มีช่วงอายุเหมาะสมและแข็งแรง
- ใช้เครื่องมือช่วยกระตุ้นให้พ่อพันธุ์หลั่งน้าเชื้อแล้วเก็บใส่ภาชนะ
- นาน้าเชื้อมาตรวจคุณภาพด้วยกล้องจุลทรรศน์ ดูความแข็งแรง
และจานวนของอสุจิที่เหมาะสมจะนาไปใช้ในการผสมเทียม
- นาน้าเชื้อที่ผ่านการตรวจคุณภาพแล้วไปใช้น้ายาเลี้ยงน้าเชื้อและ
อาหาร เพื่อยืดอายุของน้าเชื้อ
2.1 การผสมเทียม (Artificial insemination)
น้ายาเลี้ยงน้าเชื้อ ประกอบด้วย
1. ไข่แดง เพื่อเป็นอาหารของตัวอสุจิ
2. โซเดียมซิเตรต เพื่อช่วยรักษาความเป็นกรด-เบสของสารละลาย
3. ยาปฏิชีวนะ เพื่อช่วยฆ่าเชื้อโรคในน้าเชื้อ
 การเก็บน้าเชื้อ สามารถทาได้ 2 วิธี
1. การเก็บน้าเชื้อสด :
เก็บใส่ขวดแช่ไว้ที่อุณหภูมิ 4-5 ๐C จะสามารถเก็บไว้ได้ประมาณ
1 เดือน แต่ถ้านาไปเก็บที่อุณหภูมิ 15-20 ๐C จะเก็บไว้ได้ประมาณ
4 วัน
2. การเก็บน้าเชื้อแช่แข็ง :
แช่น้าเชื้อเก็บไว้ในไนโตรเจน
เหลว ที่อุณหภูมิ – 196 ๐C
จะเก็บไว้ได้นานเป็นปี
2.1 การผสมเทียม (Artificial insemination)
 ข้อดีของการผสมเทียมสัตว์พวกโค กระบือ และสุกร
1. ได้สัตว์พันธุ์ดีตามต้องการ ซึ่งเป็นการปรับปรุงพันธุ์
2. สามารถควบคุมการตกลูกของสัตว์ได้ตามฤดูกาล
3. ตัดปัญหาเรื่องการขนส่งพ่อพันธุ์ไปผสมตามที่ต่างๆ โดยนาเพียง
น้าเชื้อไปเท่านั้น
4. ประหยัดพ่อพันธุ์ โดยนาน้าเชื้อของพ่อพันธุ์มาละลายน้ายา
สาหรับละลายน้าเชื้อ ทาให้สามารถฉีดให้แก่แม่พันธุ์จานวนมากได้
5. สามารถผสมพันธุ์กันโดยไม่ต้องคานึงถึงขนาดตัวและน้าหนักของ
พ่อพันธุ์และแม่พันธุ์
6. ลดการติดเชื้อในตัวเมีย
2.1 การผสมเทียม (Artificial insemination)
 สาหรับสัตว์ที่ปฏิสนธิภายนอก ได้แก่ ปลา มีขั้นตอนดังนี้
ข้อดีของการผสมเทียมปลา
1. เป็นการขยายพันธุ์ได้จานวนมาก เนื่องจากไข่ที่ได้จากการผสม
เกือบทั้งหมดปริมาณการฟักตัวจะสูงกว่าการฟักตามธรรมชาติ
2. ป้องกันศัตรูที่จะมากินไข่ของปลาก่อนที่จะฟักตัว
2.1 การผสมเทียม (Artificial insemination)
 การถ่ายฝากตัวอ่อน คือ การนาตัวอ่อนของสัตว์ที่เกิดจากการผสม
เทียมจากพ่อพันธุ์และแม่พันธุ์ที่คัดเลือกไว้แล้ว แล้วนาตัวอ่อนออก
จากมดลูกของแม่พันธุ์สัตว์ (ตัวให้) ไปฝากไว้ในมดลูกของสัตว์เพศ
เมียตัวอื่น (ตัวรับ) หลายๆ ตัว อุ้มท้องแทนจนคลอด โดยที่ตัวรับไม่
จาเป็นต้องเป็นพันธุ์ดี ก็สามารถได้สัตว์พันธุ์ดีเหมือนพ่อพันธุ์
แม่พันธุ์
2.2 การถ่ายฝากตัวอ่อน (embryo transfer)
 ขั้นตอนการถ่ายฝากตัวอ่อน
1. คัดเลือกแม่พันธุ์ที่ดีเป็น
ตัวให้ และคัดเลือกตัวเมีย
ที่จะเป็นตัวรับหลายๆ ตัว
2. ฉีดฮอร์โมนกระให้กับ
แม่พันธุ์ (ตัวให้) และตัวเมีย
อื่นๆ (ตัวรับ) ให้เป็นสัด
พร้อมๆ กัน
3. ฉีดฮอร์โมนกระตุ้นให้กับ
แม่พันธุ์ (ตัวให้) ให้ตกไข่
จานวนมาก
2.2 การถ่ายฝากตัวอ่อน (embryo transfer)
 ขั้นตอนการถ่ายฝากตัวอ่อน
4. ทาการผสมเทียมด้วยน้าเชื้อ
จากพ่อพันธุ์ที่ดี
5. ให้ตัวอ่อนเจริญเติบโตใน
มดลูกของแม่พันธุ์ 7 วัน
แล้วนาตัวอ่อนทั้งหมดออก
มาจากมดลูกแม่พันธุ์
6. ตรวจและประเมินคุณภาพ
ตัวอ่อน
7. ทาการถ่ายฝากตัวอ่อนให้
กับตัวเมียอื่น (ตัวรับ)
2.2 การถ่ายฝากตัวอ่อน (embryo transfer)
 ขั้นตอนการถ่ายฝากตัวอ่อน
8. ตรวจท้องของตัวเมีย (ตัวรับ)
หลังจากรับถ่ายฝากตัวอ่อนไปแล้ว
60 วัน
9. ตัวเมีย (ตัวรับ) อุ้มท้องไปจน
กระทั่งคลอด ซึ่งจะได้ลูกสัตว์
ที่มีพันธุ์เดียวกันกับพ่อพันธุ์
และแม่พันธุ์
2.2 การถ่ายฝากตัวอ่อน (embryo transfer)
 ข้อดีของการถ่ายฝากตัวอ่อน
1. ขยายพันธุ์ที่ดีได้อย่างรวดเร็วในระยะเวลาเท่าเดิม
2. ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการขยายพันธุ์สัตว์
3. ช่วยอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ที่ใกล้สูญพันธุ์
2.2 การถ่ายฝากตัวอ่อน (embryo transfer)
 คือ เทคนิควิธีการตัดต่อยีนของสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกัน เพื่อให้ได้
สิ่งมีชีวิตใหม่ที่มีคุณสมบัติแตกต่างไปจากธรรมชาติเดิม และมี
คุณสมบัติตามที่ต้องการ
สิ่งมีชีวิตที่ผ่านการตัดต่อยีนแล้ว เรียกว่า GMOs
(Genetically Modified Organisms)
2.3 พันธุวิศวกรรม (Genetic engineering)
 ประโยชน์ของพันธุวิศวกรรม
1. สามารถผลิตโปรตีนที่หายากทางการแพทย์ ผลิตยาใหม่ ผลิต
วัคซีนป้องกันโรค
2. ตรวจสอบหายีนที่บกพร่อง ทาให้เข้าใจโรคทางพันธุกรรมของ
มนุษย์ได้
3. การปรับปรุงพันธุ์ของจุลินทรีย์ทีใช้ในอุตสาหกรรมบางประเภท
- การผลิตยาปฏิชีวนะ
- การกาจัดศัตรูพืช
4. การปรับปรุงพันธุ์สัตว์ให้มีลักษณะที่ต้องการ
2.3 พันธุวิศวกรรม (Genetic engineering)
 คือ การสร้างสิ่งมีชีวิตใหม่ที่มีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนกันทุก
ประการกับต้นแบบ ในพืชได้มีการทาโคลนสาเร็จมาหลายปีแล้ว
ที่เรียกว่า “การเพราะเลี้ยงเนื้อเยื่อ (Tissue culture)”
2.4 การโคลน (Cloning)
 การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช คือ การนาเอาเซลล์หรือเนื้อเยื่อ หรือ
อวัยวะบางส่วนของพืช เช่น ยอด ลาต้น ใบ ราก ส่วนต่างๆ ของ
ดอกหรือผล มาเพาะเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์ ในสภาพปลอดเชื้อ
เช่น ต้นกล็อกซีเนียที่เกิดจากใบ
2.4 การโคลน (Cloning)
 ห้องปฏิบัติการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช ประกอบด้วยส่วนสาคัญ
3 ส่วน คือ
1. ห้องเตรียมอาหาร
2.4 การโคลน (Cloning)
 2. ห้องย้ายเนื้อเยื่อ
2.4 การโคลน (Cloning)
 3. ห้องเลี้ยงเนื้อเยื่อ
2.4 การโคลน (Cloning)
 การโคลนในสัตว์ ได้ทาการโคลนสาเร็จใน พ.ศ. 2539 โดย
ดร.เอียน วิลมุต (Dr.Ian Wilmut) ได้ทาการโคลนสัตว์เลี้ยงลูกด้วย
นมสาเร็จเป็นครั้งแรกโดยทากับแกะ และแกะตัวแรกทีได้จากการ
โคลน มีชื่อว่า “ดอลลี” โดยไม่มีการใช้เซลล์สืบพันธุ์จากแกะ
ต้นแบบ
2.4 การโคลน (Cloning)
 วิธีการ
โคลนสัตว์
2.4 การโคลน (Cloning)
 วิธีการโคลนสัตว์
1. นาเซลล์ไข่จากสัตว์เพศเมียมาดูดเอานิวเคลียสออก
2. นานิวเคลียสของเซลล์ร่างกายของสัตว์ชนิดเดียวกัน ที่มีสาย
พันธุ์ดีมาใส่ที่นิวเคลียสของเซลล์ไข่ที่ดูดออกไป ใช้ไฟฟ้ากระตุ้นให้
นิวเคลียสและไข่เป็นหนึ่งเดียวกัน
3. นาไปเพาะเลี้ยงให้เจริญเติบโตเป็นเอ็มบริโอ
4. นาเอ็มบริโอไปถ่ายฝากในมดลูกของสัตว์เพศเมียที่เป็นตัวรับ
5. เอ็มบริโอจะเจริญเติบโตจนกระทั่งคลอดออกมาเป็นสัตว์ที่มี
ลักษณะและพันธุกรรมตามเซลล์ต้นแบบ (ตัวที่นาเนื้อเยื่อมาแยก
เอานิวเคลียส)
2.4 การโคลน (Cloning)
 ประโยชน์ของการโคลน
1. ช่วยอนุรักษ์สัตว์ที่สูญพันธุ์หรือใกล้สูญพันธุ์
2. ช่วยในการปรับปรุงและพัฒนาพันธุ์สัตว์
 ข้อเสียของการโคลน
สูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ
2.4 การโคลน (Cloning)
 ประโยชน์ของการโคลน
1. ช่วยอนุรักษ์สัตว์ที่สูญพันธุ์หรือใกล้สูญพันธุ์
2. ช่วยในการปรับปรุงและพัฒนาพันธุ์สัตว์
 ข้อเสียของการโคลน
สูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ
2.4 การโคลน (Cloning)
 ประโยชน์ของการโคลน
1. ช่วยอนุรักษ์สัตว์ที่สูญพันธุ์หรือใกล้สูญพันธุ์
2. ช่วยในการปรับปรุงและพัฒนาพันธุ์สัตว์
 ข้อเสียของการโคลน
สูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ
2.4 การโคลน (Cloning)
2.5 ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
ด้านอาหาร
เก็บรักษาได้นาน , ผลผลิต
ดัดแปลงพันธุกรรม ,
ต้านทานแมลง
ด้านการแพทย์
การตรวจสอบลายพิมพ์ยีน
หรือ DNA , การตรวจ
วินิจฉัยโรค
ด้านอุตสาหกรรม
พันธุวิศวกรรม,วัคซีน,ฮอร์โมน
แปรรูปอาหาร,เพิ่มปริมาณ
อาหาร
ด้านเกษตรกรรม
ปรับปรุงพันธุ์ ,เพิ่มผลผลิต
ของสัตว์ , เร่งการเจริญเติบโต
ประโยชน์ของ
เทคโนโลยีชีวภาพ
L/O/G/O
Thank You!
www.kruseksan.com

More Related Content

What's hot

พันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายพันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายThanyamon Chat.
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีwebsite22556
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมTa Lattapol
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมีThanyamon Chat.
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์Maikeed Tawun
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์Ponpirun Homsuwan
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 

What's hot (20)

พันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายพันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลาย
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
บทที่  3 พลังงานทดแทนบทที่  3 พลังงานทดแทน
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 

Viewers also liked

ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.peter dontoom
 
เทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพเทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพpeter dontoom
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1Niwat Yod
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานRattana Wongphu-nga
 
รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047
รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047
รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047Tanchanok Pps
 
ปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคนปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคนMaruko Supertinger
 
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็น
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็นตลาดในชุมชนดอยสะเก็น
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็นMaruko Supertinger
 
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีPhakawat Owat
 
พอลิเมอร์
พอลิเมอร์พอลิเมอร์
พอลิเมอร์K.s. Mam
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์ เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์ K.s. Mam
 
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010Coco Tan
 
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)Coco Tan
 
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์Tanchanok Pps
 
Sci access 14th : Biology review part 1
Sci access 14th : Biology review part 1Sci access 14th : Biology review part 1
Sci access 14th : Biology review part 1Tanchanok Pps
 
Presentation MUGE101-57-047
Presentation MUGE101-57-047 Presentation MUGE101-57-047
Presentation MUGE101-57-047 Tanchanok Pps
 

Viewers also liked (20)

15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
 
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
 
เทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพเทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพ
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงาน
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047
รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047
รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047
 
ปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคนปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคน
 
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็น
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็นตลาดในชุมชนดอยสะเก็น
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็น
 
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
 
พอลิเมอร์
พอลิเมอร์พอลิเมอร์
พอลิเมอร์
 
OPEC muge102
OPEC muge102OPEC muge102
OPEC muge102
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์ เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์
 
Physics 4,5,6 summary
Physics 4,5,6 summaryPhysics 4,5,6 summary
Physics 4,5,6 summary
 
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
 
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
 
Sci access 14th : Biology review part 1
Sci access 14th : Biology review part 1Sci access 14th : Biology review part 1
Sci access 14th : Biology review part 1
 
Presentation MUGE101-57-047
Presentation MUGE101-57-047 Presentation MUGE101-57-047
Presentation MUGE101-57-047
 

Similar to เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)

5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพ5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพMelody Minhyok
 
จีเอ็มโอ
จีเอ็มโอจีเอ็มโอ
จีเอ็มโอheronana
 
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62Wichai Likitponrak
 
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62Wichai Likitponrak
 
เทคโนโลยีวีวภาพ
เทคโนโลยีวีวภาพเทคโนโลยีวีวภาพ
เทคโนโลยีวีวภาพpeter dontoom
 
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteria
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteriaIntroduction to bacteriology,morphology and classification of bacteria
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteriapitsanu duangkartok
 
2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียนNickson Butsriwong
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
Lesson4animalrepro kr uwichai62
Lesson4animalrepro kr uwichai62Lesson4animalrepro kr uwichai62
Lesson4animalrepro kr uwichai62Wichai Likitponrak
 
บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์Wichai Likitponrak
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1Kobwit Piriyawat
 
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์Wichai Likitponrak
 

Similar to เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) (20)

การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพ5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพ
 
Lesson 2
Lesson 2Lesson 2
Lesson 2
 
จีเอ็มโอ
จีเอ็มโอจีเอ็มโอ
จีเอ็มโอ
 
สืบพันธุ์
สืบพันธุ์สืบพันธุ์
สืบพันธุ์
 
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
 
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62
 
เทคโนโลยีวีวภาพ
เทคโนโลยีวีวภาพเทคโนโลยีวีวภาพ
เทคโนโลยีวีวภาพ
 
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteria
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteriaIntroduction to bacteriology,morphology and classification of bacteria
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteria
 
2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
 
Biology m4
Biology m4Biology m4
Biology m4
 
Lessonplan 5animalgrowth
Lessonplan 5animalgrowthLessonplan 5animalgrowth
Lessonplan 5animalgrowth
 
Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
Lesson4animalrepro kr uwichai62
Lesson4animalrepro kr uwichai62Lesson4animalrepro kr uwichai62
Lesson4animalrepro kr uwichai62
 
1
11
1
 
บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
 
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
 
1
11
1
 

More from ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข

More from ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข (20)

สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืชการลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
 
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
กลวิธีการสอน
กลวิธีการสอนกลวิธีการสอน
กลวิธีการสอน
 
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
Astro4 th
Astro4 thAstro4 th
Astro4 th
 

เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)