SlideShare a Scribd company logo
1 of 58
Download to read offline
www.themegallery.com
LOGO
การเปลี่ยนแปลงพลังงาน
และการเกิดปฏิกิริยาเคมี
วิทยาศาสตร์ ม.2
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
www.kruseksan.com
จุดประสงค์การเรียนรู้
ทดลองและอธิบายการเกิดปฏิกิริยาเคมี และยกตัวอย่าง
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน
เขียนสมการเคมีในรูปประโยคสัญลักษณ์และอธิบาย
ปฏิกิริยาเคมีระหว่างโลหะกับออกซิเจน โลหะกับน้า
กรดกับเบส กรดกับสารประกอบคาร์บอเนต
ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ของมวล พลังงานและ
การเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทดลองและอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
สืบค้นข้อมูลและอภิปรายเกี่ยวกับสารเคมีและปฏิกิริยาเคมี
ที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อม การใช้สารเคมีอย่างถูกต้อง ปลอดภัย
นักเรียน
สามารถ
Concept
Maps
ระบบกับการเปลี่ยนแปลง
การใช้สารเคมีได้อย่าง
ถูกต้องและปลอดภัย
พลังงานกับ
การเกิดปฏิกิริยาเคมี
แผนผังความคิด (Concept Maps)
การเกิดปฏิกิริยาเคมีเป็นการเปลี่ยนแปลงของสาร
แล้วได้สารใหม่ ในกระบวนการเปลี่ยนแปลงนี้อาจสังเกตเป็น
ปรากฏการณ์ใดปรากฏการณ์หนึ่งหรือหลายๆ ปรากฏการณ์
ประกอบกัน เช่น การเกิดฟองแก๊ส การเปลี่ยนแปลงสี
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ การเกิดตะกอน เป็นต้น
การเกิดปฏิกิริยาของสาร มวลของสารตั้งต้นที่เข้าทา
ปฏิกิริยาจะเท่ากับมวลของสารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นใน
ปฏิกิริยา แต่ละปฏิกิริยาจะมีพลังงานเข้ามาเกี่ยวข้องเสมอ
Introduction
เมื่อปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น ความร้อนที่ปฏิกิริยาเคมีให้
ออกมาอาจมากกว่าความร้อนที่ปฏิกิริยาได้รับ เรียกปฏิกิริยา
ประเภทนี้ว่า ปฏิกิริยาคลายความร้อน
Introduction
หากความร้อนที่ปฏิกิริยาเคมีให้ออกมามีค่าน้อยกว่า
ความร้อนที่ปฏิกิริยาได้รับ จะเรียกปฏิกิริยาประเภทนี้ว่า
ปฏิกิริยาดูดความร้อน
Introduction
ระบบ (System) หมายถึง
สิ่งที่ต้องการศึกษาสมบัติ
และการเปลี่ยนแปลง
1. ระบบกับการเปลี่ยนแปลง
สิ่งแวดล้อม (environment)
ระบบกับสิ่งแวดล้อม
ในการศึกษาการเปลี่ยนแปลงใดๆ ก็ตามจาเป็นต้องกาหนด
ของสิ่งที่ต้องการศึกษา เพื่อให้เกิดความชัดเจนในการศึกษานั้น
สภาวะระบบ อุณหภูมิ อุปกรณ์
1.ระบบกับการเปลี่ยนแปลง
ระบบกับสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม (Environment) หมายถึง สิ่งต่างๆ ที่อยู่นอก
ขอบเขตที่ต้องการศึกษา เช่น การศึกษาการละลายของ
น้าตาลในน้า
1.1 การเปลี่ยนแปลงพลังงานของระบบ
ระบบกับสิ่งแวดล้อม
การเปลี่ยนแปลงประเภทคายความร้อน (Exothermic System)
หมายถึง ระบบที่เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงแล้ว ระบบจะถ่ายเทความร้อน
ให้กับสิ่งแวดล้อม ทาให้สิ่งแวดล้อมมีอุณหภูมิสูงขึ้น และระบบมีอุณหภูมิ
ต่าลง เช่น การเผาไหม้ การเยือกแข็ง ฯลฯ
1. การเปลี่ยนแปลงประเภทคายความร้อน
เขียนเป็นสมการได้ : A + B C + D + Energy
1.1 การเปลี่ยนแปลงพลังงานของระบบ
ระบบกับสิ่งแวดล้อม
การเปลี่ยนแปลงประเภทดูดความร้อน (Endothermic System)
หมายถึง ระบบที่เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงแล้ว สิ่งแวดล้อมจะถ่ายเท
ความร้อนให้แก่ระบบ ทาให้สิ่งแวดล้อมมีอุณหภูมิต่าลง และระบบมี
อุณหภูมิสูงขึ้น เช่น การหลอมเหลว , การละลายบางประเภท ฯลฯ
2. การเปลี่ยนแปลงประเภทดูดความร้อน
เขียนเป็นสมการได้ : A + B + Energy C + D
1.2 ประเภทของระบบ
ระบบกับสิ่งแวดล้อม
ระบบที่มีการถ่ายเท ทั้งมวลและพลังงานระหว่างระบบกับ
สิ่งแวดล้อม เช่น กระบวนการหายใจ , การระเหยของน้า ,
การสังเคราะห์แสงของพืช , การเผาไหม้ในที่โล่ง ฯลฯ
1. ระบบเปิด (Open system)
1.2 ประเภทของระบบ
ระบบกับสิ่งแวดล้อม
ระบบที่ไม่มีการถ่ายเทมวล แต่มีการถ่ายเทพลังงานระหว่างระบบกับ
สิ่งแวดล้อม เช่น แก้วน้าที่มีฝาปิด , การละลายของเกลือหรือน้าตาล
ปฏิกิริยาที่ไม่มีแก๊สในระบบ , อากาศในลูกโป่ง ฯลฯ
2. ระบบปิด (Close system)
1.2 ประเภทของระบบ
ระบบกับสิ่งแวดล้อม
กฎทรงมวล :
มวลของสารที่เข้าทาปฏิกิริยา = มวลของสารที่เกิดจากปฏิกิริยา
1.2 ประเภทของระบบ
ระบบกับสิ่งแวดล้อม
ระบบที่ไม่มีการถ่ายเท ทั้งมวลและพลังงานระหว่างระบบกับ
สิ่งแวดล้อม เช่น กระติกน้าแข็ง , กระบอกสุญญากาศ , จักรวาล ฯลฯ
3. ระบบแยกตัว (Isolated system)
2. พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เมื่อสารทาปฏิกิริยากันจะได้สารใหม่เกิดขึ้น สามารแบ่งประเภท
ของการเปลี่ยนแปลงตามทิศทางการถ่ายเทพลังงานได้ 2 ประเภท
ดังนี้
1. ปฏิกิริยาดูดพลังงาน เขียนสมการได้ดังนี้
A + B + Energy C + D
2. ปฏิกิริยาคายพลังงาน เขียนสมการได้ดังนี้
A + B C + D + Energy
2. พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเกิดปฏิกิริยาของสารนั้น สามารถอธิบายได้ด้วยทฤษฎีการชน
(Collision theory) ซึ่งอธิบายการเกิดปฏิกิริยาของสารว่า ปฏิกิริยาเคมี
เกิดขึ้นได้เนื่องจาก การชนกันของโมเลกุลของสารตั้งต้น เช่น โมเลกุล A
ชนกับโมเลกุล B ซึ่งในความเป็นจริงการชนกันแต่ละครั้งอาจไม่ได้
เกิดปฏิกิริยาทุกครั้ง
การที่โมเลกุลชนกันแล้วเกิดปฏิกิริยาได้นั้นต้องมีพลังงานจลน์รวมกัน
แล้วอย่างน้อยเท่ากับพลังงานก่อกัมมันต์ (activation energy : Ea) ซึ่ง
เป็นพลังงานต่าสุดที่ทาให้เกิดปฏิกิริยาได้
ถ้ามีพลังงานต่ากว่าพลังงานก่อกัมมันต์ โมเลกุลจะไม่มีการเปลี่ยนแปลง
หลังการชนกัน โมเลกุลของสารตั้งต้นที่ชนกันแล้วเกิดปฏิกิริยาเคมีนั้นจะ
รวมตัวเป็นสารเชิงซ้อนกัมมันต์ (activated complex) ซึ่งจะอยู่ได้เพียง
ชั่วขณะแล้วจะกลายเป็นสารผลิตภัณฑ์
2. พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1.พลังงานเคมี
พลังงานเคมี เป็นพลังงานศักย์ที่แฝงอยู่ในโครงสร้างของสาร
การเกิดปฏิกิริยาจะมีพลังงานที่เกี่ยวข้อง 2 ขั้นตอน คือ
ขั้นที่ 1 ขั้นดูดพลังงานเพื่อสลายพันธะเดิมในสารตั้งต้น
ขั้นที่ 2 ขั้นคายพลังงานเมื่อสร้างพันธะใหม่ในผลิตภัณฑ์
2. พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ปฏิกิริยาดูดความร้อน (Endothermic Reaction)
ปฏิกิริยาเคมีที่มีการดูด
พลังงานเพื่อสลายพันธะของสาร
ตั้งต้น มากกว่า พลังงานที่คาย
ออกมาเมื่อสร้างพันธะใหม่
โดยปฏิกิริยาดูดความร้อน
สารตั้งต้นจะมีพลังงานต่ากว่า
ผลิตภัณฑ์
2. พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ปฏิกิริยาดูดความร้อน (Endothermic Reaction)
สาหรับสมการแสดงปฏิกิริยาดูดความร้อนสามมารถเขียนได้
2 แบบ คือ
สารตั้งต้น + พลังงาน ผลิตภัณฑ์
หรือ สารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์ DE = (+)
ผลจากปฏิกิริยาดูดความ คือ
สิ่งแวดล้อมจะมีพลังงานลดลง
หรืออุณหภูมิลดลง เมื่อนามือ
มาสัมผัสจะรู้สึกเย็น
2. พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ปฏิกิริยาคายความร้อน (Exothermic Reaction)
ปฏิกิริยาเคมีที่มีการดูด
พลังงานเพื่อสลายพันธะของสาร
ตั้งต้น น้อยกว่า พลังงานที่คาย
ออกมาเมื่อสร้างพันธะใหม่
โดยปฏิกิริยาคายความร้อน
สารตั้งต้นจะมีพลังงานสูงกว่า
ผลิตภัณฑ์
2. พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ปฏิกิริยาคายความร้อน (Exothermic Reaction)
สาหรับสมการแสดงปฏิกิริยาคายความร้อนสามมารถเขียนได้
2 แบบ คือ
สารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์+ พลังงาน
หรือ สารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์ DE = (-)
ผลจากปฏิกิริยาคายความ คือ
สิ่งแวดล้อมจะมีพลังงานเพิ่มขึ้น
หรืออุณหภูมิเพิ่มขึ้น เมื่อนามือ
มาสัมผัสจะรู้สึกร้อน
2. พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
2. พลังงานก่อกัมมันต์ (Activation Energy, Ea)
พลังงานน้อยที่สุดที่ใช้ในการเกิดปฏิกิริยาเคมี มีค่าเท่ากับ
ผลต่างพลังงานของสารเชิมซ้อนกัมมันต์และสารตั้งต้น
ก) ปฏิกิริยาประเภทคายความร้อน ข) ปฏิกิริยาประเภทดูดความร้อน
2. พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
2. พลังงานก่อกัมมันต์ (Activation Energy, Ea)
ในปฏิกิริยาเคมีที่มีพลังงานก่อกัมมันต์น้อย ปฏิกิริยาจะเกิดได้เร็ว
เนื่องจากสารตั้งต้นเปลี่ยนไปเป็นผลิตภัณฑ์ได้ง่าย
2. พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
3. ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยา
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (Rate of reaction) หมายถึง
ปริมาณการลดลงของสารตั้งต้นหรือปริมาณการเพิ่มขึ้นองผลิตภัณฑ์
ต่อหนึ่งหน่วยเวลา
ปฏิกิริยา A + B C + D
อัตราการเกิดปฏิกิริยา (R) = ปริมาณสารตั้งต้นที่ลดลง
เวลา
หรือ อัตราการเกิดปฏิกิริยา (R) = ปริมาณสารผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น
เวลา
2. พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
3. ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยา
1. ความเข้มข้นของสารตั้งต้น :
เมื่อเพิ่มความเข้มข้น จานวนอนุภาคของสารตั้งต้นมากขึ้น
ทาให้สารอยู่ใกล้กันมากขึ้น เกิดการชนกันมากขึ้น อัตราของ
ปฏิกิริยาสูงขึ้น
2. พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
3. ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยา
2. พื้นที่ผิวของสารที่เขาทาปฏิกิริยา :
การเพิ่มพื้นที่ผิวจะทาให้เกิดปฏิกิริยาได้เร็วขึ้น
2. พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
3. ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยา
3. อุณหภูมิ : การเพิ่มอุณหภูมิทาให้อนุภาคเคลื่อนที่ได้เร็วขึ้น
อนุภาคชนกันได้มากขึ้น ปฏิกิริยาจึงเกิดเร็วขึ้น
2. พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
3. ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยา
4. ตัวเร่งปฏิกิริยาและตัวหน่วงปฏิกิริยา :
ตัวเร่งปฏิกิริยา(Catalyst) คือ สารที่เติมลงไปแล้วทาให้
ปฏิกิริยาเคมีเกิดเร็วขึ้น โดยจะมีส่วนร่วมในปฏิกิริยาเคมีด้วย แต่เมื่อ
ปฏิกิริยาเคมีสิ้นสุดลงแล้วจะกลับคืนเป็นสารเดิม
2. พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
3. ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยา
4. ตัวเร่งปฏิกิริยาและตัวหน่วงปฏิกิริยา :
ตัวหน่วงปฏิกิริยา(Inhibitor) คือ สารที่เติมลงไปแล้วทาให้
ปฏิกิริยาเกิดช้าลง
2. พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
3. ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยา
5. ธรรมชาติของสารตั้งต้น : สารแต่ละชนิดมีสมบัติต่างกัน
เช่น Na ทาปฏิกิริยากับน้าเร็วกว่า Mg
Mg ทาปฏิกิริยากับกรด HCl เกิดฟองแก๊สมาก
และเร็ว แต่ Zn ทาปฏิกิริยากับกรด HCl
เกิดฟองแก๊ซช้า
2.1 สมการเคมี
1. การเกิดปฏิกิริยาเคมี
ปฏิกิริยาเคมี หมายถึง การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสารตั้งต้น
(Reactants) เกิดเป็นสารใหม่ที่มีสมบัติแตกต่างจากสารเดิม
ซึ่งเรียกว่า ผลิตภัณฑ์ (Product) เขียนอธิบายด้วยสมการทางเคมี
ดังนี้ สารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์
ตัวอย่าง เช่น
aA + bB cC + dD
2H2O(l) H2(l) + O2 (l)
สารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์
2.1 สมการเคมี
2.หลักการเขียนสมการเคมี
1. เขียนสูตรหรือสัญลักษณ์ : แทนสารตั้งต้น (reactant) ไว้ทาง
ซ้ายมือ ถ้ามากกว่า 1 ชนิดให้ใช้เครื่องหมาย + ระหว่างสาร
(เพื่อแสดงว่าสารนั้นทาปฏิกิริยากัน) แล้วเขียน แสดง
การเปลี่ยนแปลง เขียนสูตรหรือสัญลักษณ์แทนผลิตภัณฑ์
(product) ไว้ทางขวามือ
หมายเหตุ : ลูกศร ( ) เขียนต่อจากสูตรสารตั้งต้น แสดงถึง
การเปลี่ยนแปลง 2 ลักษณะ ดังนี้
แสดงการเปลี่ยนแปลง ไปข้างหน้า
แสดงการเปลี่ยนแปลง ย้อนกลับ
2.1 สมการเคมี
2.หลักการเขียนสมการเคมี
สูตรเคมี คือ กลุ่มของสัญลักษณ์ที่แสดงธาตุองค์ประกอบของสารใน
โมเลกุล
2. ระบุสถานะของสารไว้ในวงเล็บหลังสูตร โดยใช้สัญลักษณ์ดังนี้
(s) = ของแข็ง (solid) (l) = ของเหลว (liquid)
(g) = แก๊ส (gas)
(aq) = สารละลายที่มีน้าเป็นตัวทาละลาย
(aqueous solution)
หมายเหตุ : aA + bB cC + dD
a , b , c และ d เป็นสัดส่วนของ โมล , โมเลกุล และปริมาตรแก๊ส
2.1 สมการเคมี
2.หลักการเขียนสมการเคมี
3. การดุลสมการ (balancing equation) : เป็นการทาจานวน
อะตอมของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ให้เท่ากัน โดยใช้วิธีดุลสมการ
แบบตรวจพินิจ คือ นับจานวนอะตอมของแต่ละธาตุของสารตั้งต้น
และสารผลิตภัณฑ์ แล้วหาตัวเลขไปเติมหน้าสูตรหรือสัญลักษณ์
เพื่อทาให้จานวนอะตอมของธาตุทางซ้ายและขวาของแต่ละธาตุ
เท่ากัน
ตัวอย่าง :
CaCO3(s) + 2HCl(aq) CaCl2(aq) + CO2(g) + H2O(l)
2.1 สมการเคมี
จงดุลสมการต่อไปนี้
Fe2O3(s) + CO(g)  Fe(s) + CO2(g)
NaHCO3(s)  Na2CO3(s) + CO2(g) + H2O(l)
FeS(s) + HCl(aq)  FeCl2(aq) + H2S(g)
Fe(s) + O2 (g)  Fe2O3(s)
3 32
2
2
234
2.1 สมการเคมี
3.ปฏิกิริยาเคมีที่ควรทราบ ดังนี้
1. ปฏิกิริยาระหว่างธาตุโลหะหรืออโลหะกับแก๊สออกซิเจน
หรือปฏิกิริยาการเผาไหม้ (combustion reaction) :
ผลของปฏิกิริยา : เมื่อธาตุรวมตัวกับออกซิเจน จะได้
สารประกอบออกไซด์
ตัวอย่าง : เผาคาร์บอนในอากาศ
C(s) + O2(g) CO2(g) + ความร้อน
ภาชนะทาด้วยโลหะอะลูมิเนียม เช่น ขันน้า ใช้ไปนานๆ
จะหมอง
4Al(s) + 3O2(g) 2Al2O3(s)
2.1 สมการเคมี
2. ปฏิกิริยาระหว่างธาตุโลหะกับกรด :
ผลของปฏิกิริยา : โลหะที่ใช้เป็นเครื่องมือและเครื่องใช้ เช่น ตะปู
เหล็ก มีด จอบ หลังคาสังกะสี เมื่อถูกกรดจะเกิดการผุกร่อน
ได้แก๊สไฮโดรเจน
ตัวอย่าง : โลหะ + กรด เกลือ + แก๊สไฮโดรเจน
Zn(s) + 2HCl(aq) ZnCl2(aq) + H2(g)
โลหะสังกะสี สารละลายกรดไฮโดรคลอริก เกลือซิงค์คลอไรด์ แก๊สไฮโดรเจน
2.1 สมการเคมี
3. ปฏิกิริยาระหว่างหินปูนหรือสารประกอบคาร์บอเนต (CO3
-2)
กับกรด :
สารประกอบคาร์บอเนตที่พบในชีวิตประจาวันส่วนใหญ่ คือ
หินปูนหรือหินอ่อน ซึ่งส่วนใหญ่ประกอบด้วย แคลเซียมคาร์บอเนต
สารประกอบคาร์บอเนตเมื่อสัมผัสกับสารละลายกรดจะได้แก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์และน้าเป็นผลิตภัณฑ์ และสารชนิดอื่นด้วย
ปฏิกิริยานี้ทาให้วัสดุก่อสร้างประเภทหินปูนเกิดการกร่อน เช่น
เจดีย์ผุกร่อนมีวัชพืชขึ้นได้ง่าย หรือ น้าฝนละลายแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศได้กรดคาร์บอนิก ทาปฏิกิริยากับ
หินปูนตามภูเขาได้ ทาให้เกิด “หินงอกหินย้อย”
2.1 สมการเคมี
CO2 + H2O H2CO3
H2CO3 + CaCO3(s) Ca(HCO3)2(aq)
ตกลงสู่พื้น อยู่บนเพดาน
Ca(HCO3)2(aq) CaCO3(s) + H2O + CO2
“หินงอก” “หินย้อย”
ถ้าดื่มน้าตามธรรมชาติที่มี
Ca(HCO3)2 ละลายอยู่ เกิด
การสะสมกระเพาะปัสสาวะ
หรือถุงน้าดีได้
2.1 สมการเคมี
4. ปฏิกิริยาการสะเทินหรือปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส :
สารละลายกรดทาปฏิกิริยากับสารละลายเบส ได้เกลือกับน้า
ปฏิกิริยานี้ เรียกว่า “ปฏิกิริยาสะเทิน (neutralization)”
ตัวอย่าง : กรด + เบส เกลือ + น้า
HCl(aq) + NaOH(aq) NaCl(aq) + H2O(l)
สารละลายกรด สารละลายโซเดียม สารละลาย น้า
ไฮโดรคลอริก ไฮดรอกไซด์ เกลือแกง
2.1 สมการเคมี
5. การเกิดสนิมของโลหะ :
เกิดจากโลหะสัมผัสน้าและอากาศซึ่งมีแก๊สออกซิเจน ทาให้เกิด
การผุกร่อน
เกลือ (salt) เป็นสารประกอบที่มีโลหะและอโลหะ
(ยกเว้นออกซิเจน) เช่น เกลือแกง (NaCl) , ด่างทับทับ (KMnO4) ,
โพแทศเซียมไอโอไดด์ (KI) และแคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3)
2.2 ประโยชน์จากปฏิกิริยาเคมี
1. ปฏิกิริยาการเผาไหม้เชื้อเพลิง
ให้พลังงานความร้อนในการ
หุงต้ม ให้พลังงานให้กับรถยนต์
และเครื่องจักรต่างๆ
2.2 ประโยชน์จากปฏิกิริยาเคมี
2. ทาให้เกิดหินงอกหินย้อย
1. ทัศนียภาพที่สวยงาม
2. ส่งเสริมการท่องเที่ยว
2.2 ประโยชน์จากปฏิกิริยาเคมี
3. ลดความเป็นกรดในกระเพาะอาหาร
ยาลดกรดในกระเพาะอาหาร
อาจเป็นเบส เช่น อะลูมิเนียม
ไฮดรอกไซด์ , แมกนีเซียมออกไซด์,
ยาลดกรดบางชนิดใช้ CaCO3
เป็นส่วนผสม
2.2 ประโยชน์จากปฏิกิริยาเคมี
4. ด้านการเกษตร
ใช้ปูนขาว (CaO) และ
น้าปูนใส (Ca(OH)2 ลดความ
เป็นกรดของดิน
ใช้ปูนมาล (CaCO3) ลดความ
เป็นกรดของดิน
2.2 ประโยชน์จากปฏิกิริยาเคมี
5. ผลิตสารเคมี
ผลิตเอทานอลโดยการหมัก
น้าตาลด้วยยีสต์
2.3 ผลกระทบที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมี
รอบๆตัวเราและในร่างกายเรามีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา
ปฏิกิริยาเคมีเกิดจากกระบวนการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของสารต่างๆ
มีผลให้พลังงานของระบบเปลี่ยนไปและให้ผลิตภัณฑ์หรือสารใหม่เกิดขึ้น
ปฏิกิริยาเคมีบางชนิดเกิดขึ้นเอง แต่บางชนิดต้องได้รับพลังงานจานวนหนึ่ง
ก่อนจึงจะเกิดปฏิกิริยาได้
ปฏิกิริยาเคมีหลายชนิดสามารถนามาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน
อุตสาหกรรม เกษตรกรรมและทางการแพทย์ในขณะเดียวกันปฏิกิริยาบาง
ชนิดก็ให้ผลลบต่อสิ่งแวดล้อมและชีวิตของมนุษย์เองปฏิกิริยาเคมีแต่ละชนิด
มีอัตราการเกิดปฏิกิริยาที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลัก 5 ประการ ได้แก่
ความเข้มข้น พื้นที่ผิว อุณหภูมิ ตัวเร่งปฏิกิริยา และธรรมชาติของสาร
ผลของปัจจัยดังกล่าวสามารถหาได้จากการทดลอง ซึ่งมีผลกระทบต่อ
สิ่งแวดล้อมดังนี้
2.3 ผลกระทบที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมี
1. การเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก :
ทาให้อุณหภูมิของโลกสูงขึ้น : โดย
ปรากฏการณ์เรือนกระจกเกิดจากแก๊ส CO2
ในชั้นบรรยากาศหนาแน่น ทาให้รังสี
อัลตราไวโอเลต (UV) ผ่านชั้นบรรยากาศ
ลงมาได้ ทาให้เกิดความร้อน แต่รังสีความร้อน
จากผิวโลก ผ่านชั้นแก๊สเรือนกระจกไม่ได้
แก๊ส CO2 ส่วนใหญ่เกิดจากการเผาไหม้
เชื้อเพลิง
แก๊สเรือนกระจกส่วนใหญ่
เป็น CO2 แต่ก็มีสารซีเอฟซี
เช่น CFCl3 , CH4
สารซีเอฟซี ใช้มากในสเปร์
ชนิดต่างๆ และโฟม
2.3 ผลกระทบที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมี
1. การเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก (greenhouse effect):
2.3 ผลกระทบที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมี
2. แก๊สโอโซนถูกทาลาย :
แก๊สโอโซน (O3) ในชั้นบรรยากาศที่ห่อหุ้มโลก
ถูกทาลายด้วยสารซีเอฟซี
เกิดรูโอโซนหรือมีโอโซน
น้อย รังสีอัลตราไวโลเลต
ผ่านมายังโลกได้มากขึ้น
ทาให้เกิดโรคมะเร็งผิวหนัง
ต้อกระจก และอุณหภูมิของ
โลกสูงขึ้น
2.3 ผลกระทบที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมี
3. แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) :
เกิดจากการเผาไหม้ไม่สมบูรณ์ของ
เชื้อเพลิง เช่น การเผาไหม้ในที่อับ
อากาศ ส่วนใหญ่จากท่อไอเสียรถยนต์
แก๊ส CO เข้าไปขัดขวางการทางานของ
เซลล์เม็ดเลือดแดง ซึ่งทาหน้าที่ ลาเลียง
ออกซิเจน (O2) การรวมตัวของ
ฮีโมโกลบิน (Hb) ในเม็ดเลือดแดง กับ
CO ออกซิเจนจะถูกนาไปใช้ลดลง
2.3 ผลกระทบที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมี
4. ฝนกรด : อาคารบ้านเรือน หินปูน และ
โลหะถูกกัดกร่อนด้วยฝนกรด
ฝนกรด เกิดจากแก๊ส CO2
, SO2 และ NO2
ละลายน้า
ฝนกรด เกิดมาก
บริเวณอุตสาหกรรม
2.3 ผลกระทบที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมี
5. ธาตุกัมมันตรังสี : ให้รังสีที่มีประโยชน์และโทษ
ประโยชน์จากรังสี ให้
พลังงานและใช้ฆ่าเชื้อ
ราในผลผลิตทาง
การเกษตร
ทางการแพทย์ ใช้รังสี
แกมมารักษาโรคมะเร็ง
ใช้เป็นเชื้อเพลิงในใน
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์
โทษของกัมมันตรังสี คือ ทาลาย
เซลล์ เนื้อเยื่อ อวัยวะ
3. การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
ในชีวิตประจาวันจะต้องเกี่ยวข้องกับสารต่างๆ มากมาย เนื่องจาก
สิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเราจัดเป็นสารเคมีทั้งสิ้น เมื่อนามาใช้ประโยชน์
อาจทาให้เกิดผลกระทบ ซึ่งเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
ได้ เพื่อให้การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องและปลอดภัยควรปฏิบัติ ดังนี้
3. การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
1.ผู้ใช้ควรมีความรู้เกี่ยวกับสมบัติสารที่ใช้
2.ก่อนใช้ควรอ่านฉลากเพื่อทาความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีที่ใช้
3.ไม่ควรใช้สารเคมีมากเกินไปและไม่ทิ้งสารเคมีในที่สาธารณะ
4.ถ้ามีผู้กลืนสารพิษประเภทยาฆ่าแมลง ให้ดื่มนมสดหรือกินไข่ดิบ
เพื่อให้เกิดการตกตะกอนของสารพิษและอาเจียน หลังจากนั้นนาส่ง
โรงพยาบาล
5.ถ้าถูกสารเคมีให้รีบล้างให้สะอาดทันที
6.ไม่ควรกาจัดขยะพลาสติกโดยการเผา
เนื่องจากเกิดควันที่เป็นพิษ
3. การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
7. ควรรู้จักสัญลักษณ์เกี่ยวกับสารที่เป็นอันตราย เพื่อหลีกเลี่ยงจาก
อันตราย เช่น
ระวังอันตรายจาก
สารกัมมันตรังสี
ระวังวัตถุมีพิษ
ห้ามรับประทาน
ระวังวัสดุไวไฟ
ห้ามเข้าใกล้เปลวไฟ
ระวังอันตรายจาก
เชื้อโรค
ระวังอันตรายจาก
การกัดกร่อน
ระวังอันตรายจาก
วัตถุระเบิด
3. การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
7. ควรรู้จักสัญลักษณ์เกี่ยวกับสารที่เป็นอันตราย เพื่อหลีกเลี่ยงจาก
อันตราย เช่น
www.themegallery.com
LOGO
นายเสกสรรค์ สุวรรณสุข
ครู คศ.2
โรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย
08-7224-5846
www.kruseksan.com

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีSircom Smarnbua
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1Tanchanok Pps
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์Phattarawan Wai
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันPreeyapat Lengrabam
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2Wichai Likitponrak
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 

What's hot (20)

งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 

Viewers also liked

การแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียวการแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียวmedfai
 
การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมmedfai
 
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2Wichai Likitponrak
 
บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2Wichai Likitponrak
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2Wichai Likitponrak
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2Wichai Likitponrak
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2Wichai Likitponrak
 
FST010 อาหารสุขภาพ ตอนที่1
FST010  อาหารสุขภาพ ตอนที่1FST010  อาหารสุขภาพ ตอนที่1
FST010 อาหารสุขภาพ ตอนที่1Coco Tan
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)Coco Tan
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์ เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์ K.s. Mam
 
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็น
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็นตลาดในชุมชนดอยสะเก็น
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็นMaruko Supertinger
 
ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด
ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด
ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด Tanchanok Pps
 
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010Coco Tan
 
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีPhakawat Owat
 
Presentation MUGE101-57-047
Presentation MUGE101-57-047 Presentation MUGE101-57-047
Presentation MUGE101-57-047 Tanchanok Pps
 
ตารางธาต
ตารางธาตตารางธาต
ตารางธาตK.s. Mam
 
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์Tanchanok Pps
 

Viewers also liked (20)

แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
การแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียวการแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียว
 
การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสม
 
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
 
บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2
 
FST010 อาหารสุขภาพ ตอนที่1
FST010  อาหารสุขภาพ ตอนที่1FST010  อาหารสุขภาพ ตอนที่1
FST010 อาหารสุขภาพ ตอนที่1
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
 
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์ เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์
 
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็น
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็นตลาดในชุมชนดอยสะเก็น
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็น
 
ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด
ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด
ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด
 
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
 
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
 
Presentation MUGE101-57-047
Presentation MUGE101-57-047 Presentation MUGE101-57-047
Presentation MUGE101-57-047
 
ตารางธาต
ตารางธาตตารางธาต
ตารางธาต
 
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
 

Similar to การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี

อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดลอัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดลbuabun
 
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยา
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยาใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยา
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยาyaowaluk
 
3210000000000000000
32100000000000000003210000000000000000
3210000000000000000Awirut619
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
บทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยา
บทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยาบทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยา
บทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยาoraneehussem
 
อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมีJirapakorn Buapunna
 
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)Dr.Woravith Chansuvarn
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีchemnpk
 
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีweerabong
 
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีweerabong
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีweerabong
 
New เอกสาร microsoft word
New เอกสาร microsoft wordNew เอกสาร microsoft word
New เอกสาร microsoft wordOrathai Wongwan
 
Rate มหิดลนุสรณ์
Rate มหิดลนุสรณ์Rate มหิดลนุสรณ์
Rate มหิดลนุสรณ์neena988
 
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมีจลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมีnn ning
 

Similar to การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี (20)

อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดลอัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
 
Sheet rate
Sheet rateSheet rate
Sheet rate
 
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยา
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยาใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยา
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยา
 
3210000000000000000
32100000000000000003210000000000000000
3210000000000000000
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
Rate
RateRate
Rate
 
บทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยา
บทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยาบทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยา
บทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยา
 
Rate3
Rate3Rate3
Rate3
 
16442806.ppt
16442806.ppt16442806.ppt
16442806.ppt
 
อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
 
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
 
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
New เอกสาร microsoft word
New เอกสาร microsoft wordNew เอกสาร microsoft word
New เอกสาร microsoft word
 
Rate มหิดลนุสรณ์
Rate มหิดลนุสรณ์Rate มหิดลนุสรณ์
Rate มหิดลนุสรณ์
 
Punmanee study 3
Punmanee study 3Punmanee study 3
Punmanee study 3
 
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมีจลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
 
rate reaction
rate reactionrate reaction
rate reaction
 

More from ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข

More from ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข (20)

แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืชการลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
 
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
กลวิธีการสอน
กลวิธีการสอนกลวิธีการสอน
กลวิธีการสอน
 
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
Astro4 th
Astro4 thAstro4 th
Astro4 th
 
Astro4 th
Astro4 thAstro4 th
Astro4 th
 

Recently uploaded

ฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimension
ฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimensionฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimension
ฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimensionTeerawutSavangboon
 
Web_Exploitation_Cyber_Operation_Contest.pptx
Web_Exploitation_Cyber_Operation_Contest.pptxWeb_Exploitation_Cyber_Operation_Contest.pptx
Web_Exploitation_Cyber_Operation_Contest.pptxnkrafacyberclub
 
inverse matrix of cofactors adjoint formular
inverse matrix of cofactors adjoint formularinverse matrix of cofactors adjoint formular
inverse matrix of cofactors adjoint formularTeerawutSavangboon
 
Cryptography_Cyber_Operation_Contest.pdf
Cryptography_Cyber_Operation_Contest.pdfCryptography_Cyber_Operation_Contest.pdf
Cryptography_Cyber_Operation_Contest.pdfnkrafacyberclub
 
ชุดกิจกรรมประกอบการเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อม
ชุดกิจกรรมประกอบการเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อมชุดกิจกรรมประกอบการเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อม
ชุดกิจกรรมประกอบการเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อมWannisaThongnoi1
 
Tree and Graph Algorithms and Implementation
Tree and Graph Algorithms and ImplementationTree and Graph Algorithms and Implementation
Tree and Graph Algorithms and ImplementationPaulSombat
 

Recently uploaded (7)

ฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimension
ฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimensionฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimension
ฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimension
 
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ย.1-2 พ.ศ.2511-2566 (56 ปี)_Pali grammar Exam...
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ย.1-2 พ.ศ.2511-2566 (56 ปี)_Pali grammar Exam...ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ย.1-2 พ.ศ.2511-2566 (56 ปี)_Pali grammar Exam...
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ย.1-2 พ.ศ.2511-2566 (56 ปี)_Pali grammar Exam...
 
Web_Exploitation_Cyber_Operation_Contest.pptx
Web_Exploitation_Cyber_Operation_Contest.pptxWeb_Exploitation_Cyber_Operation_Contest.pptx
Web_Exploitation_Cyber_Operation_Contest.pptx
 
inverse matrix of cofactors adjoint formular
inverse matrix of cofactors adjoint formularinverse matrix of cofactors adjoint formular
inverse matrix of cofactors adjoint formular
 
Cryptography_Cyber_Operation_Contest.pdf
Cryptography_Cyber_Operation_Contest.pdfCryptography_Cyber_Operation_Contest.pdf
Cryptography_Cyber_Operation_Contest.pdf
 
ชุดกิจกรรมประกอบการเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อม
ชุดกิจกรรมประกอบการเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อมชุดกิจกรรมประกอบการเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อม
ชุดกิจกรรมประกอบการเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อม
 
Tree and Graph Algorithms and Implementation
Tree and Graph Algorithms and ImplementationTree and Graph Algorithms and Implementation
Tree and Graph Algorithms and Implementation
 

การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี