SlideShare a Scribd company logo
1 of 45
การดาเนินงานและความท้าทายของ
งานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัล
การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาการจดหมายเหตุไทย
ครั้งที่ 3: IT กับงานจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์
สภากาชาดไทย, 24 มิถุนายน 2559
สิทธิศักดิ์ รุ่งเจริญสุขศรี
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
OUTLINE
1.ทาไมต้องเป็น
จดหมายเหตุดิจิทัล
2. การจัดการข้อมูล
ดิจิทัลแบบครบวงจร
3. สถานการณ์และ
ความท้าทายในการ
ดาเนินงานจดหมาย
เหตุในยุคดิจิทัล
6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 2
1. ทาไมต้องเป็นจดหมายเหตุดิจิทัล ?
6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 3
1.1 TRADITIONAL ARCHIVES VS DIGITAL ARCHIVES
6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 4
(modified from Spiteri, 2014)
The specific characters
of digital record
• Cannot divided as
tangible (i.e.
physical records) or
intangible (i.e.
digital records)
• Record lifecycle is
not cover circuit of
digital record.
1.2 RECORD CONTINUUM MODEL
6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 5
(Upward, 1996)
RLC VS RCM
• D1: Create – การสร้าง
เอกสาร
• D2: Capture – การใช้
งานและจัดการเอกสารที่อยู่
ในกระแส
• D3: Organise –
จัดเก็บเข้าหอจดหมายเหตุ
• D4: Pluralise –
ประยุกต์เทคโนโลยีมาใช้
กับการจัดการ จัดเก็บ และ
ค้นคืน
1.3 ประโยชน์ของงานเอกสารจดหมายเหตุดิจิทัล (1)
• เข้าถึงวัสดุหลากหลายที่ได้รับการแปลงสภาพแล้ว
• เกิดการใช้ทรัพยากรทางไกลจากผู้ใช้ที่ไม่สะดวกมาแหล่งจัดเก็บ
• เกิดผู้ใช้หน้าใหม่ที่มิได้จากัดอยู่แค่นักวิจัยในสาขาที่เกี่ยวข้อง เช่น Lifelong learning
การบูรณาการผลการศึกษาข้ามสาขาวิชา
1. ส่งเสริมและขยายช่องทางในการเข้าถึงทรัพยากรได้ในวงกว้าง (Internet)
• ป้ องกันวัสดุต้นฉบับไม่ให้เสื่อมสภาพจากการใช้งาน หรือจัดแสดง
• เปิดโอกาสให้ผู้ใช้บริการสามารถใช้งานเอกสารที่เปราะบางได้
2. เอกสารต้นฉบับได้รับการสงวนรักษา
• Collection ได้รับการพัฒนาผ่านความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่สะสมเรื่องเดียวกัน หรือใน
ประเด็นเดียวกัน
3. ชุดเอกสารจดหมายเหตุของหน่วยงานได้รับการพัฒนา
6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 6
(Hughes, 2004, pp. 8-17.)
1.3 ประโยชน์ของงานเอกสารจดหมายเหตุดิจิทัล (2)
• ช่วยประชาสัมพันธ์การทางาน และการขอรับทุนสนับสนุน
• ได้สารวจและจัดการ Collection
• พัฒนาทักษะทางด้านการจัดการ (บุคลากร) และเทคโนโลยีขององค์กร
• การสร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน เพื่อพัฒนาบุคลากรและ Collection
4. ส่งผลในเชิงยุทธศาสตร์ต่อหน่วยงาน
• ใช้ออกแบบสื่อการเรียนรู้ประเภทต่างๆ สาหรับเยาวชน และประชาชนทั่วไปที่สนใจ
• การทบทวนวรรณกรรม และการใข้ข้อมูลอ้างอิงในรูปแบบใหม่
5. ส่งเสริมให้เกิดการใช้เพื่อการศึกษาและวิจัย
6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 7
(Hughes, 2004, pp. 8-17.)
2. การจัดการข้อมูลดิจิทัลแบบครบ
วงจร (DIGITAL CURATION)
6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 8
2.1 อะไรคือ DIGITAL CURATION ?
6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 9
Source: https://www.youtube.com/watch?v=6cuOdgvYRGM
2.2 DEFINITIONS
Lee & Tibbo, 2007
• “Digital curation involves the management of digital objects
over their entire lifecycle, ranging from pre-creation activities
wherein systems are designed, and file formats and other
data creation standards are established, through ongoing
capture of evolving contextual information for digital assets
housed in archival repositories”
Harvey, 2010
• “Digital curation is a more inclusive concept than either digital
archiving or digital preservation. It addresses the whole range
of process applied it digital objects over their life cycle. Digital
curation begins before digital objects are created by setting
standards for planning data collection that results in “curation
ready” digital objects that are in the best possible condition to
ensure that they can be maintained and used in the future”
DCC, n.d.
• “Digital curation involves maintaining, preserving and adding
value to digital research data throughout its lifecycle”
6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 10
2.3 AIMS AND SCOPE
Longevity
ไม่เกิดความเปลี่ยนแปลงเมื่อมี
การอพยพข้อมูล
สามารถตรวจสอบความถูกต้อง
ของการอพยพข้อมูลได้
Metadata สามารถอพยพ
ตามไปได้
ระบุรายละเอียดความ
เปลี่ยนแปลงของ
Hardware, Software,
file formats, standard
ที่จะมีผลต่อกระบวนการสงวน
รักษาวัสดุดิจิทัลได้
Integrity
ตรวจสอบความถูกต้องในการ
อพยพ
Metadata ที่ให้รายละเอียด
ข้อมูลสามารถอพยพตามไปด้วย
ยังรักษาสาเนาของ bit
stream เอาไว้ได้
ยังรักษาสิทธิ์ในทรัพย์สินทาง
ปัญญา และสิทธิ์อื่นๆ ไว้ได้
Accessibility
ยังรักษาความสามารถในการระบุสถานที่
จัดเก็บวัสดุดิจิทัลได้
รักษา Representation
information (structure and
semantic information) ของวัสดุ
ดิจิทัลเอาไว้ได้ เพื่อที่ข้อมูลเหล่านี้จะ
สามารถเข้าใจได้ในอนาคต
สร้างวัสดุดิจิทัลบนพื้นฐานของ open
standards หรือ standard
formats
จากัดรูปแบบของการสงวนรักษาที่จาเป็น
ต้อการจัดการให้ธารงไว้ซึ่งการเข้าถึง
สามารถให้รายละเอียดความ
เปลี่ยนแปลงของ Hardware,
Software, file formats,
standard ที่จะมีผลต่อกระบวนการ
สงวนรักษาวัสดุดิจิทัลได้
6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 11
2.4 BENEFITS
6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 12
•ช่วยพัฒนาคุณภาพในการเข้าถึงข้อมูล ซึ่งจะนาไปสู่การสร้างความต่อเนื่อง ความเร็วในการเข้าถึง
และทาให้แน่ใจได้ว่าข้อมูลจะยังเข้าถึงได้ในระยะยาว
1. Improving access
•ช่วยพัฒนาคุณภาพของข้อมูลให้มีความน่าเชื่อถือมากขึ้น และสามารถนาไปใช้งานทางกฎหมายได้
2. Improving data quality
•ช่วยส่งเสริมให้เกิดการแบ่งปันและใช้ซ้าข้อมูลได้ เนื่องจากการใช้มาตรฐานข้อมูลเดียวกัน รวมถึง
ระบุข้อมูลเกี่ยวกับบริบทและแหล่งที่มาของข้อมูลอย่างเหมาะสม ได้ช่วยส่งเสริมให้เกิดการแบ่งปัน
และใช้ซ้าข้อมูลตลอดช่วงชีวิต
3. Encourage data sharing and reuse
•ช่วยอนุรักษ์และป้ องกันข้อมูลจากความล้าสมัยทางเทคโนโลยี และการสูญหายข้องข้อมูล
4. Protecting data
(Harvey, 2010, p. 12)
2.5 DCC LIFECYCLE MODEL
6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 13
Datais “any
information in binary
digital form”. This
includes:
• Simple digital objects
• Complex digital
objects
• Database
(DCC, 2008)
2.6 ACTIONS IN DCC LIFECYCLE MODEL
Action 1: Full
Lifecycle Actions
• Description and
Representation
Information
• Preservation
Planning
• Community Watch
and Participation
• Curation and
Preservation
Action 2:
Sequential
Actions
• Conceptualise
• Create or Receive
• Appraise and
Select
• Ingest
• Preservation action
• Store
• Access and reuse
• Transform
Action 3:
Occasional
Actions
• Dispose
• Reappraisal
6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 14
2.7 การวางกรอบกรอบคิด (CONCEPTUALISE)
Scope:
เพื่อวางกรอบคิดการทางานเบื้องต้นก่อนเริ่มลงมือ
ปฏิบัติงาน โดยมีเนื้อหาครอบคลุมกิจกรรมต่างๆ ที่
เกี่ยวข้องกับการออกแบบโครงการ ภายใต้แนวคิด
การจัดการข้อมูลแบบครบวงจร และการออกแบบ
ระบบการจัดการข้อมูลต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นให้สอดคล้อง
กับข้อมูลที่ต้องการจะสร้างและจัดเก็บ โดยอาศัย
ผลลัพธ์ของโครงการที่ต้องการให้ปรากฏต่อ
สาธารณชนและขั้นตอนการทางาน เป็นเงื่อนไข
สาคัญในการออกแบบและกาหนดมาตรฐาน
ต่างๆ ที่จาเป็นต่อการดาเนินงาน
Key activities:
1.ออกแบบโครงการภายใต้แนวคิดการจัดการ
ข้อมูลแบบครบวงจร
2.ออกแบบระบบการจัดการให้สอดคล้องกับข้อมูล
ที่จัดเก็บ
3.ตระหนักถึงความสาคัญของมาตรฐาน
6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 15(Higgins and et.al; Harvey, 2010)
SOURCES FOR CONCEPTUALISE
• Checklist for conceptualization:
http://www.dcc.ac.uk/sites/default/files/documents/Conceptualisation Checklist.pdf
• Data plan guidance and examples:
http://www.dcc.ac.uk/resources/data-management-plans/guidance-examples
• DMPonline:
https://dmponline.dcc.ac.uk/
• DMPTool
https://dmp.cdlib.org/
• MANTRA Research Data Management Training:
http://datalib.edina.ac.uk/mantra/
6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 16
2.8 การสร้างหรือรับมอบ (CREATE OR RECEIVE)
6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 17
Scope:
เพื่อกาหนดมาตรฐานในการสร้าง และรับมอบข้อมูล
ดิจิทัล โดยมีเนื้อหาครอบคลุมกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
กับการจัดทานโยบายเพื่อการสร้างและรับมอบ
ข้อมูล แนวทางการสร้างและรับมอบข้อมูล รวมถึง
การกาหนดโครงสร้างข้อมูลต่างๆ ที่จาเป็นให้
สอดคล้องไปกับขั้นตอนการจัดการวงจรชีวิตข้อมูล
ดิจิทัล
Key activities:
1. การกาหนดนโยบายการสร้างและรับมอบข้อมูล
2. การสร้างข้อมูลเพื่อการจัดการ
3. การรับมอบข้อมูลเพื่อการจัดการ
4. กาหนดโครงสร้างข้อมูลเพื่อการใช้และใช้ซ้า
5. กาหนดโครงสร้างข้อมูลเพื่อการจัดการ
6. กาหนดโครงสร้างข้อมูลเพื่อการค้นหา
ข้อมูลที่มีคุณภาพมีคุณสมบัติอะไรบ้าง ?
6/18/2016ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร(องค์การมหาชน) 18
ความน่าเชื่อถือ (Trust)
มีความถูกต้อง/มี
ลักษณะที่น่าเชื่อถือ
(Authenticity)
สามารถเข้าใจใน
บริบท
(Understand-
ability)
สามารถใช้งานได้
(Usability)
มีบูรณภาพ
(Integrity)
(Giarlo, 2013)
ทาไมเราถึงต้องการ
ข้อมูลที่มีคุณภาพ ?
6/18/2016ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร(องค์การมหาชน) 19
6/18/2016 20
Source: ฐานข้อมูลเอกสารโบราณภูมิภาคตะวันตก http://www.sac.or.th/databases/manuscripts/main.php?m=home&p=index
SOURCES FOR CREATE OR RECEIVE
• Checklist for create or receive:
http://www.dcc.ac.uk/sites/default/files/documents/Create Checklist.pdf
• Using Metadata Standards:
http://www.dcc.ac.uk/resources/briefing-papers/standards-watch-
papers/using-metadata-standards
• What are Metadata Standards:
http://www.dcc.ac.uk/resources/briefing-papers/standards-watch-
papers/what-are-metadata-standards
6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 21
2.9 การประเมินและคัดเลือก (APPRAISE AND SELECT)
6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 22
Scope:
เพื่อสร้างหลักเกณฑ์ในการตัดสินใจว่าข้อมูล หรือวัสดุ
ดิจิทัลใดควรได้รับการจัดเก็บในระยะยาว หรืออาจไม่มี
ความจาเป็นต้องจัดเก็บ โดยใช้กระบวนการประเมินและ
คัดเลือกเป็นเกณฑ์ในการตัดสินใจ ซึ่งประกอบไปด้วย
กิจกรรมที่สาคัญ คือ การกาหนดขอบเขตของข้อมูลที่จะ
จัดเก็บ และการพัฒนานโยบายการประเมินและคัดเลือกที่
จะใช้เป็นเกณฑ์ ทั้งนี้ ขอให้ผู้ปฏิบัติงานพึงตระหนักว่า
ไม่มีความจาเป็นที่จะต้องจัดเก็บข้อมูลทั้งหมดที่
เกิดขึ้นจากโครงการ เพราะอาจมีข้อจากัดในเรื่องของ
งบประมาณ หรือความไม่จาเป็นต่อการใช้งานในอนาคต
นอกจากนี้ในกิจกรรมในการประเมินและคัดเลือกข้อมูล ยัง
มีความเกี่ยวเนื่องกับการประเมินซ้า (Reappraisal)
และการจาหน่ายออก (Dispose)
Key activities:
1.การกาหนดขอบเขตของข้อมูลที่จะจัดเก็บ
2.พัฒนาและประยุกต์ใช้นโยบายการประเมินและ
คัดเลือก
3.พัฒนาและประยุกต์ใช้หลักเกณฑ์การประเมินซ้าและ
การจาหน่ายออก
SOURCES FOR APPRAISE AND SELECT
• Checklist for appraise and select:
http://www.dcc.ac.uk/sites/default/files/documents/Select and Appraise Checklist.pdf
• Data Asset Framework: Implementation Guide:
http://www.dcc.ac.uk/sites/default/files/documents/DAF_Implementation_Guide[1].pdf
• Five steps to decide what data to keep:
http://www.dcc.ac.uk/resources/how-guides/five-steps-decide-what-data-keep
• แบบสารวจกระบวนการจัดการข้อมูลดิจิทัลของผู้ปฏิบัติงาน ศมส.
https://www.surveymonkey.net/r/Preview/?sm=ro_2FKFZeib1quHWcpAtb_2B_2B7klsc
x73T3MePGTqLpCZL_2FncDEtTdXZcVnfo8XFjx_2F5
6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 23
2.10 การนาเข้า (INGEST)
6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 24
Scope:
เพื่อกาหนดขั้นตอนการเตรียมความพร้อมของข้อมูล
หรือวัสดุดิจิทัลให้เหมาะสมก่อนนาเข้าระบบ โดยมี
เนื้อหาครอบคลุมกิจกรรมที่สาคัญ 2 ประการ คือ การ
แจ้งให้ผู้ที่เกี่ยวข้องรับทราบถึงหน้าที่ที่จะต้อง
รับผิดชอบ และการกาหนดขั้นตอนในการให้
รายละเอียดข้อมูลที่เหมาะสมก่อนนาเข้าระบบ
ทั้งนี้ขอให้ผู้ปฏิบัติงานพึงตระหนักว่า การนาเข้าข้อมูล
ถือเป็นกระบวนการการเริ่มต้นในการจัดการข้อมูล
ดิจิทัลแบบครบวงจร เพราะข้อมูลที่ถูกนาเข้าระบบถือ
ว่าเป็นข้อมูลที่ได้รับการประเมินและคัดเลือกแล้วว่าจะ
ทาการจัดเก็บในระยะยาว ดังนั้นแล้ว จึงควรดาเนินการ
ในขั้นตอนนี้อย่างรอบคอบ
Key activities:
1. การระบุกิจกรรมให้ผู้รับผิดชอบรับทราบ
2. การให้รายละเอียดข้อมูลอย่างเหมาะสม
SOURCES FOR INGEST
• Checklist for ingest and store:
http://www.dcc.ac.uk/sites/default/files/documents/Ingest and Store Checklist.pdf
• erpaGuidance – Ingest Strategies :
http://www.dcc.ac.uk/sites/default/files/documents/ERPANETIngestTool[1].pdf
6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 25
2.11 การสงวนและรักษา (PRESERVATION ACTION)
6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 26
Scope:
การสงวนและรักษาถือเป็นแกนกลางของวงจรการจัดการ
ข้อมูลดิจิทัล เพราะกิจกรรมต่างๆ ในขั้นตอนก่อนหน้านี้
ไม่ว่าจะเป็นการสร้างและรับมอบ การประเมินและ
คัดเลือก และการนาเข้า ล้วนมีวัตถุประสงค์เพื่อเตรียม
ข้อมูลให้มีความพร้อมสาหรับการสงวนและรักษา ก่อนที่
จะนาไปสู่การเก็บจัดเก็บและการเปลี่ยนแปลงในลาดับ
ถัดไป ด้วยเหตุนี้กิจกรรมสาคัญต่างๆ ในขั้นตอนนี้จึงเป็น
เสมือนการทบทวนและตรวจสอบให้แน่ใจอีกครั้ง ก่อนที่จะนา
ข้อมูลเข้าสู่ขั้นตอนการสงวนและรักษา เพื่อทาให้แน่ใจว่าข้อมูล
จะได้รับการสงวนรักษาในระยะยาวยังคงมีความน่าเชื่อถือ
(Authenticity) มีความบูรณภาพ (Integrity) มีช่วง
อายุในการใช้งานที่ยาวนาน (Longevity) และมี
ความสามารถในการเข้าถึงได้ (Accessibility) อย่างยั่งยืน
ไฟล์ข้อมูลมีความสมบูรณ์
Key activities:
1. การกาหนดยุทธศาสตร์ในการสงวนและรักษา
2. การคัดเลือกรูปแบบของเทคโนโลยีในการสงวนและรักษา
3. การตรวจสอบซ้า
SOURCES FOR PRESERVATION ACTION
• Checklist for preservation action:
http://www.dcc.ac.uk/sites/default/files/documents/Preservation Action Checklist.pdf
6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 27
Preservation methods
Migration – transform formats as technologies change
Emulation – keep original data and application software and create programs to emulate
their behaviour on contemporary architectures
Formal descriptions – encode behaviours of original application, at creation, in a format
understood by a Universal Virtual Computer (a platform independent layer between
hardware and software) to allow reconstitution in original form.
Digital archaeology – future recovery as needed or exploratory basis
Computer museums – archive whole systems: hardware and software
2.12 การจัดเก็บ (STORE)
6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 28
Scope:
เพื่อจัดเก็บและรักษาข้อมูลดิจิทัลให้ปลอดภัย ภายใต้
มาตรการที่เหมาะสมและเป็นมาตรฐาน
Key activities:
1.การพัฒนาและประยุกต์ใช้นโยบายการจัดเก็บข้อมูลกับ
กระบวนการทางานของโครงการอย่างต่อเนื่อง
2.ข้อมูลได้รับการจัดเก็บพร้อมกับรายละเอียดของข้อมูล
ทีมีคุณภาพ
3.การคัดเลือกสื่อที่มีคุณภาพเพื่อใช้ในการจัดเก็บ
4.มีมาตรการที่คอยตรวจสอบข้อมูล และสื่อที่ใช้ในการ
จัดเก็บว่ายังสามารถเข้าถึงได้หรือไม่
5. มีมาตรการคอยตรวจสอบรายละเอียดของข้อมูลที่
จัดเก็บว่ายังสามารถเข้าถึงได้หรือไม่
6.ในกรณีฉุกเฉิน มีมาตรการที่สามารถอพยพข้อมูลไปยัง
แหล่งจัดเก็บภายนอกหน่วยงานได้
7.ในกรณีฉุกเฉิน มีมาตรการและขั้นตอนในการกู้คืน
ข้อมูล
SOURCES FOR STORE
• Checklist for ingest and store:
http://www.dcc.ac.uk/sites/default/files/documents/Ingest and Store Checklist.pdf
• An introduction to Repository Assessesment and DRAMBORA:
http://www.data-audit.eu/docs/DRAMBORA_launch_introduction.pdf
• DRAMBORA (Digital Repository Audit Method Based on Risk Assessment):
http://www.repositoryaudit.eu/
• DRAMBORA Interactive: User Guide:
https://www.era.lib.ed.ac.uk/bitstream/handle/1842/3328/Donnelly%20DRAMBORA
_Interactive_Manual.pdf?sequence=1&isAllowed=y
6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 29
2.13 การเข้าถึง การใช้ และการนากลับมาใช้ใหม่ (ACCESS, USE, AND REUSE)
6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 30
Scope:
เพื่อให้แน่ใจว่าข้อมูลผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงข้อมูลได้
และสามารถใช้งานได้อีกในอนาคต
Key activities:
1. เมทาดาทาที่เหมาะสมกับข้อมูลถูกนาเสนอใน
รูปแบบที่เป็นมาตรฐาน
2. ระบุรายละเอียดและขอบเขตในการเข้าถึง การใช้
และการนากลับมาใช้ใหม่ให้ผู้ใช้บริการได้ทราบ
อย่างชัดเจน
3. จัดเตรียมเครื่องมือที่รองรับการแลกเปลี่ยน และ
เชื่อมโยงข้อมูลกับคลังข้อมูลอื่นๆ
4. มีมาตรการคอยตรวจสอบและควบคุมการเข้าถึง
การใช้ และการนาข้อมูลกลับมาใช้ใหม่
SOURCES FOR ACCESS, USE, AND REUSE
• Checklist for access and reuse:
http://www.dcc.ac.uk/sites/default/files/documents/Access and Reuse Checklist.pdf
• How to Cite Datasets and Link to Publications:
http://www.dcc.ac.uk/resources/how-guides/cite-datasets
6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 31
2.13 การเปลี่ยนสภาพ (TRANSFORM)
6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 32
Scope:
เพื่อสร้างไฟล์ดิจิทัลขึ้นมาใหม่จากไฟล์ต้นฉบับด้วย
วิธีการอพยพข้อมูล (migration) หรือการใช้วิธีทา
ให้เกิดข้อมูลใหม่จากข้อมูลต้นฉบับ ทั้งนี้ภายใต้วงจร
ชีวิตของการจัดการข้อมูลดิจิทัล กระบวนการเปลี่ยน
สภาพสามารถเกิดขึ้นได้ใน 2 กรณี คือ การอพยพที่
อาจเกิดขึ้นเป็นบางครั้งคราว (Occasional
Actions) เมื่อมีการวางแผนอพยพข้อมูล หรือเมื่อมี
การใช้ซ้าข้อมูลซึ่งอาจจาเป็นต้องมีการสร้างข้อมูลขึ้น
ใหม่จากไฟล์ต้นฉบับอีกครั้ง โดยข้อมูลที่สร้างขึ้นซ้า
ใหม่นี้จาเป็นต้องเข้าสู่กระบวนการจัดการข้อมูลแบบ
ครบวงจรอีกครั้ง
Key activities:
1. มีมาตรการรองรับการอพยพข้อมูล ไปสู่รูปแบบ
หรือสื่ออื่นๆ
2. มีมาตรการรองรับความผิดพลาด หรือความไม่
สมบูรณ์ของข้อมูลที่เกิดจากการอพยพข้อมูล
3. สถานการณ์และความท้าทาย
ในการดาเนินงานจดหมายเหตุในยุคดิจิทัล
6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 33
AMIT SOOD: BUILDING A MUSEUM OF MUSEUMS ON THE WEB
6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 34
Source: https://www.youtube.com/watch?v=zw9NXY3xOOI
3.1 มาตรฐานในการ
ดาเนินงาน
6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 35
Example
• National Archives of Australia:
http://www.naa.gov.au/collection/managing-collection/end-to-end-digital-business-solution-
design/index.aspx
• ฐานข้อมูลจดหมายเหตุมานุษยวิทยา:
http://www.sac.or.th/databases/anthroarchive/aboutus/handbook_det.php
1. กระบวนการทางาน
•Workflow
•Guideline
2. มาตรฐานข้อมูล
6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 36
Q1: ISAD(G) or
EAD ?
Q2: How to apply
DACS ?
(Elings & Waibel, 2007)
Q1: ISAD(G) OR EAD (SAA)
ISAD(G) - General International Standard
for Archival Description
“A standard published by the International
Council on Archives that establishes general
rules for the description of archival
materials, regardless of format, to promote
consistent and sufficient descriptions, and to
facilitate exchange and integration of those
descriptions.”
Notes: ISAD(G) was first published in 1994
and revised in 1999.
6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 37
EAD - Encoded Archival Description
“A standard used to mark up (encode) finding aids that
reflects the hierarchical nature of archival collections
and that provides a structure for describing the whole
of a collection, as well as its components.”
Notes: EAD is defined as a document type definition
(DTD) that is compatible with both Standard
Generalized Markup Language (SGML) and extensible
markup language (XML). See the related standards
Encoded Archival Description: Application Guidelines,
ver. 1.0 (Society of American Archivists, 1999); and
Encoded Archival Description: Tag Library, ver. 2002
(Society of American Archivists, 2003);
6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 38
Suggestions:
1. ตกลงร่วมกันที่จะใช้ ISAD(G)
แล้วค่อย crosswalk ไป EAD
หรือไม่ ?
2. ในกรณีฐานข้อมูลที่สร้างขึ้นใหม่จะ
เลือกใช้ EAD เป็น Standard
Data Structure ของตนเองเลย
หรือจะเลือกตามข้อ 1
3. ควร mapping กับชุด
Metadata อื่นๆ ด้วยหรือไม่ ? เช่น
Dublin Core Metadata
Crosswalk
• EAD to ISAD(G):
https://www.loc.gov/ead/tglib/appendix_a.h
tml#a2
• ISAD(G) Crosswalk:
https://wiki.accesstomemory.org/Development
/Projects/BCAUL_Pilot/Crosswalks/ISAD#Cros
swalk
• GETTY Standard Crosswalk:
http://www.getty.edu/research/conducting_re
search/standards/intrometadata/crosswalks.ht
ml
EXAMPLES OF ISAD(G)+EAD+DC
•ฐานข้อมูลจดหมายเหตุมานุษยวิทยา:
http://www.sac.or.th/databases/anthroarchive/collection/collec
tion_det.php?collection_name=CY&level_name=Collection
•Simon Fraser University Archives:
http://atom.archives.sfu.ca/index.php/f-174-1-4-0-1
•Albert Bay Public Library and Museum:
http://www.memorybc.ca/b-c-hydro-alert-bay-station-fonds
6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 39
Q2: HOW TO APPLY DESCRIBING ARCHIVES: A CONTENT
STANDARD (DACS) ?
“…is an output-neutral set of rules for
describing archives, personal papers, and
manuscript collections, and can be applied to
all material types. It is the U.S. implementation
of international standards for the description
of archival materials and their creators.”
Relationship to Other Standards
• MAchine-Readable Cataloging (MARC21)
• Encoded Archival Description (EAD)
• Encoded Archival Context (EAC)
• Resource Description and Access (RDA)
• International Standard Archival
Description—General (ISAD[G])
• the International Standard Archival
Authority Record for Corporate Bodies,
Persons, and Families (ISAAR[CPF])
• the International Standard for Describing
Functions (ISDF)
Source:
http://files.archivists.org/pubs/DACS2E-
2013_v0315.pdf
6/24/2016
สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี
40
Suggestion:
1. การจัดตั้ง
คณะทางานเพื่อ
ทาการศึกษา DACS
และจัดทาในรูปแบบ
คู่มือภาษาไทย โดยใช้
บริบทการทางาน
จดหมายเหตุไทยเป็น
ตัวอย่าง
3.2 ทักษะของผู้ปฏิบัติงาน
6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 41
Data Curator:
• พัฒนานโยบายในการปฏิบัติงานและ
ให้บริการ
• วิเคราะห์เนื้อหาดิจิทัลเพื่อกาหนดการ
ให้บริการที่เหมาะสม
• ให้คาแนะนาแก่ผู้สร้างข้อมูล ผู้ใช้ข้อมูล
และผู้ที่นาข้อมูลกลับมาใช้ใหม่
• จัดเก็บข้อมูลเข้าสู่คลังอย่างมี
ประสิทธิภาพ
• พัฒนาและกาหนดข้อตกลง/เงื่อนไขใน
การใช้ข้อมูล
• ตรวจสอบคุณภาพข้อมูล
• พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานข้อมูลให้
เหมาะสมสาหรับการเข้าถึง ให้คาอธิบาย
นาเสนอ จัดเก็บ และดูแลรักษา
• ทาให้ข้อมูลสามารถใช้หรือนากลับมาใช้
อีกครั้งได้
• ทาให้ข้อมูลสามารถค้นคืนได้
• วางแผนการสงวนรักษา เช่น มั่นใจว่า
แหล่งจัดเก็บมีความเหมาะสม มีการ
สารองข้อมูลสม่าเสมอ มีการสารวจตรวจ
ตราความล้าสมัย
• พัฒนาการทางานร่วมกัน หมายถึง
แนวทางที่จะทาให้ข้อมูลในระบบหรือ
component ต่างๆ ของแต่ละ
หน่วยงานสามารถทางานร่วมกันได้โดย
ระบบไม่จาเป็นต้องมาจากที่เดียวกันหรือ
หน่วยงานเดียวกัน แต่ต้องสามารถคุยกัน
ได้ติดต่อสื่อสารกันได้ แลกเปลี่ยนข้อมูล
กันได้
(Harvey, 2010, p.58)
Content Curator:
• มีความเชี่ยวชาญในประเด็นวิชาการ (สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์
การตลาด ฯลฯ)
• ทาหน้าที่ในการแสวงหา คัดเลือก รวบรวม และจัดการข้อมูลเพื่อ
เผยแพร่ไปยังกลุ่มเป้ าหมาย
• เข้าใจพฤติกรรมการใช้งาน และความต้องการของกลุ่มเป้ าหมาย
• มีความสามารถในการแปรรูป และนาเสนอข้อมูลสู่สาธารณะได้
อย่างเหมาะสม
(ธันวดี สุขประเสริฐ, 2558)
HYBRID
CURATOR
3.3 งานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัล
Collaboration:
1. ส่งเสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานโดยอาศัยเทคโนโลยี
2. เกิดการแบ่งปันกระบวนการการทางานที่ถูกต้อง และความรู้ในการจัดการจดหมายเหตุดิจิทัล ซึ่งจะช่วยลด
ความผิดพลาดในการทางานลง
3. การเชื่อมโยง Digital Collection ระหว่างหน่วยงานช่วยให้ผู้ใช้บริการเข้าถึงทรัพยากรดิจิทัลได้สะดวกขึ้น
และมีโอกาสนาไปใช้ในการศึกษาได้มากขึ้น
4. ส่งเสริมให้เกิดการระดมความคิดและแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทางานระหว่างผู้ปฏิบัติงานแต่ละสถาบัน ซึ่ง
จะช่วยให้โครงการมีโอกาสที่จะประสบความสาเร็จได้สูงขึ้น
5. หากเกิดความร่วมมือระหว่างหน่วยงานในการจัดทา Digital Collection จะช่วยลดต้นทุนในการแปลง
สภาพเอกสารได้
6. เปืดโอกาสให้หน่วยงานขนาดเล็กได้รับการถ่ายทอดความรู้ในการทางาน และอาศัยทรัพยากรต่างๆ ที่จาเป็นต่อ
การดาเนินงานจากหน่วยงานขนาดใหญ่ได้
7. การทางานร่วมกันระหว่างหน่วยงานเป็นเงื่อนไขที่จะทาให้ได้รับทุนสนับสนุนจากแหล่งทุน เพราะหนึ่งใน
outcome ของโครงการ คือ การแบ่งปัน Digital Collection ร่วมกัน
(Hughes, 2004, pp. 122-123)
6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 42
Problem:
ยังไม่มีกรอบใน
การดาเนินงานและ
แผนยุทธศาสตร์ที่
แน่ชัดในระดับ
ภาครัฐ และใน
ระดับหน่วยงาน
NAA:
https://www.nla.gov.au/corpo
rate-documents/policy-and-
planning
EXAMPLES
6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 43
UK National Archives:
Archives for the 21st Century
• พัฒนาและขยายขอบเขตการให้บริการผ่านทาง
เครือข่าย เพื่อส่งเสริมให้เกิดความยั่งยืนในการ
ดาเนินการ
• ส่งเสริมภาวะความเป็นผู้นา ความรับผิดชอบ
และทักษะของผู้ปฏิบัติงาน
• พร้อมรับความท้าทายที่เกิดจากการจัดการ
สารสนเทศดิจิทัล เพื่อให้สามารถเข้าถึงและ
ค้นพบได้ในอนาคต
• ส่งเสริมให้เกิดการเข้าถึง และค้นพบเนื้อหาของ
เอกสารจดหมายเหตุดิจิทัลให้ครอบคลุมมากขึ้น
• มีส่วนร่วมกับเครือข่ายด้านวัฒนธรรมและ
การศึกษามากขึ้น เพื่อส่งเสริมให้เกิดความมี
ตัวตน และการมีส่วนร่วมของชุมชน
National Archives of
Australia: Digital Continuity
2020
• ส่งเสริมให้เกิดการใช้งาน และการ
ให้บริการข้อมูลหน่วยงานภาครัฐ (ผ่าน
ทางเอกสารจดหมายเหตุดิจิทัล)
• เปิดทางให้สารสนเทศสามารถนา
กลับมาใช้ซ้า และเป็นประโยชน์ต่อ
สังคม
• รักษาสิทธิ์และผลประโยชน์ตาม
กฎหมายที่พลเมืองชาวออสเตรเลียพึง
ได้รับ
Thailand Digital Economy
(2559-2561): S3 สร้างสังคมคุณภาพ
ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล
• สร้างโอกาสและความเท่าเทียมทาง
ดิจิทัล
• พัฒนาการใช้เทคโนโลยีอย่าง
สร้างสรรค์และรับผิดชอบ
• สร้างสื่อ คลังสื่อ และแหล่ง
เรียนรู้ดิจิทัล
• เพิ่มโอกาสทางการศึกษาด้วย
เทคโนโลยีดิจิทัล
• เพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการสุขภาพด้วย
ดิจิทัล
http://www.nationalarchives.gov.uk/archives-
sector/archives-21-century.htm
http://www.naa.gov.au/records-
management/digital-transition-and-digital-
continuity/digital-continuity-2020/index.aspx
http://www.mict.go.th/assets/portals/1/files/
590613_4Digital_Economy_Plan-Book.pdf
ขอบคุณครับ
6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 44
 sittisak.r@sac.or.th
 Slideshare: sittisak017
BIBLIOGRAPHY
• DCC. DCC Curation Lifecycle Model. http://www.dcc.ac.uk/resources/curation-lifecycle-
model
• Elings, M. W and Günter Waibel, 2007. Metadata for All: Descriptive Standards and
Sharing across Libraies, Archives, and Museums.
http://firstmonday.org/article/view/1628/1543#author
• Hughes, L., 2004. Digitizing collections: Strategic issues for the information manager.
London: Facet Publishing.
• Harvey, R., 2010. Digital Curation: A How-To-Do-It-Manual. London: Neal-Schuman
Publishers, Inc.
• SAA, Glossary Search. http://www2.archivists.org/glossary#.V2PDezXigq4
6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 45

More Related Content

What's hot

การสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงานการสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงานTaraya Srivilas
 
โครงงานIs3
โครงงานIs3โครงงานIs3
โครงงานIs3Arisa Srising
 
อ.วนิดา บทที่-8-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-19-aug-57
อ.วนิดา บทที่-8-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-19-aug-57อ.วนิดา บทที่-8-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-19-aug-57
อ.วนิดา บทที่-8-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-19-aug-57นางสาวอัมพร แสงมณี
 
รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2559
รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2559รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2559
รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2559Panatchakorn Chaiyanon
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญาปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญาPadvee Academy
 
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซบทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซTeetut Tresirichod
 
5.2 พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวง
5.2 พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวง5.2 พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวง
5.2 พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงกองพัน ตะวันแดง
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementTeetut Tresirichod
 
ความแตกต่างของวัฒนธรรมและประเพณี4ภาค
ความแตกต่างของวัฒนธรรมและประเพณี4ภาคความแตกต่างของวัฒนธรรมและประเพณี4ภาค
ความแตกต่างของวัฒนธรรมและประเพณี4ภาคMintraMarisa
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย
แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย
แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย Klangpanya
 
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนาผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้montira
 
โครงงานคอม ใบงานที่6 ผลไม้อบแห้ง
โครงงานคอม ใบงานที่6 ผลไม้อบแห้งโครงงานคอม ใบงานที่6 ผลไม้อบแห้ง
โครงงานคอม ใบงานที่6 ผลไม้อบแห้งpreawi
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีKawinTheSinestron
 
หลักธรรมาภิบาล ใหม่
หลักธรรมาภิบาล ใหม่หลักธรรมาภิบาล ใหม่
หลักธรรมาภิบาล ใหม่Chalermpon Dondee
 

What's hot (20)

การสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงานการสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
 
โครงงานIs3
โครงงานIs3โครงงานIs3
โครงงานIs3
 
อ.วนิดา บทที่-8-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-19-aug-57
อ.วนิดา บทที่-8-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-19-aug-57อ.วนิดา บทที่-8-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-19-aug-57
อ.วนิดา บทที่-8-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-19-aug-57
 
รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2559
รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2559รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2559
รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2559
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญาปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
 
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซบทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ
 
5.2 พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวง
5.2 พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวง5.2 พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวง
5.2 พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวง
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
 
ความแตกต่างของวัฒนธรรมและประเพณี4ภาค
ความแตกต่างของวัฒนธรรมและประเพณี4ภาคความแตกต่างของวัฒนธรรมและประเพณี4ภาค
ความแตกต่างของวัฒนธรรมและประเพณี4ภาค
 
พลเมืองโลก1
พลเมืองโลก1พลเมืองโลก1
พลเมืองโลก1
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
 
แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย
แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย
แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย
 
5 สารบัญ
5 สารบัญ5 สารบัญ
5 สารบัญ
 
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนาผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้
 
โครงงานคอม ใบงานที่6 ผลไม้อบแห้ง
โครงงานคอม ใบงานที่6 ผลไม้อบแห้งโครงงานคอม ใบงานที่6 ผลไม้อบแห้ง
โครงงานคอม ใบงานที่6 ผลไม้อบแห้ง
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
 
หลักธรรมาภิบาล ใหม่
หลักธรรมาภิบาล ใหม่หลักธรรมาภิบาล ใหม่
หลักธรรมาภิบาล ใหม่
 

Viewers also liked

After meniscus-repair - POSTSURGICAL MENISCAL REPAIR REHABILITATION PROTOCOL
After meniscus-repair - POSTSURGICAL MENISCAL REPAIR REHABILITATION PROTOCOLAfter meniscus-repair - POSTSURGICAL MENISCAL REPAIR REHABILITATION PROTOCOL
After meniscus-repair - POSTSURGICAL MENISCAL REPAIR REHABILITATION PROTOCOLpriyaakumarr
 
innovative lesson plan
innovative lesson planinnovative lesson plan
innovative lesson planarcha1989
 
Media Project Proposal 9.16.05
Media Project Proposal 9.16.05Media Project Proposal 9.16.05
Media Project Proposal 9.16.05Carol Gray, MHA
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์MissOi1109
 
After acl-reconstruction - POSTSURGICAL ACL REHABILITATION PROTOCOL
After acl-reconstruction - POSTSURGICAL ACL REHABILITATION PROTOCOLAfter acl-reconstruction - POSTSURGICAL ACL REHABILITATION PROTOCOL
After acl-reconstruction - POSTSURGICAL ACL REHABILITATION PROTOCOLpriyaakumarr
 
Happy Thanksgiving Day
 Happy Thanksgiving Day Happy Thanksgiving Day
Happy Thanksgiving Daysecondatur
 
Jasmine Ng resume doc
Jasmine Ng resume docJasmine Ng resume doc
Jasmine Ng resume docJasmine Ng
 
STEAM Year 1
STEAM Year 1STEAM Year 1
STEAM Year 1Khenry356
 
Bonfire night
Bonfire nightBonfire night
Bonfire nightselecris
 
SWACSM presentation_10-17-12
SWACSM presentation_10-17-12SWACSM presentation_10-17-12
SWACSM presentation_10-17-12Zakkoyya Lewis
 
Akhdiyat duta modjo
Akhdiyat duta modjoAkhdiyat duta modjo
Akhdiyat duta modjoGama Muazzam
 

Viewers also liked (17)

After meniscus-repair - POSTSURGICAL MENISCAL REPAIR REHABILITATION PROTOCOL
After meniscus-repair - POSTSURGICAL MENISCAL REPAIR REHABILITATION PROTOCOLAfter meniscus-repair - POSTSURGICAL MENISCAL REPAIR REHABILITATION PROTOCOL
After meniscus-repair - POSTSURGICAL MENISCAL REPAIR REHABILITATION PROTOCOL
 
innovative lesson plan
innovative lesson planinnovative lesson plan
innovative lesson plan
 
Work1m32 21,16
Work1m32 21,16Work1m32 21,16
Work1m32 21,16
 
Evidence logs
Evidence logsEvidence logs
Evidence logs
 
Proposal Homeland
Proposal HomelandProposal Homeland
Proposal Homeland
 
Media Project Proposal 9.16.05
Media Project Proposal 9.16.05Media Project Proposal 9.16.05
Media Project Proposal 9.16.05
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Hola
HolaHola
Hola
 
Program partid
Program partidProgram partid
Program partid
 
After acl-reconstruction - POSTSURGICAL ACL REHABILITATION PROTOCOL
After acl-reconstruction - POSTSURGICAL ACL REHABILITATION PROTOCOLAfter acl-reconstruction - POSTSURGICAL ACL REHABILITATION PROTOCOL
After acl-reconstruction - POSTSURGICAL ACL REHABILITATION PROTOCOL
 
Happy Thanksgiving Day
 Happy Thanksgiving Day Happy Thanksgiving Day
Happy Thanksgiving Day
 
Jasmine Ng resume doc
Jasmine Ng resume docJasmine Ng resume doc
Jasmine Ng resume doc
 
STEAM Year 1
STEAM Year 1STEAM Year 1
STEAM Year 1
 
Bonfire night
Bonfire nightBonfire night
Bonfire night
 
Cvv222222
Cvv222222Cvv222222
Cvv222222
 
SWACSM presentation_10-17-12
SWACSM presentation_10-17-12SWACSM presentation_10-17-12
SWACSM presentation_10-17-12
 
Akhdiyat duta modjo
Akhdiyat duta modjoAkhdiyat duta modjo
Akhdiyat duta modjo
 

Similar to การดำเนินงานและความท้าทายของงานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัล

บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศTimmy Printhong
 
AI and Open Data, A Critical Combination by Jeerana Noymanee // Azure Multi-C...
AI and Open Data, A Critical Combination by Jeerana Noymanee // Azure Multi-C...AI and Open Data, A Critical Combination by Jeerana Noymanee // Azure Multi-C...
AI and Open Data, A Critical Combination by Jeerana Noymanee // Azure Multi-C...Kumton Suttiraksiri
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารthaweesaph baikwang
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องAriya Soparux
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2Hitsuji12
 
เทคโนให้รู้
เทคโนให้รู้เทคโนให้รู้
เทคโนให้รู้peter dontoom
 
Database
DatabaseDatabase
Databasepaween
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันChaiwit Khempanya
 
ระบบ เทคนิค และมาตรฐาน ในการพัฒนา(เว็บไซต์)ห้องสมุด ในฐานะบริการสาธารณะ (เอกสาร)
ระบบ เทคนิค และมาตรฐาน ในการพัฒนา(เว็บไซต์)ห้องสมุด ในฐานะบริการสาธารณะ (เอกสาร)ระบบ เทคนิค และมาตรฐาน ในการพัฒนา(เว็บไซต์)ห้องสมุด ในฐานะบริการสาธารณะ (เอกสาร)
ระบบ เทคนิค และมาตรฐาน ในการพัฒนา(เว็บไซต์)ห้องสมุด ในฐานะบริการสาธารณะ (เอกสาร)Arthit Suriyawongkul
 
Opendream web-lib-standards-doc-20100703
Opendream web-lib-standards-doc-20100703Opendream web-lib-standards-doc-20100703
Opendream web-lib-standards-doc-20100703opendream
 
Opendream web-lib-standards-doc-20100703
Opendream web-lib-standards-doc-20100703Opendream web-lib-standards-doc-20100703
Opendream web-lib-standards-doc-20100703opendream
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfTeetut Tresirichod
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChalita Vitamilkz
 

Similar to การดำเนินงานและความท้าทายของงานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัล (20)

Mis 1
Mis 1Mis 1
Mis 1
 
Personal Digital Archives Development
Personal Digital Archives DevelopmentPersonal Digital Archives Development
Personal Digital Archives Development
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
AI and Open Data, A Critical Combination by Jeerana Noymanee // Azure Multi-C...
AI and Open Data, A Critical Combination by Jeerana Noymanee // Azure Multi-C...AI and Open Data, A Critical Combination by Jeerana Noymanee // Azure Multi-C...
AI and Open Data, A Critical Combination by Jeerana Noymanee // Azure Multi-C...
 
Nectec Digital Archive Concept
Nectec Digital Archive ConceptNectec Digital Archive Concept
Nectec Digital Archive Concept
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
 
เทคโนให้รู้
เทคโนให้รู้เทคโนให้รู้
เทคโนให้รู้
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
20180814 next stepaa-aaannualmeeting2561-1
20180814 next stepaa-aaannualmeeting2561-120180814 next stepaa-aaannualmeeting2561-1
20180814 next stepaa-aaannualmeeting2561-1
 
ระบบ เทคนิค และมาตรฐาน ในการพัฒนา(เว็บไซต์)ห้องสมุด ในฐานะบริการสาธารณะ (เอกสาร)
ระบบ เทคนิค และมาตรฐาน ในการพัฒนา(เว็บไซต์)ห้องสมุด ในฐานะบริการสาธารณะ (เอกสาร)ระบบ เทคนิค และมาตรฐาน ในการพัฒนา(เว็บไซต์)ห้องสมุด ในฐานะบริการสาธารณะ (เอกสาร)
ระบบ เทคนิค และมาตรฐาน ในการพัฒนา(เว็บไซต์)ห้องสมุด ในฐานะบริการสาธารณะ (เอกสาร)
 
Opendream web-lib-standards-doc-20100703
Opendream web-lib-standards-doc-20100703Opendream web-lib-standards-doc-20100703
Opendream web-lib-standards-doc-20100703
 
Opendream web-lib-standards-doc-20100703
Opendream web-lib-standards-doc-20100703Opendream web-lib-standards-doc-20100703
Opendream web-lib-standards-doc-20100703
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
 
Mis 1
Mis 1Mis 1
Mis 1
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

More from Sittisak Rungcharoensuksri

คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101Sittisak Rungcharoensuksri
 
บทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรมบทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรมSittisak Rungcharoensuksri
 
บทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรมบทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรมSittisak Rungcharoensuksri
 
การจัดการและดูแลวงจรชีวิตข้อมูลชุมชน
การจัดการและดูแลวงจรชีวิตข้อมูลชุมชนการจัดการและดูแลวงจรชีวิตข้อมูลชุมชน
การจัดการและดูแลวงจรชีวิตข้อมูลชุมชนSittisak Rungcharoensuksri
 
คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101Sittisak Rungcharoensuksri
 
Archiving Web Contetn in Anthropology: Lesons Learned for a Step in the Right...
Archiving Web Contetn in Anthropology: Lesons Learned for a Step in the Right...Archiving Web Contetn in Anthropology: Lesons Learned for a Step in the Right...
Archiving Web Contetn in Anthropology: Lesons Learned for a Step in the Right...Sittisak Rungcharoensuksri
 
โครงการคลังข้อมูลมรดกวัฒนธรรมชุมชน
โครงการคลังข้อมูลมรดกวัฒนธรรมชุมชน โครงการคลังข้อมูลมรดกวัฒนธรรมชุมชน
โครงการคลังข้อมูลมรดกวัฒนธรรมชุมชน Sittisak Rungcharoensuksri
 
THE DEVELOPMENT OF THE SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOING
THE DEVELOPMENT OF THE SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOINGTHE DEVELOPMENT OF THE SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOING
THE DEVELOPMENT OF THE SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOINGSittisak Rungcharoensuksri
 
พัฒนาการในการจัดการคลังข้อมูลดิจิทัล ศมส.: LEARNING BY DOING
พัฒนาการในการจัดการคลังข้อมูลดิจิทัล ศมส.: LEARNING BY DOINGพัฒนาการในการจัดการคลังข้อมูลดิจิทัล ศมส.: LEARNING BY DOING
พัฒนาการในการจัดการคลังข้อมูลดิจิทัล ศมส.: LEARNING BY DOINGSittisak Rungcharoensuksri
 
การเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัล
การเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัลการเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัล
การเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัลSittisak Rungcharoensuksri
 
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาคโครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาคSittisak Rungcharoensuksri
 
ประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ และคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุ
ประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ และคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ และคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุ
ประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ และคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุSittisak Rungcharoensuksri
 
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมคลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมSittisak Rungcharoensuksri
 

More from Sittisak Rungcharoensuksri (18)

คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101
 
บทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรมบทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
 
บทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรมบทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
 
Information Savvy; For Gen Z
Information Savvy; For Gen ZInformation Savvy; For Gen Z
Information Savvy; For Gen Z
 
การจัดการและดูแลวงจรชีวิตข้อมูลชุมชน
การจัดการและดูแลวงจรชีวิตข้อมูลชุมชนการจัดการและดูแลวงจรชีวิตข้อมูลชุมชน
การจัดการและดูแลวงจรชีวิตข้อมูลชุมชน
 
SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOING
SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOINGSAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOING
SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOING
 
คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101
 
Archiving Web Contetn in Anthropology: Lesons Learned for a Step in the Right...
Archiving Web Contetn in Anthropology: Lesons Learned for a Step in the Right...Archiving Web Contetn in Anthropology: Lesons Learned for a Step in the Right...
Archiving Web Contetn in Anthropology: Lesons Learned for a Step in the Right...
 
20181101 sac digitalrepositiry-oer
20181101 sac digitalrepositiry-oer20181101 sac digitalrepositiry-oer
20181101 sac digitalrepositiry-oer
 
โครงการคลังข้อมูลมรดกวัฒนธรรมชุมชน
โครงการคลังข้อมูลมรดกวัฒนธรรมชุมชน โครงการคลังข้อมูลมรดกวัฒนธรรมชุมชน
โครงการคลังข้อมูลมรดกวัฒนธรรมชุมชน
 
THE DEVELOPMENT OF THE SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOING
THE DEVELOPMENT OF THE SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOINGTHE DEVELOPMENT OF THE SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOING
THE DEVELOPMENT OF THE SAC DIGITAL REPOSITORY: LEARNING BY DOING
 
พัฒนาการในการจัดการคลังข้อมูลดิจิทัล ศมส.: LEARNING BY DOING
พัฒนาการในการจัดการคลังข้อมูลดิจิทัล ศมส.: LEARNING BY DOINGพัฒนาการในการจัดการคลังข้อมูลดิจิทัล ศมส.: LEARNING BY DOING
พัฒนาการในการจัดการคลังข้อมูลดิจิทัล ศมส.: LEARNING BY DOING
 
การเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัล
การเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัลการเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัล
การเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัล
 
20161203 icadlpresentation-sittisak
20161203 icadlpresentation-sittisak20161203 icadlpresentation-sittisak
20161203 icadlpresentation-sittisak
 
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาคโครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
 
ประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ และคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุ
ประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ และคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ และคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุ
ประเภทของเอกสารจดหมายเหตุ และคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุ
 
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมคลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
 
How to establish the SAC web standard?
How to establish the SAC web standard?How to establish the SAC web standard?
How to establish the SAC web standard?
 

การดำเนินงานและความท้าทายของงานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัล

  • 1. การดาเนินงานและความท้าทายของ งานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัล การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาการจดหมายเหตุไทย ครั้งที่ 3: IT กับงานจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ สภากาชาดไทย, 24 มิถุนายน 2559 สิทธิศักดิ์ รุ่งเจริญสุขศรี ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
  • 4. 1.1 TRADITIONAL ARCHIVES VS DIGITAL ARCHIVES 6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 4 (modified from Spiteri, 2014) The specific characters of digital record • Cannot divided as tangible (i.e. physical records) or intangible (i.e. digital records) • Record lifecycle is not cover circuit of digital record.
  • 5. 1.2 RECORD CONTINUUM MODEL 6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 5 (Upward, 1996) RLC VS RCM • D1: Create – การสร้าง เอกสาร • D2: Capture – การใช้ งานและจัดการเอกสารที่อยู่ ในกระแส • D3: Organise – จัดเก็บเข้าหอจดหมายเหตุ • D4: Pluralise – ประยุกต์เทคโนโลยีมาใช้ กับการจัดการ จัดเก็บ และ ค้นคืน
  • 6. 1.3 ประโยชน์ของงานเอกสารจดหมายเหตุดิจิทัล (1) • เข้าถึงวัสดุหลากหลายที่ได้รับการแปลงสภาพแล้ว • เกิดการใช้ทรัพยากรทางไกลจากผู้ใช้ที่ไม่สะดวกมาแหล่งจัดเก็บ • เกิดผู้ใช้หน้าใหม่ที่มิได้จากัดอยู่แค่นักวิจัยในสาขาที่เกี่ยวข้อง เช่น Lifelong learning การบูรณาการผลการศึกษาข้ามสาขาวิชา 1. ส่งเสริมและขยายช่องทางในการเข้าถึงทรัพยากรได้ในวงกว้าง (Internet) • ป้ องกันวัสดุต้นฉบับไม่ให้เสื่อมสภาพจากการใช้งาน หรือจัดแสดง • เปิดโอกาสให้ผู้ใช้บริการสามารถใช้งานเอกสารที่เปราะบางได้ 2. เอกสารต้นฉบับได้รับการสงวนรักษา • Collection ได้รับการพัฒนาผ่านความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่สะสมเรื่องเดียวกัน หรือใน ประเด็นเดียวกัน 3. ชุดเอกสารจดหมายเหตุของหน่วยงานได้รับการพัฒนา 6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 6 (Hughes, 2004, pp. 8-17.)
  • 7. 1.3 ประโยชน์ของงานเอกสารจดหมายเหตุดิจิทัล (2) • ช่วยประชาสัมพันธ์การทางาน และการขอรับทุนสนับสนุน • ได้สารวจและจัดการ Collection • พัฒนาทักษะทางด้านการจัดการ (บุคลากร) และเทคโนโลยีขององค์กร • การสร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน เพื่อพัฒนาบุคลากรและ Collection 4. ส่งผลในเชิงยุทธศาสตร์ต่อหน่วยงาน • ใช้ออกแบบสื่อการเรียนรู้ประเภทต่างๆ สาหรับเยาวชน และประชาชนทั่วไปที่สนใจ • การทบทวนวรรณกรรม และการใข้ข้อมูลอ้างอิงในรูปแบบใหม่ 5. ส่งเสริมให้เกิดการใช้เพื่อการศึกษาและวิจัย 6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 7 (Hughes, 2004, pp. 8-17.)
  • 8. 2. การจัดการข้อมูลดิจิทัลแบบครบ วงจร (DIGITAL CURATION) 6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 8
  • 9. 2.1 อะไรคือ DIGITAL CURATION ? 6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 9 Source: https://www.youtube.com/watch?v=6cuOdgvYRGM
  • 10. 2.2 DEFINITIONS Lee & Tibbo, 2007 • “Digital curation involves the management of digital objects over their entire lifecycle, ranging from pre-creation activities wherein systems are designed, and file formats and other data creation standards are established, through ongoing capture of evolving contextual information for digital assets housed in archival repositories” Harvey, 2010 • “Digital curation is a more inclusive concept than either digital archiving or digital preservation. It addresses the whole range of process applied it digital objects over their life cycle. Digital curation begins before digital objects are created by setting standards for planning data collection that results in “curation ready” digital objects that are in the best possible condition to ensure that they can be maintained and used in the future” DCC, n.d. • “Digital curation involves maintaining, preserving and adding value to digital research data throughout its lifecycle” 6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 10
  • 11. 2.3 AIMS AND SCOPE Longevity ไม่เกิดความเปลี่ยนแปลงเมื่อมี การอพยพข้อมูล สามารถตรวจสอบความถูกต้อง ของการอพยพข้อมูลได้ Metadata สามารถอพยพ ตามไปได้ ระบุรายละเอียดความ เปลี่ยนแปลงของ Hardware, Software, file formats, standard ที่จะมีผลต่อกระบวนการสงวน รักษาวัสดุดิจิทัลได้ Integrity ตรวจสอบความถูกต้องในการ อพยพ Metadata ที่ให้รายละเอียด ข้อมูลสามารถอพยพตามไปด้วย ยังรักษาสาเนาของ bit stream เอาไว้ได้ ยังรักษาสิทธิ์ในทรัพย์สินทาง ปัญญา และสิทธิ์อื่นๆ ไว้ได้ Accessibility ยังรักษาความสามารถในการระบุสถานที่ จัดเก็บวัสดุดิจิทัลได้ รักษา Representation information (structure and semantic information) ของวัสดุ ดิจิทัลเอาไว้ได้ เพื่อที่ข้อมูลเหล่านี้จะ สามารถเข้าใจได้ในอนาคต สร้างวัสดุดิจิทัลบนพื้นฐานของ open standards หรือ standard formats จากัดรูปแบบของการสงวนรักษาที่จาเป็น ต้อการจัดการให้ธารงไว้ซึ่งการเข้าถึง สามารถให้รายละเอียดความ เปลี่ยนแปลงของ Hardware, Software, file formats, standard ที่จะมีผลต่อกระบวนการ สงวนรักษาวัสดุดิจิทัลได้ 6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 11
  • 12. 2.4 BENEFITS 6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 12 •ช่วยพัฒนาคุณภาพในการเข้าถึงข้อมูล ซึ่งจะนาไปสู่การสร้างความต่อเนื่อง ความเร็วในการเข้าถึง และทาให้แน่ใจได้ว่าข้อมูลจะยังเข้าถึงได้ในระยะยาว 1. Improving access •ช่วยพัฒนาคุณภาพของข้อมูลให้มีความน่าเชื่อถือมากขึ้น และสามารถนาไปใช้งานทางกฎหมายได้ 2. Improving data quality •ช่วยส่งเสริมให้เกิดการแบ่งปันและใช้ซ้าข้อมูลได้ เนื่องจากการใช้มาตรฐานข้อมูลเดียวกัน รวมถึง ระบุข้อมูลเกี่ยวกับบริบทและแหล่งที่มาของข้อมูลอย่างเหมาะสม ได้ช่วยส่งเสริมให้เกิดการแบ่งปัน และใช้ซ้าข้อมูลตลอดช่วงชีวิต 3. Encourage data sharing and reuse •ช่วยอนุรักษ์และป้ องกันข้อมูลจากความล้าสมัยทางเทคโนโลยี และการสูญหายข้องข้อมูล 4. Protecting data (Harvey, 2010, p. 12)
  • 13. 2.5 DCC LIFECYCLE MODEL 6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 13 Datais “any information in binary digital form”. This includes: • Simple digital objects • Complex digital objects • Database (DCC, 2008)
  • 14. 2.6 ACTIONS IN DCC LIFECYCLE MODEL Action 1: Full Lifecycle Actions • Description and Representation Information • Preservation Planning • Community Watch and Participation • Curation and Preservation Action 2: Sequential Actions • Conceptualise • Create or Receive • Appraise and Select • Ingest • Preservation action • Store • Access and reuse • Transform Action 3: Occasional Actions • Dispose • Reappraisal 6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 14
  • 15. 2.7 การวางกรอบกรอบคิด (CONCEPTUALISE) Scope: เพื่อวางกรอบคิดการทางานเบื้องต้นก่อนเริ่มลงมือ ปฏิบัติงาน โดยมีเนื้อหาครอบคลุมกิจกรรมต่างๆ ที่ เกี่ยวข้องกับการออกแบบโครงการ ภายใต้แนวคิด การจัดการข้อมูลแบบครบวงจร และการออกแบบ ระบบการจัดการข้อมูลต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นให้สอดคล้อง กับข้อมูลที่ต้องการจะสร้างและจัดเก็บ โดยอาศัย ผลลัพธ์ของโครงการที่ต้องการให้ปรากฏต่อ สาธารณชนและขั้นตอนการทางาน เป็นเงื่อนไข สาคัญในการออกแบบและกาหนดมาตรฐาน ต่างๆ ที่จาเป็นต่อการดาเนินงาน Key activities: 1.ออกแบบโครงการภายใต้แนวคิดการจัดการ ข้อมูลแบบครบวงจร 2.ออกแบบระบบการจัดการให้สอดคล้องกับข้อมูล ที่จัดเก็บ 3.ตระหนักถึงความสาคัญของมาตรฐาน 6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 15(Higgins and et.al; Harvey, 2010)
  • 16. SOURCES FOR CONCEPTUALISE • Checklist for conceptualization: http://www.dcc.ac.uk/sites/default/files/documents/Conceptualisation Checklist.pdf • Data plan guidance and examples: http://www.dcc.ac.uk/resources/data-management-plans/guidance-examples • DMPonline: https://dmponline.dcc.ac.uk/ • DMPTool https://dmp.cdlib.org/ • MANTRA Research Data Management Training: http://datalib.edina.ac.uk/mantra/ 6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 16
  • 17. 2.8 การสร้างหรือรับมอบ (CREATE OR RECEIVE) 6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 17 Scope: เพื่อกาหนดมาตรฐานในการสร้าง และรับมอบข้อมูล ดิจิทัล โดยมีเนื้อหาครอบคลุมกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง กับการจัดทานโยบายเพื่อการสร้างและรับมอบ ข้อมูล แนวทางการสร้างและรับมอบข้อมูล รวมถึง การกาหนดโครงสร้างข้อมูลต่างๆ ที่จาเป็นให้ สอดคล้องไปกับขั้นตอนการจัดการวงจรชีวิตข้อมูล ดิจิทัล Key activities: 1. การกาหนดนโยบายการสร้างและรับมอบข้อมูล 2. การสร้างข้อมูลเพื่อการจัดการ 3. การรับมอบข้อมูลเพื่อการจัดการ 4. กาหนดโครงสร้างข้อมูลเพื่อการใช้และใช้ซ้า 5. กาหนดโครงสร้างข้อมูลเพื่อการจัดการ 6. กาหนดโครงสร้างข้อมูลเพื่อการค้นหา
  • 18. ข้อมูลที่มีคุณภาพมีคุณสมบัติอะไรบ้าง ? 6/18/2016ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร(องค์การมหาชน) 18 ความน่าเชื่อถือ (Trust) มีความถูกต้อง/มี ลักษณะที่น่าเชื่อถือ (Authenticity) สามารถเข้าใจใน บริบท (Understand- ability) สามารถใช้งานได้ (Usability) มีบูรณภาพ (Integrity) (Giarlo, 2013)
  • 21. SOURCES FOR CREATE OR RECEIVE • Checklist for create or receive: http://www.dcc.ac.uk/sites/default/files/documents/Create Checklist.pdf • Using Metadata Standards: http://www.dcc.ac.uk/resources/briefing-papers/standards-watch- papers/using-metadata-standards • What are Metadata Standards: http://www.dcc.ac.uk/resources/briefing-papers/standards-watch- papers/what-are-metadata-standards 6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 21
  • 22. 2.9 การประเมินและคัดเลือก (APPRAISE AND SELECT) 6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 22 Scope: เพื่อสร้างหลักเกณฑ์ในการตัดสินใจว่าข้อมูล หรือวัสดุ ดิจิทัลใดควรได้รับการจัดเก็บในระยะยาว หรืออาจไม่มี ความจาเป็นต้องจัดเก็บ โดยใช้กระบวนการประเมินและ คัดเลือกเป็นเกณฑ์ในการตัดสินใจ ซึ่งประกอบไปด้วย กิจกรรมที่สาคัญ คือ การกาหนดขอบเขตของข้อมูลที่จะ จัดเก็บ และการพัฒนานโยบายการประเมินและคัดเลือกที่ จะใช้เป็นเกณฑ์ ทั้งนี้ ขอให้ผู้ปฏิบัติงานพึงตระหนักว่า ไม่มีความจาเป็นที่จะต้องจัดเก็บข้อมูลทั้งหมดที่ เกิดขึ้นจากโครงการ เพราะอาจมีข้อจากัดในเรื่องของ งบประมาณ หรือความไม่จาเป็นต่อการใช้งานในอนาคต นอกจากนี้ในกิจกรรมในการประเมินและคัดเลือกข้อมูล ยัง มีความเกี่ยวเนื่องกับการประเมินซ้า (Reappraisal) และการจาหน่ายออก (Dispose) Key activities: 1.การกาหนดขอบเขตของข้อมูลที่จะจัดเก็บ 2.พัฒนาและประยุกต์ใช้นโยบายการประเมินและ คัดเลือก 3.พัฒนาและประยุกต์ใช้หลักเกณฑ์การประเมินซ้าและ การจาหน่ายออก
  • 23. SOURCES FOR APPRAISE AND SELECT • Checklist for appraise and select: http://www.dcc.ac.uk/sites/default/files/documents/Select and Appraise Checklist.pdf • Data Asset Framework: Implementation Guide: http://www.dcc.ac.uk/sites/default/files/documents/DAF_Implementation_Guide[1].pdf • Five steps to decide what data to keep: http://www.dcc.ac.uk/resources/how-guides/five-steps-decide-what-data-keep • แบบสารวจกระบวนการจัดการข้อมูลดิจิทัลของผู้ปฏิบัติงาน ศมส. https://www.surveymonkey.net/r/Preview/?sm=ro_2FKFZeib1quHWcpAtb_2B_2B7klsc x73T3MePGTqLpCZL_2FncDEtTdXZcVnfo8XFjx_2F5 6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 23
  • 24. 2.10 การนาเข้า (INGEST) 6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 24 Scope: เพื่อกาหนดขั้นตอนการเตรียมความพร้อมของข้อมูล หรือวัสดุดิจิทัลให้เหมาะสมก่อนนาเข้าระบบ โดยมี เนื้อหาครอบคลุมกิจกรรมที่สาคัญ 2 ประการ คือ การ แจ้งให้ผู้ที่เกี่ยวข้องรับทราบถึงหน้าที่ที่จะต้อง รับผิดชอบ และการกาหนดขั้นตอนในการให้ รายละเอียดข้อมูลที่เหมาะสมก่อนนาเข้าระบบ ทั้งนี้ขอให้ผู้ปฏิบัติงานพึงตระหนักว่า การนาเข้าข้อมูล ถือเป็นกระบวนการการเริ่มต้นในการจัดการข้อมูล ดิจิทัลแบบครบวงจร เพราะข้อมูลที่ถูกนาเข้าระบบถือ ว่าเป็นข้อมูลที่ได้รับการประเมินและคัดเลือกแล้วว่าจะ ทาการจัดเก็บในระยะยาว ดังนั้นแล้ว จึงควรดาเนินการ ในขั้นตอนนี้อย่างรอบคอบ Key activities: 1. การระบุกิจกรรมให้ผู้รับผิดชอบรับทราบ 2. การให้รายละเอียดข้อมูลอย่างเหมาะสม
  • 25. SOURCES FOR INGEST • Checklist for ingest and store: http://www.dcc.ac.uk/sites/default/files/documents/Ingest and Store Checklist.pdf • erpaGuidance – Ingest Strategies : http://www.dcc.ac.uk/sites/default/files/documents/ERPANETIngestTool[1].pdf 6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 25
  • 26. 2.11 การสงวนและรักษา (PRESERVATION ACTION) 6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 26 Scope: การสงวนและรักษาถือเป็นแกนกลางของวงจรการจัดการ ข้อมูลดิจิทัล เพราะกิจกรรมต่างๆ ในขั้นตอนก่อนหน้านี้ ไม่ว่าจะเป็นการสร้างและรับมอบ การประเมินและ คัดเลือก และการนาเข้า ล้วนมีวัตถุประสงค์เพื่อเตรียม ข้อมูลให้มีความพร้อมสาหรับการสงวนและรักษา ก่อนที่ จะนาไปสู่การเก็บจัดเก็บและการเปลี่ยนแปลงในลาดับ ถัดไป ด้วยเหตุนี้กิจกรรมสาคัญต่างๆ ในขั้นตอนนี้จึงเป็น เสมือนการทบทวนและตรวจสอบให้แน่ใจอีกครั้ง ก่อนที่จะนา ข้อมูลเข้าสู่ขั้นตอนการสงวนและรักษา เพื่อทาให้แน่ใจว่าข้อมูล จะได้รับการสงวนรักษาในระยะยาวยังคงมีความน่าเชื่อถือ (Authenticity) มีความบูรณภาพ (Integrity) มีช่วง อายุในการใช้งานที่ยาวนาน (Longevity) และมี ความสามารถในการเข้าถึงได้ (Accessibility) อย่างยั่งยืน ไฟล์ข้อมูลมีความสมบูรณ์ Key activities: 1. การกาหนดยุทธศาสตร์ในการสงวนและรักษา 2. การคัดเลือกรูปแบบของเทคโนโลยีในการสงวนและรักษา 3. การตรวจสอบซ้า
  • 27. SOURCES FOR PRESERVATION ACTION • Checklist for preservation action: http://www.dcc.ac.uk/sites/default/files/documents/Preservation Action Checklist.pdf 6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 27 Preservation methods Migration – transform formats as technologies change Emulation – keep original data and application software and create programs to emulate their behaviour on contemporary architectures Formal descriptions – encode behaviours of original application, at creation, in a format understood by a Universal Virtual Computer (a platform independent layer between hardware and software) to allow reconstitution in original form. Digital archaeology – future recovery as needed or exploratory basis Computer museums – archive whole systems: hardware and software
  • 28. 2.12 การจัดเก็บ (STORE) 6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 28 Scope: เพื่อจัดเก็บและรักษาข้อมูลดิจิทัลให้ปลอดภัย ภายใต้ มาตรการที่เหมาะสมและเป็นมาตรฐาน Key activities: 1.การพัฒนาและประยุกต์ใช้นโยบายการจัดเก็บข้อมูลกับ กระบวนการทางานของโครงการอย่างต่อเนื่อง 2.ข้อมูลได้รับการจัดเก็บพร้อมกับรายละเอียดของข้อมูล ทีมีคุณภาพ 3.การคัดเลือกสื่อที่มีคุณภาพเพื่อใช้ในการจัดเก็บ 4.มีมาตรการที่คอยตรวจสอบข้อมูล และสื่อที่ใช้ในการ จัดเก็บว่ายังสามารถเข้าถึงได้หรือไม่ 5. มีมาตรการคอยตรวจสอบรายละเอียดของข้อมูลที่ จัดเก็บว่ายังสามารถเข้าถึงได้หรือไม่ 6.ในกรณีฉุกเฉิน มีมาตรการที่สามารถอพยพข้อมูลไปยัง แหล่งจัดเก็บภายนอกหน่วยงานได้ 7.ในกรณีฉุกเฉิน มีมาตรการและขั้นตอนในการกู้คืน ข้อมูล
  • 29. SOURCES FOR STORE • Checklist for ingest and store: http://www.dcc.ac.uk/sites/default/files/documents/Ingest and Store Checklist.pdf • An introduction to Repository Assessesment and DRAMBORA: http://www.data-audit.eu/docs/DRAMBORA_launch_introduction.pdf • DRAMBORA (Digital Repository Audit Method Based on Risk Assessment): http://www.repositoryaudit.eu/ • DRAMBORA Interactive: User Guide: https://www.era.lib.ed.ac.uk/bitstream/handle/1842/3328/Donnelly%20DRAMBORA _Interactive_Manual.pdf?sequence=1&isAllowed=y 6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 29
  • 30. 2.13 การเข้าถึง การใช้ และการนากลับมาใช้ใหม่ (ACCESS, USE, AND REUSE) 6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 30 Scope: เพื่อให้แน่ใจว่าข้อมูลผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ และสามารถใช้งานได้อีกในอนาคต Key activities: 1. เมทาดาทาที่เหมาะสมกับข้อมูลถูกนาเสนอใน รูปแบบที่เป็นมาตรฐาน 2. ระบุรายละเอียดและขอบเขตในการเข้าถึง การใช้ และการนากลับมาใช้ใหม่ให้ผู้ใช้บริการได้ทราบ อย่างชัดเจน 3. จัดเตรียมเครื่องมือที่รองรับการแลกเปลี่ยน และ เชื่อมโยงข้อมูลกับคลังข้อมูลอื่นๆ 4. มีมาตรการคอยตรวจสอบและควบคุมการเข้าถึง การใช้ และการนาข้อมูลกลับมาใช้ใหม่
  • 31. SOURCES FOR ACCESS, USE, AND REUSE • Checklist for access and reuse: http://www.dcc.ac.uk/sites/default/files/documents/Access and Reuse Checklist.pdf • How to Cite Datasets and Link to Publications: http://www.dcc.ac.uk/resources/how-guides/cite-datasets 6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 31
  • 32. 2.13 การเปลี่ยนสภาพ (TRANSFORM) 6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 32 Scope: เพื่อสร้างไฟล์ดิจิทัลขึ้นมาใหม่จากไฟล์ต้นฉบับด้วย วิธีการอพยพข้อมูล (migration) หรือการใช้วิธีทา ให้เกิดข้อมูลใหม่จากข้อมูลต้นฉบับ ทั้งนี้ภายใต้วงจร ชีวิตของการจัดการข้อมูลดิจิทัล กระบวนการเปลี่ยน สภาพสามารถเกิดขึ้นได้ใน 2 กรณี คือ การอพยพที่ อาจเกิดขึ้นเป็นบางครั้งคราว (Occasional Actions) เมื่อมีการวางแผนอพยพข้อมูล หรือเมื่อมี การใช้ซ้าข้อมูลซึ่งอาจจาเป็นต้องมีการสร้างข้อมูลขึ้น ใหม่จากไฟล์ต้นฉบับอีกครั้ง โดยข้อมูลที่สร้างขึ้นซ้า ใหม่นี้จาเป็นต้องเข้าสู่กระบวนการจัดการข้อมูลแบบ ครบวงจรอีกครั้ง Key activities: 1. มีมาตรการรองรับการอพยพข้อมูล ไปสู่รูปแบบ หรือสื่ออื่นๆ 2. มีมาตรการรองรับความผิดพลาด หรือความไม่ สมบูรณ์ของข้อมูลที่เกิดจากการอพยพข้อมูล
  • 34. AMIT SOOD: BUILDING A MUSEUM OF MUSEUMS ON THE WEB 6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 34 Source: https://www.youtube.com/watch?v=zw9NXY3xOOI
  • 35. 3.1 มาตรฐานในการ ดาเนินงาน 6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 35 Example • National Archives of Australia: http://www.naa.gov.au/collection/managing-collection/end-to-end-digital-business-solution- design/index.aspx • ฐานข้อมูลจดหมายเหตุมานุษยวิทยา: http://www.sac.or.th/databases/anthroarchive/aboutus/handbook_det.php 1. กระบวนการทางาน •Workflow •Guideline
  • 37. Q1: ISAD(G) OR EAD (SAA) ISAD(G) - General International Standard for Archival Description “A standard published by the International Council on Archives that establishes general rules for the description of archival materials, regardless of format, to promote consistent and sufficient descriptions, and to facilitate exchange and integration of those descriptions.” Notes: ISAD(G) was first published in 1994 and revised in 1999. 6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 37 EAD - Encoded Archival Description “A standard used to mark up (encode) finding aids that reflects the hierarchical nature of archival collections and that provides a structure for describing the whole of a collection, as well as its components.” Notes: EAD is defined as a document type definition (DTD) that is compatible with both Standard Generalized Markup Language (SGML) and extensible markup language (XML). See the related standards Encoded Archival Description: Application Guidelines, ver. 1.0 (Society of American Archivists, 1999); and Encoded Archival Description: Tag Library, ver. 2002 (Society of American Archivists, 2003);
  • 38. 6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 38 Suggestions: 1. ตกลงร่วมกันที่จะใช้ ISAD(G) แล้วค่อย crosswalk ไป EAD หรือไม่ ? 2. ในกรณีฐานข้อมูลที่สร้างขึ้นใหม่จะ เลือกใช้ EAD เป็น Standard Data Structure ของตนเองเลย หรือจะเลือกตามข้อ 1 3. ควร mapping กับชุด Metadata อื่นๆ ด้วยหรือไม่ ? เช่น Dublin Core Metadata Crosswalk • EAD to ISAD(G): https://www.loc.gov/ead/tglib/appendix_a.h tml#a2 • ISAD(G) Crosswalk: https://wiki.accesstomemory.org/Development /Projects/BCAUL_Pilot/Crosswalks/ISAD#Cros swalk • GETTY Standard Crosswalk: http://www.getty.edu/research/conducting_re search/standards/intrometadata/crosswalks.ht ml
  • 39. EXAMPLES OF ISAD(G)+EAD+DC •ฐานข้อมูลจดหมายเหตุมานุษยวิทยา: http://www.sac.or.th/databases/anthroarchive/collection/collec tion_det.php?collection_name=CY&level_name=Collection •Simon Fraser University Archives: http://atom.archives.sfu.ca/index.php/f-174-1-4-0-1 •Albert Bay Public Library and Museum: http://www.memorybc.ca/b-c-hydro-alert-bay-station-fonds 6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 39
  • 40. Q2: HOW TO APPLY DESCRIBING ARCHIVES: A CONTENT STANDARD (DACS) ? “…is an output-neutral set of rules for describing archives, personal papers, and manuscript collections, and can be applied to all material types. It is the U.S. implementation of international standards for the description of archival materials and their creators.” Relationship to Other Standards • MAchine-Readable Cataloging (MARC21) • Encoded Archival Description (EAD) • Encoded Archival Context (EAC) • Resource Description and Access (RDA) • International Standard Archival Description—General (ISAD[G]) • the International Standard Archival Authority Record for Corporate Bodies, Persons, and Families (ISAAR[CPF]) • the International Standard for Describing Functions (ISDF) Source: http://files.archivists.org/pubs/DACS2E- 2013_v0315.pdf 6/24/2016 สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 40 Suggestion: 1. การจัดตั้ง คณะทางานเพื่อ ทาการศึกษา DACS และจัดทาในรูปแบบ คู่มือภาษาไทย โดยใช้ บริบทการทางาน จดหมายเหตุไทยเป็น ตัวอย่าง
  • 41. 3.2 ทักษะของผู้ปฏิบัติงาน 6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 41 Data Curator: • พัฒนานโยบายในการปฏิบัติงานและ ให้บริการ • วิเคราะห์เนื้อหาดิจิทัลเพื่อกาหนดการ ให้บริการที่เหมาะสม • ให้คาแนะนาแก่ผู้สร้างข้อมูล ผู้ใช้ข้อมูล และผู้ที่นาข้อมูลกลับมาใช้ใหม่ • จัดเก็บข้อมูลเข้าสู่คลังอย่างมี ประสิทธิภาพ • พัฒนาและกาหนดข้อตกลง/เงื่อนไขใน การใช้ข้อมูล • ตรวจสอบคุณภาพข้อมูล • พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานข้อมูลให้ เหมาะสมสาหรับการเข้าถึง ให้คาอธิบาย นาเสนอ จัดเก็บ และดูแลรักษา • ทาให้ข้อมูลสามารถใช้หรือนากลับมาใช้ อีกครั้งได้ • ทาให้ข้อมูลสามารถค้นคืนได้ • วางแผนการสงวนรักษา เช่น มั่นใจว่า แหล่งจัดเก็บมีความเหมาะสม มีการ สารองข้อมูลสม่าเสมอ มีการสารวจตรวจ ตราความล้าสมัย • พัฒนาการทางานร่วมกัน หมายถึง แนวทางที่จะทาให้ข้อมูลในระบบหรือ component ต่างๆ ของแต่ละ หน่วยงานสามารถทางานร่วมกันได้โดย ระบบไม่จาเป็นต้องมาจากที่เดียวกันหรือ หน่วยงานเดียวกัน แต่ต้องสามารถคุยกัน ได้ติดต่อสื่อสารกันได้ แลกเปลี่ยนข้อมูล กันได้ (Harvey, 2010, p.58) Content Curator: • มีความเชี่ยวชาญในประเด็นวิชาการ (สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ การตลาด ฯลฯ) • ทาหน้าที่ในการแสวงหา คัดเลือก รวบรวม และจัดการข้อมูลเพื่อ เผยแพร่ไปยังกลุ่มเป้ าหมาย • เข้าใจพฤติกรรมการใช้งาน และความต้องการของกลุ่มเป้ าหมาย • มีความสามารถในการแปรรูป และนาเสนอข้อมูลสู่สาธารณะได้ อย่างเหมาะสม (ธันวดี สุขประเสริฐ, 2558) HYBRID CURATOR
  • 42. 3.3 งานจดหมายเหตุไทยในยุคดิจิทัล Collaboration: 1. ส่งเสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานโดยอาศัยเทคโนโลยี 2. เกิดการแบ่งปันกระบวนการการทางานที่ถูกต้อง และความรู้ในการจัดการจดหมายเหตุดิจิทัล ซึ่งจะช่วยลด ความผิดพลาดในการทางานลง 3. การเชื่อมโยง Digital Collection ระหว่างหน่วยงานช่วยให้ผู้ใช้บริการเข้าถึงทรัพยากรดิจิทัลได้สะดวกขึ้น และมีโอกาสนาไปใช้ในการศึกษาได้มากขึ้น 4. ส่งเสริมให้เกิดการระดมความคิดและแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทางานระหว่างผู้ปฏิบัติงานแต่ละสถาบัน ซึ่ง จะช่วยให้โครงการมีโอกาสที่จะประสบความสาเร็จได้สูงขึ้น 5. หากเกิดความร่วมมือระหว่างหน่วยงานในการจัดทา Digital Collection จะช่วยลดต้นทุนในการแปลง สภาพเอกสารได้ 6. เปืดโอกาสให้หน่วยงานขนาดเล็กได้รับการถ่ายทอดความรู้ในการทางาน และอาศัยทรัพยากรต่างๆ ที่จาเป็นต่อ การดาเนินงานจากหน่วยงานขนาดใหญ่ได้ 7. การทางานร่วมกันระหว่างหน่วยงานเป็นเงื่อนไขที่จะทาให้ได้รับทุนสนับสนุนจากแหล่งทุน เพราะหนึ่งใน outcome ของโครงการ คือ การแบ่งปัน Digital Collection ร่วมกัน (Hughes, 2004, pp. 122-123) 6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 42 Problem: ยังไม่มีกรอบใน การดาเนินงานและ แผนยุทธศาสตร์ที่ แน่ชัดในระดับ ภาครัฐ และใน ระดับหน่วยงาน NAA: https://www.nla.gov.au/corpo rate-documents/policy-and- planning
  • 43. EXAMPLES 6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 43 UK National Archives: Archives for the 21st Century • พัฒนาและขยายขอบเขตการให้บริการผ่านทาง เครือข่าย เพื่อส่งเสริมให้เกิดความยั่งยืนในการ ดาเนินการ • ส่งเสริมภาวะความเป็นผู้นา ความรับผิดชอบ และทักษะของผู้ปฏิบัติงาน • พร้อมรับความท้าทายที่เกิดจากการจัดการ สารสนเทศดิจิทัล เพื่อให้สามารถเข้าถึงและ ค้นพบได้ในอนาคต • ส่งเสริมให้เกิดการเข้าถึง และค้นพบเนื้อหาของ เอกสารจดหมายเหตุดิจิทัลให้ครอบคลุมมากขึ้น • มีส่วนร่วมกับเครือข่ายด้านวัฒนธรรมและ การศึกษามากขึ้น เพื่อส่งเสริมให้เกิดความมี ตัวตน และการมีส่วนร่วมของชุมชน National Archives of Australia: Digital Continuity 2020 • ส่งเสริมให้เกิดการใช้งาน และการ ให้บริการข้อมูลหน่วยงานภาครัฐ (ผ่าน ทางเอกสารจดหมายเหตุดิจิทัล) • เปิดทางให้สารสนเทศสามารถนา กลับมาใช้ซ้า และเป็นประโยชน์ต่อ สังคม • รักษาสิทธิ์และผลประโยชน์ตาม กฎหมายที่พลเมืองชาวออสเตรเลียพึง ได้รับ Thailand Digital Economy (2559-2561): S3 สร้างสังคมคุณภาพ ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล • สร้างโอกาสและความเท่าเทียมทาง ดิจิทัล • พัฒนาการใช้เทคโนโลยีอย่าง สร้างสรรค์และรับผิดชอบ • สร้างสื่อ คลังสื่อ และแหล่ง เรียนรู้ดิจิทัล • เพิ่มโอกาสทางการศึกษาด้วย เทคโนโลยีดิจิทัล • เพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการสุขภาพด้วย ดิจิทัล http://www.nationalarchives.gov.uk/archives- sector/archives-21-century.htm http://www.naa.gov.au/records- management/digital-transition-and-digital- continuity/digital-continuity-2020/index.aspx http://www.mict.go.th/assets/portals/1/files/ 590613_4Digital_Economy_Plan-Book.pdf
  • 45. BIBLIOGRAPHY • DCC. DCC Curation Lifecycle Model. http://www.dcc.ac.uk/resources/curation-lifecycle- model • Elings, M. W and Günter Waibel, 2007. Metadata for All: Descriptive Standards and Sharing across Libraies, Archives, and Museums. http://firstmonday.org/article/view/1628/1543#author • Hughes, L., 2004. Digitizing collections: Strategic issues for the information manager. London: Facet Publishing. • Harvey, R., 2010. Digital Curation: A How-To-Do-It-Manual. London: Neal-Schuman Publishers, Inc. • SAA, Glossary Search. http://www2.archivists.org/glossary#.V2PDezXigq4 6/24/2016สิทธิศักดิ์รุ่งเจริญสุขศรี 45

Editor's Notes

  1. แนวคิดเรื่องการจัดการเอกสารเริ่มมีมมรตั้งแต่สมัยกรีกแล้ว แต่มาปรากฎให้เห็นรูปของกระบวนการจัดการที่เด่นชัดในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 เมื่อมีการสร้าง model สำหรับการจัดการเอกสารที่เรียกว่า Record lifecycle model ขึ้น โมเดลนี้มีจุดกำเนิดมาตั้งแต่สมัย WWI เมื่ออังกฤษต้องประสบปัญหากับการจัดเก็บเอกสารจากสงครามที่มากเกินความสามารถในการจัดการ และจัดเก็บ Sir Hilary Jenkinson เลยแนะนำว่า admin สามารถเลือกที่จะเลือกที่จะจัดเก็บและทำลายเอกสารได้ด้วยตนเอง จากนั้นเอกสารที่เหลือจากการคัดเลือกแล้วจะเป็นหน้าที่ของนักจดหมายเหตุ จากนั้น ในช่วง WWII T.R. Schellenberg ได้พัฒนา concept นี้ โดยมองว่า record นี้มีวงจรชีวิตในแต่ละช่วง แบ่งได้เป็น 4 ช่วง คือ Creation – ถูกสร้างขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ของผู้สร้าง Active/Current records (ในกระแสปฏิบัติการ) – ในช่วงนี้ record มี primary value ต่อผู้สร้างและผู้ปฏิบัติงานอื่นๆ ในองค์กร โดยในช่วงนี้ record ยังเก็บจัดอยู่ที่ผู้สร้าง หรือหน่วยงานที่สร้าง ในช่วงท้ายของ stage นี้ record อาจะได้รับการประเมินคุณค่าว่ายังมีคุณค่าหรือไม่ หรือควรส่งทำลาย หากยังมีคุณค่าก็จะส่งเข้า stage ต่อไป กึ่งกระแส-ไม่ถูกใช้งานแล้ว – record ที่เข้าสู่ช่วงนี้จะได้รับการประเมินแล้วว่ามีคุณค่า แต่อาจจะไม่ได้ใช้งานตามปกติแล้ว และอาจไม่ได้จัดเก็บอยู่กับผู้สร้าง หรือหน่วยงานแล้ว โดยใน stage นี้ จะมีการประเมินคุณค่าอีกครั้ง ว่าจะทำลาย หรือส่งเข้าสู้ stage ต่อไป Record ส่งเข้าสู่กระบวนการจดหมายเหตุ เพื่อการจัดการและการจัดเก็บ อย่างไรก็ดีในช่วงปลายของคริสตศตววรรษที่ Record lifecycle model ก็ได้ถูกท้าทายด้วยการมาถึงของ digital records เนื่องด้วยลักษณะเฉพาะ 2 ประการ บนพื้นฐานการทำงานจัดการเอกสารแบบดั้งเดิมถูกออกแบบบนพื้นฐานของการเป็นวัสดุที่จับต้องได้ หรือแม้ว่าจะมีการผนวกเอา digital record เป็นส่วนหนึ่งของ archive ก็ยังมองว่าสื่อเรานี้เป็นประเภทเดียวกับสื่อโสตทัศน์ เช่น film or microfitch แต่ทั้งนี้เราไม่สามารถแยกได้แบบนั้น เพราะทั้งเอกสารที่เป็นตัววัสดุ หรือตัวที่เป็นไฟล์ ต่างถูกสร้างขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์การใช้งานเดียวกัน แต่ต่างกันแค่ structure และ Form digital rec. ถูกสร้างขึ้นในรูปแบบไฟล์ และต้องการ device ในการเข้าถึง โมเดลเดิมที่มองว่า rec. มีวงจรชีวิตตั้งแต่เริ่มสร้างจนสิ้นสุดการใช้งาน ไม่ครอบคลุมกับ specific character of digital rec. 1) เส้นทางชีวิตของ rec. สามารถย้อมกลับได้ เพื่อนำไปใช้งานในวัตถุประสงค์อื่นๆ 2) การออกแบบระบบเพื่อการจัดเก็บต่างหาก ที่เป็นสิ่งที่ควรทำลำดับแรก ไม่ใช้การสร้าง 3) การแบ่งคุณค่าของ rec. เป็น primary/secondary value ตามแต่ละ stage อาจไม่จำเป็น เพราะภายหลังการสร้างแล้ว rec.บางชิ้น อาจมีคุณค่าครบถ้วนแล้ว ทั้งในเชิงต่อผู้สร้าง และประวัติศาสตร์ หรือวัฒนธรรมที่ผู้ใช้อื่นๆ สามารถนำไปตีความต่อไป
  2. RC model เข้ามาเติมเต็มช่องว่างในจุดนี้โดยมองว่า rec. จำเป็นต้องได้รับการจัดการตั้งแต่การออกแบบ นอกจากนี้ โมเดลนี้มองว่าการจัดการและการสงวนรักษาสามารถกระทำได้ในทุกช่วงเวลาของวงจรชีวิต โมเดลนี้แบ่งออกเป็น 4 dimension คือ เมื่อ rec ถูกสร้างขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการทำงานในองค์กร หรือสะท้อนวัตถุประสงค์ในการสร้างของผู้สร้าง ระบบการจัดการในมิตินี้สะท้อนให้เห็นการดำเนินงานของ rec. (transaction) ว่าสัมพันธ์กับใครบ้าง หรือมีความซับซ้อนในการใช้งานแค่ไหน ในมิตินี้ metadata และ link ต่างๆ ที่จำเป็นในการอธิบายข้อมูลจะต้องถูกระบุลงไปใน rec. Rec. ถูกจัดเก็บในระบบ และเปิดให้คนในองค์กรสามารถเข้าถึงและใช้งานได้ Rec. เปิดให้บุคคลภายนอกเข้าใช้งานได้ ทั้งนี้ หากเราจะเปรียบเทียบ Life cycle model กับ Rec. continuum แล้ว – - มิติแรก คือ การสร้างเอกสาร มิติที่สอง คือ การใช้งานและการจัดการเอกสารที่อยู่ในกระแส มิติที่สาม คือ การจัดเก็บเข้าสู่หอจดหมายเหตุ มิติที่สี่ที่เพิ่มมาของ RC คือ ความพยายามในการนำ technology มาใช้ในการจัดการ จัดเก็บ และค้นคืน rec. ให้สามารถนำกลับมาใช้สร้างคุณค่า หรือองค์ความรู้ใหม่ได้
  3. 1. กลุ่มผู้ใช้ทั่วไปที่สนใจหาข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต นักวิจัยที่ต้องการข้อมูลเพื่อนำไปใช้บูรณาการผลการศึกษาของตน เช่น นักธรณีวิทยาอาจสนใจเรียนรู้เรื่องการใช้ประโยชน์ของพื้นที่ จึงทำการศึกษาค้นคว้าจากเอกสารทางประวัติศาสตร์ * ทั้งนี้ เพื่อให้การทำงานในเชิงกลยุทธ์เห็นผลได้ไว และแน่ชัด ควรเน้นการนำเสนอ collection ที่ได้รับการคัดเลือกว่าเป็นจุดเด่น หรือมีความสำคัญ เพราะไม่สามารถแปลงทุกอย่างให้เป็นดิจิทัลได้ เนื่องจากข้อจำกัดด้านงบประมาณ * อย่างไรก็ดี ปัญหาที่ท้าทายในข้อนี้ คือ การพยายามเชื่อมโยงวัสดุดจิทัลที่หลากหลาย เช่น ภาพถ่าย บันทึก แผนที่ เข้าไว้ด้วยกัน เพื่อให้ผู้ใช้บริการสามารถขยายการสืบค้นจาก “หัวเรื่อง” ที่ตนเองค้นหาได้ 2. อย่างไรก็ดี เราต้องตระหนักว่า Digital format เองก็ไม่มีความถาวรเช่นกัน เพราะอาจประสบปัญหาเรื่องไฟล์เสื่อมสภาพ หรือเทคโนโลยีอุบัติใหม่ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งส่งผลให้เกิดความล้าสมัยทางด้านเทคโนโลยีที่ทำให้ไม่สามารถเข้าถึงหรือใช้ซ้ำได้ เช่น ข้อมูลที่เคยบันทึกไว้ในแผ่นดิสก์ขนาด 3 ½ นิ้วที่ทุกวันนี้เปิดใช้งานไม่ได้แล้ว หรือแผ่น CD ที่เราใช้สำรองข้อมูลก็เช่นกัน ที่กลายเป็นว่าทุกวันนี้มี external hardisk drive ที่มีความจุปริมาณมหาศาลเริ่มเข้ามาแทยที่ หรือแม้แต่การเกิดขึ้นของระบบ Cloud ที่ทุกอย่างถูกโยนขึ้นไปเก็บใน storage ที่ไหนไม่รู้ แต่คุณสามารถขถึงได้จากทุกที่ ขอแค่มี internet 3. ทั้ง 2 สถาบัน สามารถเชื่อมโยง หรือแลกเปลี่ยนข้อมูล เพื่อให้ชุดเนื้อหา collection นั้นมีความสมบูรณ์ ซึ่งจะช่วยอำนวยความสะดวกให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลในเรื่องนั้นๆ ได้อย่างสมบูรณ์ ตย งานของ ศมส.ที่เคยทำ DART project กับทาง UW ที่มีการเก็บรวบรวม collection ของนักวิจัยในพื้นที่ SEA เอาไว้ ซึ่งทั้งสองหน่วยงานต่างก็ SHARE collection ของตนใน Web portal กลาง โดยประโยชน์จากเครือข่าย collection ที่ได้รับการพัฒนานี้เอง ช่วยให้ทางหน่วยงานไม่จำเป็นต้องเก็บรวบรวม หรือ digitize เอกสารทั้งหมด เพื่อตอบสนองความต้องการของ users แต่สามารถเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนกับเครือข่ายที่มีนโยบายการพัฒนา collection ที่ใกล้เคียงกันได้ ลดต้นทุนในการดำเนินงานและการดูแลรักษา
  4. 4. – ชุดเอกสารจดหมายเหตุดิจิทัลเป็นอีกหนึ่งผลงานที่ช่วยประชาสัมพันธ์การทำงานขององค์กรให้สาธารณชนรับทราบ และยังสามารถใช้เป็นผลงานในการขอทุนสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอกได้ เอกสารของหน่วยงานได้รับการสำรวจและจัดการ ซึ่งจะช่วยให้เอกสารที่เดิมที่อาจเคยถูกปล่อยทิ้งไว้ได้รับการระบุแหล่ง ให้คำอธิบาย ถือเป็นการจัดระเบียบเอกสารของหน่วยงานไปในตัว กระบวนการจดหมายเหตุดิจิทัลอาจกินระยะเวลายาวนาน ส่งเสริมให้ผู้ที่เกี่ยวข้องได้พัฒนาทักษะทางด้านการจัดการ (ทั้งในเชิงเนื้อหา+เทคนิค) ถือเป็นการพัฒนาทรัพยากรบุคคลไปในตัว นอกจากนี้ ยังจะช่วยพัฒนาเทคโนโลยีต่างๆ ที่จะรองรับการจัดการและการเผยแพร่อีกด้วย เปิดโอกาสให้หน่วยงานวางแผนยุทธศาสตร์ในการสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นๆ เพื่อพัฒนา collection หรือขอทุนวิจัยเพื่อพัฒนาโดยรวม - บุคลการ/แผนกที่มีหน้าที่ในการส่งเสริมการศึกษาและวิจัย สามาราถใช้ digital collection ในการออกแบบบทเรียนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ให้กับเยาวชน หรือสารธารณชนที่สนใจได้ - Digital collection ได้รับการค้นคว้า ตรวจสอบ อ้างอิง ตีความโดยบรรดานักวิจัย ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวไม่ต่างไปจากการทบทวนวรรณกรรมก่อนเริ่มลงมือผลิตผลงานวิจัย แต่นี่เป็นการทบทวนผ่านทางสื่อออนไลน์ ไม่ใช่ในรูปแบบอดีตที่ผ่านทางหนังสือ วารสารทางวิชาการ สุดท้ายแล้ว กิจกรรมต่างๆ เหล่านี้จะส่งเสริมให้เกิดพื้นที่ทางวิชาการบน cyberspace ที่นักวิจัยสามารถแบ่งปัน และโต้เถียงกันได้
  5. ก่อนที่เราจะไปทำความเข้าใจ ผมมีคำอธิบายสั้นๆ เกี่ยวกับ DC จากบรรดาคนที่ทำงานในวงการมาให้นิยาม เชิญฟังก่อน Note: Eng-sub
  6. Longevity – ทำให้แน่ใจว่าวัสดุดิจิทัลจะมีอายุที่ยาวนานเอาไว้ อพยพข้อมูลแล้วไม่มีความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น สามารถตรวจสอบความถูกต้องของการอพยพข้อมูลได้ Metadata ที่ให้รายละเอียดข้อมูลสามารถอพยพตามไปด้วย สามารถให้รายละเอียดความเปลี่ยนแปลงของ Hardware, Software, file formats, standard ที่จะมีผลต่อกระบวนการสงวนรักษาวัสดุดิจิทัลได้ Integrity – ทำให้แน่ใจว่าวัสดุดิจิทัลจะยังคงมีความสมบูรณ์ และความเป็นของแท้เอาไว้ ตรวจสอบความถูกต้องในการอพยพ Metadata ที่ให้รายละเอียดข้อมูลสามารถอพยพตามไปด้วย ยังรักษาสำเนาของ bit stream เอาไว้ด ยังรักษาสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา และสิทธิ์อื่นๆ ไว้ได้ Accessibility – ทำให้แน่ใจว่าจะสาสามารถเข้าถึงวัสดุดิจิทัลได้ในอนาคต ยังรักษาความสามารถในการระบุสถานที่จัดเก็บวัสดุดิจิทัลได้ รักษา representation information (structure and semantic inf.) ของวัสดุดิจิทัลเอาไว้ได้ เพื่อที่ข้อมูลเหล่านี้จะสามารถเข้าใจได้ในอนาคต สร้างวัสดุดิจิทัลบนพื้นฐานของ open standards or standard formats จำกัดรูปแบบของการสงวนรักษาที่จำเป็นต้อการจัดการให้ธำรงไว้ซึ่งการเข้าถึง สามารถให้รายละเอียดความเปลี่ยนแปลงของ Hardware, Software, file formats, standard ที่จะมีผลต่อกระบวนการสงวนรักษาวัสดุดิจิทัลได้
  7. ช่วยส่งเสริมให้มีการเข้าถึงข้อมูลได้มากขึ้น เพราะกระบวนการ DC นำไปสู่การสร้างความต่อเนื่อง เพิ่มความเร็ว และส่งเสริมให้เกิดช่องทางการเข้าถึงข้อมูลที่เชื่อถือได้ว่าจะไม่หายไปไหน ช่วยพัฒนาคุณภาพของข้อมูล เพราะกระบวนการ DC ช่วยพัฒนาคุณภาพของข้อมูล ความน่าเชื่อถือของข้อมูล และช่วยรับรองข้อมูลให้มีความเป็นทางการ สามารถใช้เป็นหลักฐานทางกม. ส่งเสริมให้เกิดการแบ่งปัน และการนำข้อมูลกลับไปใช้ใหม่ เพราะมาตรฐานต่างๆ ที่ใช้ในการสร้างและจัดการข้อมูล รวมถึงการรักษาข้อมูลเกี่ยวกับบริบทของข้อมูล ที่มาของข้อมูลที่ถูกประยุกต์ ล้วนถูกออกแบบขึ้นเพื่อส่งเสริมให้เกิดการแบ่งปัน หรือนำข้อมูลกลับมาใช้ใหม่ตลอดอายุของวัสัดุดิจิทัล ป้องกันข้อมูล เพราะกระบวนการป้องกันและสงวนรักษาข้อมูลทั้งหมด ถูกออกแบบขึ้นเพื่อป้องกันการสูญหายของข้อมูล และความล้าสมัยของเทคโนโลยี
  8. จาก DC Model นี่เราจะเห็นว่า Data หรือ ข้อมูลเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นอยู่ตรงกลาง โดยนิยามคำว่า Data ของ DC นี่ครอบคลุมสารสนเทศทั้งหลายที่อยู่ในรูป binary form หรือก็คือเลขฐานสอง (0 และ 1) โดยครอบคลุมทั้ง ‘Simple digital objects’ such as textual files, images or sound files, along with their related identifiers and metadata. ‘Complex digital objects’ are discrete digital objects , made by combining a number of other digital objects, such as Websites.” Database …structured collections of records or data stored in a computer system” โดย DC model แบ่งการทำงานออกได้เป็น 3 รูปแบบ 8nv Action 1: Full Lifecycle Actions Action 2: Sequential Actions Action 3: Occasional Actions
  9. จากทั้ง 3 actions เพื่อให้เห็นกระบวนการทำงานที่เป็นรูปธรรมที่สุด ผมขออธิบาย Action 2 ซึ่งจะอธิบาย workflow ในการจัดการข้อมูลดิจิทัลได้เด่นชัดที่สุด Description Inf. (Metadata) Persistently identifies data and maintains reliable links to them Clearly describes what they are Clearly identifies technical inf. needed to use data Identifies who is responsible for their management and preservation Describe what can be done to them Describes what is needed to present them at the required level of fidelity (n. ความถูกต้อง) Records their history and documents their authenticity Allows users to understand their context and relation to other objects Representation inf. Structure Information: describes the format and data structure concepts to be applied to the bitstream, which result in more meaningful values like characters or number of pixels. Semantic Information: this is needed on top of the structure information. If the digital object is interpreted by the structure information as a sequence of text characters, the semantic information should include details of which language is being expressed. Other Representation Information: includes information about relevant software, hardware and storage media, encryption or compression algorithms, and printed documentation. Preservation Planning – ensure future data access a set of managed activities aims at ensuring the bit-stream is maintained aims at ensuring that data are accessible is concerned with maintaining bit streams and ensuring accessibility for a definable period of time Community Watch and Participation – benefits of collaboration access to a wider range of expertise access to tools and systems that might otherwise be unavailable encouragement for other stakeholders to take preservation seriously shared influence on R&D of standards and practices attraction of resources and other support for well-coordinated programmes at a regional, national or sectoral level shared influence on agreements with producers increased coverage of preserved materials better planning to reduce wasted effort shared development costs shared learning opportunities Curate and Preservation Be aware of, and undertake management and administrative actions planned to promote curation and preservation throughout the curation lifecycle Dispose Dispose of data, which has not been selected for long-term curation and preservation in accordance with documented policies, guidance or legal requirements. Typically data may be transferred to another archive, repository, data centre or other custodian. In some instances data is destroyed. The data’s nature may, for legal reasons, necessitate secure destruction. Transfer if no longer relevant for business function but useful to someone else for safe keeping – institutional archive for greater accessibility – more widely accessible data archive secure destruction – prevent re-use or reconstruction sensitive data no longer relevant for business function Reappraisal Return data which fails validation procedures for further appraisal and reselection
  10. 1. ออกแบบโครงการภายใต้แนวคิดการจัดการข้อมูลแบบครบวงจร การกำหนดกลุ่มเป้าหมายให้แน่ชัด เพื่อนำไปใช้กำหนดเงื่อนไขในการสร้างข้อมูลที่ตรงตามความต้องการของผู้ใช้งาน การกำหนดขอบเขตและประเภทของข้อมูลที่จะจัดเก็บ การกำหนดมาตรฐานข้อมูลและเมทาดาทา การสร้างความเชื่อมโยงกับข้อมูลที่จัดเก็บอยู่ในคลังข้อมูลดิจิทัลของสถาบันอื่นๆ การใช้ซ้ำข้อมูลจากผู้ปฏิบัติงานอื่นๆ เพื่อประโยชน์ในการวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ขององค์กร การกำหนดแนวทางในการแบ่งปันข้อมูลโดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศ การกำหนดกรรมสิทธิ์ในข้อมูล การกำหนดช่วงเวลาในการเผยแพร่ข้อมูล การกำหนดรูปแบบของข้อมูลที่จะเผยแพร่ให้สาธารณชนเข้าถึง 2 ออกแบบระบบการจัดการให้สอดคล้องกับข้อมูลที่จัดเก็บ การกำหนดกลุ่มเป้าหมายให้แน่ชัด เพื่อนำไปใช้กำหนดเงื่อนไขในการสร้างข้อมูลที่ตรงตามความต้องการของผู้ใช้งาน การศึกษาพฤติกรรมและความคาดหวังในการใช้ข้อมูลของผู้ใช้งาน เพื่อนำไปสู่การกำหนดมาตรฐานในการสร้างข้อมูลดิจิทัลที่ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งาน การวางแผนการจัดเก็บข้อมูลและคัดเลือกระบบที่ใช้จัดเก็บข้อมูลที่เหมาะสมกับการจัดการข้อมูล วางแผนการจัดเก็บข้อมูลให้เพียงพอในระหว่างการรวบรวมข้อมูล เพื่อช่วยอำนวยความสะดวกในการจัดการข้อมูลในภายหลัง วางแผนอย่างรอบคอบในการระบุชื่อไฟล์ที่สร้าง จัดเก็บข้อมูลในสื่อและระบบที่เหมาะสม ระบุสถานที่ปลอดภัยในการจัดเก็บข้อมูล 3 ตระหนักถึงความสำคัญของมาตรฐาน โดยพึงตระหนักว่ามาตรฐานที่จะนำมาประยุกต์ใช้กับโครงการจำเป็นต้องมีคุณสมบัติ 3 ประการ คือ 1) มาตรฐานในการส่งออกข้อมูล 2) มาตรฐานข้อมูลที่มีความเสถียร 3) มาตรฐานเพื่อการแบ่งปันข้อมูล
  11. 1. การกำหนดนโยบายการสร้างและรับมอบข้อมูล การระบุผู้นำเข้าข้อมูลในระบบ IR หรือจดหมายเหตุองค์กร คุณภาพของข้อมูลที่ต้องการ เมทาดาทาที่จำเป็น การรักษาความลับและการเปิดเผยข้อมูล การจำกัดการเข้าถึงข้อมูล สิทธิ์และความเป็นเจ้าของข้อมูล รูปแบบข้อมูล 2. การสร้างข้อมูลเพื่อการจัดการ วางแผนการเก็บข้อมูลให้มีคุณภาพ โดยการประยุกต์เอาแนวปฏิบัติในการจัดเก็บข้อมูลที่มีคุณภาพไปรับใช้กับระเบียบวิธีวิจัย หรือขั้นตอนในการดำเนินโครงการอย่างเหมาะสม การเตรียมข้อมูลให้มีคุณภาพ โดยการกำหนดขั้นตอนมาตรฐานการทำงานต่างๆ ที่จำเป็น การตรวจสอบข้อมูลให้มีคุณภาพ โดยการวางแผนตรวจสอบข้อมูลด้วยระบบอัตโนมัติ หรือการสุ่มตรวจโดยมนุษย์ เพื่อตรวจสอบคุณภาพและข้อบกพร่องต่างๆ ที่อาจพบได้ก่อนนำเข้าข้อมูลในระบบ 3. การรับมอบข้อมูลเพื่อการจัดการ - กำหนดขั้นตอน/จัดทำรายละเอียด/กำหนดระยะเวลาในการส่งมอบ/ตรวจสอบเมทาดาทาที่จำเป็น 4. กำหนดโครงสร้างข้อมูลเพื่อการใช้และใช้ซ้ำ การเลือกใช้รูปแบบของสื่อและซอฟต์แวร์ในระบบเปิด เพื่อให้ผู้ใช้บริการทั่วไปสามารถเข้าถึงได้โดยไม่จำเป็นต้องอาศัยเครื่องมือ หรือซอฟต์แวร์เฉพาะที่จำเป็นต้องเสียค่าใช้บริการ การเข้าใจถึงคุณสมบัติ (properties) และความเป็นต้นฉบับ (authenticity) ของข้อมูล เพื่อนำไปสู่การเก็บรักษาที่ตรงตามความต้องการ การระบุรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับข้อมูล 5. กำหนดโครงสร้างข้อมูลเพื่อการจัดการ เมทาดาทาที่สนับสนุนกระบวนการทำงาน พิจารณาคัดเลือกประเภทของสื่อที่สามารถสนับสนุนมาตรฐานในการทำงานร่วมกัน (interoperability) เพื่อรองรับการอพยพข้อมูล หรือการแลกเปลี่ยนข้อมูลที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตได้ พิจารณาคัดเลือกประเภทของสื่อที่มีความสามารถในการดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน (viability) 6. กำหนดโครงสร้างข้อมูลเพื่อการค้นหา
  12. Trust ข้อมูลจะมีความน่าเชื่อถือได้นั้นนั้นขึ้นอยู่ปัจจัยหลายประการ เช่น การได้รับการตัดสินว่าเป็นของแท้และมีความถูกต้อง การได้รับการยอมรับให้นำไปใช้งานได้ เป็นข้อมูลที่ถูกต้องตามหลักของสาขาวิชา ความมีชื่อเสียงและความชำนาญของผู้สร้าง อคติของผู้ที่ทำการประเมินข้อมูลซึ่งอาจประเมินว่าข้อมูลไม่มีความน่าเชื่อถือก็เป็นได้ Authenticity การตัดสินความน่าเชื่อถือของข้อมูลโดยการตั้งคำถามกับบริบทและเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เช่น เป็นการเก็บข้อมูลภายใต้กรอบคิดอะไร ความสมบูร์ณครบถ้วนและความแม่นยำของข้อมูล ความเป็นเหตุสมผลของข้อมูล ภวิทยาที่สอดคล้องกันได้ (ontology consistency) ภายในข้อมูล โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล โดยที่ข้อมูลนั้นต้องสามารถเข้าใจได้ Understandable การประเมินความสามารถในการเข้าใจได้ของข้อมูล ซึ่งต้องอาศัยบริบทของข้อมูลที่เพียงพอ เช่น การให้รายละเอียดต่างๆ ที่เกี่ยวกับโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ (documentation) ที่เกี่ยวกับข้อมูล การระบุเมทาดาทา การระบุแหล่งที่มา คำอธิบาย (descripion) ต่างๆ ที่จำเป็นต่อการนำข้อมูลไปใช้ปย. Usability เพื่อให้ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อมูลจำเป็นต้องมีความสามารถในการค้นพบและเข้าถึงได้ ไม่ว่าจะเป็นการอยู่ในรูปแบบของสื่อ (file format) ที่ใช้งานได้ การได้รับการตัดสินจากผู้ใช้งานข้อมูลมีความสามารถที่เหมาะสมในการใช้เครื่องมือเข้าถึงได้ ข้อมูลมี่บูรณภาพที่เพียงพอต่อการเปลี่ยนสภาพได้ (render) Integrity ข้อมูลสามารถแสดงความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันได้ถึงระดับ bit และสามารถตรวจสอบสถานะได้ตลอดช่วงวงจนชีวิต ความมีบูรณภาพนี่เองถือเป็นส่วนประกอบสำคัญที่ย้อนกลับครอบคลุมไปถึงคุณลักษณะที่ผ่านมาของการเป็นข้อมูลที่มีคุณภาพ (Authenticity, Understandability, Usability, and Trust) อย่างไรก็ดี มีอยู่หลายปัจจัยที่อาจทำให้ความมีบูรณภาพเกิดการผันแปรได้ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อคุณลักษณะอื่นๆ ของการเป็นข้อมูลที่มีคุณภาพได้ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับระดับของการรบกวนที่เกิดขึ้น โดยความยุ่งเหยิงนี้สามารถปรากฏออกมาให้เห็นได้ผ่านทางรูปแบบของสื่อ หรือตัวระบุสถานที่จัดเก็บข้อมูล
  13. ทำไมเราถึงต้องการ “ข้อมูลคุณภาพ” ??? นอกเหนือไปจากการสร้างเนื้อหาข้อมูลแล้ว การพยายามดำรงรักษาให้ข้อมูลสามารถคงอยู่ เข้าถึง และใช้ซ้ำได้โดยบุคคลอื่นๆ ถือเป็นอีกหนึ่งหัวใจสำคัญที่บ้านการทำงานวิจัยบ้านเรายังละเลยในจุดนี้ เลยทำให้บ่อยครั้งงานวิจัยที่เราเสียเงินทำไป ทำแล้วก็จบ ส่งงานตาม KPI แค่นั้น แต่เราไม่ได้คิดต่อไปว่าผลงานที่เราอุตสาห์ลงทุน ลงแรง ลงเวลาสร้างไปเนี่ย จะถูกคนรุ่นหลังเอาไปใช้ปย.ได้อย่าง “เต็มประสิทธิภาพและยั่งยืน” แค่ไหน เพื่อให้เห็นภาพผมขอยกตัวอย่างนะครับ ตั้งคำถามเรื่องการสร้างเพื่อนำไปใช้ปย. ควรคิดตั้งแต่ก่อนเริ่มลงมือเก็บข้อมูล ตัวอย่างเช่น ถ้าวัตถุประสงค์ของเราต้องการให้ user สามารถนำข้อมูลของเราไปต่อยอดพัฒนาผลงานได้ เช่นการนำภาพถ่ายจากเว็บเราไปใช้ได้ แต่ตอนเริ่มงานเรากลับเลือกที่จะเผยแพร่รูปบนเว็บเราด้วยความละเอียดต่ำ หรือเราส่งคนออกไปถ่ายภาพเก็บข้อมูล แต่ไม่ได้กำหนดมาตรฐานขั้นต่ำในการถ่ายภาพ หรือสแกนเอกสาร ผลลัพธ์ที่ได้เราก็จะได้ไฟล์ที่มีรายละเอียดของภาพต่ำ ไม่สามารถนำไปใช้งานต่อได้ นอกกจากออนไลน์บนเว็บไซต์เฉยๆ แบบนี้เรายังจะสามารถเรียกงานของเราว่าเป็นข้อมูลที่มีคุณภาพได้หรือไม่ครับ??? หรืออีกหนึ่งตัวอย่าง ถ้าเราอยากทำเว็บไซต์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลที่เราเก็บมา แต่เราไม่เคยศึกษาหรือวางแผนมาก่อนเลยว่าการวางแผนสร้างเว็บไซต์ที่ดีต้องประกอบไปด้วยการกำหนด Data structure, Data content, Data format ที่ดีเสียก่อน สุดท้ายแล้ว เว็บที่เราอยากทำก็อาจประสบปัญหาได้
  14. แล้วข้อมูลที่ดีต้องมีลักษณะอย่างไร??? “ดีทั้งภายในและภายนอก - External metadata ซึ่งเกิดขึ้นภายหลังโดยบุคคลอื่นที่มิใช้ ผู้สร้าง เช่น URL การลงทะเบียน ข้อมูล เกี่ยวกับสิทธิ์และการใช้งาน - Internal metadata ซึ่งจะเกิดขึ้นทันทีในระหว่างขั้นตอนการ สร้างวัสดุดิจิทัล และได้รับการให้ รายละเอียดเพิ่มเติมโดยผู้สร้าง เช่น ชื่อ แฟ้มข้อมูล หัวเรื่อง รูปแบบของของ แฟ้มข้อมูล ฯลฯ
  15. เพื่อการตัดสินใจก่อนการจัดเก็บข้อมูลระยะยาว โดยมีคำถามสำคัญ 2 ข้อ คือ How long do we want to keep the data? How long do we need to keep the data? 1. การกำหนดขอบเขตของข้อมูลที่จะจัดเก็บ - การคัดเลือกข้อมูลที่จะเก็บไว้ใช้ในอนาคต - การกำหนดระยะเวลาในการเก็บรักษาข้อมูล 2. พัฒนาและประยุกต์ใช้นโยบายการประเมินและคัดเลือก การกำหนดและให้นิยามกลุ่มเป้าหมายที่จะใช้ข้อมูล ความเป็นไปได้ในการสงวนรักษาข้อมูลในอนาคต ทั้งในแง่ของการใช้จ่ายงบประมาณเพื่อการบำรุงรักษา และความพร้อมของเครื่องมือที่มี ข้อควรระวังทางด้านกฎหมายเกี่ยวกับการจัดการและเผยแพร่ข้อมูล รวมถึงสิทธิ์ในทรัพย์สินทางปัญญาที่ต้องมีการจัดการอย่างเหมาะสม ความสำคัญของข้อมูลที่มีต่อองค์กร รวมถึงการประเมินความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นได้ หากข้อมูลไม่ได้รับการคัดเลือกเพื่อจัดเก็บ การสงวนรักษาและเชื่อมโยงเมทาดาทาที่จำเป็นต่อการใช้งานข้อมูลดิจิทัลอีกครั้งในอนาคต การสร้างหลักเกณฑ์ในการประเมินและคัดเลือกข้อมูล 3. พัฒนาและประยุกต์ใช้หลักเกณฑ์การประเมินซ้ำและการจำหน่ายออก
  16. การระบุกิจกรรมให้ผู้รับผิดชอบรับทราบ ผู้ที่จะรับผิดชอบในการสร้าง/นำเข้า/แก้ไข 2. การให้รายละเอียดข้อมูลอย่างเหมาะสม การพัฒนาและประยุกต์ใช้นโยบายการนำเข้าข้อมูล กับขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการอย่างต่อเนื่อง การพัฒนาแนวปฏิบัติในการนำเข้าข้อมูล เพื่อเป็นคู่มือการปฏิบัติงานสำหรับผู้นำเข้าข้อมูล
  17. การกำหนดยุทธศาสตร์ในการสงวนและรักษา - คำนึงถึงธรรมชาติของข้อมูลที่สร้างและรับมอบกับความต้องการที่จะจัดเก็บ ภายใต้ข้อควรพิจารณาดังกล่าวยังมีเงื่อนไขต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ค่าใช้จ่ายที่ต้องใช้สำหรับการสงวนและรักษา การจัดหาโครงสร้างพื้นฐานทางด้านเทคโนโลยีต่างๆ ที่จำเป็น เพื่อให้บริการผู้ใช้งาน และรองรับการอพยพข้อมูลที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต สิทธิ์ในการจัดการข้อมูลที่แน่ชัด 2. การคัดเลือกรูปแบบของเทคโนโลยีในการสงวนและรักษา 1) เทคโนโลยีเพื่อการสงวนรักษา (technology preservation) ซึ่งเน้นไปที่การพยายามใช้เทคโนโลยีในการคงไว้ซึ่งความสามารในการทำงานของคอมพิวเตอร์ที่อาจจะกำลังล้าสมัย หรือซอฟต์แวร์ที่กำลังจะเลิกใช้งาน 2) เทคโนโลยีที่เป็นการเลียนแบบ (technology emulation) ซึ่งเน้นไปที่การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่สามารถเลียนแบบการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ โดยที่ยังสามารถเข้าถึงและใช้งานข้อมูลเดิมได้ทั้งหมดบนระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์รุ่นปัจจุบัน 3) เทคโนโลยีเพื่อการย้ายข้อมูล (information migration) ซึ่งเน้นไปที่การย้ายข้อมูลจากรูปแบบเดิมไปสู่รูปแบบใหม่ 3. การตรวจสอบซ้ำ - การตรวจสอบความมีคุณภาพของข้อมูล การทำงานในส่วนนี้จะเป็นการตรวจสอบซ้ำอีกครั้งเพื่อให้แน่ใจว่าข้อมูลที่ถูกสร้างหรือรับมอบมานั้น มีคุณภาพตรงตามความของโครงการ และสามารถนำไปใช้งานได้ตลอดช่วงอายุ การตรวจสอบความถูกต้องของการให้รายละเอียดข้อมูลที่เกี่ยวกับไฟล์ดิจิทัล การทำงานในส่วนนี้จะเป็นการตรวจสอบซ้ำอีกครั้งเพื่อให้แน่ใจว่า ตัวไฟล์ได้มีการให้เมทาดาทาที่เกี่ยวข้องกับการสงวนรักษา และการเรียกใช้งานที่เหมาะสมแล้ว เพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพในการสงวนรักษา การค้นพบ และการใช้ซ้ำในอนาคต การตรวจสอบโครงสร้างข้อมูล การทำงานในส่วนนี้จะเป็นการตรวจสอบซ้ำอีกครั้งว่าข้อมูลดิจิทัลถูกสร้างขึ้นบนโครงสร้างข้อมูล (data structure) ที่เหมาะสม และเป็นไปตามมาตรฐานการสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ การจัดทำตารางตรวจสอบสภาพการใช้งานข้อมูล การทำงานในส่วนนี้จะเป็นการตรวจสอบสภาพการใช้งานของข้อมูลซ้ำอีกครั้งว่ายังมีความสามารถในการใช้งานได้หรือไม่ การวางแผนและประยุกต์ใช้นโยบายการจัดการข้อมูล และมาตรการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลกับการจัดเก็บข้อมูล การสร้างลิงก์เพื่อเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่เผยแพร่บนฐานข้อมูล กับข้อมูลที่จัดเก็บภายในคลังข้อมูล
  18. Description information และ Representation information ของข้อมูลให้เหมาะสม
  19. What is DRAMBORA? DRAMBORA (Digital Repository Audit Method Based On Risk Assessment) originated as a paper-based methodology for helping repository managers to develop a documented understanding of the risks they face, expressed in terms of probability and potential impact. These risks are then mapped to organisational aspirations and effort allocations in order to facilitate ongoing organisational development and resource allocation. In short, DRAMBORA offers a quantifiable insight into the severity of risks faced by repositories right now, and an effective means for reporting these. The purpose of the DRAMBORA toolkit is to facilitate the auditor in: - Defining the mandate and scope of functions of the repository Identifying the activities and assets of the repository Identifying the risks and vulnerabilities associated with the mandate, activities and assets Assessing and calculating the risks Defining risk management measures Reporting on the self-audit
  20. เพื่อให้แน่ใจว่าข้อมูลผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ และสามารถใช้งานได้อีกในอนาคต Standard metadata ระบุรายละเอียด/ขอบเขตการอนุญาตให้ใช้ข้อมูลที่แน่ชัดการ user จัดเตรียมเครื่องมือเพื่อรองรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลกับหน่วยงานอื่นๆ ในประเด็นสุดท้ายนี้ เดี๋ยวจะอธิบายให้เห็นตัวอย่างอย่างละเอียดอีกทีในแนวทางการประยุกต์ใช้ Thesaurus กับการจัดการสารสนเทศดิจิทัล
  21. What is DRAMBORA? DRAMBORA (Digital Repository Audit Method Based On Risk Assessment) originated as a paper-based methodology for helping repository managers to develop a documented understanding of the risks they face, expressed in terms of probability and potential impact. These risks are then mapped to organisational aspirations and effort allocations in order to facilitate ongoing organisational development and resource allocation. In short, DRAMBORA offers a quantifiable insight into the severity of risks faced by repositories right now, and an effective means for reporting these. The purpose of the DRAMBORA toolkit is to facilitate the auditor in: - Defining the mandate and scope of functions of the repository - Identifying the activities and assets of the repository Identifying the risks and vulnerabilities associated with the mandate, activities and assets Assessing and calculating the risks Defining risk management measures Reporting on the self-audit
  22. จบตรงนี้ เบรค ถามคำถาม
  23. 1. ISAD มีมาก่อน EAD
  24. คนแบบไหนที่เราต้องการ และเราจะมอบหมายงานอะไรให้เขาบ้าง ? ผู้ปฏิบัติงานคาดหวังการสนับสนุนอะไรได้บ้างจากองค์กร หรือหัวหน้า เพื่อให้เขากลายเป็นคนมีความสามารถตามที่องค์กรต้องการ ในฐานะหัวหน้าโครงการจดหมายเหตุดิจิทัลที่มีลูกทืม คุณจะแบ่งงานและมอบหมายงานให้ผู้ร่วมงานอย่างไรให้มีประสิทธิภาพ และตามทักษะที่เขามีมากที่สุด โครงการจดหมายเหตุดิจิทัลก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงอย่างไรต่อบทบาทและหน้าที่ของผู้รับผิดชอบ รวมถึงการก่อให้ความเปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้างต่อรูปแบบการให้บริการขององค์กร