SlideShare a Scribd company logo
1 of 49
Download to read offline
รายงาน “ วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ : Best Practices ”
การใช้ Social Media ในการจัดการศึกษา
นางสาวจารุวรรณ บุญชลาลัย
ชื่อผลงาน การใช้ Social Media ในการจัดการศึกษา
ชื่อผู้เสนอผลงาน นางสาวจารุวรรณ บุญชลาลัย ครู ค.ศ.2 โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
โทรศัพท์มือถือ 0887913194 e-mail : Jaruwan@mvsk.ac.th
ความเป็นมา
วิวัฒนาการของการศึกษาไทย เริ่มจากยุคของ Education 1.0 ที่การจัดการศึกษาเป็นแบบครูเป็น
ผู้ให้นักเรียนเป็นผู้รับเน้นการท่องจาตาราและทาแบบฝึกหัดตามตารา ไม่ได้เน้นกระบวนการเรียนรู้ตาม
ความสามารถของผู้เรียนแต่ละคน เข้าสู่ยุค Education 2.0 การจัดการศึกษาเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยการ
จัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับความถนัด ความสนใจและแตกต่างระหว่างบุคคล ปลูกฝังให้ผู้เรียนมีจิต
วิญญาณแห่งเรียนรู้และ แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง จากแห่งเรียนรู้ภายในและภายนอกโรงเรียน ครูคือ
ผู้สนับสนุน และเป็นแหล่งเรียนรู้ของผู้เรียน เมื่อมาถึงยุค Education 3.0 การจัดการศึกษาเน้นให้ผู้เรียน
สร้างองค์ความรู้ใหม่และสิ่งประดิษฐ์ใหม่โดยการใช้กระบวนการทางปัญญา (กระบวนการคิด) กระบวนการ
ทางสังคม (กระบวนการกลุ่ม) และให้ผู้เรียนปฏิสัมพันธ์และมีส่วนร่วมในการเรียนสามารถนาความรู้ไป
ประยุกต์ใช้ได้ โดยครูมีบทบาทเป็นผู้อานวยความสะดวกจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้ผู้เรียน จนถึงยุคปัจจุบัน
ยุคของ Education 4.0 เป็นยุคแห่งการจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับพฤติกรรมของผู้เรียนที่เปลี่ยนไปการ
ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เป็นเครื่องกระตุ้นการเรียนรู้ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนสร้างสรรค์นวัตกรรมและการวิจัย
ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อเพิ่มขีดความสามารถแข่งขันของประเทศ
ทักษะของเด็กในศตวรรษที่ 21 ที่ทุกคนจะต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต คือ การเรียนรู้ 3R x 7C อันได้แก่
3R คือ Reading (อ่านออก) Writing (เขียนได้) และ Rithemetics (คิดเลขเป็น) 7C ได้แก่
Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการ
แก้ปัญหา) Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม) Cross-cultural
Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์) Collaboration
Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีม และภาวะผู้นา)
Communications Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ และรู้
เท่าทันสื่อ) Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร) Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้)
ปัจจุบัน Facebook เป็นเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่มีผู้คนใช้มากกว่า 1 พันล้านคน โดยเฉพาะใน
ประเทศไทยมีผู้ใช้ Facebook กว่า 20 ล้านคน การเลือกเทคโนโลยีในรูปแบบ Live Video ซึ่งเป็นการ
ทางานแบบ Content Real-time บน Social Media และยังเป็นสื่อสารสองทาง มีปฏิสัมพันธ์ต่อกันทั้งสอง
ฝ่ายสามารถตอบโต้กันได้ทันที จึงเป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ที่ทาให้สามารถเข้าถึงตัวนักเรียนได้อย่าง
รวดเร็วและใกล้ชิด สามารถออกอากาศสดพร้อมกับบันทึกวีดีโอ เพื่อออกอากาศและดูซ้าได้อีก เพิ่มโอกาส
ความเสมอภาคทางการเรียนรู้ให้กับนักเรียนทั่วประเทศ สามารถดึงความสนใจให้นักเรียนเข้ามาร่วม
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับครู
สภาพการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในห้องเรียนยุคปัจจุบัน ปัญหาที่พบคือจานวนชั่วโมงที่
Best Practices
2
แท้จริงในการจัดกิจกรรมไม่สอดคล้องกับจานวนชั่วโมงตามหลักสูตรที่กาหนดในหน่วยการเรียนรู้ หรือเวลา
การเรียนของแต่ละชั่วโมงเรียนถูกรบกวนด้วยปัจจัยต่างๆทาให้เวลาเรียนแต่ละชั่วโมงเหลือน้อยลง อาทิเช่น
การเตรียมการจัดพานไหว้ครู จัดกิจกรรมวันไหว้ครู การร่นเวลาเรียนเพื่อให้นักเรียนเตรียมกิจกรรมการ
แข่งขันกีฬาสี และอื่นๆอีกมากมาย ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนจากเวลาที่ถูก
ลดทอนลงด้วยกิจกรรมดังกล่าว นอกจากคุณครูต้องเร่งรีบสอนแข่งกับเวลาทาให้นักเรียนไม่เข้าใจบทเรียน
แล้ว จานวนชั่วโมงยังไม่เพียงพอกับจานวนหน่วยการเรียนรู้ที่ต้องมีการสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ให้บรรลุตาม
มาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตร ผลกระทบจากปัญหาดังกล่าวส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
ต่า การใช้ Social Media ในการจัดการศึกษา จึงเป็นรูปแบบการสอนที่สามารถแก้ปัญหาที่กล่าวไว้ข้างต้น
จุดประสงค์ของการดาเนินงาน
1. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
2. เพื่อสร้างเจตคติที่ดีต่อการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
3. เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตร
ขั้นตอนการดาเนินงาน
ขั้นตอนการใช้ Social Media ในการจัดการศึกษา มีดังนี้
1. ขั้นการวางแผน/เตรียมการ (Plan)
1.1 ศึกษาสภาพปัญหาที่เกิดจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
1.2 สารวจจานวนชั่วโมงเรียนที่ที่เวลาขาดหายไปจากกิจกรรมต่างๆ
1.3 สารวจความต้องการของนักเรียนถึงหัวข้อที่ต้องการศึกษาเรียนรู้เพิ่มเติม
1.4 วางแผนและออกแบบนวัตกรรมโดยกาหนดรูปแบบในการแก้ปัญหาคือ การใช้ Social
Media ในการจัดการศึกษา
1.5 ออกแบบเลือก Social Media / Application / Wedsite สาหรับใช้ในการจัดการ
เรียนการสอน
1.5.1 www.wordpress.com
1.5.2 www.slideshare.net
1.5.3 www.scribd.com
1.5.4 www.youtube.com
1.5.5 www.jamestease.co.uk/team-generator
1.5.6 Kahoot
1.5.7 Google Classroom
1.5.8 Google Form
1.5.9 Facebook Live
1.5.10 Facebook Page
Best Practices
3
1.5.11 Plicker
1.5.12 Screencastify
2. ขั้นการดาเนินการ (Do)
2.1 ออกแบบ แบบสอบถามข้อมูลพื้นฐานออนไลน์ เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของนักเรียน
โดยใช้ Google Form
2.2 วางแผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ Social Media รายละเอียดดังนี้
- http://susuwan25.wordpress.com แหล่งศึกษาเรียนรู้เพิ่มเติมสาหรับนักเรียน
- https://www.slideshare.net/susuwan25 แหล่งศึกษาเรียนรู้เพิ่มเติมสาหรับ
นักเรียน
- www.scribd.com/susuwan25 แหล่งศึกษาเรียนรู้เพิ่มเติมสาหรับนักเรียน
- www.youtube.com คลังวีดีโอเพื่อการเรียนรู้
- www.jamestease.co.uk/team-generator โปรแกรมสุ่มการจัดกลุ่มสมาชิกในการ
จัดกิจกรรมกลุ่ม
- Kahoot เกมคณิตศาสตร์แต่ละบทเรียน
- Google Classroom เป็นการสร้างชั้นเรียนออนไลน์ที่มีการแจกจ่ายงานสาหรับ
นักเรียนได้
- Google Form เป็นการสร้างแบบสอบถามออนไลน์สาหรับการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน
ของนักเรียนในแต่ละปีการศึกษา การสร้างแบบประเมินออนไลน์สาหรับการดาเนินกิจกรรมหรือโครงการต่างๆ
การสร้างแบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การทาฐานข้อมูล
สาหรับการทราบพิกัดบ้านของนักเรียนเพื่อเยี่ยมบ้าน และการสร้างแบบทดสอบออนไลน์
- Facebook Live : Muuaon Jaja เป็นการ Live Video ถ่ายทอดสดออกอากาศ
สาหรับการสอนเพิ่มเติม/ทดแทน คาบที่ขาดหายไป การทบทวนบทเรียนที่นักเรียนไม่เข้าใจ การติวก่อนสอบ
ระหว่างภาค และปลายภาค
- Facebook Page : Kroojar เป็นช่องทางสาหรับการ Live Video การตอบคาถาม
ขณะ Live และ การส่งงานภายหลังจากการ Live
- Plicker เครื่องมือช่วยสอนที่นามาประยุกต์เป็นแบบทดสอบที่มีความแตกต่างจาก
แบบทดสอบในรูปแบบของกระดาษ
- Screencastify โปรแกรมบันทึกหน้าจอสาหรับการทาคลิปการสอนความยาวคลิปละ
5 นาที
2.3 ดาเนินการสอนโดยใช้ Social Media ตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่ออกแบบไว้
3. ขั้นการตรวจสอบ (Check)
3.1 กากับติดตาม นิเทศ และตรวจสอบการทาแบบฝึกหัดของนักเรียน
3.2 ประเมินผลการเรียนรู้โดยการทาแบบทดสอบ
Best Practices
4
3.3 ตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
4. ขั้นการสรุปผลและปรับปรุงพัฒนา (Action)
4.1 สรุปและรายงานผลการดาเนินงานการใช้ Social Media ในการจัดการศึกษา
4.2 นาผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนางานให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
ผลการดาเนินงาน
นักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะทางด้านคณิตศาสตร์ เกิดการเรียนรู้ครบเนื้อหาวิชาตามสาระ
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชา มีความกระตือรือร้นและเอาใจใส่ต่อการเรียน มีปฏิสัมพันธ์ตอบสนองกับ
ครูผู้สอนตลอดเวลา นักเรียนและครูมีความใกล้ชิดกันมากขึ้น นักเรียนมีความกล้าแสดงความคิดเห็น กล้า
ตอบคาถามและกล้าสื่อสารโต้ตอบครูผู้สอนอย่างเปิดเผย มากกว่าในคาบเรียนปกติ นักเรียนมีความพึงพอใจ
ต่อการใช้ Social Media ในการจัดการศึกษา ทาให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนคณิตศาสตร์มากขึ้น
นักเรียนมีความเข้าใจในเนื้อหาคณิตศาสตร์มากขึ้น การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนบรรลุตามมาตรฐานการ
เรียนรู้ของหลักสูตรการ นักเรียนมีโอกาสศึกษาเพิ่มเติมซ้าๆ จากแหล่ง Social Media ต่างๆที่ออกแบบไว้ ใน
กรณีที่นักเรียนยังไม่เข้าใจส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนดีขึ้นตามลาดับ รายละเอียดดังนี้
1. ผลงานจากการออกแบบ Social Media ในการจัดการศึกษา
- http://susuwan25.wordpress.com
Best Practices
5- https://www.slideshare.net/susuwan25
Best Practices
6
Best Practices
7
- www.scribd.com/susuwan25
Best Practices
8- www.youtube.com/susuwan25
Best Practices
9- www.jamestease.co.uk/team-generator
- Kahoot เกมคณิตศาสตร์แต่ละบทเรียน
Best Practices
10
- Google Classroom เป็นการสร้างชั้นเรียนออนไลน์ที่มีการแจกจ่ายงานสาหรับ
นักเรียนได้
Best Practices
11- Google Form
- Facebook Live : Muuaon Jaja
Best Practices
12- Facebook Page : Kroojar
- Plicker
Best Practices
13
- Screencastify
Best Practices
14
2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ 3 ค22101 ปีการศึกษา 2558
Best Practices
15
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ 3 ค22101 ปีการศึกษา 2559
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ 3 ค22101 ปีการศึกษา 2560
Best Practices
16
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ 3 ค22101 ปีการศึกษา 2561
ปัจจัยความสาเร็จ
1. ผู้บริหารให้การสนับสนุน อานวยความสะดวก ให้ครูได้รับการอบรมความรู้การใช้เทคนิคการสอน
ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลประเภท Live Video โดยใช้โปรแกรม OBS ซึ่งเป็นการ Live Streamming
2. ครูมีความรู้ความสามารถในการใช้เทคนิคการสอนด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลประเภท Live Video
3. ความพร้อมของอุปกรณ์ที่ใช้ในการ Live ทั้งคอมพิวเตอร์ ไมโครโฟน กล้อง และ อินเตอร์เน็ต
4. ผู้บริหารให้การสนับสนุน การพัฒนาบุคลากรทางด้านเทคโนโลยีใหม่ๆ อย่างสม่าเสมอ
5. ผู้บริหารสนับสนุนการจัดหาเตรียมความพร้อมให้วัสดุอุปกรณ์ในห้องเรียนอยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน
6. นักเรียนให้ความร่วมมือ มีความรับผิดชอบและเอาใจใส่ต่อกิจกรรมการใช้ Social Media ในการ
จัดการศึกษา
7. นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อกิจกรรมออนไลน์ทั้งในและนอกห้องเรียน
8. ผู้ปกครองนักเรียนให้ความสนับสนุน กวดขันให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมตามเวลาที่กาหนด
บทเรียนที่ได้รับ
จากการใช้ Social Media ในการจัดการศึกษาบรรยากาศการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเต็มไป
ด้วยความสนุกสนานเพลิดเพลินในการเรียนรู้ นักเรียนมีความกระตือรือร้นต่อการเรียน การใช้ Social Media
ในการจัดการศึกษาเป็นการเข้าถึงนักเรียนได้อย่างรวดเร็ว และมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบกันได้ทันที นักเรียนเกิด
การเรียนรู้ได้ดี มีเจตคติที่ดีต่อการเรียน มีการพัฒนาทางด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีขึ้น และมีความพึง
พอใจต่อการจัดการเรียนการสอน ดังนี้
Best Practices
17
ผลการประเมินความพึงพอใจในการเรียนของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาคณิตศาสตร์
เสริมทักษะ3 รหัสวิชา ค22203 ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
ปีการศึกษา 2562 มีรายละเอียด ดังนี้
ที่ รายการ/ กิจกรรม ผู้ตอบ
ระดับความคิดเห็น
X S.D.
แปล
ความหมาย5 4 3 2 1
1. ครูมีการเตรียมการสอน (พิจารณา
จากสื่ออุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการสอน
และมีเอกสาร ใบงาน ใบความรู้ ใน
การจัดการเรียนการสอน)
21 31 30 7 6 3.57 1.11 พอใจมาก
2. ครูมีความสามารถ เทคนิค และ
ทักษะในการถ่ายทอดความรู้
6 23 45 19 2 3.13 0.88 พอใจ
ปานกลาง
3. นักเรียนทราบจุดประสงค์การเรียนรู้
ชัดเจน
25 39 22 6 3 3.81 1.00 พอใจมาก
4. กิจกรรมการเรียนรู้สนุกและน่าสนใจ 21 44 18 9 3 3.75 1.01 พอใจมาก
5. ครูให้โอกาสนักเรียนซักถามปัญหา 17 20 47 9 2 3.43 0.96 พอใจ
ปานกลาง
6. ครูส่งเสริมให้นักเรียนทางานร่วมกัน
เป็นกลุ่ม/ทีม
14 33 29 10 9 3.35 1.15 พอใจ
ปานกลาง
7. ครูยอมรับความคิดของนักเรียนที่ต่าง
ไปจากครู
20 40 18 13 3 3.64 1.06 พอใจมาก
8. ครูให้ความสนใจแก่นักเรียนอย่าง
ทั่วถึงขณะที่สอน มีความเป็นกันเอง
ให้ความสนใจ เอาใจใส่กับนักเรียน
ทุกคน
24 41 21 7 2 3.82 0.97 พอใจมาก
9. ครูใช้วิธีการสอนหลายวิธี (เช่น การ
ทางานกลุ่ม, Project work, จับคู่
บทบาทสมมุติ ฯลฯ)
51 24 17 3 0 4.29 0.87 พอใจมาก
10. ครูส่งเสริมให้นักเรียนค้นคว้าหา
ความรู้จากห้องสมุดหรือแหล่งอื่น
32 38 17 5 5 3.87 1.08 พอใจมาก
11. นักเรียนมีส่วนร่วมในการประเมินผล
การเรียน
12 41 35 4 3 3.58 0.88 พอใจมาก
12. ครูประเมินผลอย่างยุติธรรม 29 26 26 4 10 3.63 1.26 พอใจมาก
Best Practices
18
ที่ รายการ/ กิจกรรม ผู้ตอบ
ระดับความคิดเห็น
X S.D.
แปล
ความหมาย5 4 3 2 1
13. ครูตั้งใจสอน ให้คาแนะนานักเรียนใน
การทากิจกรรม
14 30 27 22 2 3.34 1.06 พอใจ
ปานกลาง
14. นักเรียนชอบเรียนวิชานี้ 10 23 40 15 7 3.15 1.05 พอใจ
ปานกลาง
15. นักเรียนชอบครูที่สอนวิชานี้ 13 43 26 8 5 3.54 1.01 พอใจมาก
16. นักเรียนนาความรู้จากวิชานี้ไปใช้ใน
ชีวิตประจาวันและใช้ในระดับต่อไป
ได้
22 26 28 6 13 3.40 1.29 พอใจ
ปานกลาง
17. นักเรียนเรียนอย่างมีความสุข 19 36 29 11 0 3.66 0.93 พอใจมาก
ภาพรวม 3.59 0.81 พอใจมาก
จากตาราง พบว่า ผลการประเมินความพึงพอใจในการเรียนของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการ
สอนในรายวิชา คณิตศาสตร์3 รหัสวิชา ค22101 ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมหา
วชิราวุธ จังหวัดสงขลา ปีการศึกษา 2562 นักเรียนมีความพึงพอใจในภาพรวม อยู่ในระดับ มาก ( X =
3.59) นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีระดับความพึงพอใจในแต่ละประเด็นเรียงลาดับจากมาก ไปน้อย ดังนี้
ประเด็น / เรื่องที่ประเมิน X ระดับ
1. ครูใช้วิธีการสอนหลายวิธี (เช่น การทางานกลุ่ม , Project work ,
จับคู่ , บทบาทสมมติ ฯลฯ
4.29 พอใจมาก
2. ครูส่งเสริมให้นักเรียนค้นคว้าหาความรู้จากห้องสมุดหรือแหล่งอื่น 3.87 พอใจมาก
3. ครูให้ความสนใจแก่นักเรียนอย่างทั่วถึงขณะที่สอน มีความเป็นกันเอง
ให้ความสนใจ เอาใจใส่นักเรียนทุกคน
3.82 พอใจมาก
4. นักเรียนทราบจุดประสงค์การเรียนรู้ชัดเจน 3.81 พอใจมาก
5. กิจกรรมการเรียนรู้สนุกและน่าสนใจ 3.75 พอใจมาก
6. นักเรียนเรียนอย่างมีความสุข 3.66 พอใจมาก
7. ครูยอมรับความคิดของนักเรียนที่ต่างไปจากครู 3.64 พอใจมาก
8. ครูประเมินผลอย่างยุติธรรม 3.63 พอใจมาก
9. นักเรียนมีส่วนร่วมในการประเมินผลการเรียน 3.58 พอใจมาก
Best Practices
19
ประเด็น / เรื่องที่ประเมิน X ระดับ
10.ครูมีการเตรียมการสอน (พิจารณาจากสื่ออุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการ
สอน และมีเอกสาร ใบงาน ใบความรู้ ในการจัดการเรียนการสอน)
3.57 พอใจมาก
11.นักเรียนชอบครูที่สอนวิชานี้ 3.54 พอใจมาก
12.ครูให้โอกาสนักเรียนซักถามปัญหา 3.43 พอใจ
ปานกลาง
13.นักเรียนนาความรู้จากวิชานี้ไปใช้ในชีวิตประจาวันและใช้ในระดับ
ต่อไปได้
3.40 พอใจ
ปานกลาง
14.ครูส่งเสริมให้นักเรียนทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม/ทีม 3.35 พอใจ
ปานกลาง
15.ครูตั้งใจสอน ให้คาแนะนานักเรียนในการทากิจกรรม 3.34 พอใจ
ปานกลาง
16.นักเรียนชอบเรียนวิชานี้ 3.15 พอใจ
ปานกลาง
17.ครูมีความสามารถ เทคนิค และทักษะในการถ่ายทอดความรู้ 3.13 พอใจ
ปานกลาง
ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่นๆ
-------------------------
ผลการประเมินความพึงพอใจในการเรียนของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาคณิตศาสตร์3
รหัสวิชา ค22101 ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา ปีการศึกษา
2562 มีรายละเอียด ดังนี้
ที่ รายการ/ กิจกรรม ผู้ตอบ
ระดับความคิดเห็น
X S.D.
แปล
ความหมาย5 4 3 2 1
1. ครูมีการเตรียมการสอน (พิจารณา
จากสื่ออุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการสอน
และมีเอกสาร ใบงาน ใบความรู้ ใน
การจัดการเรียนการสอน)
7 18 25 4 4.07 0.95 พอใจมาก
2. ครูมีความสามารถ เทคนิค และ
ทักษะในการถ่ายทอดความรู้
23 14 16 1 3.52 0.82 พอใจมาก
3. นักเรียนทราบจุดประสงค์การเรียนรู้
ชัดเจน
7 18 25 4 4.15 0.79 พอใจมาก
4. กิจกรรมการเรียนรู้สนุกและน่าสนใจ 20 23 10 1 4.09 0.68 พอใจมาก
5. ครูให้โอกาสนักเรียนซักถามปัญหา 14 32 7 1 3.65 0.78 พอใจมาก
Best Practices
20
ที่ รายการ/ กิจกรรม ผู้ตอบ
ระดับความคิดเห็น
X S.D.
แปล
ความหมาย5 4 3 2 1
6. ครูส่งเสริมให้นักเรียนทางานร่วมกัน
เป็นกลุ่ม/ทีม
8 32 13 1 3.87 0.67 พอใจมาก
7. ครูยอมรับความคิดของนักเรียนที่ต่าง
ไปจากครู
15 32 7 2 4.04 0.73 พอใจมาก
8. ครูให้ความสนใจแก่นักเรียนอย่าง
ทั่วถึงขณะที่สอน มีความเป็นกันเอง
ให้ความสนใจ เอาใจใส่กับนักเรียน
ทุกคน
17 30 6 1 4.17 0.69 พอใจมาก
9. ครูใช้วิธีการสอนหลายวิธี (เช่น การ
ทางานกลุ่ม, Project work, จับคู่
บทบาทสมมุติ ฯลฯ)
32 18 4 4.52 0.64 พอใจมาก
ที่สุด
10. ครูส่งเสริมให้นักเรียนค้นคว้าหา
ความรู้จากห้องสมุดหรือแหล่งอื่น
19 27 7 1 4.19 0.73 พอใจมาก
11. นักเรียนมีส่วนร่วมในการประเมินผล
การเรียน
10 30 13 1 3.91 0.71 พอใจมาก
12. ครูประเมินผลอย่างยุติธรรม 21 21 10 1 1 4.11 0.90 พอใจมาก
13. ครูตั้งใจสอน ให้คาแนะนานักเรียนใน
การทากิจกรรม
11 19 17 7 3.63 0.96 พอใจมาก
14. นักเรียนชอบเรียนวิชานี้ 8 15 28 3 3.52 0.82 พอใจมาก
15. นักเรียนชอบครูที่สอนวิชานี้ 12 29 12 1 3.96 0.73 พอใจมาก
16. นักเรียนนาความรู้จากวิชานี้ไปใช้ใน
ชีวิตประจาวันและใช้ในระดับต่อไป
ได้
17 18 14 2 3 3.61 1.32 พอใจมาก
17. นักเรียนเรียนอย่างมีความสุข 12 22 15 5 3.76 0.91 พอใจมาก
ภาพรวม 3.93 0.50 พอใจมาก
จากตาราง พบว่า ผลการประเมินความพึงพอใจในการเรียนของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการ
สอนในรายวิชา คณิตศาสตร์3 รหัสวิชา ค22101 ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมหา
วชิราวุธ จังหวัดสงขลา ปีการศึกษา 2562 นักเรียนมีความพึงพอใจในภาพรวม อยู่ในระดับ พอใจมาก ( X =
3.93) นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีระดับความพึงพอใจในแต่ละประเด็นเรียงลาดับจากมาก ไปน้อย ดังนี้
Best Practices
21
ประเด็น / เรื่องที่ประเมิน X ระดับ
1. ครูใช้วิธีการสอนหลายวิธี(เช่น การทางานกลุ่ม , Project work , จับคู่
บทบาทสมมติ ฯลฯ
4.52 พอใจมากที่สุด
2. ครูส่งเสริมให้นักเรียนค้นคว้าหาความรู้จากห้องสมุดหรือแหล่งอื่น 4.19 พอใจมาก
3. ครูให้ความสนใจแก่นักเรียนอย่างทั่วถึงขณะที่สอน มีความเป็นกันเอง
ให้ความสนใจ เอาใจใส่กับนักเรียนทุกคน
4.17 พอใจมาก
4. นักเรียนทราบจุดประสงค์การเรียนรู้ชัดเจน 4.15 พอใจมาก
5. ครูประเมินผลอย่างยุติธรรม 4.11 พอใจมาก
6. กิจกรรมการเรียนรู้สนุกและน่าสนใจ 4.09 พอใจมาก
7. ครูมีการเตรียมการสอน (พิจารณาจากสื่ออุปกรณ์ต่างๆที่ใช้ในการสอน
และมีเอกสารใบงาน ใบความรู้ ในการจัดการเรียนการสอน)
4.07 พอใจมาก
8. ครูยอมรับความคิดของนักเรียนที่ต่างไปจากครู 4.04 พอใจมาก
9. นักเรียนชอบครูที่สอนวิชานี้ 3.96 พอใจมาก
10.นักเรียนมีส่วนร่วมในการประเมินผลการเรียน 3.91 พอใจมาก
11.ครูส่งเสริมให้นักเรียนทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม/ทีม 3.87 พอใจมาก
12.นักเรียนเรียนอย่างมีความสุข 3.76 พอใจมาก
13.ครูให้โอกาสนักเรียนซักถามปัญหา 3.65 พอใจมาก
14.ครูตั้งใจสอน ให้คาแนะนานักเรียนในการทากิจกรรม 3.63 พอใจมาก
15.นักเรียนนาความรู้จากวิชานี้ไปใช้ชีวิตประจาวันและใช้ในระดับ
ต่อไปได้
3.61 พอใจมาก
16. ครูมีความสามารถ เทคนิค และทักษะในการถ่ายทอดความรู้ 3.52 พอใจมาก
17.นักเรียนชอบเรียนวิชานี้ 3.52 พอใจมาก
ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่นๆ
-----------------
Best Practices
22
การเผยแพร่
การใช้ Social Media ในการจัดการศึกษา ที่มีการออกแบบเลือก Social Media / Application /
Wedsite สาหรับใช้ในการจัดการเรียนการสอนอย่างหลากหลาย ทาให้นวัตกรรมมีคุณประโยชน์ทั้งกับ
นักเรียนในโรงเรียน นอกโรงเรียน ในการศึกษาเรียนรู้ ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม มีประโยชน์ต่อครูผู้สอนที่สามารถ
เลือกใช้นาไปปรับใช้กับการจัดการศึกษาของตนให้มีความสมดุลย์กับบริบทของแต่ละคน จากจานวนผู้เข้า
เยี่ยมชม Website จานวนผู้เข้าอ่านผลงาน จานวนผู้ download เอกสาร จานวนผู้เข้าชมและแชร์
ClipVideo จนทาให้ได้รับคาชมและจะนารูปแบบไปเป็นแบบอย่าง จากเพื่อนร่วมอาชีพจากการออกแบบหนึ่ง
ใน Social Media นั่นคือการ Live Video
Best Practices
23
ภาคผนวก
Best Practices
24
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้โดยการใช้ Social Media
Best Practices
25
Best Practices
26
Best Practices
27
ตารางการใช้เทคนิคการสอนด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลประเภท Live Video
ที่ รายการ วัน เดือน ปี เวลา
ออกอากาศ
ความยาว ประเภท
การ Live
1. เกม 24 10 กรกฎาคม 2560 10.30 น. 51.42 นาที Live
Streaming
2. - ความเป็นมาของการวัด
- หน่วยการวัดความยาว
- หน่วยการวัดพื้นที่
18 กรกฎาคม 2560 20.31 น. 1.17 ชม. Facebook
Live
3. - หน่วยการวัดปริมาตร
- หน่วยการวัดเวลา
19 กรกฎาคม 2560 19.50 น. 1.28 ชม. Facebook
Live
4. ทบทวนก่อนสอบกลางภาคเรียน 25 กรกฎาคม 2560 19.36 46.10 นาที Live
Streaming
5. ทบทวนก่อนสอบปลายภาคเรียน
(คณิตศาสตร์พื้นฐาน)
18 กันยายน 2560 19.57 น. 1.20 ชม. Live
Streaming
6. ทบทวนก่อนสอบกลางภาคเรียน
(คณิตศาสตร์เพิ่มเติม)
18 ธันวาคม 2560 19.56 น. 1.67 ชม. Facebook
Live
7. ทบทวนก่อนสอบแก้กลางภาค
เรียน(คณิตศาสตร์เพิ่มเติม)
8 มกราคม 2561 19.35 น. 1.63 ชม. Facebook
Live
8. ทบทวนก่อนสอบแก้กลางภาค
เรียน(คณิตศาสตร์พื้นฐาน)
9 มกราคม 2561 19.22 น. 2.55 ชม. Facebook
Live
9. ทบทวนก่อนสอบปลายภาคเรียน 16 กุมภาพันธ์ 2561 10.03 น. 1.59 ชม. Facebook
Live
10. ทบทวนก่อนสอบปลายภาคเรียน 5 มีนาคม 2561 19.20 น. 1.98 ชม. Facebook
Live
11. การสะท้อน 13 สิงหาคม 2561 10.11 น. 1.90 ชม. Live
Streaming
12. ความเท่ากันทุกประการ 12 กันยายน 2561 19.07 น. 2.05 ชม. Live
Streaming
13. ทบทวนก่อนสอบปลายภาคเรียน
(คณิตศาสตร์พื้นฐาน)
15 กันยายน 2561 09.55 น. 1.83 ชม. Live
Streaming
14. ทบทวนก่อนสอบปลายภาคเรียน
(คณิตศาสตร์เพิ่มเติม)
18 กันยายน 2561 19.14 น. 2.08 ชม. Live
Streaming
15. ทบทวน(คณิตศาสตร์พื้นฐาน) 23 กันยายน 2561 15.02 น. 51.42 นาที Live
Streaming
16. ทบทวน(คณิตศาสตร์พื้นฐาน) 21 กันยายน 2562 10.08 1.92 ชม. Live
Streaming
Best Practices
28URL การใช้เทคนิคการสอนด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลประเภท Live Video
ที่ รายการ url.
1. เกม 24 https://www.facebook.com/kroomuuaon/videos/10210126861747444/
2. - ความ
เป็นมาของ
การวัด
- หน่วยการ
วัดความยาว
- หน่วยการ
วัดพื้นที่
https://www.facebook.com/kroomuuaon/videos/10210204337804297/
3. - หน่วยการ
วัดปริมาตร
- หน่วยการ
วัดเวลา
https://www.facebook.com/kroomuuaon/videos/10210212841736890/
4. ทบทวนก่อน
สอบกลาง
ภาคเรียน
(คณิตศาสตร์
พื้นฐาน)
https://www.facebook.com/kroomuuaon/videos/10210267648147016/
5. ทบทวนก่อน
สอบปลาย
ภาคเรียน
(คณิตศาสตร์
พื้นฐาน)
https://www.facebook.com/kroomuuaon/videos/10210653066022222/
6. ทบทวนก่อน
สอบกลาง
ภาคเรียน
(คณิตศาสตร์
เพิ่มเติม)
https://www.facebook.com/kroomuuaon/videos/10211261682677258/
7. ทบทวนก่อน
สอบแก้กลาง
ภาคเรียน
(คณิตศาสตร์
เพิ่มเติม)
https://www.facebook.com/kroomuuaon/videos/10211412604410207/
Best Practices
29
ที่ รายการ url.
8. ทบทวนก่อน
สอบแก้กลาง
ภาคเรียน
(คณิตศาสตร์
พื้นฐาน)
https://www.facebook.com/kroomuuaon/videos/10211419445901240/
9. ทบทวนก่อน
สอบปลาย
ภาคเรียน
https://www.facebook.com/kroomuuaon/videos/10211720568189109/
10. ทบทวนก่อน
สอบปลาย
ภาคเรียน
https://www.facebook.com/kroomuuaon/videos/10211869717917759/
11. การสะท้อน https://www.facebook.com/kroomuuaon/videos/10212944024134743/
12. ความเท่ากัน
ทุกประการ
https://www.facebook.com/126569580709962/videos/477267209423918/
13. ทบทวนก่อน
สอบปลาย
ภาคเรียน
(คณิตศาสตร์
พื้นฐาน)
https://www.facebook.com/126569580709962/videos/1189976024474990/
14. ทบทวนก่อน
สอบปลาย
ภาคเรียน
(คณิตศาสตร์
เพิ่มเติม)
https://www.facebook.com/126569580709962/videos/639058319823674/
15. ทบทวน
(คณิตศาสตร์
พื้นฐาน)
https://www.facebook.com/126569580709962/videos/2174655799467651/
15. ทบทวน
(คณิตศาสตร์
พื้นฐาน)
https://web.facebook.com/126569580709962/videos/682824825546772/
Best Practices
30
รูปภาพประกอบการ Live Streaming และ การ Live Facebook
1. เกม 24 10 กรกฎาคม 2560 10.30 น. 41.02 นาที Live
Streaming
Best Practices
31
รูปภาพประกอบการ Live Streaming และ การ Live Facebook
2. - ความเป็นมาของการวัด
- หน่วยการวัดความยาว
- หน่วยการวัดพื้นที่
18 กรกฎาคม 2560 20.31 น. 51.25 นาที Facebook
Live
Best Practices
32
รูปภาพประกอบการ Live Streaming และ การ Live Facebook
3. - หน่วยการวัดปริมาตร
- หน่วยการวัดเวลา
19 กรกฎาคม 2560 19.50 น. 1.10 ชม. Facebook
Live
Best Practices
33
รูปภาพประกอบการ Live Streaming และ การ Live Facebook
4. ทบทวนก่อนสอบกลางภาค
เรียน
25 กรกฎาคม 2560 19.36 1.17 ชม. Live
Streaming
Best Practices
34
รูปภาพประกอบการ Live Streaming และ การ Live Facebook
5. ทบทวนก่อนสอบปลายภาค
เรียน
(คณิตศาสตร์พื้นฐาน)
18 กันยายน 2560 19.57 น. 46.06 นาที Live
Streaming
Best Practices
35
รูปภาพประกอบการ Live Streaming และ การ Live Facebook
6. ทบทวนก่อนสอบกลางภาค
เรียน(คณิตศาสตร์เพิ่มเติม)
18 ธันวาคม 2560 19.56 น. 1.12 ชม. Facebook
Live
Best Practices
36
รูปภาพประกอบการ Live Streaming และ การ Live Facebook
7. ทบทวนก่อนสอบแก้กลาง
ภาคเรียน(คณิตศาสตร์
เพิ่มเติม)
8 มกราคม 2561 19.35 น. 1.40 ชม. Facebook
Live
Best Practices
37
รูปภาพประกอบการ Live Streaming และ การ Live Facebook
8. ทบทวนก่อนสอบแก้กลาง
ภาคเรียน(คณิตศาสตร์
พื้นฐาน)
9 มกราคม 2561 19.22 น. 1.38 ชม. Facebook
Live
Best Practices
38
รูปภาพประกอบการ Live Streaming และ การ Live Facebook
9. ทบทวนก่อนสอบปลายภาค
เรียน
16 กุมภาพันธ์ 2561 10.03 น. 2.33 ชม. Facebook
Live
Best Practices
39
รูปภาพประกอบการ Live Streaming และ การ Live Facebook
10. ทบทวนก่อนสอบปลายภาค
เรียน
5 มีนาคม 2561 19.20 น. 1.59 ชม. Facebook
Live
Best Practices
40
รูปภาพประกอบการ Live Streaming และ การ Live Facebook
11. การสะท้อน 13 สิงหาคม 2561 10.11 น. 1.55 ชม. Live
Streaming
Best Practices
41
รูปภาพประกอบการ Live Streaming และ การ Live Facebook
12. ความเท่ากันทุกประการ 12 กันยายน 2561 19.07 น. 1.54 ชม. Live
Streaming
Best Practices
42
รูปภาพประกอบการ Live Streaming และ การ Live Facebook
13. ทบทวนก่อนสอบปลายภาค
เรียน(คณิตศาสตร์พื้นฐาน)
15 กันยายน 2561 09.55 น. 2.03 ชม. Live
Streaming
Best Practices
43
รูปภาพประกอบการ Live Streaming และ การ Live Facebook
14. ทบทวนก่อนสอบปลายภาค
เรียน(คณิตศาสตร์เพิ่มเติม)
18 กันยายน 2561 19.14 น. 1.50 ชม. Live
Streaming
Best Practices
44
รูปภาพประกอบการ Live Streaming และ การ Live Facebook
15. ทบทวน(คณิตศาสตร์พื้นฐาน) 23 กันยายน 2561 15.02 น. 2.05 ชม. Live
Streaming
Best Practices
45
รูปภาพประกอบการ Live Streaming และ การ Live Facebook
16. ทบทวน(คณิตศาสตร์พื้นฐาน) 21 กันยายน 2562 10.08 น. 1.92 ชม. Live
Streaming
Best Practices
46
ผลการเรียนรู้ของนักเรียน
Best Practices
47
ผลการเรียนรู้ของนักเรียน
Best Practices
48
ผลการเรียนรู้ของนักเรียน
Best Practices
49
ผลการเรียนรู้ของนักเรียน

More Related Content

What's hot

สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554
สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554
สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554Thanawut Rattanadon
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictKobwit Piriyawat
 
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยาWorrachet Boonyong
 
ใบงานที่4 พัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 พัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 พัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 พัฒนาเพื่อการศึกษาKrittamook Sansumdang
 

What's hot (6)

สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554
สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554
สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
นวัตกรรม Chapter 3
นวัตกรรม Chapter 3นวัตกรรม Chapter 3
นวัตกรรม Chapter 3
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
 
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
 
ใบงานที่4 พัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 พัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 พัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 พัฒนาเพื่อการศึกษา
 

Similar to Best practice01

โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8Giftfy Snw
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553Nattapon
 
สองรางวัลระดับชาติจากการนำ Social media มาใช้เป็นส่วนหนึ่ง
สองรางวัลระดับชาติจากการนำ Social media มาใช้เป็นส่วนหนึ่งสองรางวัลระดับชาติจากการนำ Social media มาใช้เป็นส่วนหนึ่ง
สองรางวัลระดับชาติจากการนำ Social media มาใช้เป็นส่วนหนึ่งคุณครูพี่อั๋น
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554Nattapon
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 5
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 5ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 5
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 5โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา
 
ใบงานที่ 2 8 gookie
ใบงานที่ 2   8 gookieใบงานที่ 2   8 gookie
ใบงานที่ 2 8 gookienoputa3366
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554Nattapon
 
2 8edit-140916022926-phpapp02
2 8edit-140916022926-phpapp022 8edit-140916022926-phpapp02
2 8edit-140916022926-phpapp02Sarawut Fuekhat
 
ใบงานที่ 2 8 แนน
ใบงานที่ 2   8 แนนใบงานที่ 2   8 แนน
ใบงานที่ 2 8 แนนnoputa3366
 
แฟ้มสะสมผลงานของนักเรียนนักศึกษาของเป้
แฟ้มสะสมผลงานของนักเรียนนักศึกษาของเป้แฟ้มสะสมผลงานของนักเรียนนักศึกษาของเป้
แฟ้มสะสมผลงานของนักเรียนนักศึกษาของเป้sirikarn khengkrud
 
แฟ้มสะสมผลงานของนักเรียนนักศึกษาของเป้ศิริกาน
แฟ้มสะสมผลงานของนักเรียนนักศึกษาของเป้ศิริกานแฟ้มสะสมผลงานของนักเรียนนักศึกษาของเป้ศิริกาน
แฟ้มสะสมผลงานของนักเรียนนักศึกษาของเป้ศิริกานsirikarn khengkrud
 
แฟ้มสะสมผลงานของนักเรียนนักศึกษาของเป้1
แฟ้มสะสมผลงานของนักเรียนนักศึกษาของเป้1แฟ้มสะสมผลงานของนักเรียนนักศึกษาของเป้1
แฟ้มสะสมผลงานของนักเรียนนักศึกษาของเป้1sirikarn khengkrud
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Ssk Jeenn
 

Similar to Best practice01 (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
 
สองรางวัลระดับชาติจากการนำ Social media มาใช้เป็นส่วนหนึ่ง
สองรางวัลระดับชาติจากการนำ Social media มาใช้เป็นส่วนหนึ่งสองรางวัลระดับชาติจากการนำ Social media มาใช้เป็นส่วนหนึ่ง
สองรางวัลระดับชาติจากการนำ Social media มาใช้เป็นส่วนหนึ่ง
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
 
The Best Teacher of Social Media
The Best Teacher of Social MediaThe Best Teacher of Social Media
The Best Teacher of Social Media
 
Kamon
KamonKamon
Kamon
 
Kamon1
Kamon1Kamon1
Kamon1
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 5
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 5ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 5
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 5
 
ใบงานที่ 2 8 gookie
ใบงานที่ 2   8 gookieใบงานที่ 2   8 gookie
ใบงานที่ 2 8 gookie
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
 
2 8edit-140916022926-phpapp02
2 8edit-140916022926-phpapp022 8edit-140916022926-phpapp02
2 8edit-140916022926-phpapp02
 
ใบงานที่ 2 8 แนน
ใบงานที่ 2   8 แนนใบงานที่ 2   8 แนน
ใบงานที่ 2 8 แนน
 
งาน2 8
งาน2 8งาน2 8
งาน2 8
 
4 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar554 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar55
 
4 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar574 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar57
 
แฟ้มสะสมผลงานของนักเรียนนักศึกษาของเป้
แฟ้มสะสมผลงานของนักเรียนนักศึกษาของเป้แฟ้มสะสมผลงานของนักเรียนนักศึกษาของเป้
แฟ้มสะสมผลงานของนักเรียนนักศึกษาของเป้
 
แฟ้มสะสมผลงานของนักเรียนนักศึกษาของเป้ศิริกาน
แฟ้มสะสมผลงานของนักเรียนนักศึกษาของเป้ศิริกานแฟ้มสะสมผลงานของนักเรียนนักศึกษาของเป้ศิริกาน
แฟ้มสะสมผลงานของนักเรียนนักศึกษาของเป้ศิริกาน
 
แฟ้มสะสมผลงานของนักเรียนนักศึกษาของเป้1
แฟ้มสะสมผลงานของนักเรียนนักศึกษาของเป้1แฟ้มสะสมผลงานของนักเรียนนักศึกษาของเป้1
แฟ้มสะสมผลงานของนักเรียนนักศึกษาของเป้1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

More from kroojaja

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7ekroojaja
 
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2kroojaja
 
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1kroojaja
 
เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)kroojaja
 
ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)kroojaja
 
การดำเนินการบนเมทริกซ์
การดำเนินการบนเมทริกซ์การดำเนินการบนเมทริกซ์
การดำเนินการบนเมทริกซ์kroojaja
 
ระบบสมการเชิงเสัน
ระบบสมการเชิงเสันระบบสมการเชิงเสัน
ระบบสมการเชิงเสันkroojaja
 
03อัตราส่วนและร้อยละ01
03อัตราส่วนและร้อยละ0103อัตราส่วนและร้อยละ01
03อัตราส่วนและร้อยละ01kroojaja
 
001 converted-merged
001 converted-merged001 converted-merged
001 converted-mergedkroojaja
 
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558kroojaja
 
เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60
เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60
เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60kroojaja
 
ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560kroojaja
 
ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560kroojaja
 
ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560kroojaja
 
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิตคู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิตkroojaja
 
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิตคู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิตkroojaja
 
การประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่วนและร้อยละการประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 

More from kroojaja (20)

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
 
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2
 
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1
 
เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)
 
ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)
 
การดำเนินการบนเมทริกซ์
การดำเนินการบนเมทริกซ์การดำเนินการบนเมทริกซ์
การดำเนินการบนเมทริกซ์
 
ระบบสมการเชิงเสัน
ระบบสมการเชิงเสันระบบสมการเชิงเสัน
ระบบสมการเชิงเสัน
 
03อัตราส่วนและร้อยละ01
03อัตราส่วนและร้อยละ0103อัตราส่วนและร้อยละ01
03อัตราส่วนและร้อยละ01
 
01real
01real01real
01real
 
001 converted-merged
001 converted-merged001 converted-merged
001 converted-merged
 
Equal
EqualEqual
Equal
 
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558
 
เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60
เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60
เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60
 
ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560
 
ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560
 
ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560
 
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิตคู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
 
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิตคู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
 
การประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่วนและร้อยละการประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่วนและร้อยละ
 

Best practice01

  • 1. รายงาน “ วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ : Best Practices ” การใช้ Social Media ในการจัดการศึกษา นางสาวจารุวรรณ บุญชลาลัย ชื่อผลงาน การใช้ Social Media ในการจัดการศึกษา ชื่อผู้เสนอผลงาน นางสาวจารุวรรณ บุญชลาลัย ครู ค.ศ.2 โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา โทรศัพท์มือถือ 0887913194 e-mail : Jaruwan@mvsk.ac.th ความเป็นมา วิวัฒนาการของการศึกษาไทย เริ่มจากยุคของ Education 1.0 ที่การจัดการศึกษาเป็นแบบครูเป็น ผู้ให้นักเรียนเป็นผู้รับเน้นการท่องจาตาราและทาแบบฝึกหัดตามตารา ไม่ได้เน้นกระบวนการเรียนรู้ตาม ความสามารถของผู้เรียนแต่ละคน เข้าสู่ยุค Education 2.0 การจัดการศึกษาเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยการ จัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับความถนัด ความสนใจและแตกต่างระหว่างบุคคล ปลูกฝังให้ผู้เรียนมีจิต วิญญาณแห่งเรียนรู้และ แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง จากแห่งเรียนรู้ภายในและภายนอกโรงเรียน ครูคือ ผู้สนับสนุน และเป็นแหล่งเรียนรู้ของผู้เรียน เมื่อมาถึงยุค Education 3.0 การจัดการศึกษาเน้นให้ผู้เรียน สร้างองค์ความรู้ใหม่และสิ่งประดิษฐ์ใหม่โดยการใช้กระบวนการทางปัญญา (กระบวนการคิด) กระบวนการ ทางสังคม (กระบวนการกลุ่ม) และให้ผู้เรียนปฏิสัมพันธ์และมีส่วนร่วมในการเรียนสามารถนาความรู้ไป ประยุกต์ใช้ได้ โดยครูมีบทบาทเป็นผู้อานวยความสะดวกจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้ผู้เรียน จนถึงยุคปัจจุบัน ยุคของ Education 4.0 เป็นยุคแห่งการจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับพฤติกรรมของผู้เรียนที่เปลี่ยนไปการ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เป็นเครื่องกระตุ้นการเรียนรู้ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนสร้างสรรค์นวัตกรรมและการวิจัย ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อเพิ่มขีดความสามารถแข่งขันของประเทศ ทักษะของเด็กในศตวรรษที่ 21 ที่ทุกคนจะต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต คือ การเรียนรู้ 3R x 7C อันได้แก่ 3R คือ Reading (อ่านออก) Writing (เขียนได้) และ Rithemetics (คิดเลขเป็น) 7C ได้แก่ Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการ แก้ปัญหา) Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม) Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์) Collaboration Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีม และภาวะผู้นา) Communications Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ และรู้ เท่าทันสื่อ) Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร) Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้) ปัจจุบัน Facebook เป็นเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่มีผู้คนใช้มากกว่า 1 พันล้านคน โดยเฉพาะใน ประเทศไทยมีผู้ใช้ Facebook กว่า 20 ล้านคน การเลือกเทคโนโลยีในรูปแบบ Live Video ซึ่งเป็นการ ทางานแบบ Content Real-time บน Social Media และยังเป็นสื่อสารสองทาง มีปฏิสัมพันธ์ต่อกันทั้งสอง ฝ่ายสามารถตอบโต้กันได้ทันที จึงเป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ที่ทาให้สามารถเข้าถึงตัวนักเรียนได้อย่าง รวดเร็วและใกล้ชิด สามารถออกอากาศสดพร้อมกับบันทึกวีดีโอ เพื่อออกอากาศและดูซ้าได้อีก เพิ่มโอกาส ความเสมอภาคทางการเรียนรู้ให้กับนักเรียนทั่วประเทศ สามารถดึงความสนใจให้นักเรียนเข้ามาร่วม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับครู สภาพการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในห้องเรียนยุคปัจจุบัน ปัญหาที่พบคือจานวนชั่วโมงที่
  • 2. Best Practices 2 แท้จริงในการจัดกิจกรรมไม่สอดคล้องกับจานวนชั่วโมงตามหลักสูตรที่กาหนดในหน่วยการเรียนรู้ หรือเวลา การเรียนของแต่ละชั่วโมงเรียนถูกรบกวนด้วยปัจจัยต่างๆทาให้เวลาเรียนแต่ละชั่วโมงเหลือน้อยลง อาทิเช่น การเตรียมการจัดพานไหว้ครู จัดกิจกรรมวันไหว้ครู การร่นเวลาเรียนเพื่อให้นักเรียนเตรียมกิจกรรมการ แข่งขันกีฬาสี และอื่นๆอีกมากมาย ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนจากเวลาที่ถูก ลดทอนลงด้วยกิจกรรมดังกล่าว นอกจากคุณครูต้องเร่งรีบสอนแข่งกับเวลาทาให้นักเรียนไม่เข้าใจบทเรียน แล้ว จานวนชั่วโมงยังไม่เพียงพอกับจานวนหน่วยการเรียนรู้ที่ต้องมีการสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ให้บรรลุตาม มาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตร ผลกระทบจากปัญหาดังกล่าวส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ต่า การใช้ Social Media ในการจัดการศึกษา จึงเป็นรูปแบบการสอนที่สามารถแก้ปัญหาที่กล่าวไว้ข้างต้น จุดประสงค์ของการดาเนินงาน 1. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 2. เพื่อสร้างเจตคติที่ดีต่อการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 3. เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตร ขั้นตอนการดาเนินงาน ขั้นตอนการใช้ Social Media ในการจัดการศึกษา มีดังนี้ 1. ขั้นการวางแผน/เตรียมการ (Plan) 1.1 ศึกษาสภาพปัญหาที่เกิดจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 1.2 สารวจจานวนชั่วโมงเรียนที่ที่เวลาขาดหายไปจากกิจกรรมต่างๆ 1.3 สารวจความต้องการของนักเรียนถึงหัวข้อที่ต้องการศึกษาเรียนรู้เพิ่มเติม 1.4 วางแผนและออกแบบนวัตกรรมโดยกาหนดรูปแบบในการแก้ปัญหาคือ การใช้ Social Media ในการจัดการศึกษา 1.5 ออกแบบเลือก Social Media / Application / Wedsite สาหรับใช้ในการจัดการ เรียนการสอน 1.5.1 www.wordpress.com 1.5.2 www.slideshare.net 1.5.3 www.scribd.com 1.5.4 www.youtube.com 1.5.5 www.jamestease.co.uk/team-generator 1.5.6 Kahoot 1.5.7 Google Classroom 1.5.8 Google Form 1.5.9 Facebook Live 1.5.10 Facebook Page
  • 3. Best Practices 3 1.5.11 Plicker 1.5.12 Screencastify 2. ขั้นการดาเนินการ (Do) 2.1 ออกแบบ แบบสอบถามข้อมูลพื้นฐานออนไลน์ เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของนักเรียน โดยใช้ Google Form 2.2 วางแผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ Social Media รายละเอียดดังนี้ - http://susuwan25.wordpress.com แหล่งศึกษาเรียนรู้เพิ่มเติมสาหรับนักเรียน - https://www.slideshare.net/susuwan25 แหล่งศึกษาเรียนรู้เพิ่มเติมสาหรับ นักเรียน - www.scribd.com/susuwan25 แหล่งศึกษาเรียนรู้เพิ่มเติมสาหรับนักเรียน - www.youtube.com คลังวีดีโอเพื่อการเรียนรู้ - www.jamestease.co.uk/team-generator โปรแกรมสุ่มการจัดกลุ่มสมาชิกในการ จัดกิจกรรมกลุ่ม - Kahoot เกมคณิตศาสตร์แต่ละบทเรียน - Google Classroom เป็นการสร้างชั้นเรียนออนไลน์ที่มีการแจกจ่ายงานสาหรับ นักเรียนได้ - Google Form เป็นการสร้างแบบสอบถามออนไลน์สาหรับการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน ของนักเรียนในแต่ละปีการศึกษา การสร้างแบบประเมินออนไลน์สาหรับการดาเนินกิจกรรมหรือโครงการต่างๆ การสร้างแบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การทาฐานข้อมูล สาหรับการทราบพิกัดบ้านของนักเรียนเพื่อเยี่ยมบ้าน และการสร้างแบบทดสอบออนไลน์ - Facebook Live : Muuaon Jaja เป็นการ Live Video ถ่ายทอดสดออกอากาศ สาหรับการสอนเพิ่มเติม/ทดแทน คาบที่ขาดหายไป การทบทวนบทเรียนที่นักเรียนไม่เข้าใจ การติวก่อนสอบ ระหว่างภาค และปลายภาค - Facebook Page : Kroojar เป็นช่องทางสาหรับการ Live Video การตอบคาถาม ขณะ Live และ การส่งงานภายหลังจากการ Live - Plicker เครื่องมือช่วยสอนที่นามาประยุกต์เป็นแบบทดสอบที่มีความแตกต่างจาก แบบทดสอบในรูปแบบของกระดาษ - Screencastify โปรแกรมบันทึกหน้าจอสาหรับการทาคลิปการสอนความยาวคลิปละ 5 นาที 2.3 ดาเนินการสอนโดยใช้ Social Media ตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่ออกแบบไว้ 3. ขั้นการตรวจสอบ (Check) 3.1 กากับติดตาม นิเทศ และตรวจสอบการทาแบบฝึกหัดของนักเรียน 3.2 ประเมินผลการเรียนรู้โดยการทาแบบทดสอบ
  • 4. Best Practices 4 3.3 ตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน 4. ขั้นการสรุปผลและปรับปรุงพัฒนา (Action) 4.1 สรุปและรายงานผลการดาเนินงานการใช้ Social Media ในการจัดการศึกษา 4.2 นาผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนางานให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ผลการดาเนินงาน นักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะทางด้านคณิตศาสตร์ เกิดการเรียนรู้ครบเนื้อหาวิชาตามสาระ มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชา มีความกระตือรือร้นและเอาใจใส่ต่อการเรียน มีปฏิสัมพันธ์ตอบสนองกับ ครูผู้สอนตลอดเวลา นักเรียนและครูมีความใกล้ชิดกันมากขึ้น นักเรียนมีความกล้าแสดงความคิดเห็น กล้า ตอบคาถามและกล้าสื่อสารโต้ตอบครูผู้สอนอย่างเปิดเผย มากกว่าในคาบเรียนปกติ นักเรียนมีความพึงพอใจ ต่อการใช้ Social Media ในการจัดการศึกษา ทาให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนคณิตศาสตร์มากขึ้น นักเรียนมีความเข้าใจในเนื้อหาคณิตศาสตร์มากขึ้น การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนบรรลุตามมาตรฐานการ เรียนรู้ของหลักสูตรการ นักเรียนมีโอกาสศึกษาเพิ่มเติมซ้าๆ จากแหล่ง Social Media ต่างๆที่ออกแบบไว้ ใน กรณีที่นักเรียนยังไม่เข้าใจส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนดีขึ้นตามลาดับ รายละเอียดดังนี้ 1. ผลงานจากการออกแบบ Social Media ในการจัดการศึกษา - http://susuwan25.wordpress.com
  • 9. Best Practices 9- www.jamestease.co.uk/team-generator - Kahoot เกมคณิตศาสตร์แต่ละบทเรียน
  • 10. Best Practices 10 - Google Classroom เป็นการสร้างชั้นเรียนออนไลน์ที่มีการแจกจ่ายงานสาหรับ นักเรียนได้
  • 11. Best Practices 11- Google Form - Facebook Live : Muuaon Jaja
  • 12. Best Practices 12- Facebook Page : Kroojar - Plicker
  • 15. Best Practices 15 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ 3 ค22101 ปีการศึกษา 2559 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ 3 ค22101 ปีการศึกษา 2560
  • 16. Best Practices 16 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ 3 ค22101 ปีการศึกษา 2561 ปัจจัยความสาเร็จ 1. ผู้บริหารให้การสนับสนุน อานวยความสะดวก ให้ครูได้รับการอบรมความรู้การใช้เทคนิคการสอน ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลประเภท Live Video โดยใช้โปรแกรม OBS ซึ่งเป็นการ Live Streamming 2. ครูมีความรู้ความสามารถในการใช้เทคนิคการสอนด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลประเภท Live Video 3. ความพร้อมของอุปกรณ์ที่ใช้ในการ Live ทั้งคอมพิวเตอร์ ไมโครโฟน กล้อง และ อินเตอร์เน็ต 4. ผู้บริหารให้การสนับสนุน การพัฒนาบุคลากรทางด้านเทคโนโลยีใหม่ๆ อย่างสม่าเสมอ 5. ผู้บริหารสนับสนุนการจัดหาเตรียมความพร้อมให้วัสดุอุปกรณ์ในห้องเรียนอยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน 6. นักเรียนให้ความร่วมมือ มีความรับผิดชอบและเอาใจใส่ต่อกิจกรรมการใช้ Social Media ในการ จัดการศึกษา 7. นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อกิจกรรมออนไลน์ทั้งในและนอกห้องเรียน 8. ผู้ปกครองนักเรียนให้ความสนับสนุน กวดขันให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมตามเวลาที่กาหนด บทเรียนที่ได้รับ จากการใช้ Social Media ในการจัดการศึกษาบรรยากาศการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเต็มไป ด้วยความสนุกสนานเพลิดเพลินในการเรียนรู้ นักเรียนมีความกระตือรือร้นต่อการเรียน การใช้ Social Media ในการจัดการศึกษาเป็นการเข้าถึงนักเรียนได้อย่างรวดเร็ว และมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบกันได้ทันที นักเรียนเกิด การเรียนรู้ได้ดี มีเจตคติที่ดีต่อการเรียน มีการพัฒนาทางด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีขึ้น และมีความพึง พอใจต่อการจัดการเรียนการสอน ดังนี้
  • 17. Best Practices 17 ผลการประเมินความพึงพอใจในการเรียนของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาคณิตศาสตร์ เสริมทักษะ3 รหัสวิชา ค22203 ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา ปีการศึกษา 2562 มีรายละเอียด ดังนี้ ที่ รายการ/ กิจกรรม ผู้ตอบ ระดับความคิดเห็น X S.D. แปล ความหมาย5 4 3 2 1 1. ครูมีการเตรียมการสอน (พิจารณา จากสื่ออุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการสอน และมีเอกสาร ใบงาน ใบความรู้ ใน การจัดการเรียนการสอน) 21 31 30 7 6 3.57 1.11 พอใจมาก 2. ครูมีความสามารถ เทคนิค และ ทักษะในการถ่ายทอดความรู้ 6 23 45 19 2 3.13 0.88 พอใจ ปานกลาง 3. นักเรียนทราบจุดประสงค์การเรียนรู้ ชัดเจน 25 39 22 6 3 3.81 1.00 พอใจมาก 4. กิจกรรมการเรียนรู้สนุกและน่าสนใจ 21 44 18 9 3 3.75 1.01 พอใจมาก 5. ครูให้โอกาสนักเรียนซักถามปัญหา 17 20 47 9 2 3.43 0.96 พอใจ ปานกลาง 6. ครูส่งเสริมให้นักเรียนทางานร่วมกัน เป็นกลุ่ม/ทีม 14 33 29 10 9 3.35 1.15 พอใจ ปานกลาง 7. ครูยอมรับความคิดของนักเรียนที่ต่าง ไปจากครู 20 40 18 13 3 3.64 1.06 พอใจมาก 8. ครูให้ความสนใจแก่นักเรียนอย่าง ทั่วถึงขณะที่สอน มีความเป็นกันเอง ให้ความสนใจ เอาใจใส่กับนักเรียน ทุกคน 24 41 21 7 2 3.82 0.97 พอใจมาก 9. ครูใช้วิธีการสอนหลายวิธี (เช่น การ ทางานกลุ่ม, Project work, จับคู่ บทบาทสมมุติ ฯลฯ) 51 24 17 3 0 4.29 0.87 พอใจมาก 10. ครูส่งเสริมให้นักเรียนค้นคว้าหา ความรู้จากห้องสมุดหรือแหล่งอื่น 32 38 17 5 5 3.87 1.08 พอใจมาก 11. นักเรียนมีส่วนร่วมในการประเมินผล การเรียน 12 41 35 4 3 3.58 0.88 พอใจมาก 12. ครูประเมินผลอย่างยุติธรรม 29 26 26 4 10 3.63 1.26 พอใจมาก
  • 18. Best Practices 18 ที่ รายการ/ กิจกรรม ผู้ตอบ ระดับความคิดเห็น X S.D. แปล ความหมาย5 4 3 2 1 13. ครูตั้งใจสอน ให้คาแนะนานักเรียนใน การทากิจกรรม 14 30 27 22 2 3.34 1.06 พอใจ ปานกลาง 14. นักเรียนชอบเรียนวิชานี้ 10 23 40 15 7 3.15 1.05 พอใจ ปานกลาง 15. นักเรียนชอบครูที่สอนวิชานี้ 13 43 26 8 5 3.54 1.01 พอใจมาก 16. นักเรียนนาความรู้จากวิชานี้ไปใช้ใน ชีวิตประจาวันและใช้ในระดับต่อไป ได้ 22 26 28 6 13 3.40 1.29 พอใจ ปานกลาง 17. นักเรียนเรียนอย่างมีความสุข 19 36 29 11 0 3.66 0.93 พอใจมาก ภาพรวม 3.59 0.81 พอใจมาก จากตาราง พบว่า ผลการประเมินความพึงพอใจในการเรียนของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการ สอนในรายวิชา คณิตศาสตร์3 รหัสวิชา ค22101 ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมหา วชิราวุธ จังหวัดสงขลา ปีการศึกษา 2562 นักเรียนมีความพึงพอใจในภาพรวม อยู่ในระดับ มาก ( X = 3.59) นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีระดับความพึงพอใจในแต่ละประเด็นเรียงลาดับจากมาก ไปน้อย ดังนี้ ประเด็น / เรื่องที่ประเมิน X ระดับ 1. ครูใช้วิธีการสอนหลายวิธี (เช่น การทางานกลุ่ม , Project work , จับคู่ , บทบาทสมมติ ฯลฯ 4.29 พอใจมาก 2. ครูส่งเสริมให้นักเรียนค้นคว้าหาความรู้จากห้องสมุดหรือแหล่งอื่น 3.87 พอใจมาก 3. ครูให้ความสนใจแก่นักเรียนอย่างทั่วถึงขณะที่สอน มีความเป็นกันเอง ให้ความสนใจ เอาใจใส่นักเรียนทุกคน 3.82 พอใจมาก 4. นักเรียนทราบจุดประสงค์การเรียนรู้ชัดเจน 3.81 พอใจมาก 5. กิจกรรมการเรียนรู้สนุกและน่าสนใจ 3.75 พอใจมาก 6. นักเรียนเรียนอย่างมีความสุข 3.66 พอใจมาก 7. ครูยอมรับความคิดของนักเรียนที่ต่างไปจากครู 3.64 พอใจมาก 8. ครูประเมินผลอย่างยุติธรรม 3.63 พอใจมาก 9. นักเรียนมีส่วนร่วมในการประเมินผลการเรียน 3.58 พอใจมาก
  • 19. Best Practices 19 ประเด็น / เรื่องที่ประเมิน X ระดับ 10.ครูมีการเตรียมการสอน (พิจารณาจากสื่ออุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการ สอน และมีเอกสาร ใบงาน ใบความรู้ ในการจัดการเรียนการสอน) 3.57 พอใจมาก 11.นักเรียนชอบครูที่สอนวิชานี้ 3.54 พอใจมาก 12.ครูให้โอกาสนักเรียนซักถามปัญหา 3.43 พอใจ ปานกลาง 13.นักเรียนนาความรู้จากวิชานี้ไปใช้ในชีวิตประจาวันและใช้ในระดับ ต่อไปได้ 3.40 พอใจ ปานกลาง 14.ครูส่งเสริมให้นักเรียนทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม/ทีม 3.35 พอใจ ปานกลาง 15.ครูตั้งใจสอน ให้คาแนะนานักเรียนในการทากิจกรรม 3.34 พอใจ ปานกลาง 16.นักเรียนชอบเรียนวิชานี้ 3.15 พอใจ ปานกลาง 17.ครูมีความสามารถ เทคนิค และทักษะในการถ่ายทอดความรู้ 3.13 พอใจ ปานกลาง ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่นๆ ------------------------- ผลการประเมินความพึงพอใจในการเรียนของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาคณิตศาสตร์3 รหัสวิชา ค22101 ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา ปีการศึกษา 2562 มีรายละเอียด ดังนี้ ที่ รายการ/ กิจกรรม ผู้ตอบ ระดับความคิดเห็น X S.D. แปล ความหมาย5 4 3 2 1 1. ครูมีการเตรียมการสอน (พิจารณา จากสื่ออุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการสอน และมีเอกสาร ใบงาน ใบความรู้ ใน การจัดการเรียนการสอน) 7 18 25 4 4.07 0.95 พอใจมาก 2. ครูมีความสามารถ เทคนิค และ ทักษะในการถ่ายทอดความรู้ 23 14 16 1 3.52 0.82 พอใจมาก 3. นักเรียนทราบจุดประสงค์การเรียนรู้ ชัดเจน 7 18 25 4 4.15 0.79 พอใจมาก 4. กิจกรรมการเรียนรู้สนุกและน่าสนใจ 20 23 10 1 4.09 0.68 พอใจมาก 5. ครูให้โอกาสนักเรียนซักถามปัญหา 14 32 7 1 3.65 0.78 พอใจมาก
  • 20. Best Practices 20 ที่ รายการ/ กิจกรรม ผู้ตอบ ระดับความคิดเห็น X S.D. แปล ความหมาย5 4 3 2 1 6. ครูส่งเสริมให้นักเรียนทางานร่วมกัน เป็นกลุ่ม/ทีม 8 32 13 1 3.87 0.67 พอใจมาก 7. ครูยอมรับความคิดของนักเรียนที่ต่าง ไปจากครู 15 32 7 2 4.04 0.73 พอใจมาก 8. ครูให้ความสนใจแก่นักเรียนอย่าง ทั่วถึงขณะที่สอน มีความเป็นกันเอง ให้ความสนใจ เอาใจใส่กับนักเรียน ทุกคน 17 30 6 1 4.17 0.69 พอใจมาก 9. ครูใช้วิธีการสอนหลายวิธี (เช่น การ ทางานกลุ่ม, Project work, จับคู่ บทบาทสมมุติ ฯลฯ) 32 18 4 4.52 0.64 พอใจมาก ที่สุด 10. ครูส่งเสริมให้นักเรียนค้นคว้าหา ความรู้จากห้องสมุดหรือแหล่งอื่น 19 27 7 1 4.19 0.73 พอใจมาก 11. นักเรียนมีส่วนร่วมในการประเมินผล การเรียน 10 30 13 1 3.91 0.71 พอใจมาก 12. ครูประเมินผลอย่างยุติธรรม 21 21 10 1 1 4.11 0.90 พอใจมาก 13. ครูตั้งใจสอน ให้คาแนะนานักเรียนใน การทากิจกรรม 11 19 17 7 3.63 0.96 พอใจมาก 14. นักเรียนชอบเรียนวิชานี้ 8 15 28 3 3.52 0.82 พอใจมาก 15. นักเรียนชอบครูที่สอนวิชานี้ 12 29 12 1 3.96 0.73 พอใจมาก 16. นักเรียนนาความรู้จากวิชานี้ไปใช้ใน ชีวิตประจาวันและใช้ในระดับต่อไป ได้ 17 18 14 2 3 3.61 1.32 พอใจมาก 17. นักเรียนเรียนอย่างมีความสุข 12 22 15 5 3.76 0.91 พอใจมาก ภาพรวม 3.93 0.50 พอใจมาก จากตาราง พบว่า ผลการประเมินความพึงพอใจในการเรียนของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการ สอนในรายวิชา คณิตศาสตร์3 รหัสวิชา ค22101 ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมหา วชิราวุธ จังหวัดสงขลา ปีการศึกษา 2562 นักเรียนมีความพึงพอใจในภาพรวม อยู่ในระดับ พอใจมาก ( X = 3.93) นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีระดับความพึงพอใจในแต่ละประเด็นเรียงลาดับจากมาก ไปน้อย ดังนี้
  • 21. Best Practices 21 ประเด็น / เรื่องที่ประเมิน X ระดับ 1. ครูใช้วิธีการสอนหลายวิธี(เช่น การทางานกลุ่ม , Project work , จับคู่ บทบาทสมมติ ฯลฯ 4.52 พอใจมากที่สุด 2. ครูส่งเสริมให้นักเรียนค้นคว้าหาความรู้จากห้องสมุดหรือแหล่งอื่น 4.19 พอใจมาก 3. ครูให้ความสนใจแก่นักเรียนอย่างทั่วถึงขณะที่สอน มีความเป็นกันเอง ให้ความสนใจ เอาใจใส่กับนักเรียนทุกคน 4.17 พอใจมาก 4. นักเรียนทราบจุดประสงค์การเรียนรู้ชัดเจน 4.15 พอใจมาก 5. ครูประเมินผลอย่างยุติธรรม 4.11 พอใจมาก 6. กิจกรรมการเรียนรู้สนุกและน่าสนใจ 4.09 พอใจมาก 7. ครูมีการเตรียมการสอน (พิจารณาจากสื่ออุปกรณ์ต่างๆที่ใช้ในการสอน และมีเอกสารใบงาน ใบความรู้ ในการจัดการเรียนการสอน) 4.07 พอใจมาก 8. ครูยอมรับความคิดของนักเรียนที่ต่างไปจากครู 4.04 พอใจมาก 9. นักเรียนชอบครูที่สอนวิชานี้ 3.96 พอใจมาก 10.นักเรียนมีส่วนร่วมในการประเมินผลการเรียน 3.91 พอใจมาก 11.ครูส่งเสริมให้นักเรียนทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม/ทีม 3.87 พอใจมาก 12.นักเรียนเรียนอย่างมีความสุข 3.76 พอใจมาก 13.ครูให้โอกาสนักเรียนซักถามปัญหา 3.65 พอใจมาก 14.ครูตั้งใจสอน ให้คาแนะนานักเรียนในการทากิจกรรม 3.63 พอใจมาก 15.นักเรียนนาความรู้จากวิชานี้ไปใช้ชีวิตประจาวันและใช้ในระดับ ต่อไปได้ 3.61 พอใจมาก 16. ครูมีความสามารถ เทคนิค และทักษะในการถ่ายทอดความรู้ 3.52 พอใจมาก 17.นักเรียนชอบเรียนวิชานี้ 3.52 พอใจมาก ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่นๆ -----------------
  • 22. Best Practices 22 การเผยแพร่ การใช้ Social Media ในการจัดการศึกษา ที่มีการออกแบบเลือก Social Media / Application / Wedsite สาหรับใช้ในการจัดการเรียนการสอนอย่างหลากหลาย ทาให้นวัตกรรมมีคุณประโยชน์ทั้งกับ นักเรียนในโรงเรียน นอกโรงเรียน ในการศึกษาเรียนรู้ ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม มีประโยชน์ต่อครูผู้สอนที่สามารถ เลือกใช้นาไปปรับใช้กับการจัดการศึกษาของตนให้มีความสมดุลย์กับบริบทของแต่ละคน จากจานวนผู้เข้า เยี่ยมชม Website จานวนผู้เข้าอ่านผลงาน จานวนผู้ download เอกสาร จานวนผู้เข้าชมและแชร์ ClipVideo จนทาให้ได้รับคาชมและจะนารูปแบบไปเป็นแบบอย่าง จากเพื่อนร่วมอาชีพจากการออกแบบหนึ่ง ใน Social Media นั่นคือการ Live Video
  • 27. Best Practices 27 ตารางการใช้เทคนิคการสอนด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลประเภท Live Video ที่ รายการ วัน เดือน ปี เวลา ออกอากาศ ความยาว ประเภท การ Live 1. เกม 24 10 กรกฎาคม 2560 10.30 น. 51.42 นาที Live Streaming 2. - ความเป็นมาของการวัด - หน่วยการวัดความยาว - หน่วยการวัดพื้นที่ 18 กรกฎาคม 2560 20.31 น. 1.17 ชม. Facebook Live 3. - หน่วยการวัดปริมาตร - หน่วยการวัดเวลา 19 กรกฎาคม 2560 19.50 น. 1.28 ชม. Facebook Live 4. ทบทวนก่อนสอบกลางภาคเรียน 25 กรกฎาคม 2560 19.36 46.10 นาที Live Streaming 5. ทบทวนก่อนสอบปลายภาคเรียน (คณิตศาสตร์พื้นฐาน) 18 กันยายน 2560 19.57 น. 1.20 ชม. Live Streaming 6. ทบทวนก่อนสอบกลางภาคเรียน (คณิตศาสตร์เพิ่มเติม) 18 ธันวาคม 2560 19.56 น. 1.67 ชม. Facebook Live 7. ทบทวนก่อนสอบแก้กลางภาค เรียน(คณิตศาสตร์เพิ่มเติม) 8 มกราคม 2561 19.35 น. 1.63 ชม. Facebook Live 8. ทบทวนก่อนสอบแก้กลางภาค เรียน(คณิตศาสตร์พื้นฐาน) 9 มกราคม 2561 19.22 น. 2.55 ชม. Facebook Live 9. ทบทวนก่อนสอบปลายภาคเรียน 16 กุมภาพันธ์ 2561 10.03 น. 1.59 ชม. Facebook Live 10. ทบทวนก่อนสอบปลายภาคเรียน 5 มีนาคม 2561 19.20 น. 1.98 ชม. Facebook Live 11. การสะท้อน 13 สิงหาคม 2561 10.11 น. 1.90 ชม. Live Streaming 12. ความเท่ากันทุกประการ 12 กันยายน 2561 19.07 น. 2.05 ชม. Live Streaming 13. ทบทวนก่อนสอบปลายภาคเรียน (คณิตศาสตร์พื้นฐาน) 15 กันยายน 2561 09.55 น. 1.83 ชม. Live Streaming 14. ทบทวนก่อนสอบปลายภาคเรียน (คณิตศาสตร์เพิ่มเติม) 18 กันยายน 2561 19.14 น. 2.08 ชม. Live Streaming 15. ทบทวน(คณิตศาสตร์พื้นฐาน) 23 กันยายน 2561 15.02 น. 51.42 นาที Live Streaming 16. ทบทวน(คณิตศาสตร์พื้นฐาน) 21 กันยายน 2562 10.08 1.92 ชม. Live Streaming
  • 28. Best Practices 28URL การใช้เทคนิคการสอนด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลประเภท Live Video ที่ รายการ url. 1. เกม 24 https://www.facebook.com/kroomuuaon/videos/10210126861747444/ 2. - ความ เป็นมาของ การวัด - หน่วยการ วัดความยาว - หน่วยการ วัดพื้นที่ https://www.facebook.com/kroomuuaon/videos/10210204337804297/ 3. - หน่วยการ วัดปริมาตร - หน่วยการ วัดเวลา https://www.facebook.com/kroomuuaon/videos/10210212841736890/ 4. ทบทวนก่อน สอบกลาง ภาคเรียน (คณิตศาสตร์ พื้นฐาน) https://www.facebook.com/kroomuuaon/videos/10210267648147016/ 5. ทบทวนก่อน สอบปลาย ภาคเรียน (คณิตศาสตร์ พื้นฐาน) https://www.facebook.com/kroomuuaon/videos/10210653066022222/ 6. ทบทวนก่อน สอบกลาง ภาคเรียน (คณิตศาสตร์ เพิ่มเติม) https://www.facebook.com/kroomuuaon/videos/10211261682677258/ 7. ทบทวนก่อน สอบแก้กลาง ภาคเรียน (คณิตศาสตร์ เพิ่มเติม) https://www.facebook.com/kroomuuaon/videos/10211412604410207/
  • 29. Best Practices 29 ที่ รายการ url. 8. ทบทวนก่อน สอบแก้กลาง ภาคเรียน (คณิตศาสตร์ พื้นฐาน) https://www.facebook.com/kroomuuaon/videos/10211419445901240/ 9. ทบทวนก่อน สอบปลาย ภาคเรียน https://www.facebook.com/kroomuuaon/videos/10211720568189109/ 10. ทบทวนก่อน สอบปลาย ภาคเรียน https://www.facebook.com/kroomuuaon/videos/10211869717917759/ 11. การสะท้อน https://www.facebook.com/kroomuuaon/videos/10212944024134743/ 12. ความเท่ากัน ทุกประการ https://www.facebook.com/126569580709962/videos/477267209423918/ 13. ทบทวนก่อน สอบปลาย ภาคเรียน (คณิตศาสตร์ พื้นฐาน) https://www.facebook.com/126569580709962/videos/1189976024474990/ 14. ทบทวนก่อน สอบปลาย ภาคเรียน (คณิตศาสตร์ เพิ่มเติม) https://www.facebook.com/126569580709962/videos/639058319823674/ 15. ทบทวน (คณิตศาสตร์ พื้นฐาน) https://www.facebook.com/126569580709962/videos/2174655799467651/ 15. ทบทวน (คณิตศาสตร์ พื้นฐาน) https://web.facebook.com/126569580709962/videos/682824825546772/
  • 30. Best Practices 30 รูปภาพประกอบการ Live Streaming และ การ Live Facebook 1. เกม 24 10 กรกฎาคม 2560 10.30 น. 41.02 นาที Live Streaming
  • 31. Best Practices 31 รูปภาพประกอบการ Live Streaming และ การ Live Facebook 2. - ความเป็นมาของการวัด - หน่วยการวัดความยาว - หน่วยการวัดพื้นที่ 18 กรกฎาคม 2560 20.31 น. 51.25 นาที Facebook Live
  • 32. Best Practices 32 รูปภาพประกอบการ Live Streaming และ การ Live Facebook 3. - หน่วยการวัดปริมาตร - หน่วยการวัดเวลา 19 กรกฎาคม 2560 19.50 น. 1.10 ชม. Facebook Live
  • 33. Best Practices 33 รูปภาพประกอบการ Live Streaming และ การ Live Facebook 4. ทบทวนก่อนสอบกลางภาค เรียน 25 กรกฎาคม 2560 19.36 1.17 ชม. Live Streaming
  • 34. Best Practices 34 รูปภาพประกอบการ Live Streaming และ การ Live Facebook 5. ทบทวนก่อนสอบปลายภาค เรียน (คณิตศาสตร์พื้นฐาน) 18 กันยายน 2560 19.57 น. 46.06 นาที Live Streaming
  • 35. Best Practices 35 รูปภาพประกอบการ Live Streaming และ การ Live Facebook 6. ทบทวนก่อนสอบกลางภาค เรียน(คณิตศาสตร์เพิ่มเติม) 18 ธันวาคม 2560 19.56 น. 1.12 ชม. Facebook Live
  • 36. Best Practices 36 รูปภาพประกอบการ Live Streaming และ การ Live Facebook 7. ทบทวนก่อนสอบแก้กลาง ภาคเรียน(คณิตศาสตร์ เพิ่มเติม) 8 มกราคม 2561 19.35 น. 1.40 ชม. Facebook Live
  • 37. Best Practices 37 รูปภาพประกอบการ Live Streaming และ การ Live Facebook 8. ทบทวนก่อนสอบแก้กลาง ภาคเรียน(คณิตศาสตร์ พื้นฐาน) 9 มกราคม 2561 19.22 น. 1.38 ชม. Facebook Live
  • 38. Best Practices 38 รูปภาพประกอบการ Live Streaming และ การ Live Facebook 9. ทบทวนก่อนสอบปลายภาค เรียน 16 กุมภาพันธ์ 2561 10.03 น. 2.33 ชม. Facebook Live
  • 39. Best Practices 39 รูปภาพประกอบการ Live Streaming และ การ Live Facebook 10. ทบทวนก่อนสอบปลายภาค เรียน 5 มีนาคม 2561 19.20 น. 1.59 ชม. Facebook Live
  • 40. Best Practices 40 รูปภาพประกอบการ Live Streaming และ การ Live Facebook 11. การสะท้อน 13 สิงหาคม 2561 10.11 น. 1.55 ชม. Live Streaming
  • 41. Best Practices 41 รูปภาพประกอบการ Live Streaming และ การ Live Facebook 12. ความเท่ากันทุกประการ 12 กันยายน 2561 19.07 น. 1.54 ชม. Live Streaming
  • 42. Best Practices 42 รูปภาพประกอบการ Live Streaming และ การ Live Facebook 13. ทบทวนก่อนสอบปลายภาค เรียน(คณิตศาสตร์พื้นฐาน) 15 กันยายน 2561 09.55 น. 2.03 ชม. Live Streaming
  • 43. Best Practices 43 รูปภาพประกอบการ Live Streaming และ การ Live Facebook 14. ทบทวนก่อนสอบปลายภาค เรียน(คณิตศาสตร์เพิ่มเติม) 18 กันยายน 2561 19.14 น. 1.50 ชม. Live Streaming
  • 44. Best Practices 44 รูปภาพประกอบการ Live Streaming และ การ Live Facebook 15. ทบทวน(คณิตศาสตร์พื้นฐาน) 23 กันยายน 2561 15.02 น. 2.05 ชม. Live Streaming
  • 45. Best Practices 45 รูปภาพประกอบการ Live Streaming และ การ Live Facebook 16. ทบทวน(คณิตศาสตร์พื้นฐาน) 21 กันยายน 2562 10.08 น. 1.92 ชม. Live Streaming