SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
กาแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
เป็นกาแพงที่สร้างขึ้นช่วงหลังเยอรมันพ่ายสงครามโลกครั้ง
ที่ 2 และถูกแบ่งเป็นสองประเทศ มีวัตถุประสงค์เพื่อปิดกั้น
พรมแดนเบอร์ลินตะวันตกซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเยอรมนี
ตะวันตก ออกจากเยอรมนีตะวันออกที่โอบล้อมอยู่โดยรอบ มี
ความยาวทั้งสิ้น 155 กิโลเมตร เริ่มสร้างเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม
พ.ศ. 2504 ค.ศ. 1961) และได้ทาหน้าที่ในการปิดกั้นพรมแดนนี้
เป็นระยะเวลา 28 ปี ก่อนจะทลายลงในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ.
2532
ในเยอรมนีตะวันออก กาแพงเบอร์ลิน คือ แนวเขตแดนที่มั่นคง และ
สัญลักษณ์ของการต่อต้านทุนนิยม แต่สาหรับโลกเสรีแล้ว มันคือ สัญลักษณ์
ของความขัดแย้งระหว่างระบบทุนนิยมของยุโรปตะวันตก ภายใต้การนาของ
สหรัฐอเมริกา กับระบบคอมมิวนิสต์ของยุโรปตะวันออก ภายใต้การปกครอง
ของสหภาพโซเวียต หรือที่เรียกกันว่า สงครามเย็น นั่นเอง กาแพงเบอร์ลิน ทาให้
กรุงเบอร์ลินฝั่งตะวันตก กลายเป็นเสมือน หน้าต่างสู่เสรีภาพ
นับตั้งแต่การสร้างกาแพงเบอร์ลิน การข้ามผ่านแดนจากเยอรมนี
ตะวันออก ไปยังเยอรมนีตะวันตก กลายเป็นเรื่องผิดกฎหมาย หากมีการฝ่าฝืน
และถูกพบเห็น มีโทษสถานเดียว คือ การยิงทิ้ง ณ บริเวณกาแพงนั่นเอง ตลอด
ระยะเวลา 28 ปี คาดว่ามีผู้เสียชีวิตที่กาแพงเบอร์ลินขณะหลบหนีระหว่าง 136
ถึง 206 คน
แนวกำแพงและด่ำนตรวจ
พื้นที่สีขาวคือเบอร์ลิน
ตะวันตก
สีชมพูที่เหลือทั้งหมด
คือเยอรมนีตะวันออก
กำเนิดกำแพงเบอร์ลิน
ผลจากการย้ายออกของชาวเยอรมันตะวันออก ที่มีมากเกินการ
ควบคุม รัฐบาลเยอรมนีตะวันออกในขณะนั้น จึงได้สร้างกาแพงกั้นระหว่าง
ประเทศเยอรมนีตะวันออกกับเยอรมนีตะวันตก ว่ากันว่า แนวกาแพงที่กั้น
ระหว่างสองประเทศนี้ยาวเป็นอันดับสองรองจากกาแพงเมืองจีนทีเดียว
ในส่วนของกรุงเบอร์ลิน นครหลวงของประเทศทั้งสอง มีที่ตั้งอยู่ใจ
กลางประเทศเยอรมนีตะวันออก ดังนั้น นครเบอร์ลินฝั่งตะวันตก จึงถูกปิด
ล้อมด้วยเยอรมนีตะวันออกรอบด้าน ในระยะแรก การเดินทางเข้าออก
ระหว่างเบอร์ลินตะวันออก และเบอร์ลินตะวันตก เป็นไปโดยเสรี กระทั่งเมื่อ
มีการอพยพของชาวเยอรมันตะวันออกจานวนมาก เป็นเหตุให้รัฐบาล
เยอรมนีตะวันออกเร่งสร้างกาแพงเพื่อปิดกั้นการย้ายถิ่นของ
ชาวเยอรมัน
ในวันที่13 สิงหาคม พ.ศ. 2507 เป็นวันแรกที่มีการสร้างกาแพง
เพื่อปิดล้อมกรุงเบอร์ลินตะวันตก และเป็นจุดเริ่มต้นของ
สงครามเย็นในยุคนั้น
กาแพงเบอร์ลิน ถูกใช้งานเป็นเวลา 28 ปี ในช่วงเวลานี้มีการ
ปรับเปลี่ยนโครงสร้างและรูปแบบของกาแพงถึง 4 ครั้ง แต่ละ
ครั้งจะเพิ่มความแข็งแรง และความสูงของกาแพงเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ
เพื่อป้องกันการหลบหนีของชาวเยอรมันตะวันออก เนื่องจาก
กาแพงกันระหว่างเยอรมนีตะวันออก และเยอรมนีตะวันตก มีจุด
เปราะบางที่สุดที่กรุงเบอร์ลินนี่เอง กาแพงเบอร์ลินทั้ง 4 รุ่นมี
พัฒนาการดังนี้
กำแพงรุ่นที่ 1 เริ่มสร้างเมื่อวันที่ สิงหาคม พ.ศ. 2507 เป็นแนว
รั้วลวดหนาม เป็นการสร้างชั่วคราวเพื่อป้องกันการอพยพของ
ประชาชน เป็นกาแพงเบอร์ลินรุ่นที่มีอายุใช้งานสั้นที่สุด
กำแพงรุ่นที่ 2 เป็นกาแพงก่ออิฐถือปูน ถูกสร้างขึ้นแทนกาแพงรั้วลวด
หนามทันทีที่กาแพงรั้วลวดหนามเสร็จสมบูรณ์ แต่กาแพงก่ออิฐถือปูนนี้
ก็ไม่แข็งแรงพอที่ปิดกั้นความปรารถนาในการแสวงหาเสรีภาพของ
ประชาชน มีความพยายามในการหลบหนีด้วยการทาลายกาแพงเกิดขึ้น
หลายครั้ง
กำแพงรุ่นที่ 3 เป็นรั้วคอนกรีตสาเร็จรูป ถูกสร้างขึ้นเพื่อให้
เกิดความแข็งแรง และความสูงเพิ่มขึ้น
กำแพงรุ่นที่ 4 ถูกสร้างในปี ค.ศ. 1975 เป็นแผ่นคอนกรีตสาเร็จรูปขนาดกว้าง 1.2
เมตร สูง 3.6 เมตร จานวนกว่า 45,000 แผ่นถูกต่อเป็นแนวรอบกรุงเบอร์ลิน
ตะวันตกเชื่อมต่อด้วยท่อคอนกรีตที่ด้านบนกาแพง กาแพงรุ่นนี้ถูกใช้งาน
จนกระทั่งถึงการล่มสลายในปี ค.ศ. 1989 และเป็นกาแพงเบอร์ลินรุ่นที่ถูกนาไป
แสดงในพิพิธภัณฑ์และสถานที่ต่าง ๆ ในปัจจุบัน ในการก่อสร้างกาแพง
เบอร์ลินรุ่นที่ 4 ใช้งบประมาณสูงถึงกว่า 1,650 ล้านมาร์ก ณ ขณะนั้นทีเดียว
สาหรับประชาชนเยอรมันทั้งตะวันตก และตะวันออก และ
ประชาคมโลกในระบบประชาธิปไตย กาแพงเบอร์ลิน เปรียบเสมือน
การปิดกั้นเสรีภาพของประชาชน ว่ากันว่า กาแพงเบอร์ลิน เป็น
กาแพงแห่งเดียวในโลกที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อปิดกั้นประชาชนในประเทศ
ของตนจากโลกภายนอก ในขณะที่กาแพงเมืองอื่น ๆ ทั่วโลกนั้น มีไว้
เพื่อป้องกันไม่ให้ศัตรูเข้ามารุกรานเสรีภาพของชาวเมือง ในทาง
กลับกัน สหภาพโซเวียต ผู้อยู่เบื้องหลังการสร้างกาแพงเบอร์ลิน กลับ
มองว่า กาแพงเบอร์ลิน คือ นวัตกรรมของชนชาติ
กำรลอบข้ำมกำแพง
ในระหว่างที่กาแพงยังตั้งอยู่นั้น มีความพยายามหลบหนีข้ามเขตแดนราว
5,000 ครั้ง ในช่วงแรกนั้น การหลบหนีเป็นไปอย่างไม่ยากนัก เนื่องจากกาแพง
ในช่วงแรกเป็นเพียงรั้วลวดหนามเตี้ย ๆ และบางส่วนก็กระโดดออกมาทาง
หน้าต่างของตึกที่อยู่ติดกับกาแพง แต่ไม่นานนักกาแพงก็เปลี่ยนเป็นคอนกรีตที่
แน่นหนา ส่วนหน้าต่างตึกต่าง ๆ ที่อยู่ใกล้กับกาแพงก็ถูกก่ออิฐปิดตาย
หากการสร้างกาแพงเบอร์ลิน คือ นวัตกรรมของชนชาติ การลอบ
ข้ามกาแพงเบอร์ลินย่อมเป็นนวัตกรรมที่ยิ่งใหญ่กว่า มีการลอบข้ามกาแพง
เบอร์ลินหลายต่อหลายครั้งที่แสดงถึงความสร้างสรรค์อันยิ่งใหญ่ เช่น การ
ข้ามกาแพงด้วยบอลลูน การสร้างสลิงข้ามแนวกาแพงด้วยเวลาไม่ถึง 2
นาที การขุดอุโมงค์ลอดใต้กาแพง ซึ่งสามารถช่วยชาวเบอร์ลินตะวันออก
หลบหนีได้มากถึงกว่าร้อยคน เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีจุดข้ามแดนบาง
จุดที่ได้รับการช่วยเหลือจากกองทัพสัมพันธมิตร อาทิ จุดข้ามแดนโดยการ
ว่ายข้ามแม่น้ากองทัพอังกฤษได้หย่อนบันไดลิงไว้ในฝั่งตรงข้ามเพื่อให้ผู้ที่
ว่ายน้าข้ามไปสามารถปีนขึ้นฝั่งได้
กำรเสียชีวิตในกำรลอบข้ำมกำแพง
ในการลอบข้ามกาแพง เป็นความเสี่ยงที่ต้องแลกมาด้วยชีวิต ด้วย
รัฐบาลเยอรมนีตะวันออกมีกฎที่ว่า ผู้หลบหนีจะถูกยิงทิ้งทันทีที่พบเห็น
จานวนผู้เสียชีวิต และบาดเจ็บจากการลอบข้ามกาแพงเบอร์ลินนั้นยังไม่แน่
ชัดนัก บางแหล่งระบุว่ามี 192 คนถูกฆ่าระหว่างการหลบหนี และอีก
ประมาณ 200 คนบาดเจ็บสาหัส ขณะที่บางแหล่งข้อมูลกลับมีตัวเลข
ผู้เสียชีวิตเพียง 136 คน บางแหล่งข้อมูลกับมีตัวเลขผู้เสียชีวิตสูงถึง 246 คน
เหตุการณ์เสียชีวิต ณ กาแพงเบอร์ลิน ครั้งที่โด่งดังที่สุด เกิดขึ้น
เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2505(ค.ศ. 1962) เมื่อนายปีเตอร์ เฟตช์
เตอร์ (Peter Fechter)เด็กหนุ่มที่ลอบข้ามกาแพงเบอร์ลินถูกยิง และ
ปล่อยให้เลือดไหลจนตายต่อหน้าสื่อมวลชนตะวันตก เป็นจุดเริ่มต้นของ
การดาเนินการต่อต้านกาแพงเบอร์ลินอย่างเป็นรูปธรรม เมื่อวัน ผู้
หลบหนีรายสุดท้ายที่ถูกยิงตายคือนาย Chris Gueffroy เมื่อวันที่ 6
กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2532 ( ค.ศ. 1989 )
กำรล่มสลำยของกำแพงเบอร์ลิน
ในปี ค.ศ. 1989 ตรงกับยุคที่ เป็นประธานาธิบดีของสหภาพโซเวียต ได้มีการ
ทดลองการปฏิรูปการปกครองไปสู่ระบอบประชาธิปไตย ในเยอรมนีตะวันออกได้มีการ
ชุมนุมประท้วงใหญ่อย่างสงบขึ้นโดยเฉพาะในเมืองโพสต์ดัม ไลพ์ซิจและเดรส
เดน เริ่มต้นในวันที่ 8 ตุลาคม ค.ศ. 1989 และดาเนินเรื่อยมา เป็นเหตุให้รัฐบาล
เยอรมนีตะวันออกได้รับความกดดันเป็นอย่างมาก กระทั่งได้มีการประกาศว่าจะเปิด
พรมแดนให้ชาวเยอรมันสามารถเดินทางผ่านแดนได้อย่างอิสระ ในวันที่ 9
พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) ในวันดังกล่าวชาวเยอรมัน
ตะวันออกจานวนมากได้มารวมตัวกัน
ณ กาแพงเบอร์ลิน เพื่อข้ามผ่านแดนไปยัง
เบอร์ลินตะวันตกครั้งแรกในรอบ 28 ปี
จึงถือเอาวันดังกล่าว เป็นวันล่มสลาย
ของกาแพงเบอร์ลิน
น.ส.สุธิษา เพิ่มอุตสาห์ เลขที่ 22 ม.6/1
 http://chuta136.blogspot.com/2013/10/blog-
post_7033.html
 http://www.thairath.co.th/content/458775
 http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?id=50
579
จัดทำโดย
บรรณำนุกรม

More Related Content

What's hot

7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold warJitjaree Lertwilaiwittaya
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1nidthawann
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้พัน พัน
 
สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2Waciraya Junjamsri
 
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
สงครามเย็น [ Cold War ]
สงครามเย็น [ Cold War ]สงครามเย็น [ Cold War ]
สงครามเย็น [ Cold War ]imeveve
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนwaranyuati
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธาSantichon Islamic School
 
สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยPoppy Nana
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2Taraya Srivilas
 
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยาการเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยาtinnaphop jampafaed
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมFemale'PiAtip BoOn Paeng
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาPiyarerk Bunkoson
 
สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2Pannaray Kaewmarueang
 
นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง Patzuri Orz
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 

What's hot (20)

7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
 
รายงาน การประสมวงดนตรีสากล
รายงาน การประสมวงดนตรีสากลรายงาน การประสมวงดนตรีสากล
รายงาน การประสมวงดนตรีสากล
 
สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2
 
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
 
สงครามเย็น [ Cold War ]
สงครามเย็น [ Cold War ]สงครามเย็น [ Cold War ]
สงครามเย็น [ Cold War ]
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทย
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยาการเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
 
สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2
 
นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
สงครามอ่าวเปอร์เซีย
สงครามอ่าวเปอร์เซียสงครามอ่าวเปอร์เซีย
สงครามอ่าวเปอร์เซีย
 

Viewers also liked

ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
สงครามในอัฟกานิสถาน
สงครามในอัฟกานิสถานสงครามในอัฟกานิสถาน
สงครามในอัฟกานิสถานWitsarut Hongkeaw
 
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )EarnEarn Twntyc'
 

Viewers also liked (12)

ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
 
อิสราเอลและอาหรับ
อิสราเอลและอาหรับอิสราเอลและอาหรับ
อิสราเอลและอาหรับ
 
กลุ่มก่อการร้ายอิสลาม
กลุ่มก่อการร้ายอิสลามกลุ่มก่อการร้ายอิสลาม
กลุ่มก่อการร้ายอิสลาม
 
กำแพงเบอร น(สมบร ณ_)-1
กำแพงเบอร น(สมบร ณ_)-1กำแพงเบอร น(สมบร ณ_)-1
กำแพงเบอร น(สมบร ณ_)-1
 
นิกิต้า ครุสชอฟ
นิกิต้า  ครุสชอฟนิกิต้า  ครุสชอฟ
นิกิต้า ครุสชอฟ
 
Truman
TrumanTruman
Truman
 
ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ
ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ
ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ
 
Kennady
KennadyKennady
Kennady
 
สงครามในอัฟกานิสถาน
สงครามในอัฟกานิสถานสงครามในอัฟกานิสถาน
สงครามในอัฟกานิสถาน
 
ฟ้เดล กัสโตร
ฟ้เดล กัสโตรฟ้เดล กัสโตร
ฟ้เดล กัสโตร
 
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
 
1
11
1
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 

กำแพงเบอร์ลิน

  • 2. กำแพงเบอร์ลิน เป็นกาแพงที่สร้างขึ้นช่วงหลังเยอรมันพ่ายสงครามโลกครั้ง ที่ 2 และถูกแบ่งเป็นสองประเทศ มีวัตถุประสงค์เพื่อปิดกั้น พรมแดนเบอร์ลินตะวันตกซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเยอรมนี ตะวันตก ออกจากเยอรมนีตะวันออกที่โอบล้อมอยู่โดยรอบ มี ความยาวทั้งสิ้น 155 กิโลเมตร เริ่มสร้างเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2504 ค.ศ. 1961) และได้ทาหน้าที่ในการปิดกั้นพรมแดนนี้ เป็นระยะเวลา 28 ปี ก่อนจะทลายลงในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532
  • 3. ในเยอรมนีตะวันออก กาแพงเบอร์ลิน คือ แนวเขตแดนที่มั่นคง และ สัญลักษณ์ของการต่อต้านทุนนิยม แต่สาหรับโลกเสรีแล้ว มันคือ สัญลักษณ์ ของความขัดแย้งระหว่างระบบทุนนิยมของยุโรปตะวันตก ภายใต้การนาของ สหรัฐอเมริกา กับระบบคอมมิวนิสต์ของยุโรปตะวันออก ภายใต้การปกครอง ของสหภาพโซเวียต หรือที่เรียกกันว่า สงครามเย็น นั่นเอง กาแพงเบอร์ลิน ทาให้ กรุงเบอร์ลินฝั่งตะวันตก กลายเป็นเสมือน หน้าต่างสู่เสรีภาพ นับตั้งแต่การสร้างกาแพงเบอร์ลิน การข้ามผ่านแดนจากเยอรมนี ตะวันออก ไปยังเยอรมนีตะวันตก กลายเป็นเรื่องผิดกฎหมาย หากมีการฝ่าฝืน และถูกพบเห็น มีโทษสถานเดียว คือ การยิงทิ้ง ณ บริเวณกาแพงนั่นเอง ตลอด ระยะเวลา 28 ปี คาดว่ามีผู้เสียชีวิตที่กาแพงเบอร์ลินขณะหลบหนีระหว่าง 136 ถึง 206 คน
  • 5. กำเนิดกำแพงเบอร์ลิน ผลจากการย้ายออกของชาวเยอรมันตะวันออก ที่มีมากเกินการ ควบคุม รัฐบาลเยอรมนีตะวันออกในขณะนั้น จึงได้สร้างกาแพงกั้นระหว่าง ประเทศเยอรมนีตะวันออกกับเยอรมนีตะวันตก ว่ากันว่า แนวกาแพงที่กั้น ระหว่างสองประเทศนี้ยาวเป็นอันดับสองรองจากกาแพงเมืองจีนทีเดียว ในส่วนของกรุงเบอร์ลิน นครหลวงของประเทศทั้งสอง มีที่ตั้งอยู่ใจ กลางประเทศเยอรมนีตะวันออก ดังนั้น นครเบอร์ลินฝั่งตะวันตก จึงถูกปิด ล้อมด้วยเยอรมนีตะวันออกรอบด้าน ในระยะแรก การเดินทางเข้าออก ระหว่างเบอร์ลินตะวันออก และเบอร์ลินตะวันตก เป็นไปโดยเสรี กระทั่งเมื่อ มีการอพยพของชาวเยอรมันตะวันออกจานวนมาก เป็นเหตุให้รัฐบาล เยอรมนีตะวันออกเร่งสร้างกาแพงเพื่อปิดกั้นการย้ายถิ่นของ ชาวเยอรมัน
  • 6. ในวันที่13 สิงหาคม พ.ศ. 2507 เป็นวันแรกที่มีการสร้างกาแพง เพื่อปิดล้อมกรุงเบอร์ลินตะวันตก และเป็นจุดเริ่มต้นของ สงครามเย็นในยุคนั้น
  • 7. กาแพงเบอร์ลิน ถูกใช้งานเป็นเวลา 28 ปี ในช่วงเวลานี้มีการ ปรับเปลี่ยนโครงสร้างและรูปแบบของกาแพงถึง 4 ครั้ง แต่ละ ครั้งจะเพิ่มความแข็งแรง และความสูงของกาแพงเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เพื่อป้องกันการหลบหนีของชาวเยอรมันตะวันออก เนื่องจาก กาแพงกันระหว่างเยอรมนีตะวันออก และเยอรมนีตะวันตก มีจุด เปราะบางที่สุดที่กรุงเบอร์ลินนี่เอง กาแพงเบอร์ลินทั้ง 4 รุ่นมี พัฒนาการดังนี้
  • 8. กำแพงรุ่นที่ 1 เริ่มสร้างเมื่อวันที่ สิงหาคม พ.ศ. 2507 เป็นแนว รั้วลวดหนาม เป็นการสร้างชั่วคราวเพื่อป้องกันการอพยพของ ประชาชน เป็นกาแพงเบอร์ลินรุ่นที่มีอายุใช้งานสั้นที่สุด
  • 9. กำแพงรุ่นที่ 2 เป็นกาแพงก่ออิฐถือปูน ถูกสร้างขึ้นแทนกาแพงรั้วลวด หนามทันทีที่กาแพงรั้วลวดหนามเสร็จสมบูรณ์ แต่กาแพงก่ออิฐถือปูนนี้ ก็ไม่แข็งแรงพอที่ปิดกั้นความปรารถนาในการแสวงหาเสรีภาพของ ประชาชน มีความพยายามในการหลบหนีด้วยการทาลายกาแพงเกิดขึ้น หลายครั้ง
  • 10. กำแพงรุ่นที่ 3 เป็นรั้วคอนกรีตสาเร็จรูป ถูกสร้างขึ้นเพื่อให้ เกิดความแข็งแรง และความสูงเพิ่มขึ้น
  • 11. กำแพงรุ่นที่ 4 ถูกสร้างในปี ค.ศ. 1975 เป็นแผ่นคอนกรีตสาเร็จรูปขนาดกว้าง 1.2 เมตร สูง 3.6 เมตร จานวนกว่า 45,000 แผ่นถูกต่อเป็นแนวรอบกรุงเบอร์ลิน ตะวันตกเชื่อมต่อด้วยท่อคอนกรีตที่ด้านบนกาแพง กาแพงรุ่นนี้ถูกใช้งาน จนกระทั่งถึงการล่มสลายในปี ค.ศ. 1989 และเป็นกาแพงเบอร์ลินรุ่นที่ถูกนาไป แสดงในพิพิธภัณฑ์และสถานที่ต่าง ๆ ในปัจจุบัน ในการก่อสร้างกาแพง เบอร์ลินรุ่นที่ 4 ใช้งบประมาณสูงถึงกว่า 1,650 ล้านมาร์ก ณ ขณะนั้นทีเดียว
  • 12. สาหรับประชาชนเยอรมันทั้งตะวันตก และตะวันออก และ ประชาคมโลกในระบบประชาธิปไตย กาแพงเบอร์ลิน เปรียบเสมือน การปิดกั้นเสรีภาพของประชาชน ว่ากันว่า กาแพงเบอร์ลิน เป็น กาแพงแห่งเดียวในโลกที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อปิดกั้นประชาชนในประเทศ ของตนจากโลกภายนอก ในขณะที่กาแพงเมืองอื่น ๆ ทั่วโลกนั้น มีไว้ เพื่อป้องกันไม่ให้ศัตรูเข้ามารุกรานเสรีภาพของชาวเมือง ในทาง กลับกัน สหภาพโซเวียต ผู้อยู่เบื้องหลังการสร้างกาแพงเบอร์ลิน กลับ มองว่า กาแพงเบอร์ลิน คือ นวัตกรรมของชนชาติ
  • 13. กำรลอบข้ำมกำแพง ในระหว่างที่กาแพงยังตั้งอยู่นั้น มีความพยายามหลบหนีข้ามเขตแดนราว 5,000 ครั้ง ในช่วงแรกนั้น การหลบหนีเป็นไปอย่างไม่ยากนัก เนื่องจากกาแพง ในช่วงแรกเป็นเพียงรั้วลวดหนามเตี้ย ๆ และบางส่วนก็กระโดดออกมาทาง หน้าต่างของตึกที่อยู่ติดกับกาแพง แต่ไม่นานนักกาแพงก็เปลี่ยนเป็นคอนกรีตที่ แน่นหนา ส่วนหน้าต่างตึกต่าง ๆ ที่อยู่ใกล้กับกาแพงก็ถูกก่ออิฐปิดตาย
  • 14. หากการสร้างกาแพงเบอร์ลิน คือ นวัตกรรมของชนชาติ การลอบ ข้ามกาแพงเบอร์ลินย่อมเป็นนวัตกรรมที่ยิ่งใหญ่กว่า มีการลอบข้ามกาแพง เบอร์ลินหลายต่อหลายครั้งที่แสดงถึงความสร้างสรรค์อันยิ่งใหญ่ เช่น การ ข้ามกาแพงด้วยบอลลูน การสร้างสลิงข้ามแนวกาแพงด้วยเวลาไม่ถึง 2 นาที การขุดอุโมงค์ลอดใต้กาแพง ซึ่งสามารถช่วยชาวเบอร์ลินตะวันออก หลบหนีได้มากถึงกว่าร้อยคน เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีจุดข้ามแดนบาง จุดที่ได้รับการช่วยเหลือจากกองทัพสัมพันธมิตร อาทิ จุดข้ามแดนโดยการ ว่ายข้ามแม่น้ากองทัพอังกฤษได้หย่อนบันไดลิงไว้ในฝั่งตรงข้ามเพื่อให้ผู้ที่ ว่ายน้าข้ามไปสามารถปีนขึ้นฝั่งได้
  • 15. กำรเสียชีวิตในกำรลอบข้ำมกำแพง ในการลอบข้ามกาแพง เป็นความเสี่ยงที่ต้องแลกมาด้วยชีวิต ด้วย รัฐบาลเยอรมนีตะวันออกมีกฎที่ว่า ผู้หลบหนีจะถูกยิงทิ้งทันทีที่พบเห็น จานวนผู้เสียชีวิต และบาดเจ็บจากการลอบข้ามกาแพงเบอร์ลินนั้นยังไม่แน่ ชัดนัก บางแหล่งระบุว่ามี 192 คนถูกฆ่าระหว่างการหลบหนี และอีก ประมาณ 200 คนบาดเจ็บสาหัส ขณะที่บางแหล่งข้อมูลกลับมีตัวเลข ผู้เสียชีวิตเพียง 136 คน บางแหล่งข้อมูลกับมีตัวเลขผู้เสียชีวิตสูงถึง 246 คน
  • 16. เหตุการณ์เสียชีวิต ณ กาแพงเบอร์ลิน ครั้งที่โด่งดังที่สุด เกิดขึ้น เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2505(ค.ศ. 1962) เมื่อนายปีเตอร์ เฟตช์ เตอร์ (Peter Fechter)เด็กหนุ่มที่ลอบข้ามกาแพงเบอร์ลินถูกยิง และ ปล่อยให้เลือดไหลจนตายต่อหน้าสื่อมวลชนตะวันตก เป็นจุดเริ่มต้นของ การดาเนินการต่อต้านกาแพงเบอร์ลินอย่างเป็นรูปธรรม เมื่อวัน ผู้ หลบหนีรายสุดท้ายที่ถูกยิงตายคือนาย Chris Gueffroy เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2532 ( ค.ศ. 1989 )
  • 17. กำรล่มสลำยของกำแพงเบอร์ลิน ในปี ค.ศ. 1989 ตรงกับยุคที่ เป็นประธานาธิบดีของสหภาพโซเวียต ได้มีการ ทดลองการปฏิรูปการปกครองไปสู่ระบอบประชาธิปไตย ในเยอรมนีตะวันออกได้มีการ ชุมนุมประท้วงใหญ่อย่างสงบขึ้นโดยเฉพาะในเมืองโพสต์ดัม ไลพ์ซิจและเดรส เดน เริ่มต้นในวันที่ 8 ตุลาคม ค.ศ. 1989 และดาเนินเรื่อยมา เป็นเหตุให้รัฐบาล เยอรมนีตะวันออกได้รับความกดดันเป็นอย่างมาก กระทั่งได้มีการประกาศว่าจะเปิด พรมแดนให้ชาวเยอรมันสามารถเดินทางผ่านแดนได้อย่างอิสระ ในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) ในวันดังกล่าวชาวเยอรมัน ตะวันออกจานวนมากได้มารวมตัวกัน ณ กาแพงเบอร์ลิน เพื่อข้ามผ่านแดนไปยัง เบอร์ลินตะวันตกครั้งแรกในรอบ 28 ปี จึงถือเอาวันดังกล่าว เป็นวันล่มสลาย ของกาแพงเบอร์ลิน
  • 18.
  • 19. น.ส.สุธิษา เพิ่มอุตสาห์ เลขที่ 22 ม.6/1  http://chuta136.blogspot.com/2013/10/blog- post_7033.html  http://www.thairath.co.th/content/458775  http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?id=50 579 จัดทำโดย บรรณำนุกรม