SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต




             ครูสมพร เหล่าทองสาร
โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. เขต 26
                 ครูสมพร เหล่าทองสาร
คูลอมบ์ (Charles Augustin de Coulomb) ได้ทาการศึกษาแรง
ระหว่างประจุไฟฟ้าโดยใช้อุปกรณ์ที่เรียกว่า เครื่องมือวัดแรงบิด
ของคูลอมบ์ ดังรูป ก.ประกอบด้วย คานเล็กๆ ที่ทาด้วยฉนวนและมีลูกพิท
ติดที่ปลายคาน A และ B ข้างและลูกดังรูป ข. โดยแขวนคานกับลวดเงิน
เส้นเล็กๆ ให้คานวางตัวอยู่ในแนวระดับ ลูกพิทอีกลูกหนึ่งคือ D อยู่ใกล้ A




                           การทดลองของคูลอมบ์  ครูสมพร เหล่าทองสาร
เมื่อทาให้ D และ A มีประจุ จะเกิดแรงระหว่างประจุบน D และ A แรงที่
เกิดขึ้นนี้ทาให้เกิดโมเมนต์กระทาต่อคาน เป็นผลให้คานเบนจากแนวเดิม
โดยมีลวดเงินเป็นแกนในการหมุน ดังนั้นลวดเงินจะถูกบิดตามโมเมนต์ที่
กระทาต่อคาน และโมเมนต์ของแรงที่ต่อต้านการบิดของลวดเงินจะ
เพิ่มขึ้นตามขนาดของมุมบิดที่ใหญ่ขึ้น




                   การทดลองของคูลอมบ์       ครูสมพร เหล่าทองสาร
ดังนั้นสาหรับแรงระหว่างประจุขนาดหนึ่งที่จะทาให้คาดบิดไปเป็นมุม
ค่าหนึ่ง มุมที่คานบิดไปนี้อ่านแรงได้จากสเกล C ที่ติดอยู่กับผนังกล่อง
ดังรูป ค การรูค่ามุมที่บิดไปจะทาให้คานวณแรงระหว่างประจุได้
                ้




                      การทดลองของคูลอมบ์         ครูสมพร เหล่าทองสาร
จากการทดลองด้วยเครื่องมือดังกล่าว คูลอมบ์สามารถเขียนสรุปได้ว่า
แรงระหว่างประจุของ D กับ A แปรผกผันกับกาลังสองของระยะห่าง
ระหว่าง D กับ A และแปรผันตรงกับผลคูณระหว่างประจุของ D กับ A
กล่าวคือ ถ้าให้ F เป็นขนาดของแรงระหว่างประจุ q1 และ q2 ของ D กับ
A และ r เป็นระยะระหว่าง D กับ A จะเขียนได้ว่า
                1
            F α 2            และ F α q1q 2
                r
                             q1q 2
              ดังนั้น     F α 2
                              r

                        การทดลองของคูลอมบ์   ครูสมพร เหล่าทองสาร
ซึ่งสามารถสรุปเป็นสมการได้ว่า
                        kq1q 2
                    F                     ......... (1)
                         r2
     เมื่อ k เป็นค่าคงตัวของการแปรผัน ในระบบเอสไอ แรง F มีหน่วยเป็นนิวตัน
ประจุ q1 และ q2 มีหน่วยคูลอบม์ r มีหน่วยเมตร ดังนั้น k มีหน่วย Nm2/C2 ใน
การวัดค่า k เมื่อตัวกลางระหว่างประจุทั้งสองเป็นสุญญากาศหรืออากาศ ค่าคงตัว k
นี้จะมีค่าประมาณเท่ากับ 8.9876 x 109 หรือประมาณ 9 x 109 Nm2/C2
สมการ (1) ใช้คานวณหาขนาดของแรงได้ทั้งกรณีแรงผลักและแรงดึงดูดระหว่าง
ประจุนอนุภาค ซึ่งเรียกว่า จุดประจุ ความสัมพันธ์ตามสมการนี้เรียกว่า
กฎของคูลอมบ์ (Coulomb’ s law)


                       การทดลองของคูลอมบ์              ครูสมพร เหล่าทองสาร
แรงระหว่างประจุชนิดเดียวกันและต่างชนิดกัน
    q1                   q2
F                                F
    +                    +
                r
     ก. ประจุชนิดเดียวกัน
                         q1                                     q2
                                   F               F
                          +                                     -
                                         r

                               ข. ประจุต่างชนิดกัน
                     กฎของคูลอมบ์         ครูสมพร เหล่าทองสาร
ตัวอย่าง ประจุ +3.0 ไมโครคูลอมบ์ วางห่างจากประจุ –2.5 ไมโครคูลอมบ์ เป็นระยะ
10 เซนติเมตร จะเกิดแรงระหว่างประจุชนิดใด และแรงกระทานี้มีคาเท่าใด
                                                           ่
                      q1                               q2
  วิธีทา                      F           F
                     +                              -
                             r = 10 cm


  จากโจทย์ ประจุ q1 และ q2 เป็นประจุต่างชนิดกัน เพราะฉะนั้นจะเป็นแรงดึงดูด
และแรงระหว่างประจุ คานวณหาได้จาก สมการ (1)
จากโจทย์ สิ่งที่กาหนดมาให้ q1 = +3.0 C , q2 = –2.5 C และ r = 10 cm
  จะได้ว่า
            q1 = +3.0 C x 10–6 C , q2 = –2.5 C x 10–6 C
             r = 10 cm = 10 x 10–2 cm และ k = 9 x 109 Nm2/C2

                                                    ครูสมพร เหล่าทองสาร
ตัวอย่าง ประจุ +3.0 ไมโครคูลอมบ์ วางห่างจากประจุ –2.5 ไมโครคูลอมบ์ เป็นระยะ
  10 เซนติเมตร จะเกิดแรงระหว่างประจุชนิดใด และแรงกระทานี้มีคาเท่าใด
                                                            ่
   วิธีทา (ต่อ)
                            kq1q 2
   แทนค่าลงในสมการ (1) F 
                              r2
                           (9 109 )  (3 10-6 )  (2.5 10-6 )
                       F 
                                       (10 10-2 ) 2
                               (9  3  2.5)  (109 10-6 10-6 )
                           F 
                                    (10 10)  (10-2 10-2 )
                                        (67.5)  (109-6-6 )
                                    F 
                                         (100)  (10-2-2 )

                                                     ครูสมพร เหล่าทองสาร
ตัวอย่าง ประจุ +3.0 ไมโครคูลอมบ์ วางห่างจากประจุ –2.5 ไมโครคูลอมบ์ เป็นระยะ
  10 เซนติเมตร จะเกิดแรงระหว่างประจุชนิดใด และแรงกระทานี้มีคาเท่าใด
                                                            ่
   วิธีทา (ต่อ)              (67.5)  (109-6-6 )
                         F 
                              (100)  (10-2-2 )
                             67.5 10  -3
                         F 
                             100 10-4
                             67.5 10-3
                         F        -4
                             100 10
                        F  0.675 103( 4)



                                                     ครูสมพร เหล่าทองสาร
ตัวอย่าง ประจุ +3.0 ไมโครคูลอมบ์ วางห่างจากประจุ –2.5 ไมโครคูลอมบ์ เป็นระยะ
  10 เซนติเมตร จะเกิดแรงระหว่างประจุชนิดใด และแรงกระทานี้มีคาเท่าใด
                                                            ่
   วิธีทา (ต่อ)
                        F  0.675 103( 4)
                         F  0.675 1034
                                                     3 4
                         F  (6.75 10 ) 10-1


                         F  6.75 10-1-34
                         F  6.75 100
                       F  6.75 N
   ตอบ แรงระหว่างประจุเป็นแรงดึงดูด และแรงมีขนาด 6.75 นิวตัน


                                                     ครูสมพร เหล่าทองสาร
+
คาถาม
        ประจุ +4.5 ไมโครคูลอมบ์ วางห่างจากประจุ +5.0 ไมโครคูลอมบ์
เป็นระยะ 15 เซนติเมตร จะเกิดแรงระหว่างประจุชนิดใด และแรงกระทา
นี้มีค่าเท่าใด

           ลองหาคาตอบดูนะครับ                                     -

                                            ครูสมพร เหล่าทองสาร
คาตอบ
     จะเกิดแรงผลักระหว่างประจุ และแรงกระทานีมีขนาด 9.0 นิวตัน
                                            ้


       ตอบถูกใช่ใหมครับ เก่งมากเลย!



                                      ตอบผิด ลองดูคาเฉลยนะครับ
                                             ครูสมพร เหล่าทองสาร
คาถาม ประจุ +4.5 ไมโครคูลอมบ์ วางห่างจากประจุ +5.0 ไมโครคูลอมบ์ เป็นระยะ
15 เซนติเมตร จะเกิดแรงระหว่างประจุชนิดใด และแรงกระทานี้มีคาเท่าใด
                                                          ่
 วิธีทา               q1                    q2
                F                                   F
                       +                    +
                                    r

  จากโจทย์ ประจุ q1 และ q2 เป็นประจุชนิดเดียวกัน เพราะฉะนันจะเป็นแรงผลักด
                                                          ้
และแรงระหว่างประจุ คานวณหาได้จาก สมการ (1)
จากโจทย์ สิ่งที่กาหนดมาให้ q1 = +4.5 C , q2 = +5.0 C และ r = 15 cm
  จะได้ว่า
            q1 = +4.5 C x 10–6 C , q2 = +5.0 C x 10–6 C
             r = 15 cm = 15 x 10–2 cm และ k = 9 x 109 Nm2/C2
                                                     ครูสมพร เหล่าทองสาร
คาถาม ประจุ +4.5 ไมโครคูลอมบ์ วางห่างจากประจุ +5.0 ไมโครคูลอมบ์ เป็นระยะ 15
 เซนติเมตร จะเกิดแรงระหว่างประจุชนิดใด และแรงกระทานี้มีค่าเท่าใด
   วิธีทา (ต่อ)
                           kq1q 2
  แทนค่าลงในสมการ (1) F 
                             r2
                         (9 109 )  (4.5 10-6 )  (5.0 10-6 )
                     F 
                                      (15 10-2 ) 2
                              (9  4.5  5)  (109 10-6 10-6 )
                          F 
                                   (15 15)  (10-2 10-2 )
                                      (202.5)  (109-6-6 )
                                  F 
                                       (225)  (10-2-2 )

                                                    ครูสมพร เหล่าทองสาร
คาถาม ประจุ +4.5 ไมโครคูลอมบ์ วางห่างจากประจุ +5.0 ไมโครคูลอมบ์ เป็นระยะ 15
 เซนติเมตร จะเกิดแรงระหว่างประจุชนิดใด และแรงกระทานี้มีค่าเท่าใด
   วิธีทา (ต่อ)            (202.5)  (109-6-6 )
                       F 
                            (225)  (10-2-2 )
                           202.5 10  -3
                       F 
                            225 10-4
                           202.5 10-3
                       F         -4
                            225 10
                       F  0.9 103( 4)



                                                    ครูสมพร เหล่าทองสาร
คาถาม ประจุ +4.5 ไมโครคูลอมบ์ วางห่างจากประจุ +5.0 ไมโครคูลอมบ์ เป็นระยะ 15
 เซนติเมตร จะเกิดแรงระหว่างประจุชนิดใด และแรงกระทานี้มีค่าเท่าใด
   วิธีทา (ต่อ)
                         F  0.9 103( 4)
                         F  0.9 1034
                                                  3 4
                         F  (9.0 10 ) 10
                                          -1


                         F  9.0 10-1-34
                         F  9.0 100
                       F  9.0 N
   ตอบ แรงระหว่างประจุเป็นแรงผลัก และแรงมีขนาด 9.0 นิวตัน


                                                    ครูสมพร เหล่าทองสาร
หนังสือสารอ้างอิง

นิรันดร์ สุวรัตน์. ฟิสิกส์ ม.6 เล่ม 1-2. สานักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา :
    กรุงเทพฯ, 2552.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม
    ฟิสิกส์ เล่ม 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6. โรงพิมพ์คุรุสภา : กรุงเทพ, 2554.




                                                      ครูสมพร เหล่าทองสาร

More Related Content

What's hot

การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟjirupi
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558dnavaroj
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงานPhanuwat Somvongs
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่Wijitta DevilTeacher
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงพัน พัน
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxNing Thanyaphon
 
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาหน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาkrupornpana55
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สChanthawan Suwanhitathorn
 

What's hot (20)

แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรงแบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
โอเน็ตฟิสิกส์
โอเน็ตฟิสิกส์โอเน็ตฟิสิกส์
โอเน็ตฟิสิกส์
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาหน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
 
คลื่นและเสียง
คลื่นและเสียงคลื่นและเสียง
คลื่นและเสียง
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
สมดุลกล3
สมดุลกล3สมดุลกล3
สมดุลกล3
 

Viewers also liked

แบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุ
แบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุแบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุ
แบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุWorrachet Boonyong
 
กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์Chakkrawut Mueangkhon
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าTheerawat Duangsin
 
Charging and Discharging Objects
Charging and Discharging ObjectsCharging and Discharging Objects
Charging and Discharging ObjectsOhMiss
 
06 types of electroscopes
06 types of electroscopes06 types of electroscopes
06 types of electroscopesmrtangextrahelp
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4Wijitta DevilTeacher
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1Chakkrawut Mueangkhon
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกลPhanuwat Somvongs
 

Viewers also liked (20)

กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of charge)
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of  charge)กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of  charge)
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of charge)
 
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
 
Charge (ประจุไฟฟ้า)
Charge (ประจุไฟฟ้า) Charge (ประจุไฟฟ้า)
Charge (ประจุไฟฟ้า)
 
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
 
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
 
ศักย์ไฟฟ้า (Electric potential)
ศักย์ไฟฟ้า (Electric potential)ศักย์ไฟฟ้า (Electric potential)
ศักย์ไฟฟ้า (Electric potential)
 
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้าการต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
 
พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุพลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
 
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้าตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
 
แบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุ
แบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุแบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุ
แบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุ
 
กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์
 
การทำให้วัตถุตัวนำเกิดประจุไฟฟ้า
การทำให้วัตถุตัวนำเกิดประจุไฟฟ้าการทำให้วัตถุตัวนำเกิดประจุไฟฟ้า
การทำให้วัตถุตัวนำเกิดประจุไฟฟ้า
 
วิเคราะห์ข้อสอบ O-Net ชุดที่ 3
วิเคราะห์ข้อสอบ O-Net ชุดที่ 3วิเคราะห์ข้อสอบ O-Net ชุดที่ 3
วิเคราะห์ข้อสอบ O-Net ชุดที่ 3
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
 
Charging and Discharging Objects
Charging and Discharging ObjectsCharging and Discharging Objects
Charging and Discharging Objects
 
06 types of electroscopes
06 types of electroscopes06 types of electroscopes
06 types of electroscopes
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
 
o net-2552
o net-2552o net-2552
o net-2552
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 

More from นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม

More from นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม (20)

Test Blueprint ONET M3 2560
Test Blueprint ONET M3 2560Test Blueprint ONET M3 2560
Test Blueprint ONET M3 2560
 
Test Blueprint ONET M6 2559
Test Blueprint ONET M6 2559Test Blueprint ONET M6 2559
Test Blueprint ONET M6 2559
 
Test Blueprint ONET M3 2559
Test Blueprint ONET M3 2559 Test Blueprint ONET M3 2559
Test Blueprint ONET M3 2559
 
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
 
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
 
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558
 
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
 
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน
รายงานสรุปการปฏิบัติงานรายงานสรุปการปฏิบัติงาน
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน
 
การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016
การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016
การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016
 
การบันทึกผลการเรียนออนไลน์
การบันทึกผลการเรียนออนไลน์การบันทึกผลการเรียนออนไลน์
การบันทึกผลการเรียนออนไลน์
 
Pressure
PressurePressure
Pressure
 
ไข้เลือดออก (Dengue)
ไข้เลือดออก (Dengue)ไข้เลือดออก (Dengue)
ไข้เลือดออก (Dengue)
 
ความหนาแน่น (Density)
ความหนาแน่น (Density)ความหนาแน่น (Density)
ความหนาแน่น (Density)
 
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 
Courseoutlinephysicsm6t2p57
Courseoutlinephysicsm6t2p57Courseoutlinephysicsm6t2p57
Courseoutlinephysicsm6t2p57
 
Courseoutlinephysicsm4t2p57
Courseoutlinephysicsm4t2p57Courseoutlinephysicsm4t2p57
Courseoutlinephysicsm4t2p57
 
Aimphysicsm6t2p57
Aimphysicsm6t2p57Aimphysicsm6t2p57
Aimphysicsm6t2p57
 
Aimphysicsm4t2p57
Aimphysicsm4t2p57Aimphysicsm4t2p57
Aimphysicsm4t2p57
 
WHAT IS PISA 4
WHAT IS PISA 4WHAT IS PISA 4
WHAT IS PISA 4
 

แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์

  • 1. บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต ครูสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. เขต 26 ครูสมพร เหล่าทองสาร
  • 2. คูลอมบ์ (Charles Augustin de Coulomb) ได้ทาการศึกษาแรง ระหว่างประจุไฟฟ้าโดยใช้อุปกรณ์ที่เรียกว่า เครื่องมือวัดแรงบิด ของคูลอมบ์ ดังรูป ก.ประกอบด้วย คานเล็กๆ ที่ทาด้วยฉนวนและมีลูกพิท ติดที่ปลายคาน A และ B ข้างและลูกดังรูป ข. โดยแขวนคานกับลวดเงิน เส้นเล็กๆ ให้คานวางตัวอยู่ในแนวระดับ ลูกพิทอีกลูกหนึ่งคือ D อยู่ใกล้ A การทดลองของคูลอมบ์ ครูสมพร เหล่าทองสาร
  • 3. เมื่อทาให้ D และ A มีประจุ จะเกิดแรงระหว่างประจุบน D และ A แรงที่ เกิดขึ้นนี้ทาให้เกิดโมเมนต์กระทาต่อคาน เป็นผลให้คานเบนจากแนวเดิม โดยมีลวดเงินเป็นแกนในการหมุน ดังนั้นลวดเงินจะถูกบิดตามโมเมนต์ที่ กระทาต่อคาน และโมเมนต์ของแรงที่ต่อต้านการบิดของลวดเงินจะ เพิ่มขึ้นตามขนาดของมุมบิดที่ใหญ่ขึ้น การทดลองของคูลอมบ์ ครูสมพร เหล่าทองสาร
  • 4. ดังนั้นสาหรับแรงระหว่างประจุขนาดหนึ่งที่จะทาให้คาดบิดไปเป็นมุม ค่าหนึ่ง มุมที่คานบิดไปนี้อ่านแรงได้จากสเกล C ที่ติดอยู่กับผนังกล่อง ดังรูป ค การรูค่ามุมที่บิดไปจะทาให้คานวณแรงระหว่างประจุได้ ้ การทดลองของคูลอมบ์ ครูสมพร เหล่าทองสาร
  • 5. จากการทดลองด้วยเครื่องมือดังกล่าว คูลอมบ์สามารถเขียนสรุปได้ว่า แรงระหว่างประจุของ D กับ A แปรผกผันกับกาลังสองของระยะห่าง ระหว่าง D กับ A และแปรผันตรงกับผลคูณระหว่างประจุของ D กับ A กล่าวคือ ถ้าให้ F เป็นขนาดของแรงระหว่างประจุ q1 และ q2 ของ D กับ A และ r เป็นระยะระหว่าง D กับ A จะเขียนได้ว่า 1 F α 2 และ F α q1q 2 r q1q 2 ดังนั้น F α 2 r การทดลองของคูลอมบ์ ครูสมพร เหล่าทองสาร
  • 6. ซึ่งสามารถสรุปเป็นสมการได้ว่า kq1q 2 F  ......... (1) r2 เมื่อ k เป็นค่าคงตัวของการแปรผัน ในระบบเอสไอ แรง F มีหน่วยเป็นนิวตัน ประจุ q1 และ q2 มีหน่วยคูลอบม์ r มีหน่วยเมตร ดังนั้น k มีหน่วย Nm2/C2 ใน การวัดค่า k เมื่อตัวกลางระหว่างประจุทั้งสองเป็นสุญญากาศหรืออากาศ ค่าคงตัว k นี้จะมีค่าประมาณเท่ากับ 8.9876 x 109 หรือประมาณ 9 x 109 Nm2/C2 สมการ (1) ใช้คานวณหาขนาดของแรงได้ทั้งกรณีแรงผลักและแรงดึงดูดระหว่าง ประจุนอนุภาค ซึ่งเรียกว่า จุดประจุ ความสัมพันธ์ตามสมการนี้เรียกว่า กฎของคูลอมบ์ (Coulomb’ s law) การทดลองของคูลอมบ์ ครูสมพร เหล่าทองสาร
  • 7. แรงระหว่างประจุชนิดเดียวกันและต่างชนิดกัน q1 q2 F F + + r ก. ประจุชนิดเดียวกัน q1 q2 F F + - r ข. ประจุต่างชนิดกัน กฎของคูลอมบ์ ครูสมพร เหล่าทองสาร
  • 8. ตัวอย่าง ประจุ +3.0 ไมโครคูลอมบ์ วางห่างจากประจุ –2.5 ไมโครคูลอมบ์ เป็นระยะ 10 เซนติเมตร จะเกิดแรงระหว่างประจุชนิดใด และแรงกระทานี้มีคาเท่าใด ่ q1 q2 วิธีทา F F + - r = 10 cm จากโจทย์ ประจุ q1 และ q2 เป็นประจุต่างชนิดกัน เพราะฉะนั้นจะเป็นแรงดึงดูด และแรงระหว่างประจุ คานวณหาได้จาก สมการ (1) จากโจทย์ สิ่งที่กาหนดมาให้ q1 = +3.0 C , q2 = –2.5 C และ r = 10 cm จะได้ว่า q1 = +3.0 C x 10–6 C , q2 = –2.5 C x 10–6 C r = 10 cm = 10 x 10–2 cm และ k = 9 x 109 Nm2/C2 ครูสมพร เหล่าทองสาร
  • 9. ตัวอย่าง ประจุ +3.0 ไมโครคูลอมบ์ วางห่างจากประจุ –2.5 ไมโครคูลอมบ์ เป็นระยะ 10 เซนติเมตร จะเกิดแรงระหว่างประจุชนิดใด และแรงกระทานี้มีคาเท่าใด ่ วิธีทา (ต่อ) kq1q 2 แทนค่าลงในสมการ (1) F  r2 (9 109 )  (3 10-6 )  (2.5 10-6 ) F  (10 10-2 ) 2 (9  3  2.5)  (109 10-6 10-6 ) F  (10 10)  (10-2 10-2 ) (67.5)  (109-6-6 ) F  (100)  (10-2-2 ) ครูสมพร เหล่าทองสาร
  • 10. ตัวอย่าง ประจุ +3.0 ไมโครคูลอมบ์ วางห่างจากประจุ –2.5 ไมโครคูลอมบ์ เป็นระยะ 10 เซนติเมตร จะเกิดแรงระหว่างประจุชนิดใด และแรงกระทานี้มีคาเท่าใด ่ วิธีทา (ต่อ) (67.5)  (109-6-6 ) F  (100)  (10-2-2 ) 67.5 10 -3 F  100 10-4 67.5 10-3 F   -4 100 10 F  0.675 103( 4) ครูสมพร เหล่าทองสาร
  • 11. ตัวอย่าง ประจุ +3.0 ไมโครคูลอมบ์ วางห่างจากประจุ –2.5 ไมโครคูลอมบ์ เป็นระยะ 10 เซนติเมตร จะเกิดแรงระหว่างประจุชนิดใด และแรงกระทานี้มีคาเท่าใด ่ วิธีทา (ต่อ) F  0.675 103( 4) F  0.675 1034 3 4 F  (6.75 10 ) 10-1 F  6.75 10-1-34 F  6.75 100 F  6.75 N ตอบ แรงระหว่างประจุเป็นแรงดึงดูด และแรงมีขนาด 6.75 นิวตัน ครูสมพร เหล่าทองสาร
  • 12. + คาถาม ประจุ +4.5 ไมโครคูลอมบ์ วางห่างจากประจุ +5.0 ไมโครคูลอมบ์ เป็นระยะ 15 เซนติเมตร จะเกิดแรงระหว่างประจุชนิดใด และแรงกระทา นี้มีค่าเท่าใด ลองหาคาตอบดูนะครับ - ครูสมพร เหล่าทองสาร
  • 13. คาตอบ จะเกิดแรงผลักระหว่างประจุ และแรงกระทานีมีขนาด 9.0 นิวตัน ้ ตอบถูกใช่ใหมครับ เก่งมากเลย! ตอบผิด ลองดูคาเฉลยนะครับ ครูสมพร เหล่าทองสาร
  • 14. คาถาม ประจุ +4.5 ไมโครคูลอมบ์ วางห่างจากประจุ +5.0 ไมโครคูลอมบ์ เป็นระยะ 15 เซนติเมตร จะเกิดแรงระหว่างประจุชนิดใด และแรงกระทานี้มีคาเท่าใด ่ วิธีทา q1 q2 F F + + r จากโจทย์ ประจุ q1 และ q2 เป็นประจุชนิดเดียวกัน เพราะฉะนันจะเป็นแรงผลักด ้ และแรงระหว่างประจุ คานวณหาได้จาก สมการ (1) จากโจทย์ สิ่งที่กาหนดมาให้ q1 = +4.5 C , q2 = +5.0 C และ r = 15 cm จะได้ว่า q1 = +4.5 C x 10–6 C , q2 = +5.0 C x 10–6 C r = 15 cm = 15 x 10–2 cm และ k = 9 x 109 Nm2/C2 ครูสมพร เหล่าทองสาร
  • 15. คาถาม ประจุ +4.5 ไมโครคูลอมบ์ วางห่างจากประจุ +5.0 ไมโครคูลอมบ์ เป็นระยะ 15 เซนติเมตร จะเกิดแรงระหว่างประจุชนิดใด และแรงกระทานี้มีค่าเท่าใด วิธีทา (ต่อ) kq1q 2 แทนค่าลงในสมการ (1) F  r2 (9 109 )  (4.5 10-6 )  (5.0 10-6 ) F  (15 10-2 ) 2 (9  4.5  5)  (109 10-6 10-6 ) F  (15 15)  (10-2 10-2 ) (202.5)  (109-6-6 ) F  (225)  (10-2-2 ) ครูสมพร เหล่าทองสาร
  • 16. คาถาม ประจุ +4.5 ไมโครคูลอมบ์ วางห่างจากประจุ +5.0 ไมโครคูลอมบ์ เป็นระยะ 15 เซนติเมตร จะเกิดแรงระหว่างประจุชนิดใด และแรงกระทานี้มีค่าเท่าใด วิธีทา (ต่อ) (202.5)  (109-6-6 ) F  (225)  (10-2-2 ) 202.5 10 -3 F  225 10-4 202.5 10-3 F   -4 225 10 F  0.9 103( 4) ครูสมพร เหล่าทองสาร
  • 17. คาถาม ประจุ +4.5 ไมโครคูลอมบ์ วางห่างจากประจุ +5.0 ไมโครคูลอมบ์ เป็นระยะ 15 เซนติเมตร จะเกิดแรงระหว่างประจุชนิดใด และแรงกระทานี้มีค่าเท่าใด วิธีทา (ต่อ) F  0.9 103( 4) F  0.9 1034 3 4 F  (9.0 10 ) 10 -1 F  9.0 10-1-34 F  9.0 100 F  9.0 N ตอบ แรงระหว่างประจุเป็นแรงผลัก และแรงมีขนาด 9.0 นิวตัน ครูสมพร เหล่าทองสาร
  • 18. หนังสือสารอ้างอิง นิรันดร์ สุวรัตน์. ฟิสิกส์ ม.6 เล่ม 1-2. สานักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา : กรุงเทพฯ, 2552. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ฟิสิกส์ เล่ม 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6. โรงพิมพ์คุรุสภา : กรุงเทพ, 2554. ครูสมพร เหล่าทองสาร