SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
การบริการเหนือความคาดหวัง

                                                                      โดย ส่งศรี ดีศรีแก้ว
                                                                      มหาวิทยาลัยขอนแก่น

          การสร้างสมรรถนะหลักในการบริการที่ดนั้น ผู้รบบริการจะต้องเป็นผู้ประเมิน ว่าการบริการที่ได้รับนันเป็นบริการ
                                                   ี      ั                                                  ้
ที่ดีมีประโยชน์ ตรงตามความต้องการ คุ้มค่า หรือไม่เพียงไร ซึ่งนันย่อมหมายความว่าหากผู้ให้บริการมีความสามารถ
                                                                  ้
ให้บริการได้เหนือความคาดหวังก็ยิ่งจะเป็นการสร้างคุณค่าต่อการประเมินพึงพอใจในบริการได้อย่างชัดเจน และจะทาให้
ค่าระดับของความพึงพอใจอยูในระดับสูงตามไปด้วย
                                 ่
            ในการปฏิบัติงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์เพื่อการสร้างสมรรถนะด้านงานบริการที่ดี ย่อมที่จะต้องมีความรู้ความเข้าใจ
ในพฤติกรรมของผู้รับบริการว่าเป็นอย่างไร เพื่อการตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ให้ตรงที่สุด ดีที่สุด มุ่งทีจะสร้างความ
                                                                                                           ่
พึงพอใจ ความประทับใจเพื่อให้เกิดการแปรผลว่าการบริการนั้นเป็นการบริการทีดี ตามสมรรถนะหลักที่กาหนดให้
                                                                                    ่
ผู้ปฏิบัติงานถือปฏิบัติ เพื่อส่งผลต่อคุณภาพ และการสร้างชื่อเสียง ความเชื่อมั่นให้กับองค์กร และสร้างความนับถือต่อ
ผู้ปฏิบัติงานด้วย โดยทั่วไปพฤติกรรมของผู้รบบริการมี 3 ระดับ ดังนี้
                                             ั
            1. ระดับที่ไม่เป็นไปตามคาดหวัง
            2. ระดับที่เป็นไปตามคาดหวัง
            3. ระดับที่เกิดความพึงพอใจและประทับใจ
                 พฤติกรรมของผู้รบบริการ 3 ระดับดังกล่าวจึงควรที่ผู้รบบริการจะต้องสร้างความรู้ความเข้าใจเพื่อให้เกิด
                                     ั                                      ั
                 ความเข้าใจว่าการบริการที่ยกระดับจากการบริการทีประเมินว่าการบริการที่ดีนนควรจะต้องเป็นการบริการ
                                                                     ่                       ั้
                 ที่เกินความคาดหวังเสมอ ซึ่งมีคนกล่าวถึงการบริการที่ดีไว้อย่างหลากหลาย เช่น คุณลักษณะ 7 ประการ
                 แห่งการบริการทีดี และ บัญญัติสบประการของการบริการลูกค้าทีเ่ หนือชั้นกว่า ไว้ดังนี้
                                   ่             ิ
                 คุณลักษณะ 7 ประการ แห่งการบริการที่ดี
                S = Smiling & Sympathy ยิ้มแย้ม และเอาใจเขามาใส่ใจเรา เห็นอกเห็นใจต่อความลาบากยุ่งยากของลูกค้า
                E = Early response ตอบสนองความประสงค์จากลูกค้าอย่างรวดเร็วทันใจ โดยมิทันได้เอ่ยปากเรียกหา
                R = Respectful แสดงออกถึงความนับถือ ให้เกียรติลูกค้า
                V = Voluntariness manner ลักษณะการให้บริการแบบสมัครใจและเต็มใจทามิใช่ทาแบบเสียมิได้
                I = Image enhancing แสดงออกซึ่งการรักษาภาพพจน์ของผู้ให้บริการ และเสริมภาพพจน์ขององค์กรด้วย
                C = Cutesy กริยาอ่อนโยน สุภาพและมีมารยาทดี อ่อนน้อมถ่อมตน
                E = Enthusiasm มีความกระฉับกระเฉง และกระตือรือร้นขณะบริการ จะบริการมากที่คาดหวังไว้เสมอ
             บัญญัติสิบประการของการบริการลูกค้าที่เหนือชั้นกว่า
               1. ลูกค้า/ผู้รับบริการเป็นบุคคลที่สาคัญที่สุดในบริษัท
               2. ลูกค้า/ผู้รับบริการไม่ได้มาพึ่งเรา เราต่างหากที่พึ่งลูกค้า เราเป็นคนทางานให้ลุกค้า
               3. ลูกค้า/ผู้รับบริการไม่ได้มาขัดจังหวะการทางานของเรา เขามาเพื่อให้เรามีงานทา
               4. ลูกค้า/ผู้รับบริการมีความกรุณาแก่เราที่แวะมาเยี่ยมเรา โทรมาหาเรา การรับใช้ลูกค้าไม่ใช่การทาบุญทา
                      คุณแก่ลูกค้า
               5. ลูกค้า/ผู้รับบริการเป็นส่วนที่สาคัญมากต่อธุรกิจเช่นเดียวกับสิ่งอืนๆ อันได้แก่ การมีสินค้าและการ
                                                                                      ่
                      บริการไว้พร้อมเสมอ
6. ลูกค้า/ผู้รับบริการไม่ใช่หนปูนปัน ลูกค้าก็เป็นคนมีความรู้สึก และอารมณ์เช่นเรา จงปฏิบัติต่อลูกค้าให้
                                            ุ่     ้
                 ดีกว่าที่อยากให้ลุกค้าปฏิบัติต่อเรา
             7. ลูกค้า/ผู้รับบริการไม่ใช่คนทีจะต่อล้อต่อเถียงหรือประลองปัญญาด้วย
                                                 ่
             8. เป็นงานของเราที่ต้องตอบสนองต่อความจาเป็นและความต้องการและความคาดหวังของลูกค้า/
                 ผู้รับบริการ และกล้าที่จะรับฟังคาตาหนิติเตียนของเขาด้วย
             9. ลูกค้า/ผู้รับบริการควรได้รบการเอาใจใส่ ความสุภาพ และการบริการอย่างมืออาชีพให้มากที่สุด
                                               ั
             10. ลูกค้า/ผู้รับบริการเป็นเส้นเลือดแห่งธุรกิจของเรา พึงจาไว้เสมอว่าถ้าไม่มีลูกค้าเราก็ไม่อาจมีธุรกิจ เรา
                 เป็นคนทางานให้ลูกค้า/ผู้รับบริการซึ่งสิ่งที่กล่าวมาข้างต้นนั้นล้วนแล้วแต่เป็นบทนาไปสู่การบริการเกิน
                 ความคาดหวังทั้งสิ้น ( วันทิพย์ สินสูงสุด, ม.ป.ป.)
ความหมายและความสาคัญ
          ความคาดหวัง( Expectations) หมายถึง ความเชื่อของลูกค้า/ผู้รับบริการ ต่อการบริการที่จะได้รับ ซึ่งลูกค้า/
ผู้รับบริการจะใช้เป็นมาตรฐานหรือตัววัดคุณภาพบริการจากกิจการใดกิจการหนึ่ง ถ้าเขาเชื่อว่าจะได้รับบริการแบบหนึ่ง
แล้วปรากฏว่าได้รับบริการทีคาดหวังจริง ๆ ก็จะนามาซึ่งความพอใจ ยิ่งถ้าได้รับบริการแบบเกินความคาดหวังก็ยิ่งจะสร้าง
                              ่
ความประทับใจอย่างยากที่จะลืม แต่ในทางตรงข้าม ถ้าบริการที่ได้ต่ากว่าความคาดหวังก็จะสร้างความผิดหวังให้เกิดขึ้น
และทาให้เขาประเมินบริการต่าลง
                   ดังนั้นความคาดหวังจึงทาหน้าที่เป็นเสมือนไม้บรรทัดวัดคุณภาพบริการที่มีความสาคัญอย่างยิ่งยวดต่อ
           การให้บริการ หากขาดความเข้าใจในความคาดหวังของลูกค้า/ผู้รับบริการแล้ว ภารกิจต่าง ๆ ขององค์กรอาจจะไม่
           ประสบความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ก็ได้ และที่สาคัยก็คอองค์กรอาจเสีย ลูกค้า/ผู้รับบริการไปอย่างน่า
                                                                        ื
           เสียดาย ( วิทยา ด่านธารงกุล, 2547)

ทฤษฎีเกี่ยวกับความคาดหวัง
            เนื่องจากความคาดหวัง เป็นทัศนคติเกี่ยวกับความปรารถนา หรือความต้องการของผู้รับบริการที่พวกเขา
คาดหมายว่าจะเกิดขึนในบริการนั้นๆ (Zeithamal, 1985) ผู้รับบริการจะประเมินผลของการขอรับบริการโดยมีพื้นฐานจาก
                       ้
สิ่งที่คาดหวังว่าจะได้รบ ความต้องการคือสิ่งที่ถูกฝังลึกอยู่ในจิตใต้สานึกของมนุษย์ เป็นผลสืบเนื่องมาจากชีวิตความเป็นอยู่
                         ั
และสถานภาพของแต่ละบุคคล เมื่อรู้สึกว่ามีความต้องการ พวกเขาจะมีแรงจูงใจทีจะทาให้ความต้องการได้รับการ
                                                                                   ่
ตอบสนอง
           เมื่อผู้รบบริการเข้ามารับบริการกับใคร หรือหน่วยงานใดก็ตาม เขาจะเข้ามาพร้อมกับความคาดหวัง จะคาดหวัง
                    ั
มากหรือน้อยแล้วแต่บุคคล และความปรารถนาที่เข้มข้นมากหรือน้อย แต่โดยทั่วไปความคาดหวังของ ผู้รับบริการมักขึ้นอยู่
กับปัจจัยดังต่อไปนี้
          1. ชื่อเสียง ผ่านทางการโฆษณาประชาสัมพันธ์ ขององค์กรเอง หากเป็นที่รจักกันโดยทั่วไปว่าองค์กรมีชื่อเสียง
                                                                                     ู้
                ในทางที่ดี หรือการได้ยนได้ฟังเกียวกับความดี ความสาเร็จขององค์กรจากทางใดทางหนึ่ง ก็ย่อมส่งผลถึง
                                       ิ        ่
                ความคาดหวังในการได้รับบริการที่ดี ตรงตามความต้องการของผูใช้    ้
          2. คาบอกเล่าหรือคาพูดปากต่อปาก ถือว่าเป็นปัจจัยที่สาคัญที่สุด คาบอกเล่าหรือคาพูดปากต่อปากเป็นการ
                โฆษณาประชาสัมพันธ์ททรงพลังที่สุด เนื่องจากคาบอกเล่านั้นมีคณค่าเทียบเท่าคายืนยันจากคนที่เคยไปใช้
                                         ี่                                      ุ
                บริการว่าการบริการนั้นดีจริง สร้างความเชื่อมั่นมากขึ้นว่าจะสามารถสนองความต้องการของเขาได้ จึงทาให้
                เกิดความคาดหวังสูงว่าจะได้รบบริการเช่นเดียวกับที่ได้รับฟังมา
                                             ั
3. ราคา ความคาดหวังแปรผันโดยตรงกับราคาสินค้า/บริการ ลูกค้า ผูรับบริการย่อมมีความคาดหวังสูงกับการ
                                                                         ้
          บริการที่ราคาแพง
       4. ความต้องการส่วนบุคคล ลูกค้า/ ผู้รับบริการอาจเข้ามารับบริการด้วยวัตถุประสงค์และความต้องการที่ไม่
          เหมือนกัน กล่าวคือผูที่ไม่มีความต้องการสิ่งใดเป็นพิเศษก็ย่อมคาดหวังน้อย แต่ผที่มีความต้องการเป็นพิเศษก็
                               ้                                                      ู้
          ย่อมคาดหวังมาก
       5. ประสบการณ์ในการใช้บริการทีผานมา ลูกค้า/ ผู้รับบริการที่เคยได้รับบริการทีดีครังก่อนก็ย่อมคาดหวังการ
                                         ่่                                         ่ ้
          บริการที่เท่ากับหรือดีกว่าการบริการครั้งที่แล้ว



องค์ประกอบของความคาดหวัง (The component of customer expectation) ความคาดหวังของลูกค้าเกี่ยวข้องกับ
          องค์ประกอบพื้นฐานซึ่งแตกต่างกัน ได้แก่
          1. บริการที่พึงประสงค์ (Desired service) ,
          2. บริการที่เพียงพอ (Adequate service) ,
          3. บริการที่คาดการณ์ (Predicted service) และ
          4. ขอบเขตที่ยอมรับได้ (Zone of Tolerance) ซึ่งอยู่ระหว่างบริการที่พงประสงค์และบริการทีเ่ พียงพอ
                                                                             ึ

    1. บริการที่พึงประสงค์ (Desired service) เป็นบริการที่ลูกค้ามีความคาดหวังว่าหน่วยงานหรือผู้ให้บริการควรจะมี
       หรือควรจะจัดหาให้ได้ และลูกค้าคาดหวังว่าเขาควรจะได้รับ และสิ่งที่ลูกค้าคาดหวังว่าจะได้รบ หรือปรารถนาที่
                                                                                                  ั
       จะได้รบระดับของความปรารถนาจะขึ้นอยู่กับความต้องการส่วนบุคคล และความเชื่อถือของลูกค้าเกี่ยวกับการ
               ั
       บริการที่ผู้ให้บริการจะสามารถทาให้ได้ อย่างไรก็ตาม แม้ว่าลูกค้าต้องการที่จะได้รับบริการที่ดที่สดตามอุดมคติ
                                                                                                    ี ุ
       ของตน แต่ลูกค้าก็จะไม่คาดหวังอย่างไร้เหตุผล เนื่องจากพวกเขาไม่เข้าใจดีว่าบริษทไม่สามารถให้บริการที่ดที่สุด
                                                                                      ั                         ี
       ได้ตลอดเวลา
       แต่อย่างไรก็ตามบริการที่พึงประสงค์นี้อาจจะไม่เป็นไปตามที่ต้องการเสมอไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากมีปัจจัยหรือ
       เงื่อนไขอย่างอืนที่ไม่สามารถควบคุมได้เข้ามาเกี่ยวข้อง ลูกค้าก็จะลดความคาดหวังให้อยูในระดับต่าลงไป ความ
                       ่                                                                     ่
       คาดหวังหรือบริการในระดับทีต่าลงนี้เรียกว่า ที่เพียงพอ หรือ บริการขั้นต่า ( Adequate service) คืออย่างน้อย
                                    ่
       ที่สุดเขาต้องได้รบบริการอย่างนี้
                         ั

    2. บริการที่พอเพียง หรือที่เราเรียกว่าบริการขั้นต่า(Adequate service) ซึ่งหมายถึงระดับที่ต่าที่สุดของการบริการที่
       ลูกค้าจะยอมรับโดยไม่เกิดความรู้สึกไม่พอใจ ความคาดหวังระดับนี้ประกอบขึ้นจากปัจจัยจากความรับรู้ของ
       ผู้บริโภคต่อทางเลือกจากการบริการของผู้ให้บริการรายอื่นๆ และปัจจัยจากสถานการณ์ซึ่งเกี่ยวข้องกับการใช้
       บริการในแต่ละครั้ง พบว่าในกรณีที่ลูกค้ามีทางเลือกในการรับบริการหลายๆทาง ความคาดหวังของลูกค้าต่อการ
       บริการก็จะสูง ในขณะเดียวกันถ้าลูกค้ารู้สึกว่าไม่มีทางเลือก เช่น ในสถานการณ์ฉุกเฉินซึ่งผู้ให้บริการรายอื่นๆ ไม่
       สามารถให้บริการได้ ความคาดหวังของลูกค้าก็จะต่าลง ระดับบริการที่พึงประสงค์และระดับบริการที่พอเพียง จะ
       ได้รับอิทธิพลจากปัจจัย 3 ด้าน คือ จากคาสัญญาซึ่งผู้ให้บริการให้แก่ลูกค้าทั้งทีเ่ ป็นสัญญาที่ชดแจ้ง และคาสัญญา
                                                                                                     ั
       ที่ไม่ชัดแจ้ง จากการบอกปากต่อปากของลูกค้า และจากประสบการณ์ในอดีตของลูกค้าต่อการรับบริการ พบว่า
ลูกค้าจะมีความคาดหวังต่อบริการที่พึงประสงค์ต่อผู้ให้บริการรายต่างๆ ในอุตสาหกรรมเดียวกันแตกต่างกัน เช่น
    ในธุรกิจร้านอาหาร ลูกค้าคาดหวังต่อบริการของภัตตาคารแตกต่างไปตามคาสั่ง

                                        บริการที่พงประสงค์
                                                  ึ




                                        บริการที่เพียงพอ/บริการขั้นต่า



3. บริการที่คาดการณ์ (Predicted service) คือระดับของการบริการที่ลกค้าคาดว่าจะได้รบจากผูให้บริการในขณะที่
                                                                          ู              ั     ้
     ลูกค้ากับผู้ให้บริการกาลังเผชิญหน้ากันในการบริการใดบริการหนึง บริการที่คาดการณ์จะมีผลกระทบโดยตรงต่อ
                                                                      ่
     การกาหนดระดับการบริการที่พึงประสงค์ (Adequate service) หากลูกค้าคาดการณ์ว่าจะได้รับบริการที่ดี ระดับ
     ความคาดหวังของการบริการที่พงประสงค์ก็จะสูง หากระดับของการคาดการณ์ว่าจะได้รับการบริการที่ดี ระดับ
                                       ึ
     ความคาดหวังของการบริการที่พงประสงค์ก็จะสูง หากระดับของการคาดการณ์ลดลง ระดับของความคาดหวังต่อ
                                         ึ
     การบริการที่พึงประสงค์ก็จะน้อยลงด้วย เช่น การเข้าแถวยาวๆเพื่อรอซื้อชมบัตรภาพยนตร์เป็นเวลา 15 นาที ใน
     วันหยุด ไม่ทาให้ลูกค้ารู้สึกว่าได้รับบริการทีต่ากว่าระดับการบริการที่พึงประสงค์ เนื่องจากลูกค้าคาดหวังไว้ว่า
                                                  ่
     จะต้องมีคนมารอแถวมากในวันหยุด แต่ลูกค้ารู้สึกว่าการเข้าแถวเพื่อรอซื้อบัตรชมภาพยนตร์ในวันธรรมดาเป็น
     เวลา 10 นาที เป็นการบริการที่ต่ากว่าระดับบริการที่พึงประสงค์ เนืองจากลูกค้าคาดการณ์ว่าวันธรรมดาจะมีคนมา
                                                                        ่
     ชมภาพยนตร์ไม่มากนัก เมื่อแบ่งแยกระดับบริการที่พึงประสงค์ออกจากระดับบริการที่พอเพียง จะได้ขอบเขตที่
     ยอมรับได้ (Zone of Tolerance)
4. ขอบเขตที่ยอมรับได้ (Zone of Tolerance) ซึ่งอธิบายได้ว่า ระดับการบริการที่เพียงพอคือ ระดับที่ต่าสุดของการ
     บริการที่ลูกค้ายอมรับได้โดยไม่เกิดความไม่พอใจ หากต่ากว่าระดับนี้ลูกค้าก็จะเกิดความสับสนและไม่พอใจใน
     การบริการ หากระดับของการบริการสูงกว่าระดับบริการที่เพียงพอก็จะทาให้ลูกค้ารู้สึกประทับใจและพึงพอใจ
     การบริการที่เหนือกว่าระดับบริการที่พึงประสงค์ คือ การบริการที่ทาให้ลูกค้าเกิดความประทับใจนันเอง ่
    ความคาดหวังเป็นทัศนคติเกี่ยวกับความต้องการของผูบริโภคหรือกลุ่มเป้าหมายทีเ่ ขาคาดหมายว่าจะได้รับ ซึ่ง
                                                           ้
    ความคาดหวังของแต่ละคน หรือแต่ละกลุ่มเป้าหมายจะผันแปรต่างกัน อันเนื่องมาจากชีวิตความเป็นอยู่ และ
   สถานภาพของแต่ละบุคคล ความคาดหวังเป็นสิ่งที่อยู่ภายในจิตใจ หากได้รับการตอบสนองตรงกับสิ่งที่คาดไว้ก็ตะ
   เกิดความพึงพอใจ และประทับใจในตราสินค้าหรือบริการที่เขาได้รับ คุณภาพบริการเป็นสิงสาคัญที่สร้างความ
                                                                                             ่
   แตกต่างในธุรกิจบริการ การรักษาระดับการให้บริการทีเ่ หนือคู่แข่ง และตอบสนองความคาดหวังของลูกค้า/
  ผู้รับบริการ
บริการที่พงประสงค์
                                                   ึ

                                         ขอบเขตที่ยอมรับได้



                                         บริการที่เพียงพอ/บริการขั้นต่า

              อย่างไรก็ตามความคาดหวังของผู้ใช้จะมากหรือน้อย ยังขึ้นอยู่กับ 2 ปัจจัย คือ ความต้องการส่วนตัว
    ของลูกค้า ( Personal needs) และตัวเร่งความคาดหวัง( Enduring service intensifiers) ปัจจัยทั้ง / ปัจจัยนี้จะถือว่า
    เป็นปัจจัยที่ส่งผลระยะสั้นกว่าองค์ประกอบทั้ง 4 ดังที่กล่าวมาข้างต้น เมื่อเกิดความต้องการบางอย่างในตัวบุคคล
    แล้ว หากเป็นความต้องการที่ไม่เร่งด่วน หรือเป็นความต้องการที่ไม่ใช่ความต้องการในภาวะคับขันก็จะเป็นความ
    คาดหวังปกติ แต่เมื่อไหร่ที่มีเหตุการณ์เร่งด่วน เช่น ในขณะที่กาลังขอรับบริการอยู่นั้นไฟฟ้าเกิดดับ หน่วยงานได้
    เตรียมพร้อมไฟสารองไว้หรือไม่ และงานสามารถดาเนินการต่อไปหรือไม่อย่างไร หรือต้องหยุดดาเนินการ
    จนกว่าไฟฟ้าจะติด หรือไม่อย่างไร สิ่งเหล่านี้จะส่งผลต่อความคาดหวังทั้งสิ้น ดังรูป



               ความต้องการ
               ส่วนตัวของลูกค้า
                                                                  บริการที่พงประสงค์
                                                                            ึ

                                                                  ขอบเขตที่ยอมรับได้
                      ตัวเร่ง

                  ความคาดหวัง
                                                                  บริการที่เพียงพอ/บริการขั้นต่า



                            ( วิทยา ด่านธารงกุล, 2547)
   คุณภาพของการบริการที่ผู้รับบริการคาดหวัง
   คุณภาพของการบริการที่ผู้รบบริการคาดหวัง มีอยู่ 5 ด้านด้วยกันคือ
                              ั
   1. ความมีตัวตน หรือรูปลักษณ์ทางกายภาพของการบริการที่ดี (Tangibles) เช่นโรงแรมจะต้องมีส่วนต้อนรับ
       (Lobby) ที่มีการตกแต่งอย่างมีรสนิยมและสะอาด หรือสายการบินที่จะต้องมีทนั่งของผู้โดยสารที่
                                                                            ี่
       สะดวกสบายและกว้างขวาง มีอุปกรณ์ที่อานวยความสะดวกด้านต่างอย่างทันสมัย เป็นต้น
2. ความไว้วางใจได้ ( Reliability) หมายถึงความสามารถของหน่วยงานบริการและผูปฏิบัติงานบริการที่จะส่งมอบ
                                                                          ้
   การบริการได้ตรงเวลา และให้บริการได้อย่างครบถ้วนและเป็นไปได้ตามที่ได้ตกลงกันไว้
3. ความเชื่อถือได้ ( Assurance) หมายถึงการที่ผู้ใช้บริการรู้สึกว่าคุ้มค่ากับเงินที่ใช้ไป และรู้สึกมั่นใจทีจะใช้บริการ
                                                                                                          ่
   ความรู้สึกดังกล่าวเกิดขึ้นจากหน่วยงานและผู้ปฏิบัติงานให้บริการมีความรู้ความสามารถและความเชี่ยวชาญใน
   งาน เช่น การที่สายการบินมีกัปตันขับเครื่องบินและพนักงานต้อนรับบนเครืองบินที่มความชานาญในวิชาชีพของ
                                                                                 ่         ี
   ตน หรือ การที่มัคคุเทศก์สามารถตอบคาถามเกี่ยวกับการท่องเที่ยวได้อย่างถูกต้อง ตรงประเด็น และชัดเจน
4. การตอบสนองทีทันใจ ( Responsiveness) หมายถึงความพร้อมของหน่วยงานบริการ และผูปฏิบัติงานให้บริการที่
                      ่                                                                           ้
   จะตอบสนองต่อความต้องการของผู้รับบริการได้ทันทีทเี่ ขาต้องการโดยไม่ปล่อยให้ต้องรอนาน เช่น พนักงาน
   ต้อนรับของโรงแรมสามารถให้ขอมูลเกี่ยวกับการบริการ และสิ่งอานวยความสะดวกต่าง ๆ ภายในโรงแรมได้
                                        ้
   ทันทีที่ผู้รบบริการถาม หรือแม้กระทั่งการจัดเตรียมอุปกรณ์เทคโนโลยีเพื่อช่วยให้การส่งมอบบริการได้อย่าง
               ั
   รวดเร็วทันใจ
5. ความเอื้ออาทร หรือความเอาใจใส่ (Empathy) หมายถึงความเอื้ออาทร หรือความเอาใจใส่ทหน่วยงานบริการและ ี่
   ผู้ปฏิบัติงานบริการให้บริการที่มต่อผู้รับบริการ เช่นการที่หน่วยงานบริการสามารถเสนอบริการแบบเบ็ดเสร็จ ณ
                                      ี
   จุดเดียว หรือทีเ่ รียกว่า One stop service เพื่อช่วยประหยัดเวลาให้แก่ผู้รับบริการ

    การบริการที่ไม่เป็นไปตามความคาดหวัง
            เมื่อทราบว่าการบริการที่มีคุณภาพเป็นอย่างไรแล้ว ผู้ปฏิบัตงานควรจะต้องทราบว่าการบริการที่ไม่มี
                                                                            ิ
    คุณภาพเป็นอย่างไรด้วย เพื่อการนาไปเป็นข้อคิดเตือนใจว่าตนควรละเว้น หรือหลีกเลี่ยงการปฏิบัตดังกล่าว และ ิ
    มุ่งสร้างการบริการที่มีคุณภาพ อันที่จะนาไปสู่การสร้างความพึงพอใจในบริการของตนเองและหน่วยงาน
             การบริการที่ไม่เป็นไปตามความคาดหวัง หรือการบริการไม่มีคุณภาพ อาจมีดังนี้
             1. ผู้ปฏิบัติงานให้บริการ สาเหตุจากผู้ปฏิบัติงานให้บริการนับว่าเป็นสาเหตุททาให้ผู้รับบริการไม่พึงพอใจ
                                                                                             ี่
                    มากที่สุด ซึ่งมีผู้ประมวลพฤติกรรมของผูปฏิบัติงานให้บริการที่สร้างความไม่พึงพอใจให้กับ
                                                               ้
                    ผู้รับบริการ มีดังนี้
                    1.1. มีบุคลิกภาพไม่เหมาะสมกับงานบริการ เช่นหน้าตาบูดบึง ไม่รับแขก ใช้คาพูด และกริยาไม่
                                                                                  ้
                          สุภาพ หรือพวกที่มีอุปนิสัยจูจี้จุกจิก เน้นตัวเองเป็นศูนย์กลาง
                                                      ้
                    1.2. ไม่มีจิตใจรักงานบริการ เช่นไม่สนใจ หรือไม่เอาใจใส่กับความต้องการของผู้รบบริการ ปล่อย
                                                                                                       ั
                          ให้ผู้รบบริการต้องรอคอย ไม่เต็มใจให้บริการ และไม่เต็มใจให้ความช่วยเหลือเมื่อผู้รบบริการ
                                  ั                                                                         ั
                          เกิดปัญหา
                    1.3. การประสานงานที่ไม่ดี หรือความเข้าใจที่ไม่ตรงกันระหว่างผู้ปฏิบัติงานให้บริการ ส่งผลให้แจ้ง
                          ข้อมูลแก่ผู้รับบริการไม่ตรงกัน
                    1.4. ไม่มีความรู้ความสามารถ เช่น บุคลากรห้องสมุดไม่สามารถช่วยเหลือผู้ใช้ห้องสมุดในการ
                          สืบค้นข้อมูล หรือไม่สามารถชี้แหล่งสารสนเทศอื่น ๆ ทีเ่ ป็นประโยชน์ได้
                    1.5. ไม่มีวาทศิลป์ เช่น พูดไม่สุภาพ ใช้น้าเสียงที่ไม่นุ่มนวล หรือพูดเร็วเกินไป เป็นต้น
                    1.6. ไม่มมนุษยสัมพันธ์ เช่น ปฏิบัติตวต่อผู้รับบริการไม่เท่าเทียมกัน
                                ี                           ั
                    1.7. ไม่ให้ความสาคัญต่อยุติธรรมของการให้บริการ ทั้งที่กระทาโดยตั้งใจ และไม่ตั้งใจก็ตาม เช่น
                          การบริการที่ไม่เรียงลาดับก่อนหลัง
             2. นโยบาย หรือการบริหารจัดการของหน่วยงานบริการ การบริการทีไม่มีคุณภาพที่เกิดจากนโยบาย หรือ
                                                                                     ่
                    การบริหารจัดการของหน่วยงานบริการของหน่วยงานนันในบางกรณีจะทาให้ ผู้รับบริการเกิด
                                                                              ้
ความรู้สึกไม่พอใจในระดับมากจนทาให้เกิดภาพลักษณ์ในทางลบกับหน่วยงานบริการได้ โดยอาจ
                   เกิดจากสาเหตุดังต่อไปนี้
                   2.1. ขั้นตอนการให้บริการซับซ้อน หรือมีขั้นตอนในการให้บริการมากเกินไป ทาให้ผู้รับบริการ
                        เสียเวลามากเกินไป
                   2.2 การบริการไม่เป็นไปตามที่สัญญาไว้ ทั้งทีเ่ กิดขึนโดยตังใจ และไม่ตงใจก็ตาม เช่นบริษัทนา
                                                                      ้      ้            ั้
                        เที่ยวโฆษณาว่าจะจัดที่พักโรงแรมระดับ 5 ดาว แต่จัดให้ในระดับ 4 ดาว เป็นต้น
                  2.3. การปฏิเสธความรับผิดชอบในข้อบกพร่องของการบริการ หรือการไม่ให้ความช่วยเหลือเมื่อ
                        ผู้รับบริการมีปัญหาจากการบริการ เช่น มีผู้รับบริการมารับประทานอาหารที่ร้านอาหารแล้ว เมื่อ
                        กลับไปบ้านเกิดมีอาการเจ็บป่วยเนื่องจากอาหารเป็นพิษ เมือร้านอาหารได้รับแจ้งเกี่ยวกับเรื่องนี้
                                                                                ่
                       ร้านก็ปฏิเสธความรับผิดชอบในข้อบกพร่องของการบริการ เป็นต้น
                 2.4. ไม่มีบริการหลังการขาย หรือมีแต่ไม่ได้เอาใจใส่ กับผู้รบบริการเท่าทีควร
                                                                           ั            ่
              3. องค์ประกอบทางกายภาพ และสภาพแวดล้อมของการบริการ เช่น การจัดสถานที่ทางานไม่เหมาะสม
                 กับบรรยากาศในการติดต่อขอรับบริการ การจัดองค์กรที่ไม่เป็นสัดส่วน แสดงถึงความไม่ใส่ใจในการ
                 ให้ความสาคัญต่อการให้บริการความไม่พร้อมในเรื่อง สาธารณูปโภคทีเ่ อื้อต่อการให้บริการ ไม่มีป้าย
                  บอกตาแหน่ง แหล่งที่ ทีจะสื่อสารแก่ผู้มาขอรับบริการ โดยยังพอใจทีจะทางานตามความเคยชิน ไม่
                                          ่                                        ่
                  สนใจความสวยงาม ความสง่างามของการจัดภูมิทัศน์ให้สวยงามน่าเข้าใช้บริการ

คุณสมบัติของผู้ให้บริการเกินความคาดหวัง
                 ทุกการบริการที่เกินความคาดหวัง หน่วยงานจะต้องเตรียมพร้อมในเรื่องคนเพื่อให้บรรลุตาม
วัตถุประสงค์ของสมรรถนะหลักด้านการบริการที่ดี โดยมุงทีจะสร้างความพึงพอใจจากผู้มาขอรับบริการ และส่งผลถึง
                                                       ่ ่
ประสิทธิภาพของหน่วยงาน ดังนันการกาหนดคุณสมบัตของผู้ให้บริการเกินความคาดหวัง หรือผู้ทเี่ หมาะสมในการบริการ
                                  ้                  ิ
ที่ดีนนควรจะต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
      ั้
               1. มีบุคลิกภาพและมารยาทเหมาะสม ทั้งบุคลิกภาพภายนอก ภายในที่บคคลอื่นสามารถสัมผัสได้ว่ามี
                                                                                    ุ
                    ความเหมาะสม มองเห็นความพร้อมในการบริการตลอดเวลา เช่น รูปร่างหน้าตา การแต่งกาย ความ
                    จริงใจ ความกระตือรือร้น เป็นต้น
               2. มีวาทศิลป์หรือศิลปะในการพูด สามารถใช้คาพูดในการอธิบายเรื่องราวกระชับและนุ่มนวลในการเชิญ
                    ชวน หรือการบอกเล่าได้ ตลอดจนความสามารถในการพูดเพื่อการชี้แจง และแก้ปัญหาในการบริการ
                    ได้อย่างเหมาะสม หลีกเลี่ยงการใช้คาพูดปฏิเสธการขอความช่วยเหลือ หรือแม้แต่คาพูดกากวมที่อาจ
                    ทาให้การสื่อสารผิดพลาดหรือการเข้าใจไม่ตรงกัน
               3. มีมนุษยสัมพันธ์ ผู้ให้บริการมีความจาเป็นอย่างยิงทีจะต้องมีการติดต่อสื่อสาร มีการผูกสัมพันธภาพกับ
                                                                 ่ ่
                    ผู้อื่นทั้งภายในและภายนอก และอาจถือว่าเป็นคุณสมบัติพื้นฐานทีเ่ ป็นข้อบ่งชี้ว่าจะเป็นนักบริการทีดี
                                                                                                                   ่
                    ได้หรือไม่เพียงใด เพราะหากผูให้บริการไม่ชอบทีจะเป็นมิตรกับใคร ชอบเก็บตัว นั่นย่อมที่จะ
                                                  ้                  ่
                    พยากรณ์ได้ว่าไม่ชอบพบปะพูดคุยกับใคร การให้บริการจึงไม่น่าจะดีได้
               4. มีความรู้ความสามารถและทักษะในการปฏิบัติงาน ในด้านต่างๆ ทีรับผิดชอบเป็นอย่างดี ได้แก่
                                                                                  ่
                    4.1 วิธีการและเทคนิคการบริการ
                    4.2 หน่วยงานที่ตนเองทางานอยู่
4.3 ผลิตภัณฑ์บริการของหน่วยงาน
                    4.4 ความสาคัญและพฤติกรรมของผู้รับบริการ
                    4.5 การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพทั้งภาษาไทย และภาษาต่างประเทศ
                  ( รวีวรรณ โปรยรุ่งเรือง, 2551)

บทส่งท้าย
           การบริการเหนือความคาดหวัง ถือว่าเป็นการยกระดับของการปฏิบัติงานบริการในระดับธรรมดา
ให้เป็นพฤติกรรมการบริการที่ดีแบบเชิงประจักษ์เพื่อให้ส่งผลดีไปสู่การประเมินความพึงพอใจของ
ผู้รับบริการให้ได้ในระดับ 3 ขึ้นไป ดังนั้นจึงเป็นสิ่งที่ทั้งหน่วยงานและผู้ปฏิบัติจะต้องถือปฏิบัติร่วมกัน
          การบริการเหนือความคาดหวังอาจอธิบายภาพแห่งการสร้างความพึงพอใจ และประทับใจได้ดังนี้



                1                   ความคาดหวังก่อนรับบริการ


                2                   ความคาดหวังหลังรับบริการ

                                        1=2                     1> 2
                                                                       ไม่เป็นไปตามคาดหวัง
       เป็นไปตามคาดหวัง
                                              เปรียบเทียบ              -ไม่พอใจ
       - พอใจ
                                                 1 กับ2

                                                               2>1


                                        มากกว่าความคาดหวัง

                                              - ประทับใจ




  ( จิตตินนท์ นันทไพบูลย์, /2551)
          ั
บรรณานุกรม
 จิตตินันท์ นันทไพบูลย์. 2551. จิตวิทยาการบริการ. กรุงเทพฯ: ซีเอดยูเคชั่น
รวีวรรณ โปรยรุ่งเรือง. 2551. จิตวิทยาการบริการ. กรุงเทพฯ:โอเดียนสโตร์
วันทิพย์ สินสูงสุด. ม.ป.ป. วิธีสร้างความพึงพอใจให้ลูกค้า. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: สายใจ
วิทยา ด่านธารงกุล. 2547. หัวใจการบริการสู่ความสาเร็จ. กรุงเทพฯ: ซีเอดยูเคชั่น
Zeithamal, V. A., Parasuraman A. & Berry, L. L. (1985). A conceptual Model of service quality and its implications
           for future research. Journal of Marketing. New York: Hamper.

More Related Content

What's hot

การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อการจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อSuradet Sriangkoon
 
ลูกค้าสัมพันธ์ CRM
ลูกค้าสัมพันธ์ CRM ลูกค้าสัมพันธ์ CRM
ลูกค้าสัมพันธ์ CRM Wichien Juthamongkol
 
ธุรกิจที่พักแรม
ธุรกิจที่พักแรมธุรกิจที่พักแรม
ธุรกิจที่พักแรมWichien Juthamongkol
 
พื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการ
พื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการพื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการ
พื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการSomyot Ongkhluap
 
การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing  การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing Aor's Sometime
 
กรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยกรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยNU
 
Econ presentation 3
Econ presentation 3Econ presentation 3
Econ presentation 3wowwilawanph
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อเอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อNurat Puankhamma
 
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การพัฒนาเศรษฐกิจของไทย
การพัฒนาเศรษฐกิจของไทยการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย
การพัฒนาเศรษฐกิจของไทยPannatut Pakphichai
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510Utai Sukviwatsirikul
 
การติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กรการติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กรChainarong Maharak
 
ธุรกิจโรงแรม
ธุรกิจโรงแรมธุรกิจโรงแรม
ธุรกิจโรงแรมBenjamas Kamma
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)Nattakorn Sunkdon
 

What's hot (20)

การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อการจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
 
ลูกค้าสัมพันธ์ CRM
ลูกค้าสัมพันธ์ CRM ลูกค้าสัมพันธ์ CRM
ลูกค้าสัมพันธ์ CRM
 
ธุรกิจที่พักแรม
ธุรกิจที่พักแรมธุรกิจที่พักแรม
ธุรกิจที่พักแรม
 
พื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการ
พื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการพื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการ
พื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการ
 
การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing  การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing
 
กรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยกรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัย
 
Econ presentation 3
Econ presentation 3Econ presentation 3
Econ presentation 3
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
Business Model Canvas Tools
Business Model Canvas ToolsBusiness Model Canvas Tools
Business Model Canvas Tools
 
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อเอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
 
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
 
การพัฒนาเศรษฐกิจของไทย
การพัฒนาเศรษฐกิจของไทยการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย
การพัฒนาเศรษฐกิจของไทย
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
 
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
 
การติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กรการติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กร
 
ธุรกิจโรงแรม
ธุรกิจโรงแรมธุรกิจโรงแรม
ธุรกิจโรงแรม
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
 
Marketing plan
Marketing planMarketing plan
Marketing plan
 

Viewers also liked

จิตวิทยาการบริการ
จิตวิทยาการบริการจิตวิทยาการบริการ
จิตวิทยาการบริการPichitpol Chuenchom
 
สรุปการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะการให้บริการที่ดี
สรุปการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะการให้บริการที่ดีสรุปการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะการให้บริการที่ดี
สรุปการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะการให้บริการที่ดีnunaka
 
Customer expectations of service
Customer expectations of serviceCustomer expectations of service
Customer expectations of serviceNafiz Imtiaz
 
พัฒนาบุคลิกภาพเพิ่มเสน่ห์ให้การบริการ
พัฒนาบุคลิกภาพเพิ่มเสน่ห์ให้การบริการพัฒนาบุคลิกภาพเพิ่มเสน่ห์ให้การบริการ
พัฒนาบุคลิกภาพเพิ่มเสน่ห์ให้การบริการtra thailand
 
หัวใจการให้บริการสู่ความสำเร็จของธุรกิจร้านอาหารฉบีบพนักงาน
หัวใจการให้บริการสู่ความสำเร็จของธุรกิจร้านอาหารฉบีบพนักงานหัวใจการให้บริการสู่ความสำเร็จของธุรกิจร้านอาหารฉบีบพนักงาน
หัวใจการให้บริการสู่ความสำเร็จของธุรกิจร้านอาหารฉบีบพนักงานtra thailand
 
การเขียนคู่มือการปฏิบัติงานให้น่าอ่าน/Manual writing
การเขียนคู่มือการปฏิบัติงานให้น่าอ่าน/Manual writingการเขียนคู่มือการปฏิบัติงานให้น่าอ่าน/Manual writing
การเขียนคู่มือการปฏิบัติงานให้น่าอ่าน/Manual writingsongsri
 
กำหนดการอบรม Lumbar
กำหนดการอบรม Lumbarกำหนดการอบรม Lumbar
กำหนดการอบรม Lumbartarat_mod
 
กำหนดการอบรม Cervical
กำหนดการอบรม Cervicalกำหนดการอบรม Cervical
กำหนดการอบรม Cervicaltarat_mod
 
ประมวลแนวคิดการทำงานยุคใหม่
ประมวลแนวคิดการทำงานยุคใหม่ประมวลแนวคิดการทำงานยุคใหม่
ประมวลแนวคิดการทำงานยุคใหม่songsri
 
Excellent team work.
Excellent team work.Excellent team work.
Excellent team work.songsri
 
Work&goal
Work&goalWork&goal
Work&goalsongsri
 
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance IndexNopporn Thepsithar
 
การจัดการและการปฏิบัติงานส่วนหน้า
การจัดการและการปฏิบัติงานส่วนหน้าการจัดการและการปฏิบัติงานส่วนหน้า
การจัดการและการปฏิบัติงานส่วนหน้าNattapakwichan Joysena
 
Exspresion Using and Giving Compliments
Exspresion Using and Giving ComplimentsExspresion Using and Giving Compliments
Exspresion Using and Giving ComplimentsTeguh Sasmito
 
การบริการอาหารและเครื่องดื่ม รวมเล่ม
การบริการอาหารและเครื่องดื่ม  รวมเล่มการบริการอาหารและเครื่องดื่ม  รวมเล่ม
การบริการอาหารและเครื่องดื่ม รวมเล่มPhattharawut Bubphra
 
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 

Viewers also liked (20)

จิตวิทยาการบริการ
จิตวิทยาการบริการจิตวิทยาการบริการ
จิตวิทยาการบริการ
 
สรุปการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะการให้บริการที่ดี
สรุปการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะการให้บริการที่ดีสรุปการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะการให้บริการที่ดี
สรุปการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะการให้บริการที่ดี
 
จิตวิทยาการบริหาร
จิตวิทยาการบริหารจิตวิทยาการบริหาร
จิตวิทยาการบริหาร
 
Customer expectations of service
Customer expectations of serviceCustomer expectations of service
Customer expectations of service
 
พัฒนาบุคลิกภาพเพิ่มเสน่ห์ให้การบริการ
พัฒนาบุคลิกภาพเพิ่มเสน่ห์ให้การบริการพัฒนาบุคลิกภาพเพิ่มเสน่ห์ให้การบริการ
พัฒนาบุคลิกภาพเพิ่มเสน่ห์ให้การบริการ
 
หัวใจการให้บริการสู่ความสำเร็จของธุรกิจร้านอาหารฉบีบพนักงาน
หัวใจการให้บริการสู่ความสำเร็จของธุรกิจร้านอาหารฉบีบพนักงานหัวใจการให้บริการสู่ความสำเร็จของธุรกิจร้านอาหารฉบีบพนักงาน
หัวใจการให้บริการสู่ความสำเร็จของธุรกิจร้านอาหารฉบีบพนักงาน
 
การเขียนคู่มือการปฏิบัติงานให้น่าอ่าน/Manual writing
การเขียนคู่มือการปฏิบัติงานให้น่าอ่าน/Manual writingการเขียนคู่มือการปฏิบัติงานให้น่าอ่าน/Manual writing
การเขียนคู่มือการปฏิบัติงานให้น่าอ่าน/Manual writing
 
กำหนดการอบรม Lumbar
กำหนดการอบรม Lumbarกำหนดการอบรม Lumbar
กำหนดการอบรม Lumbar
 
กำหนดการอบรม Cervical
กำหนดการอบรม Cervicalกำหนดการอบรม Cervical
กำหนดการอบรม Cervical
 
Lean
LeanLean
Lean
 
ประมวลแนวคิดการทำงานยุคใหม่
ประมวลแนวคิดการทำงานยุคใหม่ประมวลแนวคิดการทำงานยุคใหม่
ประมวลแนวคิดการทำงานยุคใหม่
 
Excellent team work.
Excellent team work.Excellent team work.
Excellent team work.
 
Work&goal
Work&goalWork&goal
Work&goal
 
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
 
การจัดการและการปฏิบัติงานส่วนหน้า
การจัดการและการปฏิบัติงานส่วนหน้าการจัดการและการปฏิบัติงานส่วนหน้า
การจัดการและการปฏิบัติงานส่วนหน้า
 
Exspresion Using and Giving Compliments
Exspresion Using and Giving ComplimentsExspresion Using and Giving Compliments
Exspresion Using and Giving Compliments
 
การบริการอาหารและเครื่องดื่ม รวมเล่ม
การบริการอาหารและเครื่องดื่ม  รวมเล่มการบริการอาหารและเครื่องดื่ม  รวมเล่ม
การบริการอาหารและเครื่องดื่ม รวมเล่ม
 
Lesson 7 Quality Management
Lesson 7 Quality ManagementLesson 7 Quality Management
Lesson 7 Quality Management
 
ปกคำนำสารบัญ
ปกคำนำสารบัญปกคำนำสารบัญ
ปกคำนำสารบัญ
 
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
 

Similar to การบริการเหนือความคาดหวัง

สรุปการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะการให้บริการที่ดี
สรุปการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะการให้บริการที่ดีสรุปการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะการให้บริการที่ดี
สรุปการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะการให้บริการที่ดีnunaka
 
สรุปการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะการให้บริการที่ดี
สรุปการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะการให้บริการที่ดีสรุปการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะการให้บริการที่ดี
สรุปการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะการให้บริการที่ดีnunaka
 
ก้าวแรกส่งานบริการ
ก้าวแรกส่งานบริการก้าวแรกส่งานบริการ
ก้าวแรกส่งานบริการSutthiluck Kaewboonrurn
 
Muic. spirit of hospitality
Muic. spirit of hospitalityMuic. spirit of hospitality
Muic. spirit of hospitalityhawaiiscott
 
มาตรฐานการบริการปัจจับสู่ความสำเร็จของธุรกิจร้านอาหารไทPresentย
มาตรฐานการบริการปัจจับสู่ความสำเร็จของธุรกิจร้านอาหารไทPresentยมาตรฐานการบริการปัจจับสู่ความสำเร็จของธุรกิจร้านอาหารไทPresentย
มาตรฐานการบริการปัจจับสู่ความสำเร็จของธุรกิจร้านอาหารไทPresentยtra thailand
 
ระดับของสมรรถนะหลักของข้าราชการกรุงเทพมหานคร
ระดับของสมรรถนะหลักของข้าราชการกรุงเทพมหานครระดับของสมรรถนะหลักของข้าราชการกรุงเทพมหานคร
ระดับของสมรรถนะหลักของข้าราชการกรุงเทพมหานครNus Venus
 
เทคนิคการจัดสถานที่และการบริการ
เทคนิคการจัดสถานที่และการบริการเทคนิคการจัดสถานที่และการบริการ
เทคนิคการจัดสถานที่และการบริการtra thailand
 
804501 ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหภัณฑ์พาณิชย์บริการ
804501 ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหภัณฑ์พาณิชย์บริการ804501 ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหภัณฑ์พาณิชย์บริการ
804501 ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหภัณฑ์พาณิชย์บริการweeraya
 
804501 ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
804501 ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)804501 ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
804501 ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)pattarawadee
 
SEPA Cat 7 table of expected results ver 2
SEPA Cat 7 table of expected results ver 2SEPA Cat 7 table of expected results ver 2
SEPA Cat 7 table of expected results ver 2Areté Partners
 
Customer loyalty คืออะไร
Customer loyalty คืออะไรCustomer loyalty คืออะไร
Customer loyalty คืออะไรNammon NMs'
 
HR Case Analysis : Index livingmall
HR Case Analysis : Index livingmallHR Case Analysis : Index livingmall
HR Case Analysis : Index livingmallDrDanai Thienphut
 
ลูกค้าสัมพันธ์ หนทางสู่การตลาดที่ยั่งยืน
ลูกค้าสัมพันธ์ หนทางสู่การตลาดที่ยั่งยืน ลูกค้าสัมพันธ์ หนทางสู่การตลาดที่ยั่งยืน
ลูกค้าสัมพันธ์ หนทางสู่การตลาดที่ยั่งยืน nattatira
 
2014 baldrige comment writing
2014 baldrige comment writing2014 baldrige comment writing
2014 baldrige comment writingmaruay songtanin
 

Similar to การบริการเหนือความคาดหวัง (20)

สรุปการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะการให้บริการที่ดี
สรุปการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะการให้บริการที่ดีสรุปการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะการให้บริการที่ดี
สรุปการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะการให้บริการที่ดี
 
สรุปการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะการให้บริการที่ดี
สรุปการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะการให้บริการที่ดีสรุปการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะการให้บริการที่ดี
สรุปการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะการให้บริการที่ดี
 
พฤติกรรมบริการ.pptx
พฤติกรรมบริการ.pptxพฤติกรรมบริการ.pptx
พฤติกรรมบริการ.pptx
 
Service excellent update
Service excellent updateService excellent update
Service excellent update
 
Customer loyalty
Customer loyaltyCustomer loyalty
Customer loyalty
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
ก้าวแรกส่งานบริการ
ก้าวแรกส่งานบริการก้าวแรกส่งานบริการ
ก้าวแรกส่งานบริการ
 
Case Study : Customer Centric & Lead User 2
Case Study : Customer Centric & Lead User 2Case Study : Customer Centric & Lead User 2
Case Study : Customer Centric & Lead User 2
 
Muic. spirit of hospitality
Muic. spirit of hospitalityMuic. spirit of hospitality
Muic. spirit of hospitality
 
มาตรฐานการบริการปัจจับสู่ความสำเร็จของธุรกิจร้านอาหารไทPresentย
มาตรฐานการบริการปัจจับสู่ความสำเร็จของธุรกิจร้านอาหารไทPresentยมาตรฐานการบริการปัจจับสู่ความสำเร็จของธุรกิจร้านอาหารไทPresentย
มาตรฐานการบริการปัจจับสู่ความสำเร็จของธุรกิจร้านอาหารไทPresentย
 
ระดับของสมรรถนะหลักของข้าราชการกรุงเทพมหานคร
ระดับของสมรรถนะหลักของข้าราชการกรุงเทพมหานครระดับของสมรรถนะหลักของข้าราชการกรุงเทพมหานคร
ระดับของสมรรถนะหลักของข้าราชการกรุงเทพมหานคร
 
เทคนิคการจัดสถานที่และการบริการ
เทคนิคการจัดสถานที่และการบริการเทคนิคการจัดสถานที่และการบริการ
เทคนิคการจัดสถานที่และการบริการ
 
804501 ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหภัณฑ์พาณิชย์บริการ
804501 ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหภัณฑ์พาณิชย์บริการ804501 ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหภัณฑ์พาณิชย์บริการ
804501 ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหภัณฑ์พาณิชย์บริการ
 
804501 ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
804501 ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)804501 ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
804501 ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
 
Digital tranformation in retail
Digital tranformation in retailDigital tranformation in retail
Digital tranformation in retail
 
SEPA Cat 7 table of expected results ver 2
SEPA Cat 7 table of expected results ver 2SEPA Cat 7 table of expected results ver 2
SEPA Cat 7 table of expected results ver 2
 
Customer loyalty คืออะไร
Customer loyalty คืออะไรCustomer loyalty คืออะไร
Customer loyalty คืออะไร
 
HR Case Analysis : Index livingmall
HR Case Analysis : Index livingmallHR Case Analysis : Index livingmall
HR Case Analysis : Index livingmall
 
ลูกค้าสัมพันธ์ หนทางสู่การตลาดที่ยั่งยืน
ลูกค้าสัมพันธ์ หนทางสู่การตลาดที่ยั่งยืน ลูกค้าสัมพันธ์ หนทางสู่การตลาดที่ยั่งยืน
ลูกค้าสัมพันธ์ หนทางสู่การตลาดที่ยั่งยืน
 
2014 baldrige comment writing
2014 baldrige comment writing2014 baldrige comment writing
2014 baldrige comment writing
 

More from songsri

งานเป็นเลิศ
งานเป็นเลิศงานเป็นเลิศ
งานเป็นเลิศsongsri
 
บุคลิกภาพในการทำงาน
บุคลิกภาพในการทำงานบุคลิกภาพในการทำงาน
บุคลิกภาพในการทำงานsongsri
 
การทำงานสู่ความเป็นเลิศ
การทำงานสู่ความเป็นเลิศการทำงานสู่ความเป็นเลิศ
การทำงานสู่ความเป็นเลิศsongsri
 
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาPICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาsongsri
 
LC Classification system
LC Classification systemLC Classification system
LC Classification systemsongsri
 
Best tools for ebm
Best tools for ebmBest tools for ebm
Best tools for ebmsongsri
 
Training review
Training reviewTraining review
Training reviewsongsri
 
Evidence based medicine
Evidence based medicineEvidence based medicine
Evidence based medicinesongsri
 
แนวคิดการสร้างคุณค่า...
แนวคิดการสร้างคุณค่า...แนวคิดการสร้างคุณค่า...
แนวคิดการสร้างคุณค่า...songsri
 
มารยาทการต้อนรับแขก
มารยาทการต้อนรับแขกมารยาทการต้อนรับแขก
มารยาทการต้อนรับแขกsongsri
 
เทคนิคการเป็นผู้ประกาศ
เทคนิคการเป็นผู้ประกาศเทคนิคการเป็นผู้ประกาศ
เทคนิคการเป็นผู้ประกาศsongsri
 
การจัดการสารสนเทศสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
การจัดการสารสนเทศสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพการจัดการสารสนเทศสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
การจัดการสารสนเทศสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพsongsri
 
บริการห้องสมุด กับ Ebm
บริการห้องสมุด กับ Ebmบริการห้องสมุด กับ Ebm
บริการห้องสมุด กับ Ebmsongsri
 
Performance report : Healht Science Information Management cluster, KKU Thailand
Performance report : Healht Science Information Management cluster, KKU ThailandPerformance report : Healht Science Information Management cluster, KKU Thailand
Performance report : Healht Science Information Management cluster, KKU Thailandsongsri
 
USA study tour
USA study tourUSA study tour
USA study toursongsri
 
Positive thinking in the library
 Positive thinking in the library Positive thinking in the library
Positive thinking in the librarysongsri
 
Friendship on speech
Friendship on speechFriendship on speech
Friendship on speechsongsri
 
Searching Annaul Review
Searching Annaul ReviewSearching Annaul Review
Searching Annaul Reviewsongsri
 
Library service Psycology
Library service PsycologyLibrary service Psycology
Library service Psycologysongsri
 

More from songsri (19)

งานเป็นเลิศ
งานเป็นเลิศงานเป็นเลิศ
งานเป็นเลิศ
 
บุคลิกภาพในการทำงาน
บุคลิกภาพในการทำงานบุคลิกภาพในการทำงาน
บุคลิกภาพในการทำงาน
 
การทำงานสู่ความเป็นเลิศ
การทำงานสู่ความเป็นเลิศการทำงานสู่ความเป็นเลิศ
การทำงานสู่ความเป็นเลิศ
 
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาPICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
 
LC Classification system
LC Classification systemLC Classification system
LC Classification system
 
Best tools for ebm
Best tools for ebmBest tools for ebm
Best tools for ebm
 
Training review
Training reviewTraining review
Training review
 
Evidence based medicine
Evidence based medicineEvidence based medicine
Evidence based medicine
 
แนวคิดการสร้างคุณค่า...
แนวคิดการสร้างคุณค่า...แนวคิดการสร้างคุณค่า...
แนวคิดการสร้างคุณค่า...
 
มารยาทการต้อนรับแขก
มารยาทการต้อนรับแขกมารยาทการต้อนรับแขก
มารยาทการต้อนรับแขก
 
เทคนิคการเป็นผู้ประกาศ
เทคนิคการเป็นผู้ประกาศเทคนิคการเป็นผู้ประกาศ
เทคนิคการเป็นผู้ประกาศ
 
การจัดการสารสนเทศสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
การจัดการสารสนเทศสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพการจัดการสารสนเทศสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
การจัดการสารสนเทศสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
 
บริการห้องสมุด กับ Ebm
บริการห้องสมุด กับ Ebmบริการห้องสมุด กับ Ebm
บริการห้องสมุด กับ Ebm
 
Performance report : Healht Science Information Management cluster, KKU Thailand
Performance report : Healht Science Information Management cluster, KKU ThailandPerformance report : Healht Science Information Management cluster, KKU Thailand
Performance report : Healht Science Information Management cluster, KKU Thailand
 
USA study tour
USA study tourUSA study tour
USA study tour
 
Positive thinking in the library
 Positive thinking in the library Positive thinking in the library
Positive thinking in the library
 
Friendship on speech
Friendship on speechFriendship on speech
Friendship on speech
 
Searching Annaul Review
Searching Annaul ReviewSearching Annaul Review
Searching Annaul Review
 
Library service Psycology
Library service PsycologyLibrary service Psycology
Library service Psycology
 

การบริการเหนือความคาดหวัง

  • 1. การบริการเหนือความคาดหวัง โดย ส่งศรี ดีศรีแก้ว มหาวิทยาลัยขอนแก่น การสร้างสมรรถนะหลักในการบริการที่ดนั้น ผู้รบบริการจะต้องเป็นผู้ประเมิน ว่าการบริการที่ได้รับนันเป็นบริการ ี ั ้ ที่ดีมีประโยชน์ ตรงตามความต้องการ คุ้มค่า หรือไม่เพียงไร ซึ่งนันย่อมหมายความว่าหากผู้ให้บริการมีความสามารถ ้ ให้บริการได้เหนือความคาดหวังก็ยิ่งจะเป็นการสร้างคุณค่าต่อการประเมินพึงพอใจในบริการได้อย่างชัดเจน และจะทาให้ ค่าระดับของความพึงพอใจอยูในระดับสูงตามไปด้วย ่ ในการปฏิบัติงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์เพื่อการสร้างสมรรถนะด้านงานบริการที่ดี ย่อมที่จะต้องมีความรู้ความเข้าใจ ในพฤติกรรมของผู้รับบริการว่าเป็นอย่างไร เพื่อการตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ให้ตรงที่สุด ดีที่สุด มุ่งทีจะสร้างความ ่ พึงพอใจ ความประทับใจเพื่อให้เกิดการแปรผลว่าการบริการนั้นเป็นการบริการทีดี ตามสมรรถนะหลักที่กาหนดให้ ่ ผู้ปฏิบัติงานถือปฏิบัติ เพื่อส่งผลต่อคุณภาพ และการสร้างชื่อเสียง ความเชื่อมั่นให้กับองค์กร และสร้างความนับถือต่อ ผู้ปฏิบัติงานด้วย โดยทั่วไปพฤติกรรมของผู้รบบริการมี 3 ระดับ ดังนี้ ั 1. ระดับที่ไม่เป็นไปตามคาดหวัง 2. ระดับที่เป็นไปตามคาดหวัง 3. ระดับที่เกิดความพึงพอใจและประทับใจ พฤติกรรมของผู้รบบริการ 3 ระดับดังกล่าวจึงควรที่ผู้รบบริการจะต้องสร้างความรู้ความเข้าใจเพื่อให้เกิด ั ั ความเข้าใจว่าการบริการที่ยกระดับจากการบริการทีประเมินว่าการบริการที่ดีนนควรจะต้องเป็นการบริการ ่ ั้ ที่เกินความคาดหวังเสมอ ซึ่งมีคนกล่าวถึงการบริการที่ดีไว้อย่างหลากหลาย เช่น คุณลักษณะ 7 ประการ แห่งการบริการทีดี และ บัญญัติสบประการของการบริการลูกค้าทีเ่ หนือชั้นกว่า ไว้ดังนี้ ่ ิ คุณลักษณะ 7 ประการ แห่งการบริการที่ดี S = Smiling & Sympathy ยิ้มแย้ม และเอาใจเขามาใส่ใจเรา เห็นอกเห็นใจต่อความลาบากยุ่งยากของลูกค้า E = Early response ตอบสนองความประสงค์จากลูกค้าอย่างรวดเร็วทันใจ โดยมิทันได้เอ่ยปากเรียกหา R = Respectful แสดงออกถึงความนับถือ ให้เกียรติลูกค้า V = Voluntariness manner ลักษณะการให้บริการแบบสมัครใจและเต็มใจทามิใช่ทาแบบเสียมิได้ I = Image enhancing แสดงออกซึ่งการรักษาภาพพจน์ของผู้ให้บริการ และเสริมภาพพจน์ขององค์กรด้วย C = Cutesy กริยาอ่อนโยน สุภาพและมีมารยาทดี อ่อนน้อมถ่อมตน E = Enthusiasm มีความกระฉับกระเฉง และกระตือรือร้นขณะบริการ จะบริการมากที่คาดหวังไว้เสมอ บัญญัติสิบประการของการบริการลูกค้าที่เหนือชั้นกว่า 1. ลูกค้า/ผู้รับบริการเป็นบุคคลที่สาคัญที่สุดในบริษัท 2. ลูกค้า/ผู้รับบริการไม่ได้มาพึ่งเรา เราต่างหากที่พึ่งลูกค้า เราเป็นคนทางานให้ลุกค้า 3. ลูกค้า/ผู้รับบริการไม่ได้มาขัดจังหวะการทางานของเรา เขามาเพื่อให้เรามีงานทา 4. ลูกค้า/ผู้รับบริการมีความกรุณาแก่เราที่แวะมาเยี่ยมเรา โทรมาหาเรา การรับใช้ลูกค้าไม่ใช่การทาบุญทา คุณแก่ลูกค้า 5. ลูกค้า/ผู้รับบริการเป็นส่วนที่สาคัญมากต่อธุรกิจเช่นเดียวกับสิ่งอืนๆ อันได้แก่ การมีสินค้าและการ ่ บริการไว้พร้อมเสมอ
  • 2. 6. ลูกค้า/ผู้รับบริการไม่ใช่หนปูนปัน ลูกค้าก็เป็นคนมีความรู้สึก และอารมณ์เช่นเรา จงปฏิบัติต่อลูกค้าให้ ุ่ ้ ดีกว่าที่อยากให้ลุกค้าปฏิบัติต่อเรา 7. ลูกค้า/ผู้รับบริการไม่ใช่คนทีจะต่อล้อต่อเถียงหรือประลองปัญญาด้วย ่ 8. เป็นงานของเราที่ต้องตอบสนองต่อความจาเป็นและความต้องการและความคาดหวังของลูกค้า/ ผู้รับบริการ และกล้าที่จะรับฟังคาตาหนิติเตียนของเขาด้วย 9. ลูกค้า/ผู้รับบริการควรได้รบการเอาใจใส่ ความสุภาพ และการบริการอย่างมืออาชีพให้มากที่สุด ั 10. ลูกค้า/ผู้รับบริการเป็นเส้นเลือดแห่งธุรกิจของเรา พึงจาไว้เสมอว่าถ้าไม่มีลูกค้าเราก็ไม่อาจมีธุรกิจ เรา เป็นคนทางานให้ลูกค้า/ผู้รับบริการซึ่งสิ่งที่กล่าวมาข้างต้นนั้นล้วนแล้วแต่เป็นบทนาไปสู่การบริการเกิน ความคาดหวังทั้งสิ้น ( วันทิพย์ สินสูงสุด, ม.ป.ป.) ความหมายและความสาคัญ ความคาดหวัง( Expectations) หมายถึง ความเชื่อของลูกค้า/ผู้รับบริการ ต่อการบริการที่จะได้รับ ซึ่งลูกค้า/ ผู้รับบริการจะใช้เป็นมาตรฐานหรือตัววัดคุณภาพบริการจากกิจการใดกิจการหนึ่ง ถ้าเขาเชื่อว่าจะได้รับบริการแบบหนึ่ง แล้วปรากฏว่าได้รับบริการทีคาดหวังจริง ๆ ก็จะนามาซึ่งความพอใจ ยิ่งถ้าได้รับบริการแบบเกินความคาดหวังก็ยิ่งจะสร้าง ่ ความประทับใจอย่างยากที่จะลืม แต่ในทางตรงข้าม ถ้าบริการที่ได้ต่ากว่าความคาดหวังก็จะสร้างความผิดหวังให้เกิดขึ้น และทาให้เขาประเมินบริการต่าลง ดังนั้นความคาดหวังจึงทาหน้าที่เป็นเสมือนไม้บรรทัดวัดคุณภาพบริการที่มีความสาคัญอย่างยิ่งยวดต่อ การให้บริการ หากขาดความเข้าใจในความคาดหวังของลูกค้า/ผู้รับบริการแล้ว ภารกิจต่าง ๆ ขององค์กรอาจจะไม่ ประสบความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ก็ได้ และที่สาคัยก็คอองค์กรอาจเสีย ลูกค้า/ผู้รับบริการไปอย่างน่า ื เสียดาย ( วิทยา ด่านธารงกุล, 2547) ทฤษฎีเกี่ยวกับความคาดหวัง เนื่องจากความคาดหวัง เป็นทัศนคติเกี่ยวกับความปรารถนา หรือความต้องการของผู้รับบริการที่พวกเขา คาดหมายว่าจะเกิดขึนในบริการนั้นๆ (Zeithamal, 1985) ผู้รับบริการจะประเมินผลของการขอรับบริการโดยมีพื้นฐานจาก ้ สิ่งที่คาดหวังว่าจะได้รบ ความต้องการคือสิ่งที่ถูกฝังลึกอยู่ในจิตใต้สานึกของมนุษย์ เป็นผลสืบเนื่องมาจากชีวิตความเป็นอยู่ ั และสถานภาพของแต่ละบุคคล เมื่อรู้สึกว่ามีความต้องการ พวกเขาจะมีแรงจูงใจทีจะทาให้ความต้องการได้รับการ ่ ตอบสนอง เมื่อผู้รบบริการเข้ามารับบริการกับใคร หรือหน่วยงานใดก็ตาม เขาจะเข้ามาพร้อมกับความคาดหวัง จะคาดหวัง ั มากหรือน้อยแล้วแต่บุคคล และความปรารถนาที่เข้มข้นมากหรือน้อย แต่โดยทั่วไปความคาดหวังของ ผู้รับบริการมักขึ้นอยู่ กับปัจจัยดังต่อไปนี้ 1. ชื่อเสียง ผ่านทางการโฆษณาประชาสัมพันธ์ ขององค์กรเอง หากเป็นที่รจักกันโดยทั่วไปว่าองค์กรมีชื่อเสียง ู้ ในทางที่ดี หรือการได้ยนได้ฟังเกียวกับความดี ความสาเร็จขององค์กรจากทางใดทางหนึ่ง ก็ย่อมส่งผลถึง ิ ่ ความคาดหวังในการได้รับบริการที่ดี ตรงตามความต้องการของผูใช้ ้ 2. คาบอกเล่าหรือคาพูดปากต่อปาก ถือว่าเป็นปัจจัยที่สาคัญที่สุด คาบอกเล่าหรือคาพูดปากต่อปากเป็นการ โฆษณาประชาสัมพันธ์ททรงพลังที่สุด เนื่องจากคาบอกเล่านั้นมีคณค่าเทียบเท่าคายืนยันจากคนที่เคยไปใช้ ี่ ุ บริการว่าการบริการนั้นดีจริง สร้างความเชื่อมั่นมากขึ้นว่าจะสามารถสนองความต้องการของเขาได้ จึงทาให้ เกิดความคาดหวังสูงว่าจะได้รบบริการเช่นเดียวกับที่ได้รับฟังมา ั
  • 3. 3. ราคา ความคาดหวังแปรผันโดยตรงกับราคาสินค้า/บริการ ลูกค้า ผูรับบริการย่อมมีความคาดหวังสูงกับการ ้ บริการที่ราคาแพง 4. ความต้องการส่วนบุคคล ลูกค้า/ ผู้รับบริการอาจเข้ามารับบริการด้วยวัตถุประสงค์และความต้องการที่ไม่ เหมือนกัน กล่าวคือผูที่ไม่มีความต้องการสิ่งใดเป็นพิเศษก็ย่อมคาดหวังน้อย แต่ผที่มีความต้องการเป็นพิเศษก็ ้ ู้ ย่อมคาดหวังมาก 5. ประสบการณ์ในการใช้บริการทีผานมา ลูกค้า/ ผู้รับบริการที่เคยได้รับบริการทีดีครังก่อนก็ย่อมคาดหวังการ ่่ ่ ้ บริการที่เท่ากับหรือดีกว่าการบริการครั้งที่แล้ว องค์ประกอบของความคาดหวัง (The component of customer expectation) ความคาดหวังของลูกค้าเกี่ยวข้องกับ องค์ประกอบพื้นฐานซึ่งแตกต่างกัน ได้แก่ 1. บริการที่พึงประสงค์ (Desired service) , 2. บริการที่เพียงพอ (Adequate service) , 3. บริการที่คาดการณ์ (Predicted service) และ 4. ขอบเขตที่ยอมรับได้ (Zone of Tolerance) ซึ่งอยู่ระหว่างบริการที่พงประสงค์และบริการทีเ่ พียงพอ ึ 1. บริการที่พึงประสงค์ (Desired service) เป็นบริการที่ลูกค้ามีความคาดหวังว่าหน่วยงานหรือผู้ให้บริการควรจะมี หรือควรจะจัดหาให้ได้ และลูกค้าคาดหวังว่าเขาควรจะได้รับ และสิ่งที่ลูกค้าคาดหวังว่าจะได้รบ หรือปรารถนาที่ ั จะได้รบระดับของความปรารถนาจะขึ้นอยู่กับความต้องการส่วนบุคคล และความเชื่อถือของลูกค้าเกี่ยวกับการ ั บริการที่ผู้ให้บริการจะสามารถทาให้ได้ อย่างไรก็ตาม แม้ว่าลูกค้าต้องการที่จะได้รับบริการที่ดที่สดตามอุดมคติ ี ุ ของตน แต่ลูกค้าก็จะไม่คาดหวังอย่างไร้เหตุผล เนื่องจากพวกเขาไม่เข้าใจดีว่าบริษทไม่สามารถให้บริการที่ดที่สุด ั ี ได้ตลอดเวลา แต่อย่างไรก็ตามบริการที่พึงประสงค์นี้อาจจะไม่เป็นไปตามที่ต้องการเสมอไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากมีปัจจัยหรือ เงื่อนไขอย่างอืนที่ไม่สามารถควบคุมได้เข้ามาเกี่ยวข้อง ลูกค้าก็จะลดความคาดหวังให้อยูในระดับต่าลงไป ความ ่ ่ คาดหวังหรือบริการในระดับทีต่าลงนี้เรียกว่า ที่เพียงพอ หรือ บริการขั้นต่า ( Adequate service) คืออย่างน้อย ่ ที่สุดเขาต้องได้รบบริการอย่างนี้ ั 2. บริการที่พอเพียง หรือที่เราเรียกว่าบริการขั้นต่า(Adequate service) ซึ่งหมายถึงระดับที่ต่าที่สุดของการบริการที่ ลูกค้าจะยอมรับโดยไม่เกิดความรู้สึกไม่พอใจ ความคาดหวังระดับนี้ประกอบขึ้นจากปัจจัยจากความรับรู้ของ ผู้บริโภคต่อทางเลือกจากการบริการของผู้ให้บริการรายอื่นๆ และปัจจัยจากสถานการณ์ซึ่งเกี่ยวข้องกับการใช้ บริการในแต่ละครั้ง พบว่าในกรณีที่ลูกค้ามีทางเลือกในการรับบริการหลายๆทาง ความคาดหวังของลูกค้าต่อการ บริการก็จะสูง ในขณะเดียวกันถ้าลูกค้ารู้สึกว่าไม่มีทางเลือก เช่น ในสถานการณ์ฉุกเฉินซึ่งผู้ให้บริการรายอื่นๆ ไม่ สามารถให้บริการได้ ความคาดหวังของลูกค้าก็จะต่าลง ระดับบริการที่พึงประสงค์และระดับบริการที่พอเพียง จะ ได้รับอิทธิพลจากปัจจัย 3 ด้าน คือ จากคาสัญญาซึ่งผู้ให้บริการให้แก่ลูกค้าทั้งทีเ่ ป็นสัญญาที่ชดแจ้ง และคาสัญญา ั ที่ไม่ชัดแจ้ง จากการบอกปากต่อปากของลูกค้า และจากประสบการณ์ในอดีตของลูกค้าต่อการรับบริการ พบว่า
  • 4. ลูกค้าจะมีความคาดหวังต่อบริการที่พึงประสงค์ต่อผู้ให้บริการรายต่างๆ ในอุตสาหกรรมเดียวกันแตกต่างกัน เช่น ในธุรกิจร้านอาหาร ลูกค้าคาดหวังต่อบริการของภัตตาคารแตกต่างไปตามคาสั่ง บริการที่พงประสงค์ ึ บริการที่เพียงพอ/บริการขั้นต่า 3. บริการที่คาดการณ์ (Predicted service) คือระดับของการบริการที่ลกค้าคาดว่าจะได้รบจากผูให้บริการในขณะที่ ู ั ้ ลูกค้ากับผู้ให้บริการกาลังเผชิญหน้ากันในการบริการใดบริการหนึง บริการที่คาดการณ์จะมีผลกระทบโดยตรงต่อ ่ การกาหนดระดับการบริการที่พึงประสงค์ (Adequate service) หากลูกค้าคาดการณ์ว่าจะได้รับบริการที่ดี ระดับ ความคาดหวังของการบริการที่พงประสงค์ก็จะสูง หากระดับของการคาดการณ์ว่าจะได้รับการบริการที่ดี ระดับ ึ ความคาดหวังของการบริการที่พงประสงค์ก็จะสูง หากระดับของการคาดการณ์ลดลง ระดับของความคาดหวังต่อ ึ การบริการที่พึงประสงค์ก็จะน้อยลงด้วย เช่น การเข้าแถวยาวๆเพื่อรอซื้อชมบัตรภาพยนตร์เป็นเวลา 15 นาที ใน วันหยุด ไม่ทาให้ลูกค้ารู้สึกว่าได้รับบริการทีต่ากว่าระดับการบริการที่พึงประสงค์ เนื่องจากลูกค้าคาดหวังไว้ว่า ่ จะต้องมีคนมารอแถวมากในวันหยุด แต่ลูกค้ารู้สึกว่าการเข้าแถวเพื่อรอซื้อบัตรชมภาพยนตร์ในวันธรรมดาเป็น เวลา 10 นาที เป็นการบริการที่ต่ากว่าระดับบริการที่พึงประสงค์ เนืองจากลูกค้าคาดการณ์ว่าวันธรรมดาจะมีคนมา ่ ชมภาพยนตร์ไม่มากนัก เมื่อแบ่งแยกระดับบริการที่พึงประสงค์ออกจากระดับบริการที่พอเพียง จะได้ขอบเขตที่ ยอมรับได้ (Zone of Tolerance) 4. ขอบเขตที่ยอมรับได้ (Zone of Tolerance) ซึ่งอธิบายได้ว่า ระดับการบริการที่เพียงพอคือ ระดับที่ต่าสุดของการ บริการที่ลูกค้ายอมรับได้โดยไม่เกิดความไม่พอใจ หากต่ากว่าระดับนี้ลูกค้าก็จะเกิดความสับสนและไม่พอใจใน การบริการ หากระดับของการบริการสูงกว่าระดับบริการที่เพียงพอก็จะทาให้ลูกค้ารู้สึกประทับใจและพึงพอใจ การบริการที่เหนือกว่าระดับบริการที่พึงประสงค์ คือ การบริการที่ทาให้ลูกค้าเกิดความประทับใจนันเอง ่ ความคาดหวังเป็นทัศนคติเกี่ยวกับความต้องการของผูบริโภคหรือกลุ่มเป้าหมายทีเ่ ขาคาดหมายว่าจะได้รับ ซึ่ง ้ ความคาดหวังของแต่ละคน หรือแต่ละกลุ่มเป้าหมายจะผันแปรต่างกัน อันเนื่องมาจากชีวิตความเป็นอยู่ และ สถานภาพของแต่ละบุคคล ความคาดหวังเป็นสิ่งที่อยู่ภายในจิตใจ หากได้รับการตอบสนองตรงกับสิ่งที่คาดไว้ก็ตะ เกิดความพึงพอใจ และประทับใจในตราสินค้าหรือบริการที่เขาได้รับ คุณภาพบริการเป็นสิงสาคัญที่สร้างความ ่ แตกต่างในธุรกิจบริการ การรักษาระดับการให้บริการทีเ่ หนือคู่แข่ง และตอบสนองความคาดหวังของลูกค้า/ ผู้รับบริการ
  • 5. บริการที่พงประสงค์ ึ ขอบเขตที่ยอมรับได้ บริการที่เพียงพอ/บริการขั้นต่า อย่างไรก็ตามความคาดหวังของผู้ใช้จะมากหรือน้อย ยังขึ้นอยู่กับ 2 ปัจจัย คือ ความต้องการส่วนตัว ของลูกค้า ( Personal needs) และตัวเร่งความคาดหวัง( Enduring service intensifiers) ปัจจัยทั้ง / ปัจจัยนี้จะถือว่า เป็นปัจจัยที่ส่งผลระยะสั้นกว่าองค์ประกอบทั้ง 4 ดังที่กล่าวมาข้างต้น เมื่อเกิดความต้องการบางอย่างในตัวบุคคล แล้ว หากเป็นความต้องการที่ไม่เร่งด่วน หรือเป็นความต้องการที่ไม่ใช่ความต้องการในภาวะคับขันก็จะเป็นความ คาดหวังปกติ แต่เมื่อไหร่ที่มีเหตุการณ์เร่งด่วน เช่น ในขณะที่กาลังขอรับบริการอยู่นั้นไฟฟ้าเกิดดับ หน่วยงานได้ เตรียมพร้อมไฟสารองไว้หรือไม่ และงานสามารถดาเนินการต่อไปหรือไม่อย่างไร หรือต้องหยุดดาเนินการ จนกว่าไฟฟ้าจะติด หรือไม่อย่างไร สิ่งเหล่านี้จะส่งผลต่อความคาดหวังทั้งสิ้น ดังรูป ความต้องการ ส่วนตัวของลูกค้า บริการที่พงประสงค์ ึ ขอบเขตที่ยอมรับได้ ตัวเร่ง ความคาดหวัง บริการที่เพียงพอ/บริการขั้นต่า ( วิทยา ด่านธารงกุล, 2547) คุณภาพของการบริการที่ผู้รับบริการคาดหวัง คุณภาพของการบริการที่ผู้รบบริการคาดหวัง มีอยู่ 5 ด้านด้วยกันคือ ั 1. ความมีตัวตน หรือรูปลักษณ์ทางกายภาพของการบริการที่ดี (Tangibles) เช่นโรงแรมจะต้องมีส่วนต้อนรับ (Lobby) ที่มีการตกแต่งอย่างมีรสนิยมและสะอาด หรือสายการบินที่จะต้องมีทนั่งของผู้โดยสารที่ ี่ สะดวกสบายและกว้างขวาง มีอุปกรณ์ที่อานวยความสะดวกด้านต่างอย่างทันสมัย เป็นต้น 2. ความไว้วางใจได้ ( Reliability) หมายถึงความสามารถของหน่วยงานบริการและผูปฏิบัติงานบริการที่จะส่งมอบ ้ การบริการได้ตรงเวลา และให้บริการได้อย่างครบถ้วนและเป็นไปได้ตามที่ได้ตกลงกันไว้
  • 6. 3. ความเชื่อถือได้ ( Assurance) หมายถึงการที่ผู้ใช้บริการรู้สึกว่าคุ้มค่ากับเงินที่ใช้ไป และรู้สึกมั่นใจทีจะใช้บริการ ่ ความรู้สึกดังกล่าวเกิดขึ้นจากหน่วยงานและผู้ปฏิบัติงานให้บริการมีความรู้ความสามารถและความเชี่ยวชาญใน งาน เช่น การที่สายการบินมีกัปตันขับเครื่องบินและพนักงานต้อนรับบนเครืองบินที่มความชานาญในวิชาชีพของ ่ ี ตน หรือ การที่มัคคุเทศก์สามารถตอบคาถามเกี่ยวกับการท่องเที่ยวได้อย่างถูกต้อง ตรงประเด็น และชัดเจน 4. การตอบสนองทีทันใจ ( Responsiveness) หมายถึงความพร้อมของหน่วยงานบริการ และผูปฏิบัติงานให้บริการที่ ่ ้ จะตอบสนองต่อความต้องการของผู้รับบริการได้ทันทีทเี่ ขาต้องการโดยไม่ปล่อยให้ต้องรอนาน เช่น พนักงาน ต้อนรับของโรงแรมสามารถให้ขอมูลเกี่ยวกับการบริการ และสิ่งอานวยความสะดวกต่าง ๆ ภายในโรงแรมได้ ้ ทันทีที่ผู้รบบริการถาม หรือแม้กระทั่งการจัดเตรียมอุปกรณ์เทคโนโลยีเพื่อช่วยให้การส่งมอบบริการได้อย่าง ั รวดเร็วทันใจ 5. ความเอื้ออาทร หรือความเอาใจใส่ (Empathy) หมายถึงความเอื้ออาทร หรือความเอาใจใส่ทหน่วยงานบริการและ ี่ ผู้ปฏิบัติงานบริการให้บริการที่มต่อผู้รับบริการ เช่นการที่หน่วยงานบริการสามารถเสนอบริการแบบเบ็ดเสร็จ ณ ี จุดเดียว หรือทีเ่ รียกว่า One stop service เพื่อช่วยประหยัดเวลาให้แก่ผู้รับบริการ การบริการที่ไม่เป็นไปตามความคาดหวัง เมื่อทราบว่าการบริการที่มีคุณภาพเป็นอย่างไรแล้ว ผู้ปฏิบัตงานควรจะต้องทราบว่าการบริการที่ไม่มี ิ คุณภาพเป็นอย่างไรด้วย เพื่อการนาไปเป็นข้อคิดเตือนใจว่าตนควรละเว้น หรือหลีกเลี่ยงการปฏิบัตดังกล่าว และ ิ มุ่งสร้างการบริการที่มีคุณภาพ อันที่จะนาไปสู่การสร้างความพึงพอใจในบริการของตนเองและหน่วยงาน การบริการที่ไม่เป็นไปตามความคาดหวัง หรือการบริการไม่มีคุณภาพ อาจมีดังนี้ 1. ผู้ปฏิบัติงานให้บริการ สาเหตุจากผู้ปฏิบัติงานให้บริการนับว่าเป็นสาเหตุททาให้ผู้รับบริการไม่พึงพอใจ ี่ มากที่สุด ซึ่งมีผู้ประมวลพฤติกรรมของผูปฏิบัติงานให้บริการที่สร้างความไม่พึงพอใจให้กับ ้ ผู้รับบริการ มีดังนี้ 1.1. มีบุคลิกภาพไม่เหมาะสมกับงานบริการ เช่นหน้าตาบูดบึง ไม่รับแขก ใช้คาพูด และกริยาไม่ ้ สุภาพ หรือพวกที่มีอุปนิสัยจูจี้จุกจิก เน้นตัวเองเป็นศูนย์กลาง ้ 1.2. ไม่มีจิตใจรักงานบริการ เช่นไม่สนใจ หรือไม่เอาใจใส่กับความต้องการของผู้รบบริการ ปล่อย ั ให้ผู้รบบริการต้องรอคอย ไม่เต็มใจให้บริการ และไม่เต็มใจให้ความช่วยเหลือเมื่อผู้รบบริการ ั ั เกิดปัญหา 1.3. การประสานงานที่ไม่ดี หรือความเข้าใจที่ไม่ตรงกันระหว่างผู้ปฏิบัติงานให้บริการ ส่งผลให้แจ้ง ข้อมูลแก่ผู้รับบริการไม่ตรงกัน 1.4. ไม่มีความรู้ความสามารถ เช่น บุคลากรห้องสมุดไม่สามารถช่วยเหลือผู้ใช้ห้องสมุดในการ สืบค้นข้อมูล หรือไม่สามารถชี้แหล่งสารสนเทศอื่น ๆ ทีเ่ ป็นประโยชน์ได้ 1.5. ไม่มีวาทศิลป์ เช่น พูดไม่สุภาพ ใช้น้าเสียงที่ไม่นุ่มนวล หรือพูดเร็วเกินไป เป็นต้น 1.6. ไม่มมนุษยสัมพันธ์ เช่น ปฏิบัติตวต่อผู้รับบริการไม่เท่าเทียมกัน ี ั 1.7. ไม่ให้ความสาคัญต่อยุติธรรมของการให้บริการ ทั้งที่กระทาโดยตั้งใจ และไม่ตั้งใจก็ตาม เช่น การบริการที่ไม่เรียงลาดับก่อนหลัง 2. นโยบาย หรือการบริหารจัดการของหน่วยงานบริการ การบริการทีไม่มีคุณภาพที่เกิดจากนโยบาย หรือ ่ การบริหารจัดการของหน่วยงานบริการของหน่วยงานนันในบางกรณีจะทาให้ ผู้รับบริการเกิด ้
  • 7. ความรู้สึกไม่พอใจในระดับมากจนทาให้เกิดภาพลักษณ์ในทางลบกับหน่วยงานบริการได้ โดยอาจ เกิดจากสาเหตุดังต่อไปนี้ 2.1. ขั้นตอนการให้บริการซับซ้อน หรือมีขั้นตอนในการให้บริการมากเกินไป ทาให้ผู้รับบริการ เสียเวลามากเกินไป 2.2 การบริการไม่เป็นไปตามที่สัญญาไว้ ทั้งทีเ่ กิดขึนโดยตังใจ และไม่ตงใจก็ตาม เช่นบริษัทนา ้ ้ ั้ เที่ยวโฆษณาว่าจะจัดที่พักโรงแรมระดับ 5 ดาว แต่จัดให้ในระดับ 4 ดาว เป็นต้น 2.3. การปฏิเสธความรับผิดชอบในข้อบกพร่องของการบริการ หรือการไม่ให้ความช่วยเหลือเมื่อ ผู้รับบริการมีปัญหาจากการบริการ เช่น มีผู้รับบริการมารับประทานอาหารที่ร้านอาหารแล้ว เมื่อ กลับไปบ้านเกิดมีอาการเจ็บป่วยเนื่องจากอาหารเป็นพิษ เมือร้านอาหารได้รับแจ้งเกี่ยวกับเรื่องนี้ ่ ร้านก็ปฏิเสธความรับผิดชอบในข้อบกพร่องของการบริการ เป็นต้น 2.4. ไม่มีบริการหลังการขาย หรือมีแต่ไม่ได้เอาใจใส่ กับผู้รบบริการเท่าทีควร ั ่ 3. องค์ประกอบทางกายภาพ และสภาพแวดล้อมของการบริการ เช่น การจัดสถานที่ทางานไม่เหมาะสม กับบรรยากาศในการติดต่อขอรับบริการ การจัดองค์กรที่ไม่เป็นสัดส่วน แสดงถึงความไม่ใส่ใจในการ ให้ความสาคัญต่อการให้บริการความไม่พร้อมในเรื่อง สาธารณูปโภคทีเ่ อื้อต่อการให้บริการ ไม่มีป้าย บอกตาแหน่ง แหล่งที่ ทีจะสื่อสารแก่ผู้มาขอรับบริการ โดยยังพอใจทีจะทางานตามความเคยชิน ไม่ ่ ่ สนใจความสวยงาม ความสง่างามของการจัดภูมิทัศน์ให้สวยงามน่าเข้าใช้บริการ คุณสมบัติของผู้ให้บริการเกินความคาดหวัง ทุกการบริการที่เกินความคาดหวัง หน่วยงานจะต้องเตรียมพร้อมในเรื่องคนเพื่อให้บรรลุตาม วัตถุประสงค์ของสมรรถนะหลักด้านการบริการที่ดี โดยมุงทีจะสร้างความพึงพอใจจากผู้มาขอรับบริการ และส่งผลถึง ่ ่ ประสิทธิภาพของหน่วยงาน ดังนันการกาหนดคุณสมบัตของผู้ให้บริการเกินความคาดหวัง หรือผู้ทเี่ หมาะสมในการบริการ ้ ิ ที่ดีนนควรจะต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ ั้ 1. มีบุคลิกภาพและมารยาทเหมาะสม ทั้งบุคลิกภาพภายนอก ภายในที่บคคลอื่นสามารถสัมผัสได้ว่ามี ุ ความเหมาะสม มองเห็นความพร้อมในการบริการตลอดเวลา เช่น รูปร่างหน้าตา การแต่งกาย ความ จริงใจ ความกระตือรือร้น เป็นต้น 2. มีวาทศิลป์หรือศิลปะในการพูด สามารถใช้คาพูดในการอธิบายเรื่องราวกระชับและนุ่มนวลในการเชิญ ชวน หรือการบอกเล่าได้ ตลอดจนความสามารถในการพูดเพื่อการชี้แจง และแก้ปัญหาในการบริการ ได้อย่างเหมาะสม หลีกเลี่ยงการใช้คาพูดปฏิเสธการขอความช่วยเหลือ หรือแม้แต่คาพูดกากวมที่อาจ ทาให้การสื่อสารผิดพลาดหรือการเข้าใจไม่ตรงกัน 3. มีมนุษยสัมพันธ์ ผู้ให้บริการมีความจาเป็นอย่างยิงทีจะต้องมีการติดต่อสื่อสาร มีการผูกสัมพันธภาพกับ ่ ่ ผู้อื่นทั้งภายในและภายนอก และอาจถือว่าเป็นคุณสมบัติพื้นฐานทีเ่ ป็นข้อบ่งชี้ว่าจะเป็นนักบริการทีดี ่ ได้หรือไม่เพียงใด เพราะหากผูให้บริการไม่ชอบทีจะเป็นมิตรกับใคร ชอบเก็บตัว นั่นย่อมที่จะ ้ ่ พยากรณ์ได้ว่าไม่ชอบพบปะพูดคุยกับใคร การให้บริการจึงไม่น่าจะดีได้ 4. มีความรู้ความสามารถและทักษะในการปฏิบัติงาน ในด้านต่างๆ ทีรับผิดชอบเป็นอย่างดี ได้แก่ ่ 4.1 วิธีการและเทคนิคการบริการ 4.2 หน่วยงานที่ตนเองทางานอยู่
  • 8. 4.3 ผลิตภัณฑ์บริการของหน่วยงาน 4.4 ความสาคัญและพฤติกรรมของผู้รับบริการ 4.5 การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพทั้งภาษาไทย และภาษาต่างประเทศ ( รวีวรรณ โปรยรุ่งเรือง, 2551) บทส่งท้าย การบริการเหนือความคาดหวัง ถือว่าเป็นการยกระดับของการปฏิบัติงานบริการในระดับธรรมดา ให้เป็นพฤติกรรมการบริการที่ดีแบบเชิงประจักษ์เพื่อให้ส่งผลดีไปสู่การประเมินความพึงพอใจของ ผู้รับบริการให้ได้ในระดับ 3 ขึ้นไป ดังนั้นจึงเป็นสิ่งที่ทั้งหน่วยงานและผู้ปฏิบัติจะต้องถือปฏิบัติร่วมกัน การบริการเหนือความคาดหวังอาจอธิบายภาพแห่งการสร้างความพึงพอใจ และประทับใจได้ดังนี้ 1 ความคาดหวังก่อนรับบริการ 2 ความคาดหวังหลังรับบริการ 1=2 1> 2 ไม่เป็นไปตามคาดหวัง เป็นไปตามคาดหวัง เปรียบเทียบ -ไม่พอใจ - พอใจ 1 กับ2 2>1 มากกว่าความคาดหวัง - ประทับใจ ( จิตตินนท์ นันทไพบูลย์, /2551) ั
  • 9. บรรณานุกรม จิตตินันท์ นันทไพบูลย์. 2551. จิตวิทยาการบริการ. กรุงเทพฯ: ซีเอดยูเคชั่น รวีวรรณ โปรยรุ่งเรือง. 2551. จิตวิทยาการบริการ. กรุงเทพฯ:โอเดียนสโตร์ วันทิพย์ สินสูงสุด. ม.ป.ป. วิธีสร้างความพึงพอใจให้ลูกค้า. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: สายใจ วิทยา ด่านธารงกุล. 2547. หัวใจการบริการสู่ความสาเร็จ. กรุงเทพฯ: ซีเอดยูเคชั่น Zeithamal, V. A., Parasuraman A. & Berry, L. L. (1985). A conceptual Model of service quality and its implications for future research. Journal of Marketing. New York: Hamper.