SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
Journal of Energy and Environment Technology ISSN 2392-5701
http://jeet.siamtechu.net Research Article
JEET 2014; 1(1): 34-42.
เครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนในสภำพควำมดันสูงสำหรับบ่อเลี้ยงปลำ
Ozone Wastewater Treatment Under High Pressure Condition
For Wastewater From Fish Pond
มงคล จงสุพรรณพงศ์*
Mongkol Jongsuphanphong*
สาขาพลังงานและสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม
School of Energy and Environmental, Graduate School, Siam Technology College
*
Corresponding author, E-mail: mongkol.J@gmail.com
บทคัดย่อ
เครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนในสภำวะควำมดันสูงถูกนำไปทดลองบำบัดน้ำเสียจำกบ่อเลี้ยงปลำ ผลกำรทดลอง
พบว่ำ เครื่องมือดังกล่ำวสำมำรถเพิ่มปริมำณออกซิเจนของน้ำเสีย (dissolved oxygen: DO) จำกบ่อปลำ 0.0+0.0 เป็น
8.0+0.5 มล./ล. ภำยในเวลำ 1-4 ชั่วโมง นอกจำกนี้แล้ว เครื่องมือดังกล่ำวยังมีควำมสำมำรถในกำรลดค่ำควำมสกปรกในรูป
ของซีโอดี (COD) และบีโอดี (BOD) ในน้ำเสียลงได้อีกด้วย โดยสำมำรถลดค่ำซีโอดี และบีโอดี ในน้ำเสียจำกบ่อปลำได้ถึง
ร้อยละ 21.19+2.10 ในเวลำเพียง 1.4 ชั่วโมง
คำสำคัญ: กำรทำโอโซน, กำรบำบัดน้ำเสีย, น้ำเสียบ่อเลี้ยงปลำ
Abstract
Ozone Wastewater Treatment under High Pressure Condition for Wastewater from Fish pond. The designed
ozone wastewater treatment under high pressure was applied to treat wastewater from sanitary sewage and fish
pond. The results showed that the dissolved oxygen of the wastewater from sanitary sewage was increased from
0.0+0.0 to 8.0+0.5 mg/l within 1.4 hrs. On the other hand, the dissolved oxygen of the wastewater from fish pond,
the designed equipment could reduce the impurities as COD and BOD of the wastewater during treatment. The
COD and BOD of the wastewater from sanitary sewage were reduced within 1.4 hrs by 21.19+2.10%
Keywords: Ozonizer, Plasma, Wastewater Treatment Fish Pond
1. บทนำ
ปัญหำกำรจัดกำรคุณภำพน้ำในบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำต้องมีกำรจัดกำรที่เหมำะสม หมำยถึงกำรจัดกำรในด้ำนคุณภำพน้ำ
แพลงก์ตอน กำรให้ออกซิเจน และกำรจัดกำรพื้นบ่อ ควบคุมกำรใช้ยำและเคมีภัณฑ์อย่ำงเหมำะสม เนื่องจำก ในปัจจุบันนี้
กำรเลี้ยงสัตว์น้ำในประเทศไทย ได้มีกำรพัฒนำกำรเลี้ยงที่แตกต่ำงกันไปตำมสภำพพื้นที่และควำมยำกง่ำยในกำรเลี้ยง
แตกต่ำงกันมำก ดังนั้นกำรจัดกำรภำยในฟำร์มและในบ่อเลี้ยงจะแตกต่ำงกันมำก เฉพำะในด้ำนกำรใช้สำรเคมีและยำ
ปฏิชีวนะในกำรป้องกันโรคระหว่ำงกำรเลี้ยง กำรให้อำกำศเนื่องจำกในปัจจุบันนี้เกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์น้ำได้ปล่อยสัตว์น้ำมี
เครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนฯ มงคล จงสุพรรณพงศ์
http://jeet.siamtechu.net
JEET 2014; 1(1)
35
ควำมหนำแน่นมำก เพื่อหวังผลผลิตที่สูง ดังนั้นจึงมีควำมจำเป็นต้องพัฒนำระบบกำรให้อำกำศ เช่น ใช้เครื่องตีน้ำหรือ
เครื่องเติมอำกำศ (air jet) จำนวนมำกจึงทำให้กำรลงทุนสูงขึ้น ด้วยสำเหตุนี้จึงมีกำรศึกษำค้นคว้ำและกำรวิจัยในกำรจัดกำร
คุณภำพน้ำในบ่อสัตว์น้ำมำกขึ้นจึงได้มีวิศวกรและนักวิทยำศำสตร์สิ่งแวดล้อมทำงน้ำได้ทำกำรค้นคว้ำเพื่อพัฒนำควำมรู้ใน
ด้ำนกำรจัดกำรคุณภำพน้ำในบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำให้ก้ำวไกลไปกว่ำนี้ อันจะเป็นผลทำให้สำมำรถเพิ่มผลผลิตสัตว์น้ำให้สูงขึ้น
โดยไม่มีปัญหำมลภำวะเป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อมทำงน้ำ เช่น จำกกำรขยำยตัวอย่ำงรวดเร็วของบรรดำบ่อเลี้ยงปลำในประเทศ
กำลังพัฒนำ โดยเฉพำะในหลำยประเทศแถบเอเชีย ก่อให้เกิดปัญหำต่อสภำพแวดล้อมอย่ำงน่ำตกใจ และปัญหำในทำนอง
เดียวกันนี้ยังพบในแถบลำติน อเมริกำ และแอฟริกำด้วย เนื่องจำกกำรเลี้ยงปลำยังมีกำรใช้สำรเคมีอันตรำยจำนวนมำก ซึ่ง
เป็นผลให้เกิดกำรสะสมของสำรพิษในสภำพแวดล้อม ยกตัวอย่ำงในกรณีประเทศไทย กำรสะสมของมลพิษ ทำให้ต้องทิ้ง
พื้นที่ไว้ระยะหนึ่งและไม่สำมำรถใช้พื้นที่ทำสิ่งอื่นได้ อำจก่อให้เกิดหำยนะในระยะยำวต่อไป
กำรใช้โอโซนในกำรบำบัดน้ำเสียเป็นวิธีกำรหนึ่งที่ไม่ทำให้เกิดสำรเคมีตกค้ำงในน้ำหลังผ่ำนกำรบำบัดแล้ว และ
สำมำรถละลำยน้ำได้ดีกว่ำก๊ำซออกซิเจน 10 เท่ำ [1] ก๊ำซโอโซนเป็นตัวออกซิไดซ์ที่รุนแรง ฆ่ำเชื้อโรคจุลินทรีย์และ
แบคทีเรียได้เกือบทุกชนิด กำรกำจัดสำรเคมีและอินทรีย์ที่ปนเปื้อนมำกับน้ำเสียตลอดจนช่วยลดปริมำณซีโอดีได้ดี [2,3]
จำกเหตุผลดังกล่ำวผู้วิจัยจึงได้คิดพัฒนำเครื่องผลิตโอโซนที่มีประสิทธิภำพและรำคำถูกรวมทั้งใช้อุปกรณ์ที่ผลิตขึ้น
ภำยในประเทศเกือบทั้งหมด โดยอำศัยหลักกำรในกำรผสมของโอโซนกับน้ำที่สภำวะควำมดันอำกำศสูงและพื้นที่น้ำที่สัมผัส
กับก๊ำซได้มำกที่สุดซึ่งจะทำให้กำรแพร่กระจำยของก๊ำซผสมกับน้ำเสียเป็นไปอย่ำงรวดเร็วในเวลำอันสั้น โดยใช้ระบบฉีดน้ำ
เสียให้กระจำยเข้ำไปผสมกับก๊ำซโอโซนระบบควำมดันสูง ภำยในระบบเครื่องเติมโอโซนแล้วปล่อยออกนอกระบบของ
เครื่องจึงไม่ไปรบกวนสัตว์น้ำและเป็นเครื่องที่ทำหน้ำที่ได้หลำยอย่ำงในเวลำเดียวกัน เช่น ลดค่ำ ซีโอดี (COD), บีโอดี
(BOD5), ทีเคเอ็น (TKN) และเพิ่มค่ำออกซิเจนละลำย (DO) ได้มำกกว่ำเครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนและเครื่องเติมอำกำศ
ทั่วๆไปที่มีปัญหำจำกกำรแพร่กระจำยของโอโซนและออกซิเจนในน้ำไม่ทั่วถึง [4]
2. วัตถุประสงค์ของงำนวิจัย
- ผลิตเครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยก๊ำซโอโซน
- ทดสอบประสิทธิภำพของเครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยก๊ำซโอโซน
3. เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง
3.1 โอโซน
โอโซนเป็น Oxidizing agent ที่รุนแรง (สำมำรถทำปฏิกิริยำได้เร็วกว่ำคลอรีนถึง 3,000 เท่ำ) ซึ่ง O3 มีควำมเสถียร
ต่ำกว่ำ O2 มำก และจะสลำยตัวกลำยเป็น O2 (ภำยในเวลำ 6 วินำที ที่ควำมดันบรรยำกำศ) โดยปฏิกิริยำกำรสลำยตัวของ
โอโซนจะเร็วขึ้น เมื่อเพิ่มอุณหภูมิและลดควำมดัน และกำรสัมผัสกับสำรที่มีพลังงำนต่ำกว่ำจะเกิดปฏิกิริยำออกซิเดชัน
(Oxidation) อย่ำงรวดเร็ว ซึ่ง O3 มีปฏิกิริยำสูงถึง 2.07 โวลต์ (Oxidation Potential Voltage)
ปฏิกิริยำกำรทำลำยมลภำวะ
O3 ----> O2 + Energy ----> ทำลำยมลภำวะ (Disinfection) ----> คืนสภำพออกซิเจน (O2)
กำรทำปฏิกิริยำสลำยกลิ่นแอมโมเนีย
3O3 + 2NH3 ----> N2 + 3H2O + 3 O2
เครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนฯ มงคล จงสุพรรณพงศ์
http://jeet.siamtechu.net
JEET 2014; 1(1)
36
กำรทำปฏิกิริยำสลำยพิษคำร์บอนมอนอกไซด์
O3 + CO ----> CO2 + O2
เนื่องจำกโอโซนเป็น Oxidizing agent ที่รุนแรงและสลำยตัวเร็ว ทำให้สำมำรถนำโอโซนไปใช้งำน ตัวอย่ำงเช่น
- ฆ่ำเชื้อโรค เช่น ไวรัส (Virus), แบคทีเรีย (Bacteria), รำ (Fungus), Mold, Yeast
- ทำปฏิกิริยำกับโลหะหนักที่ละลำยน้ำ
- ทำปฏิกิริยำกับสำรอินทรีย์ที่ละลำยน้ำ
- กำจัดกลิ่นในอำกำศ
- ลดสีในน้ำเสียโรงงำน
- ลด COD, BOD น้ำเสียในโรงงำน
- ช่วยลดเวลำสำหรับกระบวนกำรตกตะกอน
- ใช้ฆ่ำเชื้อโรคแทนคลอรีน ในกระบวนกำรผลิตอำหำร, สระว่ำยน้ำ
- กำจัดสำรพิษ หรือยำฆ่ำแมลงที่ตกค้ำงในผักผลไม้
- ป้องกันตะกรันและตะไคร่น้ำในระบบหอผึ่งเย็น
- ฆ่ำเชื้อโรคในบ่อเพำะเลี้ยงกุ้ง
- กำจัดเชื้อโรคในน้ำดื่มก่อนบรรจุขวด
- กำจัดควันบุหรี่ สำรพิษในอำกำศ
3.2 ข้อได้เปรียบของโอโซน
- มีปฏิกิริยำต่อต้ำนและกำจัด เชื้อแบคทีเรีย สปอร์ไวรัส สัตว์เซลล์เดียวในไฟลัม ปรสิต และอื่นๆ
- กำรเติมออกซิเจนลงในโลหะหนัก (เหล็ก, แมงกำนีส, ไอโอเนียน, กำมะถัน, ไซยำไนต์, ไอโอเนียนไนเตรท)
กรดซัลฟูริก และรวมไปถึงสำรอินทรีย์ทุกชนิดเป็นกำรทำให้เกิดกำรเน่ำเสียเร็วยิ่งขึ้น
- ใช้ในกำรกำจัดสำรตั้งต้นของธำตุโลหะจำพวกฟลูออรีน คลอรีน ซึ่งเป็นตัวกำรที่ทำให้เกิดกำรปนเปื้อนจำก
จุลินทรีย์ อันเนื่องจำกกำรใช้สำรอื่นมำทำให้น้ำบริสุทธิ์นั่นเอง
- มีประสิทธิผลต่อกำรบำบัดน้ำเสียที่ต้องมีกำรทำลำยสำรอินทรีย์ในรูป BOD ซึ่งจะส่งผลให้สำรอินทรีย์ในรูป
COD ลดลงด้วย
- ถือได้ว่ำมีควำมปลอดภัยทำงกำรแพทย์เพรำะได้รับกำรรับรองว่ำเป็นระบบกำรฆ่ำเชื้อโรคในน้ำได้ดีกว่ำระบบ
อื่นๆและเป็นกำรฆ่ำเชื้อในน้ำได้อย่ำงหมดจด
4. อุปกรณ์กำรทดลองและวิธีกำรวิจัย
4.1 อุปกรณ์กำรทดลอง
เครื่องบำบัดน้ำเสียโดยอำกำศ หรือ โอโซนในสภำวะควำมดันสูง (Ozone or air injection appartus)
ส่วนประกอบ : ลักษณะและองค์ประกอบของเครื่องบำบัดดังกล่ำว ดังแสดงในรูปที่ 1 และรูปที่ 2 มีดังนี้
- โครงสร้ำงเป็นวัสดุ Stainless steel and PVC ดังแสดงในรูปที่ 1
- Ozone production ขนำด 50 ถึง 200 มิลลิกรัมต่อชั่วโมง
เครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนฯ มงคล จงสุพรรณพงศ์
http://jeet.siamtechu.net
JEET 2014; 1(1)
37
- Air pump component (GAST Co.,Ltd, USA, Model 0.25 pH) This air pump system was used to control
both Oxygen and air flow at capac of up to 200 l/min
- Pressure meter (Nuovafima Co.,Ltd, Japan, Model MSI-DS 150) This pressure meter was used to
determine the pressure of gas in the rang of 1.0 x 105 – 1.5 x 105 N/m2
- Voltage meter (Tamadensoku Co.,Ltd, Japan, model 20 ADS)
- Current ampere meter (Yokogawa Hokushin Model 76AA 4318) This component was used for measuring
the electric of the designed ozoniser.
- Water pump (Guangdong Risheng Group Co.,Ltd, China Model Hx-4500) Water flow at capacity of
up to 2800 l/hr
- Water flow meter (Essom Inspection TA Co.,Ltd, Thailand Model HB 016) Water flow at capacity of up
to 60 l/m
4.2 กำรควบคุมและเดินระบบ
หลักกำรทำงำนของเครื่องเติมโอโซนให้น้ำในสภำวะควำมดันสูงและเติมอำกำศในน้ำในสภำวะควำมดันสูงทั้งสอง
ระบบอยู่ในเครื่องเดียวกันโดยมีอุปกรณ์ ส่วนประกอบรวมกัน โดยใช้ตัวควบคุม 2 ตัว คือ
- ตัวควบคุมกำรใช้เติมโอโซน หรือจะใช้อำกำศในกำรทดลอง
- ตัวควบคุมปริมำณอัตรำกำรไหล (flow rate) ของน้ำในกำรทดลอง
รูปที่ 1 เครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนในสภำวะควำมดันสูง
เครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนฯ มงคล จงสุพรรณพงศ์
http://jeet.siamtechu.net
JEET 2014; 1(1)
38
รูปที่ 2 แบบของเครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนสภำวะควำมดันสูง
4.3 วิธีกำรทดลอง
กำรบำบัดน้ำเสียบ่อเลี้ยงปลำโดยเครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยอำกำศสภำวะควำมดันสูงได้นำน้ำเสียจำกบ่อเลี้ยงปลำจำก
จังหวัดสมุทรสำครมำ 200 ลิตร มำทำกำรบำบัดในห้องทดสอบวิทยำลัยเทคโนโลยีสยำม โดยใช้อัตรำกำรไหล (flow rate)
ของน้ำ 10 l/min ปริมำณอัตรำกำรไหลของอำกำศ 50 l/min ควำมดันอำกำศในระบบ 1.3 x 105 N/m2 แล้วเก็บตัวอย่ำงน้ำ
เสียที่นำมำทดสอบทุก 20 นำที รวมระยะเวลำกำรทดลอง 100 นำที จำนวนตัวอย่ำงที่เก็บเท่ำกับ 5 ตัวอย่ำง ที่ปลำยท่อ
ของเครื่องและถังปฏิกิริยำ แล้วนำมำหำค่ำออกซิเจนละลำย โดยวิธีของ Moris [5] และหำค่ำซีโอดี และบีโอดี โดยวิธี
มำตรฐำน กำรวิเครำะห์สมบัติน้ำเสียแสดงดังตำรำงที่ 1 [6]
ตำรำงที่ 1 ค่ำซีโอดี และบีโอดี โดยวิธีมำตรฐำนกำรวิเครำะห์สมบัติน้ำเสีย
กำรบำบัดน้ำเสียจำกบ่อเลี้ยงปลำโดยเครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนในสภำวะควำมดันสูงโดยได้นำน้ำเสียจำกบ่อ
เลี้ยงปลำมำ 200 ลิตร มำทำกำรบำบัดในห้องทดสอบโดยใช้อัตรำกำรไหล (flow rate) ของน้ำ 10 l/min อัตรำกำรไหล ของ
อำกำศ 50 l/min ควำมดันก๊ำซในระบบ 1.3 x 105 N/m2 ปริมำณโอโซนในระบบ 150 มิลลิลิตรต่อชั่วโมง แล้วเก็บตัวอย่ำง
น้ำเสียที่นำมำทดสอบทุก 20 นำที รวมระยะเวลำกำรทดลอง 100 นำที จำนวนตัวอย่ำงที่เก็บเท่ำกับ 5 ตัวอย่ำง ที่ปลำยท่อ
เครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนฯ มงคล จงสุพรรณพงศ์
http://jeet.siamtechu.net
JEET 2014; 1(1)
39
ของเครื่องและถังปฏิกิริยำ แล้วนำมำหำค่ำออกซิเจนละลำยโดยวิธีของ Moris [5] และหำค่ำซีโอดี และบีโอดี โดยวิธี
มำตรฐำน กำรวิเครำะห์สมบัติน้ำเสีย แสดงดังตำรำง ที่ 1 [6]
5. ผลกำรทดลอง
โดยกำรนำผลกำรทดลองมำสร้ำงกรำฟแบบสมสนิทดี (Fitting Curve) เพื่อแสดงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงค่ำออกซิเจน
ละลำยน้ำ (dissolved oxygen: DO) กับระยะเวลำ (Time) แล้วนำมำหำค่ำควำมชัน (slope) จำกพำรำมิเตอร์ (parameter)
ของ a และ b จำกจุดต่ำงๆของกรำฟให้ y = ax+b เป็นฟังก์ชันที่ผ่ำนจุดเหล่ำนี้ เมื่อ a = ควำมชัน (slope) ของ DO/Time
และ R2 (สัมประสิทธ์กำรตัดสินใจ) จำก R2 = 1 – (SSE/SST) (SST: Sum square of total; SSE: sum square of error)
[7]
รูปที่ 3 ผลกำรทดลองกำรเพิ่มค่ำออกซิเจนละลำย (dissolved oxygen: DO) น้ำเสียของบ่อเลี้ยงปลำโดยใช้อำกำศ
ผลกำรทดลองในกำรบำบัดน้ำเสียจำกบ่อเลี้ยงปลำด้วยเครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยอำกำศในสภำวะควำมดันสูงในกำร
เพิ่มออกซิเจนละลำย (DO) พบว่ำ ปริมำณออกซิเจนละลำยน้ำจะเพิ่มขึ้นเมื่อระยะเวลำกำรบำบัดเพิ่มขึ้น ดังแสดงในกรำฟ
รูปที่ 3 เมื่อนำผลกำรทดลองระหว่ำงปริมำณออกซิเจนละลำยน้ำกับเวลำที่ผ่ำนไปมำสร้ำงกรำฟแสดงควำมสัมพันธ์และหำ
ควำมชัน (Slope) และค่ำ R2 [7] ได้ค่ำควำมชัน (slope) เท่ำกับ 0.0414 และ R2 เท่ำกับ 0.9048 ค่ำ R2 เข้ำใกล้ 1 แสดงว่ำ
ค่ำออกซิเจนละลำยที่เพิ่มขึ้นมีควำมสัมพันธ์กับเวลำอยู่ในระดับสูง [3] ดังแสดงในกรำฟรูปที่ 4
รูปที่ 4 ผลกำรทดลองกำรเพิ่มค่ำออกซิเจนละลำย (dissolved oxygen: DO) น้ำเสียของบ่อเลี้ยงปลำโดยใช้โอโซน
เครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนฯ มงคล จงสุพรรณพงศ์
http://jeet.siamtechu.net
JEET 2014; 1(1)
40
แสดงว่ำกำรเพิ่มค่ำออกซิเจนละลำยน้ำกับเวลำมีควำมสัมพันธ์เชิงเส้น (linear correlation) [8] แต่น้อยกว่ำโอโซน
เพรำะโอโซนละลำยน้ำได้ดีกว่ำออกซิเจน 10 เท่ำ [9,10] นอกจำกนี้ยังได้นำผลกำรทดลองในกำรบำบัดน้ำเสียจำกบ่อเลี้ยง
ปลำด้วยเครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนในสภำวะควำมดันสูงในกำรเพิ่มออกซิเจนละลำย สร้ำงกรำฟแสดงควำมสัมพันธ์และ
หำค่ำควำมชัน (slope) และ R2 แล้วนำมำวิเครำะห์หำค่ำควำมชัน (slope) ได้ 0.0570 และ R2 ได้ 0.9109 ค่ำ R2 เข้ำใกล้ 1
แสดงว่ำค่ำออกซิเจนละลำยที่เพิ่มขึ้นมีควำมสัมพันธ์กับเวลำอยู่ในระดับสูง [3] จำกรูปที่ 4 วิเครำะห์กรำฟหำค่ำควำมชัน
(slope) ได้ 0.0570 ค่ำ R2 ได้ 0.9109 จำกรูปที่ 4 แสดงว่ำกำรเพิ่มค่ำออกซิเจนละลำยกับเวลำมีควำมสัมพันธ์เชิงเส้น
(linear correlation) [8] ตรงกับคำกล่ำวที่ว่ำ ก๊ำซโอโซนสำมำรถละลำยน้ำได้ดีกว่ำก๊ำซออกซิเจนถึง 10 เท่ำ [2,10] จึงทำให้
กำรเพิ่มค่ำออกซิเจนละลำย จำกกำรใช้โอโซนเป็นไปอย่ำงรวดเร็วกว่ำกำรใช้อำกำศมำก จะเห็นได้จำกผลในเวลำ 80 นำที
ออกซิเจนละลำย เพิ่มขึ้นที่ค่ำออกซิเจนละลำยเท่ำกับ 8 mg/l คงที่ทั้งระบบ แต่กำรใช้อำกำศค่ำออกซิเจนละลำยได้เท่ำกับ
6.4 ซึ่งน้อยกว่ำกรณีของกำรใช้โอโซนถึง 1.6 mg/l ที่สภำวะกำรทดลองเดียวกัน
ได้นำผลกำรทดลองกำรบำบัดน้ำเสียจำกบ่อเลี้ยงกุ้งด้วยเครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนในสภำวะควำมดันสูง มำ
วิเครำะห์กรำฟควำมสัมพันธ์ระหว่ำงกำรลดของค่ำบีโอดีกับเวลำ หำค่ำควำมชัน (slope) และ R2
รูปที่ 5 ผลกำรทดลองลดค่ำบีโอดีในน้ำเสียจำกบ่อเลี้ยงปลำ
ในถังปฏิกิริยำ y = -13.151x + 144.66
R2 = 0.9211
ปลำยท่อของเครื่อง y = 19.35x + 147.77
R2 = 0.9308
กำรคำนวณหำประสิทธิภำพในกำรบำบัดน้ำเสียของกำรทดลองกำรบำบัดน้ำเสียจำกบ่อเลี้ยงปลำด้วยเครื่องบำบัด
น้ำเสียด้วยโอโซนในสภำวะควำมดันสูงในกำรลดค่ำบีโอดี [9]
ประสิทธิภำพในถังปฏิกิริยำ =
(ควำมเข้มข้นบีโอดีน้ำเข้ำ−ควำมเข้มข้นบีโอดีน้ำออก)∗100
ควำมเข้มข้นบีโอดีน้ำเข้ำ
= [
(119±9)−(70±7)
119±9
] x 100
= 41.18+3.10%
ประสิทธิภำพปลำยท่อของเครื่อง =
(ควำมเข้มข้นบีโอดีน้ำเข้ำ−ควำมเข้มข้นบีโอดีน้ำออก)∗100
ควำมเข้มข้นบีโอดีน้ำเข้ำ
เครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนฯ มงคล จงสุพรรณพงศ์
http://jeet.siamtechu.net
JEET 2014; 1(1)
41
= [
(119±7)−(51±4)
119±7
] x 100
= 57.14+1.53%
ได้นำผลกำรทดลองกำรบำบัดน้ำเสียจำกบ่อเลี้ยงปลำด้วยเครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนในสภำวะควำมดันสูง มำ
วิเครำะห์กรำฟควำมสัมพันธ์ระหว่ำงกำรลดของค่ำซีโอดี กับเวลำ หำค่ำควำมชัน (slope) และ R2
รูปที่ 6 ผลกำรทดลองลดค่ำซีโอดีในน้ำเสียจำกบ่อเลี้ยงปลำ
ในถังปฏิกิริยำ y = -8.9268x + 122.45
R2 = 0.9394
ปลำยท่อของเครื่อง y = 12.367x + 129.69
R2 = 0.9583
กำรคำนวณหำประสิทธิภำพในกำรบำบัดน้ำเสียของกำรทดลองกำรบำบัดน้ำเสียจำกบ่อเลี้ยงปลำด้วยเครื่องบำบัด
น้ำเสียด้วยโอโซนในสภำวะควำมดันสูงในกำรลดค่ำซีโอดี [9]
ประสิทธิภำพในถังปฏิกิริยำ =
(ควำมเข้มข้นซีโอดีน้ำเข้ำ−ควำมเข้มข้นซีโอดีน้ำออก)∗100
ควำมเข้มข้นซีโอดีน้ำเข้ำ
= [
(138±8)−(66±4)
138±8
] x 100
= 52.17+2.31%
ประสิทธิภำพปลำยท่อของเครื่อง =
(ควำมเข้มข้นซีโอดีน้ำเข้ำ−ควำมเข้มข้นซีโอดีน้ำออก)∗100
ควำมเข้มข้นซีโอดีน้ำเข้ำ
เครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนฯ มงคล จงสุพรรณพงศ์
http://jeet.siamtechu.net
JEET 2014; 1(1)
42
= [
(138±7)−(26±4)
138±7
] x 100
= 51.16+1.20%
วิเครำะห์กรำฟหำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงกำรลดค่ำบีโอดี และซีโอดี กับเวลำ ผลกำรลดค่ำบีโอดีกับเวลำได้ค่ำควำม
ชัน (slope) ในถังปฏิกิริยำเท่ำกับ -13.151 และ R2 เท่ำกับ 0.9211 ที่ปลำยท่อของเครื่อวได้ค่ำควำมชันเท่ำกับ 19.35 และ
R2 เท่ำกับ 0.9308 จำกรูปที่ 5 และผลกำรลดค่ำซีโอดี กับเวลำได้ค่ำควำมชัน (slope) ที่ในถังปฏิกิริยำเท่ำกับ -8.9268 และ
R2 เท่ำกับ 0.9394 ที่ปลำยท่อของเครื่อง ค่ำควำมชัน (slope) เท่ำกับ -12.3670 และ R2 เท่ำกับ 0.9583 จำกรูปที่ 6 แสดง
ให้เห็นว่ำควำมสัมพันธ์ของกำรลดลงของค่ำบีโอดี กับเวลำมีควำมสัมพันธ์สูง โดยปริมำณบีโอดีในถังปฏิกิริยำจะลดลงสูงถึง
ร้อยละ 41.18+3.10 และที่ปลำยท่อของเครื่องลดลงสูงถึงร้อยละ 57.14+1.53 ส่วนกำรลดลงของซีโอดี กับเวลำที่ในถัง
ปฏิกิริยำและที่ปลำยท่อของเครื่องก็อยู่ในทิศทำงเดียวกันกับกรณีของบีโอดี โดยปริมำณซีโอดีในถังปฏิกิริยำจะลดลงสูงถึง
ร้อยละ 52.17+2.31 และที่ปลำยท่อของเครื่องลดลงสูงถึงร้อยละ 81.16+1.20 [7] แสดงว่ำกำรใช้โอโซนบำบัดน้ำเสียทำให้
ค่ำบีโอดี และซีโอดีลดลงได้อย่ำงเร็วเพรำะโอโซนจะทำหน้ำที่สองอย่ำงพร้อมกันคือ ละลำยน้ำได้ดีกว่ำกำรใช้อำกำศ 10 เท่ำ
ขณะเดียวกันก็จะกำจัดสำรอินทรีย์ที่ปนเปื้อนมำกับน้ำเสียโดยขบวนกำรออกซิเดชัน (Oxidation) [2,10]
6. เอกสำรอ้ำงอิง
[1] Bollyky, L. J. 2002. Benefits of Ozone Treatment for Bottled Water. Ozone News. 31(2): 12-21.
[2] Evans, F. L. 1972. Ozone in Water and Wastewater Treatment. Ann arbor Science Pub, lnc. Michigan.
P.185.
[3] Zhou, H. and Danial, W.2000. Ozone Mass Transfer in Water and Wastewater Treatment: Experimental
Observations Using a 2D Laser Particle Dynamics Analyzer. Water Res. 34: 909-9211.
[4] Ternes, T.A.1998. Occurrence of Drugs in German Sewage Treatment Plants and Rivers. Water Res.
32: 3245-3260.
[5] Moris, K. 1977. Method of Sampling and Analysis, APHA Intersociety Committee. 2nd edition. American
Public Health Association. Washington.
[6] APHA, AWWA, WPCF. 1995. Standard Methods for Examination of Water and Wastewater: 19th edition.
American Public Health Association. Washington DC.
[7] Kutner, M.H., Christopher, J. and Buser, H.R. 2005. Applied Linear Statistical Models. 5th Edition
(International Edition). McGraw - Hill Irwin. Boston.

More Related Content

What's hot

สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมkasarin rodsi
 
การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)
การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)
การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)AmPere Si Si
 
พันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายพันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายThanyamon Chat.
 
หลักเกณฑ์การแข่งขัน ครั้งที่ 63 กิจกรรมสภานักเรียน
หลักเกณฑ์การแข่งขัน ครั้งที่ 63 กิจกรรมสภานักเรียนหลักเกณฑ์การแข่งขัน ครั้งที่ 63 กิจกรรมสภานักเรียน
หลักเกณฑ์การแข่งขัน ครั้งที่ 63 กิจกรรมสภานักเรียนDuangnapa Inyayot
 
สถานการณ์ความเป็นเมืองของภาคใต้และจังหวัดสงขลา
สถานการณ์ความเป็นเมืองของภาคใต้และจังหวัดสงขลาสถานการณ์ความเป็นเมืองของภาคใต้และจังหวัดสงขลา
สถานการณ์ความเป็นเมืองของภาคใต้และจังหวัดสงขลาFURD_RSU
 
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equationsกฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s EquationsThepsatri Rajabhat University
 
แบบสอบถาม ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41
แบบสอบถาม  ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41แบบสอบถาม  ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41
แบบสอบถาม ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41สำเร็จ นางสีคุณ
 
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซีม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซีJanejira Meezong
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอกkruannchem
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวArtitayamontree
 
แสงและการหักเห2
แสงและการหักเห2แสงและการหักเห2
แสงและการหักเห2DAWKAJAY20
 
กำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมกำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมpatcharapun boonyuen
 
Кулінарія. Бутерброди
Кулінарія. БутербродиКулінарія. Бутерброди
Кулінарія. БутербродиAndy Levkovich
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1Green Greenz
 

What's hot (20)

สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)
การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)
การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)
 
พันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายพันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลาย
 
โรค
โรค โรค
โรค
 
หลักเกณฑ์การแข่งขัน ครั้งที่ 63 กิจกรรมสภานักเรียน
หลักเกณฑ์การแข่งขัน ครั้งที่ 63 กิจกรรมสภานักเรียนหลักเกณฑ์การแข่งขัน ครั้งที่ 63 กิจกรรมสภานักเรียน
หลักเกณฑ์การแข่งขัน ครั้งที่ 63 กิจกรรมสภานักเรียน
 
บีตส์
บีตส์บีตส์
บีตส์
 
3.คำนำ
3.คำนำ3.คำนำ
3.คำนำ
 
สถานการณ์ความเป็นเมืองของภาคใต้และจังหวัดสงขลา
สถานการณ์ความเป็นเมืองของภาคใต้และจังหวัดสงขลาสถานการณ์ความเป็นเมืองของภาคใต้และจังหวัดสงขลา
สถานการณ์ความเป็นเมืองของภาคใต้และจังหวัดสงขลา
 
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equationsกฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
 
แบบสอบถาม ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41
แบบสอบถาม  ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41แบบสอบถาม  ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41
แบบสอบถาม ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41
 
heat
heatheat
heat
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซีม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
 
แสงและการหักเห2
แสงและการหักเห2แสงและการหักเห2
แสงและการหักเห2
 
กำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมกำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียม
 
Кулінарія. Бутерброди
Кулінарія. БутербродиКулінарія. Бутерброди
Кулінарія. Бутерброди
 
การวัดปริมารรังสี
การวัดปริมารรังสีการวัดปริมารรังสี
การวัดปริมารรังสี
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
 

Viewers also liked

How to remove a google manual penalty - disavow, reconsideration and penalty ...
How to remove a google manual penalty - disavow, reconsideration and penalty ...How to remove a google manual penalty - disavow, reconsideration and penalty ...
How to remove a google manual penalty - disavow, reconsideration and penalty ...arekestall
 
Bitotsav' 15 Entertainment Quiz Challenger
Bitotsav' 15 Entertainment Quiz ChallengerBitotsav' 15 Entertainment Quiz Challenger
Bitotsav' 15 Entertainment Quiz ChallengerUtsav Giri
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1Chok Ke
 

Viewers also liked (20)

วารสาร jeet_ปกหน้า_นอก
วารสาร jeet_ปกหน้า_นอกวารสาร jeet_ปกหน้า_นอก
วารสาร jeet_ปกหน้า_นอก
 
ยานพาหนะพลังงานแสงอาทิตย์ STC-1
ยานพาหนะพลังงานแสงอาทิตย์ STC-1ยานพาหนะพลังงานแสงอาทิตย์ STC-1
ยานพาหนะพลังงานแสงอาทิตย์ STC-1
 
03_การผลิตไฟฟ้าโดยใช้ก๊าซชีวภาพในโรงเลี้ยงสุกร Vol.1 No.1
03_การผลิตไฟฟ้าโดยใช้ก๊าซชีวภาพในโรงเลี้ยงสุกร Vol.1 No.103_การผลิตไฟฟ้าโดยใช้ก๊าซชีวภาพในโรงเลี้ยงสุกร Vol.1 No.1
03_การผลิตไฟฟ้าโดยใช้ก๊าซชีวภาพในโรงเลี้ยงสุกร Vol.1 No.1
 
เศษยางอีวีเอพื้นรองเท้านำกลับมาใช้ใหม่ผสมยางอีพีดีเอ็ม
เศษยางอีวีเอพื้นรองเท้านำกลับมาใช้ใหม่ผสมยางอีพีดีเอ็ม เศษยางอีวีเอพื้นรองเท้านำกลับมาใช้ใหม่ผสมยางอีพีดีเอ็ม
เศษยางอีวีเอพื้นรองเท้านำกลับมาใช้ใหม่ผสมยางอีพีดีเอ็ม
 
05_การเพิ่มประสิทธิภาพการเผาไหม้โดยใช้วัสดุพรุน
05_การเพิ่มประสิทธิภาพการเผาไหม้โดยใช้วัสดุพรุน05_การเพิ่มประสิทธิภาพการเผาไหม้โดยใช้วัสดุพรุน
05_การเพิ่มประสิทธิภาพการเผาไหม้โดยใช้วัสดุพรุน
 
01_Journal of Energy and Environment Technology Vol1 No1_Cover
01_Journal of Energy and Environment Technology Vol1 No1_Cover01_Journal of Energy and Environment Technology Vol1 No1_Cover
01_Journal of Energy and Environment Technology Vol1 No1_Cover
 
07_โรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดเล็กแบบแก๊สซิฟิเคชั่นสำหรับชุมชน Vol.1 No.1
07_โรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดเล็กแบบแก๊สซิฟิเคชั่นสำหรับชุมชน Vol.1 No.107_โรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดเล็กแบบแก๊สซิฟิเคชั่นสำหรับชุมชน Vol.1 No.1
07_โรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดเล็กแบบแก๊สซิฟิเคชั่นสำหรับชุมชน Vol.1 No.1
 
08_Small Scale Biomass Gasification Power Plant Management Vol.1 No.1
08_Small Scale Biomass Gasification Power Plant Management Vol.1 No.108_Small Scale Biomass Gasification Power Plant Management Vol.1 No.1
08_Small Scale Biomass Gasification Power Plant Management Vol.1 No.1
 
01_A Study of Heat Exchanger Produces Hot Water from Air Conditioning Incorp...
01_A Study of Heat Exchanger Produces Hot Water from Air Conditioning  Incorp...01_A Study of Heat Exchanger Produces Hot Water from Air Conditioning  Incorp...
01_A Study of Heat Exchanger Produces Hot Water from Air Conditioning Incorp...
 
04_การประยุกต์เกณฑ์การประเมินความยั่งยืนทางพลังงานและสิ่งแวดล้อมไทย สำหรับการ...
04_การประยุกต์เกณฑ์การประเมินความยั่งยืนทางพลังงานและสิ่งแวดล้อมไทย สำหรับการ...04_การประยุกต์เกณฑ์การประเมินความยั่งยืนทางพลังงานและสิ่งแวดล้อมไทย สำหรับการ...
04_การประยุกต์เกณฑ์การประเมินความยั่งยืนทางพลังงานและสิ่งแวดล้อมไทย สำหรับการ...
 
01_การศึกษาลักษณะเฉพาะของขั้วแคโทดลิเธียมไอรอนฟลูออโรฟอสเฟตที่ใช้ในแบตเตอรี่ล...
01_การศึกษาลักษณะเฉพาะของขั้วแคโทดลิเธียมไอรอนฟลูออโรฟอสเฟตที่ใช้ในแบตเตอรี่ล...01_การศึกษาลักษณะเฉพาะของขั้วแคโทดลิเธียมไอรอนฟลูออโรฟอสเฟตที่ใช้ในแบตเตอรี่ล...
01_การศึกษาลักษณะเฉพาะของขั้วแคโทดลิเธียมไอรอนฟลูออโรฟอสเฟตที่ใช้ในแบตเตอรี่ล...
 
02_การศึกษารูปแบบการไหลและการกระจายอุณหภูมิอากาศในโรงเรือนเพาะปลูก
02_การศึกษารูปแบบการไหลและการกระจายอุณหภูมิอากาศในโรงเรือนเพาะปลูก02_การศึกษารูปแบบการไหลและการกระจายอุณหภูมิอากาศในโรงเรือนเพาะปลูก
02_การศึกษารูปแบบการไหลและการกระจายอุณหภูมิอากาศในโรงเรือนเพาะปลูก
 
Katabolisme
KatabolismeKatabolisme
Katabolisme
 
How to remove a google manual penalty - disavow, reconsideration and penalty ...
How to remove a google manual penalty - disavow, reconsideration and penalty ...How to remove a google manual penalty - disavow, reconsideration and penalty ...
How to remove a google manual penalty - disavow, reconsideration and penalty ...
 
призентация.
призентация.призентация.
призентация.
 
บทบรรณาธิการ ปีที่ 1 ฉบับที่ 2
บทบรรณาธิการ ปีที่ 1 ฉบับที่ 2บทบรรณาธิการ ปีที่ 1 ฉบับที่ 2
บทบรรณาธิการ ปีที่ 1 ฉบับที่ 2
 
Cover JEET Vol 1 No.2July–December [2014]
Cover JEET Vol 1 No.2July–December [2014]Cover JEET Vol 1 No.2July–December [2014]
Cover JEET Vol 1 No.2July–December [2014]
 
บทบรรณาธิการ
บทบรรณาธิการบทบรรณาธิการ
บทบรรณาธิการ
 
Bitotsav' 15 Entertainment Quiz Challenger
Bitotsav' 15 Entertainment Quiz ChallengerBitotsav' 15 Entertainment Quiz Challenger
Bitotsav' 15 Entertainment Quiz Challenger
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
 

Similar to 05_เครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนในสภาพความดันสูงสำหรับบ่อเลี้ยงปลา Vol.1 No.1

คู่มือกระบวนการหลักด้านกระบวนการผลิตน้ำประปา เล่ม 2
คู่มือกระบวนการหลักด้านกระบวนการผลิตน้ำประปา เล่ม 2คู่มือกระบวนการหลักด้านกระบวนการผลิตน้ำประปา เล่ม 2
คู่มือกระบวนการหลักด้านกระบวนการผลิตน้ำประปา เล่ม 2Peerapong Veluwanaruk
 
เครื่องผลิตโอโซน อีโคโนวัตต์
เครื่องผลิตโอโซน อีโคโนวัตต์เครื่องผลิตโอโซน อีโคโนวัตต์
เครื่องผลิตโอโซน อีโคโนวัตต์Poppiieiei Pop
 
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัดการดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัดtechno UCH
 

Similar to 05_เครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนในสภาพความดันสูงสำหรับบ่อเลี้ยงปลา Vol.1 No.1 (6)

คู่มือกระบวนการหลักด้านกระบวนการผลิตน้ำประปา เล่ม 2
คู่มือกระบวนการหลักด้านกระบวนการผลิตน้ำประปา เล่ม 2คู่มือกระบวนการหลักด้านกระบวนการผลิตน้ำประปา เล่ม 2
คู่มือกระบวนการหลักด้านกระบวนการผลิตน้ำประปา เล่ม 2
 
OZONE APPLICATION 1
OZONE APPLICATION 1OZONE APPLICATION 1
OZONE APPLICATION 1
 
เครื่องผลิตโอโซน อีโคโนวัตต์
เครื่องผลิตโอโซน อีโคโนวัตต์เครื่องผลิตโอโซน อีโคโนวัตต์
เครื่องผลิตโอโซน อีโคโนวัตต์
 
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัดการดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
 
การกำจัดก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์โดยสารละลาย Fe-EDTA
การกำจัดก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์โดยสารละลาย Fe-EDTAการกำจัดก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์โดยสารละลาย Fe-EDTA
การกำจัดก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์โดยสารละลาย Fe-EDTA
 
คอนไทย
คอนไทยคอนไทย
คอนไทย
 

More from วารสารวิชาการ เทคโนโลยีพลังงานและสิ่งแวดล้อม

More from วารสารวิชาการ เทคโนโลยีพลังงานและสิ่งแวดล้อม (9)

แนวทางเชิงประจักษ์สำหรับการประมาณค่าความหนาแน่นและความหนืดของกรดไขมันเอทิลเอส...
แนวทางเชิงประจักษ์สำหรับการประมาณค่าความหนาแน่นและความหนืดของกรดไขมันเอทิลเอส...แนวทางเชิงประจักษ์สำหรับการประมาณค่าความหนาแน่นและความหนืดของกรดไขมันเอทิลเอส...
แนวทางเชิงประจักษ์สำหรับการประมาณค่าความหนาแน่นและความหนืดของกรดไขมันเอทิลเอส...
 
อิทธิพลขององค์ประกอบทางภูมิสถาปัตยกรรมที่มีผลต่อสภาพภูมิอากาศระดับจุลภาค
อิทธิพลขององค์ประกอบทางภูมิสถาปัตยกรรมที่มีผลต่อสภาพภูมิอากาศระดับจุลภาคอิทธิพลขององค์ประกอบทางภูมิสถาปัตยกรรมที่มีผลต่อสภาพภูมิอากาศระดับจุลภาค
อิทธิพลขององค์ประกอบทางภูมิสถาปัตยกรรมที่มีผลต่อสภาพภูมิอากาศระดับจุลภาค
 
การประยุกต์ใช้แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานด้านการจัดการโลจิสติกส์ของบริษัท ...
การประยุกต์ใช้แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานด้านการจัดการโลจิสติกส์ของบริษัท ...การประยุกต์ใช้แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานด้านการจัดการโลจิสติกส์ของบริษัท ...
การประยุกต์ใช้แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานด้านการจัดการโลจิสติกส์ของบริษัท ...
 
11 วารสาร jeet_ปกหลัง_นอก
11 วารสาร jeet_ปกหลัง_นอก11 วารสาร jeet_ปกหลัง_นอก
11 วารสาร jeet_ปกหลัง_นอก
 
03_การประหยัดพลังงานในการเลื่อยไม้ยางพาราด้วยการควบคุมภาระมอเตอร์
03_การประหยัดพลังงานในการเลื่อยไม้ยางพาราด้วยการควบคุมภาระมอเตอร์03_การประหยัดพลังงานในการเลื่อยไม้ยางพาราด้วยการควบคุมภาระมอเตอร์
03_การประหยัดพลังงานในการเลื่อยไม้ยางพาราด้วยการควบคุมภาระมอเตอร์
 
06_การจัดการสิ่งแวดล้อม Vol.1 No.1
06_การจัดการสิ่งแวดล้อม Vol.1 No.106_การจัดการสิ่งแวดล้อม Vol.1 No.1
06_การจัดการสิ่งแวดล้อม Vol.1 No.1
 
04_เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดรอยต่อเฮเทอโร บนฐานรองผลึกเดี่ยวซิลิคอน ชนิดเอ็นที่มีชั...
04_เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดรอยต่อเฮเทอโร บนฐานรองผลึกเดี่ยวซิลิคอน ชนิดเอ็นที่มีชั...04_เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดรอยต่อเฮเทอโร บนฐานรองผลึกเดี่ยวซิลิคอน ชนิดเอ็นที่มีชั...
04_เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดรอยต่อเฮเทอโร บนฐานรองผลึกเดี่ยวซิลิคอน ชนิดเอ็นที่มีชั...
 
02_การศึกษาปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ระบายอากาศแบบธรรมชาติ ที่ติดตั้งกับบ้านจำลองส...
02_การศึกษาปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ระบายอากาศแบบธรรมชาติ ที่ติดตั้งกับบ้านจำลองส...02_การศึกษาปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ระบายอากาศแบบธรรมชาติ ที่ติดตั้งกับบ้านจำลองส...
02_การศึกษาปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ระบายอากาศแบบธรรมชาติ ที่ติดตั้งกับบ้านจำลองส...
 
00_บทบรรณาธิการ Vol.1 No.1
00_บทบรรณาธิการ Vol.1 No.100_บทบรรณาธิการ Vol.1 No.1
00_บทบรรณาธิการ Vol.1 No.1
 

05_เครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนในสภาพความดันสูงสำหรับบ่อเลี้ยงปลา Vol.1 No.1

  • 1. Journal of Energy and Environment Technology ISSN 2392-5701 http://jeet.siamtechu.net Research Article JEET 2014; 1(1): 34-42. เครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนในสภำพควำมดันสูงสำหรับบ่อเลี้ยงปลำ Ozone Wastewater Treatment Under High Pressure Condition For Wastewater From Fish Pond มงคล จงสุพรรณพงศ์* Mongkol Jongsuphanphong* สาขาพลังงานและสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม School of Energy and Environmental, Graduate School, Siam Technology College * Corresponding author, E-mail: mongkol.J@gmail.com บทคัดย่อ เครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนในสภำวะควำมดันสูงถูกนำไปทดลองบำบัดน้ำเสียจำกบ่อเลี้ยงปลำ ผลกำรทดลอง พบว่ำ เครื่องมือดังกล่ำวสำมำรถเพิ่มปริมำณออกซิเจนของน้ำเสีย (dissolved oxygen: DO) จำกบ่อปลำ 0.0+0.0 เป็น 8.0+0.5 มล./ล. ภำยในเวลำ 1-4 ชั่วโมง นอกจำกนี้แล้ว เครื่องมือดังกล่ำวยังมีควำมสำมำรถในกำรลดค่ำควำมสกปรกในรูป ของซีโอดี (COD) และบีโอดี (BOD) ในน้ำเสียลงได้อีกด้วย โดยสำมำรถลดค่ำซีโอดี และบีโอดี ในน้ำเสียจำกบ่อปลำได้ถึง ร้อยละ 21.19+2.10 ในเวลำเพียง 1.4 ชั่วโมง คำสำคัญ: กำรทำโอโซน, กำรบำบัดน้ำเสีย, น้ำเสียบ่อเลี้ยงปลำ Abstract Ozone Wastewater Treatment under High Pressure Condition for Wastewater from Fish pond. The designed ozone wastewater treatment under high pressure was applied to treat wastewater from sanitary sewage and fish pond. The results showed that the dissolved oxygen of the wastewater from sanitary sewage was increased from 0.0+0.0 to 8.0+0.5 mg/l within 1.4 hrs. On the other hand, the dissolved oxygen of the wastewater from fish pond, the designed equipment could reduce the impurities as COD and BOD of the wastewater during treatment. The COD and BOD of the wastewater from sanitary sewage were reduced within 1.4 hrs by 21.19+2.10% Keywords: Ozonizer, Plasma, Wastewater Treatment Fish Pond 1. บทนำ ปัญหำกำรจัดกำรคุณภำพน้ำในบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำต้องมีกำรจัดกำรที่เหมำะสม หมำยถึงกำรจัดกำรในด้ำนคุณภำพน้ำ แพลงก์ตอน กำรให้ออกซิเจน และกำรจัดกำรพื้นบ่อ ควบคุมกำรใช้ยำและเคมีภัณฑ์อย่ำงเหมำะสม เนื่องจำก ในปัจจุบันนี้ กำรเลี้ยงสัตว์น้ำในประเทศไทย ได้มีกำรพัฒนำกำรเลี้ยงที่แตกต่ำงกันไปตำมสภำพพื้นที่และควำมยำกง่ำยในกำรเลี้ยง แตกต่ำงกันมำก ดังนั้นกำรจัดกำรภำยในฟำร์มและในบ่อเลี้ยงจะแตกต่ำงกันมำก เฉพำะในด้ำนกำรใช้สำรเคมีและยำ ปฏิชีวนะในกำรป้องกันโรคระหว่ำงกำรเลี้ยง กำรให้อำกำศเนื่องจำกในปัจจุบันนี้เกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์น้ำได้ปล่อยสัตว์น้ำมี
  • 2. เครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนฯ มงคล จงสุพรรณพงศ์ http://jeet.siamtechu.net JEET 2014; 1(1) 35 ควำมหนำแน่นมำก เพื่อหวังผลผลิตที่สูง ดังนั้นจึงมีควำมจำเป็นต้องพัฒนำระบบกำรให้อำกำศ เช่น ใช้เครื่องตีน้ำหรือ เครื่องเติมอำกำศ (air jet) จำนวนมำกจึงทำให้กำรลงทุนสูงขึ้น ด้วยสำเหตุนี้จึงมีกำรศึกษำค้นคว้ำและกำรวิจัยในกำรจัดกำร คุณภำพน้ำในบ่อสัตว์น้ำมำกขึ้นจึงได้มีวิศวกรและนักวิทยำศำสตร์สิ่งแวดล้อมทำงน้ำได้ทำกำรค้นคว้ำเพื่อพัฒนำควำมรู้ใน ด้ำนกำรจัดกำรคุณภำพน้ำในบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำให้ก้ำวไกลไปกว่ำนี้ อันจะเป็นผลทำให้สำมำรถเพิ่มผลผลิตสัตว์น้ำให้สูงขึ้น โดยไม่มีปัญหำมลภำวะเป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อมทำงน้ำ เช่น จำกกำรขยำยตัวอย่ำงรวดเร็วของบรรดำบ่อเลี้ยงปลำในประเทศ กำลังพัฒนำ โดยเฉพำะในหลำยประเทศแถบเอเชีย ก่อให้เกิดปัญหำต่อสภำพแวดล้อมอย่ำงน่ำตกใจ และปัญหำในทำนอง เดียวกันนี้ยังพบในแถบลำติน อเมริกำ และแอฟริกำด้วย เนื่องจำกกำรเลี้ยงปลำยังมีกำรใช้สำรเคมีอันตรำยจำนวนมำก ซึ่ง เป็นผลให้เกิดกำรสะสมของสำรพิษในสภำพแวดล้อม ยกตัวอย่ำงในกรณีประเทศไทย กำรสะสมของมลพิษ ทำให้ต้องทิ้ง พื้นที่ไว้ระยะหนึ่งและไม่สำมำรถใช้พื้นที่ทำสิ่งอื่นได้ อำจก่อให้เกิดหำยนะในระยะยำวต่อไป กำรใช้โอโซนในกำรบำบัดน้ำเสียเป็นวิธีกำรหนึ่งที่ไม่ทำให้เกิดสำรเคมีตกค้ำงในน้ำหลังผ่ำนกำรบำบัดแล้ว และ สำมำรถละลำยน้ำได้ดีกว่ำก๊ำซออกซิเจน 10 เท่ำ [1] ก๊ำซโอโซนเป็นตัวออกซิไดซ์ที่รุนแรง ฆ่ำเชื้อโรคจุลินทรีย์และ แบคทีเรียได้เกือบทุกชนิด กำรกำจัดสำรเคมีและอินทรีย์ที่ปนเปื้อนมำกับน้ำเสียตลอดจนช่วยลดปริมำณซีโอดีได้ดี [2,3] จำกเหตุผลดังกล่ำวผู้วิจัยจึงได้คิดพัฒนำเครื่องผลิตโอโซนที่มีประสิทธิภำพและรำคำถูกรวมทั้งใช้อุปกรณ์ที่ผลิตขึ้น ภำยในประเทศเกือบทั้งหมด โดยอำศัยหลักกำรในกำรผสมของโอโซนกับน้ำที่สภำวะควำมดันอำกำศสูงและพื้นที่น้ำที่สัมผัส กับก๊ำซได้มำกที่สุดซึ่งจะทำให้กำรแพร่กระจำยของก๊ำซผสมกับน้ำเสียเป็นไปอย่ำงรวดเร็วในเวลำอันสั้น โดยใช้ระบบฉีดน้ำ เสียให้กระจำยเข้ำไปผสมกับก๊ำซโอโซนระบบควำมดันสูง ภำยในระบบเครื่องเติมโอโซนแล้วปล่อยออกนอกระบบของ เครื่องจึงไม่ไปรบกวนสัตว์น้ำและเป็นเครื่องที่ทำหน้ำที่ได้หลำยอย่ำงในเวลำเดียวกัน เช่น ลดค่ำ ซีโอดี (COD), บีโอดี (BOD5), ทีเคเอ็น (TKN) และเพิ่มค่ำออกซิเจนละลำย (DO) ได้มำกกว่ำเครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนและเครื่องเติมอำกำศ ทั่วๆไปที่มีปัญหำจำกกำรแพร่กระจำยของโอโซนและออกซิเจนในน้ำไม่ทั่วถึง [4] 2. วัตถุประสงค์ของงำนวิจัย - ผลิตเครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยก๊ำซโอโซน - ทดสอบประสิทธิภำพของเครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยก๊ำซโอโซน 3. เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3.1 โอโซน โอโซนเป็น Oxidizing agent ที่รุนแรง (สำมำรถทำปฏิกิริยำได้เร็วกว่ำคลอรีนถึง 3,000 เท่ำ) ซึ่ง O3 มีควำมเสถียร ต่ำกว่ำ O2 มำก และจะสลำยตัวกลำยเป็น O2 (ภำยในเวลำ 6 วินำที ที่ควำมดันบรรยำกำศ) โดยปฏิกิริยำกำรสลำยตัวของ โอโซนจะเร็วขึ้น เมื่อเพิ่มอุณหภูมิและลดควำมดัน และกำรสัมผัสกับสำรที่มีพลังงำนต่ำกว่ำจะเกิดปฏิกิริยำออกซิเดชัน (Oxidation) อย่ำงรวดเร็ว ซึ่ง O3 มีปฏิกิริยำสูงถึง 2.07 โวลต์ (Oxidation Potential Voltage) ปฏิกิริยำกำรทำลำยมลภำวะ O3 ----> O2 + Energy ----> ทำลำยมลภำวะ (Disinfection) ----> คืนสภำพออกซิเจน (O2) กำรทำปฏิกิริยำสลำยกลิ่นแอมโมเนีย 3O3 + 2NH3 ----> N2 + 3H2O + 3 O2
  • 3. เครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนฯ มงคล จงสุพรรณพงศ์ http://jeet.siamtechu.net JEET 2014; 1(1) 36 กำรทำปฏิกิริยำสลำยพิษคำร์บอนมอนอกไซด์ O3 + CO ----> CO2 + O2 เนื่องจำกโอโซนเป็น Oxidizing agent ที่รุนแรงและสลำยตัวเร็ว ทำให้สำมำรถนำโอโซนไปใช้งำน ตัวอย่ำงเช่น - ฆ่ำเชื้อโรค เช่น ไวรัส (Virus), แบคทีเรีย (Bacteria), รำ (Fungus), Mold, Yeast - ทำปฏิกิริยำกับโลหะหนักที่ละลำยน้ำ - ทำปฏิกิริยำกับสำรอินทรีย์ที่ละลำยน้ำ - กำจัดกลิ่นในอำกำศ - ลดสีในน้ำเสียโรงงำน - ลด COD, BOD น้ำเสียในโรงงำน - ช่วยลดเวลำสำหรับกระบวนกำรตกตะกอน - ใช้ฆ่ำเชื้อโรคแทนคลอรีน ในกระบวนกำรผลิตอำหำร, สระว่ำยน้ำ - กำจัดสำรพิษ หรือยำฆ่ำแมลงที่ตกค้ำงในผักผลไม้ - ป้องกันตะกรันและตะไคร่น้ำในระบบหอผึ่งเย็น - ฆ่ำเชื้อโรคในบ่อเพำะเลี้ยงกุ้ง - กำจัดเชื้อโรคในน้ำดื่มก่อนบรรจุขวด - กำจัดควันบุหรี่ สำรพิษในอำกำศ 3.2 ข้อได้เปรียบของโอโซน - มีปฏิกิริยำต่อต้ำนและกำจัด เชื้อแบคทีเรีย สปอร์ไวรัส สัตว์เซลล์เดียวในไฟลัม ปรสิต และอื่นๆ - กำรเติมออกซิเจนลงในโลหะหนัก (เหล็ก, แมงกำนีส, ไอโอเนียน, กำมะถัน, ไซยำไนต์, ไอโอเนียนไนเตรท) กรดซัลฟูริก และรวมไปถึงสำรอินทรีย์ทุกชนิดเป็นกำรทำให้เกิดกำรเน่ำเสียเร็วยิ่งขึ้น - ใช้ในกำรกำจัดสำรตั้งต้นของธำตุโลหะจำพวกฟลูออรีน คลอรีน ซึ่งเป็นตัวกำรที่ทำให้เกิดกำรปนเปื้อนจำก จุลินทรีย์ อันเนื่องจำกกำรใช้สำรอื่นมำทำให้น้ำบริสุทธิ์นั่นเอง - มีประสิทธิผลต่อกำรบำบัดน้ำเสียที่ต้องมีกำรทำลำยสำรอินทรีย์ในรูป BOD ซึ่งจะส่งผลให้สำรอินทรีย์ในรูป COD ลดลงด้วย - ถือได้ว่ำมีควำมปลอดภัยทำงกำรแพทย์เพรำะได้รับกำรรับรองว่ำเป็นระบบกำรฆ่ำเชื้อโรคในน้ำได้ดีกว่ำระบบ อื่นๆและเป็นกำรฆ่ำเชื้อในน้ำได้อย่ำงหมดจด 4. อุปกรณ์กำรทดลองและวิธีกำรวิจัย 4.1 อุปกรณ์กำรทดลอง เครื่องบำบัดน้ำเสียโดยอำกำศ หรือ โอโซนในสภำวะควำมดันสูง (Ozone or air injection appartus) ส่วนประกอบ : ลักษณะและองค์ประกอบของเครื่องบำบัดดังกล่ำว ดังแสดงในรูปที่ 1 และรูปที่ 2 มีดังนี้ - โครงสร้ำงเป็นวัสดุ Stainless steel and PVC ดังแสดงในรูปที่ 1 - Ozone production ขนำด 50 ถึง 200 มิลลิกรัมต่อชั่วโมง
  • 4. เครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนฯ มงคล จงสุพรรณพงศ์ http://jeet.siamtechu.net JEET 2014; 1(1) 37 - Air pump component (GAST Co.,Ltd, USA, Model 0.25 pH) This air pump system was used to control both Oxygen and air flow at capac of up to 200 l/min - Pressure meter (Nuovafima Co.,Ltd, Japan, Model MSI-DS 150) This pressure meter was used to determine the pressure of gas in the rang of 1.0 x 105 – 1.5 x 105 N/m2 - Voltage meter (Tamadensoku Co.,Ltd, Japan, model 20 ADS) - Current ampere meter (Yokogawa Hokushin Model 76AA 4318) This component was used for measuring the electric of the designed ozoniser. - Water pump (Guangdong Risheng Group Co.,Ltd, China Model Hx-4500) Water flow at capacity of up to 2800 l/hr - Water flow meter (Essom Inspection TA Co.,Ltd, Thailand Model HB 016) Water flow at capacity of up to 60 l/m 4.2 กำรควบคุมและเดินระบบ หลักกำรทำงำนของเครื่องเติมโอโซนให้น้ำในสภำวะควำมดันสูงและเติมอำกำศในน้ำในสภำวะควำมดันสูงทั้งสอง ระบบอยู่ในเครื่องเดียวกันโดยมีอุปกรณ์ ส่วนประกอบรวมกัน โดยใช้ตัวควบคุม 2 ตัว คือ - ตัวควบคุมกำรใช้เติมโอโซน หรือจะใช้อำกำศในกำรทดลอง - ตัวควบคุมปริมำณอัตรำกำรไหล (flow rate) ของน้ำในกำรทดลอง รูปที่ 1 เครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนในสภำวะควำมดันสูง
  • 5. เครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนฯ มงคล จงสุพรรณพงศ์ http://jeet.siamtechu.net JEET 2014; 1(1) 38 รูปที่ 2 แบบของเครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนสภำวะควำมดันสูง 4.3 วิธีกำรทดลอง กำรบำบัดน้ำเสียบ่อเลี้ยงปลำโดยเครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยอำกำศสภำวะควำมดันสูงได้นำน้ำเสียจำกบ่อเลี้ยงปลำจำก จังหวัดสมุทรสำครมำ 200 ลิตร มำทำกำรบำบัดในห้องทดสอบวิทยำลัยเทคโนโลยีสยำม โดยใช้อัตรำกำรไหล (flow rate) ของน้ำ 10 l/min ปริมำณอัตรำกำรไหลของอำกำศ 50 l/min ควำมดันอำกำศในระบบ 1.3 x 105 N/m2 แล้วเก็บตัวอย่ำงน้ำ เสียที่นำมำทดสอบทุก 20 นำที รวมระยะเวลำกำรทดลอง 100 นำที จำนวนตัวอย่ำงที่เก็บเท่ำกับ 5 ตัวอย่ำง ที่ปลำยท่อ ของเครื่องและถังปฏิกิริยำ แล้วนำมำหำค่ำออกซิเจนละลำย โดยวิธีของ Moris [5] และหำค่ำซีโอดี และบีโอดี โดยวิธี มำตรฐำน กำรวิเครำะห์สมบัติน้ำเสียแสดงดังตำรำงที่ 1 [6] ตำรำงที่ 1 ค่ำซีโอดี และบีโอดี โดยวิธีมำตรฐำนกำรวิเครำะห์สมบัติน้ำเสีย กำรบำบัดน้ำเสียจำกบ่อเลี้ยงปลำโดยเครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนในสภำวะควำมดันสูงโดยได้นำน้ำเสียจำกบ่อ เลี้ยงปลำมำ 200 ลิตร มำทำกำรบำบัดในห้องทดสอบโดยใช้อัตรำกำรไหล (flow rate) ของน้ำ 10 l/min อัตรำกำรไหล ของ อำกำศ 50 l/min ควำมดันก๊ำซในระบบ 1.3 x 105 N/m2 ปริมำณโอโซนในระบบ 150 มิลลิลิตรต่อชั่วโมง แล้วเก็บตัวอย่ำง น้ำเสียที่นำมำทดสอบทุก 20 นำที รวมระยะเวลำกำรทดลอง 100 นำที จำนวนตัวอย่ำงที่เก็บเท่ำกับ 5 ตัวอย่ำง ที่ปลำยท่อ
  • 6. เครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนฯ มงคล จงสุพรรณพงศ์ http://jeet.siamtechu.net JEET 2014; 1(1) 39 ของเครื่องและถังปฏิกิริยำ แล้วนำมำหำค่ำออกซิเจนละลำยโดยวิธีของ Moris [5] และหำค่ำซีโอดี และบีโอดี โดยวิธี มำตรฐำน กำรวิเครำะห์สมบัติน้ำเสีย แสดงดังตำรำง ที่ 1 [6] 5. ผลกำรทดลอง โดยกำรนำผลกำรทดลองมำสร้ำงกรำฟแบบสมสนิทดี (Fitting Curve) เพื่อแสดงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงค่ำออกซิเจน ละลำยน้ำ (dissolved oxygen: DO) กับระยะเวลำ (Time) แล้วนำมำหำค่ำควำมชัน (slope) จำกพำรำมิเตอร์ (parameter) ของ a และ b จำกจุดต่ำงๆของกรำฟให้ y = ax+b เป็นฟังก์ชันที่ผ่ำนจุดเหล่ำนี้ เมื่อ a = ควำมชัน (slope) ของ DO/Time และ R2 (สัมประสิทธ์กำรตัดสินใจ) จำก R2 = 1 – (SSE/SST) (SST: Sum square of total; SSE: sum square of error) [7] รูปที่ 3 ผลกำรทดลองกำรเพิ่มค่ำออกซิเจนละลำย (dissolved oxygen: DO) น้ำเสียของบ่อเลี้ยงปลำโดยใช้อำกำศ ผลกำรทดลองในกำรบำบัดน้ำเสียจำกบ่อเลี้ยงปลำด้วยเครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยอำกำศในสภำวะควำมดันสูงในกำร เพิ่มออกซิเจนละลำย (DO) พบว่ำ ปริมำณออกซิเจนละลำยน้ำจะเพิ่มขึ้นเมื่อระยะเวลำกำรบำบัดเพิ่มขึ้น ดังแสดงในกรำฟ รูปที่ 3 เมื่อนำผลกำรทดลองระหว่ำงปริมำณออกซิเจนละลำยน้ำกับเวลำที่ผ่ำนไปมำสร้ำงกรำฟแสดงควำมสัมพันธ์และหำ ควำมชัน (Slope) และค่ำ R2 [7] ได้ค่ำควำมชัน (slope) เท่ำกับ 0.0414 และ R2 เท่ำกับ 0.9048 ค่ำ R2 เข้ำใกล้ 1 แสดงว่ำ ค่ำออกซิเจนละลำยที่เพิ่มขึ้นมีควำมสัมพันธ์กับเวลำอยู่ในระดับสูง [3] ดังแสดงในกรำฟรูปที่ 4 รูปที่ 4 ผลกำรทดลองกำรเพิ่มค่ำออกซิเจนละลำย (dissolved oxygen: DO) น้ำเสียของบ่อเลี้ยงปลำโดยใช้โอโซน
  • 7. เครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนฯ มงคล จงสุพรรณพงศ์ http://jeet.siamtechu.net JEET 2014; 1(1) 40 แสดงว่ำกำรเพิ่มค่ำออกซิเจนละลำยน้ำกับเวลำมีควำมสัมพันธ์เชิงเส้น (linear correlation) [8] แต่น้อยกว่ำโอโซน เพรำะโอโซนละลำยน้ำได้ดีกว่ำออกซิเจน 10 เท่ำ [9,10] นอกจำกนี้ยังได้นำผลกำรทดลองในกำรบำบัดน้ำเสียจำกบ่อเลี้ยง ปลำด้วยเครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนในสภำวะควำมดันสูงในกำรเพิ่มออกซิเจนละลำย สร้ำงกรำฟแสดงควำมสัมพันธ์และ หำค่ำควำมชัน (slope) และ R2 แล้วนำมำวิเครำะห์หำค่ำควำมชัน (slope) ได้ 0.0570 และ R2 ได้ 0.9109 ค่ำ R2 เข้ำใกล้ 1 แสดงว่ำค่ำออกซิเจนละลำยที่เพิ่มขึ้นมีควำมสัมพันธ์กับเวลำอยู่ในระดับสูง [3] จำกรูปที่ 4 วิเครำะห์กรำฟหำค่ำควำมชัน (slope) ได้ 0.0570 ค่ำ R2 ได้ 0.9109 จำกรูปที่ 4 แสดงว่ำกำรเพิ่มค่ำออกซิเจนละลำยกับเวลำมีควำมสัมพันธ์เชิงเส้น (linear correlation) [8] ตรงกับคำกล่ำวที่ว่ำ ก๊ำซโอโซนสำมำรถละลำยน้ำได้ดีกว่ำก๊ำซออกซิเจนถึง 10 เท่ำ [2,10] จึงทำให้ กำรเพิ่มค่ำออกซิเจนละลำย จำกกำรใช้โอโซนเป็นไปอย่ำงรวดเร็วกว่ำกำรใช้อำกำศมำก จะเห็นได้จำกผลในเวลำ 80 นำที ออกซิเจนละลำย เพิ่มขึ้นที่ค่ำออกซิเจนละลำยเท่ำกับ 8 mg/l คงที่ทั้งระบบ แต่กำรใช้อำกำศค่ำออกซิเจนละลำยได้เท่ำกับ 6.4 ซึ่งน้อยกว่ำกรณีของกำรใช้โอโซนถึง 1.6 mg/l ที่สภำวะกำรทดลองเดียวกัน ได้นำผลกำรทดลองกำรบำบัดน้ำเสียจำกบ่อเลี้ยงกุ้งด้วยเครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนในสภำวะควำมดันสูง มำ วิเครำะห์กรำฟควำมสัมพันธ์ระหว่ำงกำรลดของค่ำบีโอดีกับเวลำ หำค่ำควำมชัน (slope) และ R2 รูปที่ 5 ผลกำรทดลองลดค่ำบีโอดีในน้ำเสียจำกบ่อเลี้ยงปลำ ในถังปฏิกิริยำ y = -13.151x + 144.66 R2 = 0.9211 ปลำยท่อของเครื่อง y = 19.35x + 147.77 R2 = 0.9308 กำรคำนวณหำประสิทธิภำพในกำรบำบัดน้ำเสียของกำรทดลองกำรบำบัดน้ำเสียจำกบ่อเลี้ยงปลำด้วยเครื่องบำบัด น้ำเสียด้วยโอโซนในสภำวะควำมดันสูงในกำรลดค่ำบีโอดี [9] ประสิทธิภำพในถังปฏิกิริยำ = (ควำมเข้มข้นบีโอดีน้ำเข้ำ−ควำมเข้มข้นบีโอดีน้ำออก)∗100 ควำมเข้มข้นบีโอดีน้ำเข้ำ = [ (119±9)−(70±7) 119±9 ] x 100 = 41.18+3.10% ประสิทธิภำพปลำยท่อของเครื่อง = (ควำมเข้มข้นบีโอดีน้ำเข้ำ−ควำมเข้มข้นบีโอดีน้ำออก)∗100 ควำมเข้มข้นบีโอดีน้ำเข้ำ
  • 8. เครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนฯ มงคล จงสุพรรณพงศ์ http://jeet.siamtechu.net JEET 2014; 1(1) 41 = [ (119±7)−(51±4) 119±7 ] x 100 = 57.14+1.53% ได้นำผลกำรทดลองกำรบำบัดน้ำเสียจำกบ่อเลี้ยงปลำด้วยเครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนในสภำวะควำมดันสูง มำ วิเครำะห์กรำฟควำมสัมพันธ์ระหว่ำงกำรลดของค่ำซีโอดี กับเวลำ หำค่ำควำมชัน (slope) และ R2 รูปที่ 6 ผลกำรทดลองลดค่ำซีโอดีในน้ำเสียจำกบ่อเลี้ยงปลำ ในถังปฏิกิริยำ y = -8.9268x + 122.45 R2 = 0.9394 ปลำยท่อของเครื่อง y = 12.367x + 129.69 R2 = 0.9583 กำรคำนวณหำประสิทธิภำพในกำรบำบัดน้ำเสียของกำรทดลองกำรบำบัดน้ำเสียจำกบ่อเลี้ยงปลำด้วยเครื่องบำบัด น้ำเสียด้วยโอโซนในสภำวะควำมดันสูงในกำรลดค่ำซีโอดี [9] ประสิทธิภำพในถังปฏิกิริยำ = (ควำมเข้มข้นซีโอดีน้ำเข้ำ−ควำมเข้มข้นซีโอดีน้ำออก)∗100 ควำมเข้มข้นซีโอดีน้ำเข้ำ = [ (138±8)−(66±4) 138±8 ] x 100 = 52.17+2.31% ประสิทธิภำพปลำยท่อของเครื่อง = (ควำมเข้มข้นซีโอดีน้ำเข้ำ−ควำมเข้มข้นซีโอดีน้ำออก)∗100 ควำมเข้มข้นซีโอดีน้ำเข้ำ
  • 9. เครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนฯ มงคล จงสุพรรณพงศ์ http://jeet.siamtechu.net JEET 2014; 1(1) 42 = [ (138±7)−(26±4) 138±7 ] x 100 = 51.16+1.20% วิเครำะห์กรำฟหำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงกำรลดค่ำบีโอดี และซีโอดี กับเวลำ ผลกำรลดค่ำบีโอดีกับเวลำได้ค่ำควำม ชัน (slope) ในถังปฏิกิริยำเท่ำกับ -13.151 และ R2 เท่ำกับ 0.9211 ที่ปลำยท่อของเครื่อวได้ค่ำควำมชันเท่ำกับ 19.35 และ R2 เท่ำกับ 0.9308 จำกรูปที่ 5 และผลกำรลดค่ำซีโอดี กับเวลำได้ค่ำควำมชัน (slope) ที่ในถังปฏิกิริยำเท่ำกับ -8.9268 และ R2 เท่ำกับ 0.9394 ที่ปลำยท่อของเครื่อง ค่ำควำมชัน (slope) เท่ำกับ -12.3670 และ R2 เท่ำกับ 0.9583 จำกรูปที่ 6 แสดง ให้เห็นว่ำควำมสัมพันธ์ของกำรลดลงของค่ำบีโอดี กับเวลำมีควำมสัมพันธ์สูง โดยปริมำณบีโอดีในถังปฏิกิริยำจะลดลงสูงถึง ร้อยละ 41.18+3.10 และที่ปลำยท่อของเครื่องลดลงสูงถึงร้อยละ 57.14+1.53 ส่วนกำรลดลงของซีโอดี กับเวลำที่ในถัง ปฏิกิริยำและที่ปลำยท่อของเครื่องก็อยู่ในทิศทำงเดียวกันกับกรณีของบีโอดี โดยปริมำณซีโอดีในถังปฏิกิริยำจะลดลงสูงถึง ร้อยละ 52.17+2.31 และที่ปลำยท่อของเครื่องลดลงสูงถึงร้อยละ 81.16+1.20 [7] แสดงว่ำกำรใช้โอโซนบำบัดน้ำเสียทำให้ ค่ำบีโอดี และซีโอดีลดลงได้อย่ำงเร็วเพรำะโอโซนจะทำหน้ำที่สองอย่ำงพร้อมกันคือ ละลำยน้ำได้ดีกว่ำกำรใช้อำกำศ 10 เท่ำ ขณะเดียวกันก็จะกำจัดสำรอินทรีย์ที่ปนเปื้อนมำกับน้ำเสียโดยขบวนกำรออกซิเดชัน (Oxidation) [2,10] 6. เอกสำรอ้ำงอิง [1] Bollyky, L. J. 2002. Benefits of Ozone Treatment for Bottled Water. Ozone News. 31(2): 12-21. [2] Evans, F. L. 1972. Ozone in Water and Wastewater Treatment. Ann arbor Science Pub, lnc. Michigan. P.185. [3] Zhou, H. and Danial, W.2000. Ozone Mass Transfer in Water and Wastewater Treatment: Experimental Observations Using a 2D Laser Particle Dynamics Analyzer. Water Res. 34: 909-9211. [4] Ternes, T.A.1998. Occurrence of Drugs in German Sewage Treatment Plants and Rivers. Water Res. 32: 3245-3260. [5] Moris, K. 1977. Method of Sampling and Analysis, APHA Intersociety Committee. 2nd edition. American Public Health Association. Washington. [6] APHA, AWWA, WPCF. 1995. Standard Methods for Examination of Water and Wastewater: 19th edition. American Public Health Association. Washington DC. [7] Kutner, M.H., Christopher, J. and Buser, H.R. 2005. Applied Linear Statistical Models. 5th Edition (International Edition). McGraw - Hill Irwin. Boston.