SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
~ 1 ~
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร?
ความหมายของนโยบายสาธารณะ
ความหมายของคาว่า “นโยบายสาธารณะ” นั้น มีนักวิชาการหลายท่าน ได้ให้ความหมายที่แตกต่างกันไป อาทิ
(อมรศักดิ์ กิจธนานันท์, บรรยาย )
Ira Sharkansky : กิจกรรมที่กระทาโดยรัฐบาลซึ่งครอบคลุมกิจกรรมทั้งหมดของรัฐบาล
Thomas R.Dye : สิ่งที่รัฐบาลเลือกจะกระทาหรือไม่กระทา ในส่วนที่รัฐบาลเลือกกระทา จะครอบคลุมกิจกรรม
ต่างๆ ทั้งหมดของรัฐบาล ทั้งกิจกรรมที่เป็นกิจวัตรและกิจกรรมที่เกิดขึ้นในบางโอกาส
James E. Anderson : แนวทางการปฏิบัติหรือการกระทาซึ่งมีองค์ประกอบหลายประการ ได้แก่ ผู้ปฏิบัติหรือ
ผู้กระทาที่จะต้องรับผิดชอบในการแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับสังคม โดยมีจุดมุ่งหมายชัดเจนว่า สิ่งใดที่จะต้อง
กระทาให้สาเร็จ มิใช่สิ่งที่รัฐบาลเพียงแต่ตั้งใจกระทาหรือเสนอให้กระทาเท่านั้น โดยต้องจาแนกให้เห็นความ
แตกต่างที่ชัดเจนระหว่างนโยบายกับการตัดสินใจของรัฐบาล
David Easton : อานาจในการจัดสรรคุณค่า (value) ทั้งมวลในสังคม โดยผู้มีอานาจในการจัดสรร ก็คือ รัฐบาล ซึ่ง
สิ่งที่รัฐบาลตัดสินใจที่จะกระทาหรือไม่กระทาเป็นผลมาจากการจัดสรรคุณค่าในสังคม
ส่วน พีรธร บุณยรัตพันธ์ (บรรยาย) ให้ความหมายนโยบายสาธารณะ ว่าหมายถึง การที่รัฐใช้อานาจตัดสินใจ เลือก
หรือแสดงนัยที่จะกระทา หรือไม่กระทาสิ่งหนึ่งสิ่งใด ซึ่งปรากฏออกมาในรูปของแนวทาง หรือเงื่อนไข ที่นาไปสู่การ
มีปฏิสัมพันธ์ภายในและภายนอกองค์กรของรัฐ และเพื่อบรรลุเป้าหมายที่พึงประสงค์ในการอยู่ร่วมกันเป็นรัฐ
สรุปได้ว่า นโยบายสาธารณะ เป็นกิจกรรมที่รัฐบาลตัดสินใจกระทาแก่ประชาชน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประโยชน์
และความผาสุกของประชาชนเป็นส่วนใหญ่ หรือเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทั้งมวลของสังคมในด้านต่างๆ
องค์ประกอบของนโยบายสาธารณะ
องค์ประกอบนโยบายสาธารณะของแต่ละประเทศ มีองค์ประกอบที่แตกต่างกันไป ด้วยเพราะสภาพทางด้านสังคม
ภูมิศาสตร์ ประเพณีวัฒนธรรม การนับถือศาสนา สิ่งแวดล้อม และบริบท แตกต่างกัน อมรศักดิ์ กิจธนานันท์
(บรรยาย ) ได้สรุปองค์ประกอบนโยบายสาธารณะโดยรวมที่สาคัญ ไว้ 13 ประการ คือ
1.เป็นกิจกรรมที่รัฐบาลเลือกที่จะกระทาหรือไม่กระทา
2.เป็นการใช้อานาจหน้าที่ของรัฐในการจัดสรรกิจกรรมเพื่อตอบสนองคุณค่าของสังคม
3.ผู้มีอานาจในการกาหนดนโยบายสาธารณะ ได้แก่ ผู้นาทางการเมือง ฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายตุลาการ
พรรคการเมือง สถาบันราชการ ข้าราชการ และประมุขของประเทศ
4.กิจกรรมที่รัฐบาลเลือกที่จะกระทาต้องเป็นชุดของการกระทาที่มีแบบแผน ระบบ และกระบวนการอย่างชัดเจน
เป็นการกระทาที่มีการสานต่ออย่างสม่าเสมอ และต่อเนื่อง
5. กิจกรรมที่รัฐบาลเลือกที่จะกระทาต้องมีเป้าหมาย วัตถุประสงค์หรือ จุดมุ่งหมายเพื่อตอบสนองความต้องการ
ของประชาชนจานวนมาก
6.เป็นกิจกรรมที่ต้องกระทาให้ปรากฏเป็นจริง มิใช่เป็นเพียงการแสดงเจตนารมณ์หรือความตั้งใจที่จะกระทาด้วย
คาพูดเท่านั้น
7.กิจกรรมที่เลือกกระทาต้องมีผลลัพธ์ในการแก้ไขปัญหาที่สาคัญของสังคม ทั้งปัญหาความขัดแย้งหรือความ
ร่วมมือของประชาชน
8.เป็นการตัดสินที่จะกระทาเพื่อผลประโยชน์ของประชาชนจานวนมาก มิใช่การตัดสินเพื่อประโยชน์เฉพาะบุคคล
และเป็นชุดของการตัดสินใจที่เป็นระบบมิใช่เป็นการตัดสินใจแบบเอกเทศ
~ 2 ~
9.เป็นการเลือกทางเลือกที่จะกระทา โดยพิจารณาจากผลการวิเคราะห์ทางเลือกที่เหมาะสมที่สุดทั้งทางการเมือง
เศรษฐกิจ และสังคม
10. เป็นกิจกรรมที่เกิดจากการต่อรองหรือประนีประนอมระหว่างกลุ่มผลประโยชน์ที่เกี่ยวข้อง
11. เป็นกิจกรรมที่ครอบคลุมทั้งกิจกรรมภายในประเทศและระหว่างประเทศ
12. กิจกรรมที่รัฐบาลเลือกที่จะกระทาหรือไม่กระทา อาจก่อให้เกิดผลทั้งทางบวกและทางลบต่อสังคม
13. เป็นกิจกรรมที่ชอบด้วยกฎหมาย
สรุปได้ว่า องค์ประกอบที่สาคัญของนโยบายสาธารณะ คือ ต้องเป็นกิจกรรมที่รัฐบาลตัดสินใจกระทา ต้องมี
วัตถุประสงค์ เป้าหมายที่ชัดเจน ต้องมีการวางแผนการดาเนินการอย่างเป็นระบบ ต้องตอบสนองความต้องการของ
ประชาชนส่วนมาก และต้องถูกต้องตามกฎหมาย
ความสาคัญของนโยบายสาธารณะ
ความสาคัญของนโยบายสาธารณะ อมรศักดิ์ กิจธนานันท์ (บรรยาย) ได้กล่าวว่า นโยบายสาธารณะ มีความสาคัญ
ต่อผู้กาหนดนโยบาย ต่อประชาชน อีกทั้งยังเป็นเครื่องมือของรัฐบาลในการบริหารประเทศ ซึ่งพอสรุปได้ดังนี้
ความสาคัญต่อผู้กาหนดนโยบาย รัฐบาลที่สามารถกาหนดนโยบายให้สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน
และสามารถนาโยบายไปปฏิบัติจนประสบความสาเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล จะได้รับความเชื่อถือ
และความนิยมจากประชาชน ส่งผลให้รัฐบาลดังกล่าวมีโอกาสในการดารงอานาจในการบริหารประเทศยาวนานขึ้น
ความสาคัญต่อประชาชน นโยบายสาธารณะเป็นผลผลิตทางการเมืองเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน
ดังนั้นประชาชนสามารถแสดงออกซึ่งความต้องการของพวกเขาผ่านกลไกทางการเมืองต่าง ๆ เช่น ระบบราชการ
นักการเมือง ฯลฯ ความต้องการดังกล่าวจะถูกนาเข้าสู่ระบบการเมืองไปเป็นนโยบายสาธารณะ เมื่อมีการนา
นโยบายไปปฏิบัติและได้ผลตามเป้าประสงค์ ก็จะทาให้ประชาชนมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
ในด้านการเป็นเครื่องมือบริหารประเทศ สามารถสรุปได้หลายประการ อาทิ
1.เป็นเครื่องมือสาคัญในการกาหนดทิศทางการพัฒนาประเทศ
2.เป็นเครื่องมือของรัฐบาลในการตอบสนองความต้องการของประชาชน
3.เป็นเครื่องมือของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาที่สาคัญของประชาชน
4.เป็นการใช้อานาจของรัฐบาลเพื่อจัดสรรสิ่งที่มีคุณค่าทางสังคม
5.เป็นเครื่องมือของรัฐบาลในการเสริมสร้างความเป็นธรรมในสังคม
6.เป็นเครื่องมือของรัฐบาลในการเสริมสร้างความเสมอภาคในโอกาสแก่ประชาชน
7.เป็นเครื่องมือของรัฐบาลในการกระจายรายได้ให้แก่ประชาชน
8.เป็นเครื่องมือของรัฐบาลในการกระจายความเจริญไปสู่ชนบท
9.เป็นเครื่องมือของรัฐบาลในการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
10. เป็นเครื่องมือของรัฐบาลในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สรุปได้ว่าความสาคัญของนโยบายสาธารณะ ก็คือ เครื่องมือที่จะทาให้ประชาชนในประเทศมีความผาสุก และ
สามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างสมานฉันท์
~ 3 ~
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร?
อนุสรณ์ ธรรมใจ ได้กล่าวไว้ในหนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ เมื่อวันศุกร์ที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2548 ว่า การบริหาร
ประเทศเพื่อให้บรรลุเป้าหมายประโยชน์สูงสุดต่อประเทศและประชาชน จาเป็นต้องมีนโยบายสาธารณะที่ดี และ
กระบวนการจัดการนโยบายต้องมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิดผลในทางปฏิบัติ นโยบายที่ดี นโยบายที่ดีน่าจะเกิดจาก
การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนมากที่สุด เป็นแนวทางในการจัดสรรแบ่งปันทรัพยากรที่มีอยู่ในสังคมระหว่างกลุ่ม
ผลประโยชน์ และประชาชนอย่างเป็นธรรม มีประสิทธิภาพ และยึดถือคุณธรรมในการดาเนินการ นโยบายที่ดี
จะต้องเปิดกว้างให้ตอบรับและตอบสนองต่อความคิดและข้อเสนอแนะดีๆ ได้อย่างไม่มีข้อจากัด
อัจฉรา รักยุติธรรม (2548) ได้กล่าวถึง นโยบายสาธารณที่พึงปรารถนาว่า ควรมีการพัฒนาการมีส่วนร่วม ของ
ชุมชนท้องถิ่นซึ่งเป็นผู้ได้รับผลกระทบจากนโยบายต่างๆ โดยตรง แต่ปัจจุบัน พวกเขามีสิทธิมีส่วนร่วมแค่รับฟัง
การชี้แจงโครงการ หรือให้ข้อมูลบางประการเท่านั้น แต่ไม่เคยที่ได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการตัดสินใจว่าควรจะให้มี
โครงการนั้นๆ เกิดขึ้นหรือไม่ นี่เองเป็นที่มาของการต่อต้าน คัดค้าน และประท้วงกันอย่างขนานใหญ่ ไม่ว่าจะเป็น
โครงการสร้างเขื่อน โครงการโรงไฟฟ้า และโครงการพัฒนาอะไรต่อมิอะไร จนบางครั้งรุนแรงถึงกับมีการล้มเวที
ประชาพิจารณ์ ซึ่งถูกอ้างว่าเป็นเวทีเพื่อรับฟังความคิดเห็น แต่ชาวบ้านในท้องถิ่นไม่ยอมรับว่านั่นคือ กระบวนการ
มีส่วนร่วมที่แท้จริง
จากความเห็นที่กล่าวมา ประกอบกับความเห็นของผู้เขียนเอง จึงคิดว่าลักษณะของนโยบายสาธารณะที่ดีควรมี
ลักษณะดังนี้
1.ไม่ขัดแย้งต่อรัฐธรรมนูญที่ใช้ปกครองประเทศ
2.ไม่บั่นทอนความมั่นคงและผลประโยชน์ของชาติ ไม่ว่าโดยทางตรงและทางอ้อม
3.กระบวนการจัดทานโยบายต้องมีประสิทธิภาพ มีกระบวนการศึกษาปัญหาต่างๆ อย่างมีระบบ ค้นหาสาเหตุที่
แท้จริง และหาหนทางการแก้ไขที่ดีที่สุด แล้วจึงนามาออกเป็นนโยบาย
4.นโยบายสาธารณะที่ดี ควรจะเกิดจากการมีส่วนร่วมของประชาชน หน่วยงานและองค์กร ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุก
ภาคส่วน
5.นโยบายสาธารณะนั้นทาให้ประชาชนในประเทศมีความผาสุก และสามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างสมานฉันท์
ไม่ก่อให้เกิดการแตกแยกความสามัคคีของประชาชน
6.วัตถุประสงค์ของนโยบายสาธารณะนั้น ต้องยึดถือผลประโยชน์ของประชาชนจานวนมาก มิใช่การเพื่อประโยชน์
เฉพาะบุคคลกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง
¯¯¯¯¯¯¯¯¯¯
อ้างอิง
พีรธร บุณยรัตพันธุ์ (ผู้บรรยาย). (2551). สไลด์ประกอบการบรรยายวิชานโยบายสาธารณะ.พิษณุโลก : สาขาวิชารัฐศาสตร์และรัฐ
ประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
อนุสรณ์ ธรรมใจ. (2548, ธันวาคม 16). นโยบายสาธารณะเพื่อประเทศไทยที่ดีกว่า.กรุงเทพธุรกิจ.
อัจฉรา รักยุติธรรม. (2548, มิถุนายน 23). นโยบายสาธารณะที่พึงปรารถนา.กรุงเทพธุรกิจ.
อมรศักดิ์ กิจธนานันท์ (ผู้บรรยาย). (2551). สไลด์ประกอบการบรรยายวิชาแนวคิดและทฤษฎีกระบวนการนโยบายสาธารณะ.
เพชรบุรี: คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี.
~ 4 ~
วงจรนโยบายสาธารณะ (Public Policy Cycle)
องค์ประกอบของวงจรนโยบายสาธารณะ
1. การก่อตัวนโยบาย (Policy formation) เกิดอะไรขึ้นบ้าง
2. การกาหนดนโยบาย (Policy formulation) มีแนวทางอย่างไรบ้าง
3. การตัดสินนโยบาย (Policy decision) จะเลือกแนวทางใดดี
4. การนานโยบายไปปฏิบัติ (Policy implementation) จะนาแนวทางที่ได้ไปดาเนินการอย่างไร
5. การประเมินผลนโยบาย (Policy evaluation) การดาเนินการตามแนวทางได้ผลหรือไม่
1.การก่อตัวนโยบาย (Policy formation)
การศึกษาการก่อรูปนโยบายต้องเริ่มต้นด้วยการวิเคราะห์ลักษณะสภาพของปัญหาสาธารณะ
ให้ชัดเจนเพื่อให้มั่นใจว่า ปัญหาที่กาลังปรากฏอยู่นั้นเป็นปัญหาอะไร เกิดขึ้นกับคนกลุ่มใด และมี
ผลกระทบต่อสังคมอย่างไร รวมทั้งต้องการความแร่งด่วนในการแก้ไขปัญหาแค่ไหน และประชาชนใน
สังคมต้องการให้แก้ไขปัญหานั้นอย่างไร ถ้าไม่แก้ไขจะเกิดผลอย่างไร และถ้ารัฐบาลเข้าไปแก้ไขใคร
จะเป็นผู้ได้และเสียประโยชน์ ผลกระทบที่เกิดจากการแก้ไขตรงตามที่คาดหวังหรือไม่ ใครเป็น
ผู้รับผิดชอบในการนาไปปฏิบัติต้องใช้ทรัพยากรอะไรบ้างการระบุปัญหาที่ชัดเจนจะเป็นพื้นฐานในการ
กาหนดวัตถุประสงค์ในการแก้ไขปัญหาให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา
ปัญหาสาธารณะจะกลายเป็นประเด็นเชิงนโยบายหรือเข้าสู่วาระและได้รับความสนใจจากผู้
กาหนดนโยบายสาธารณะ มักจะต้องมีคุณลักษณะ
1. เกิดขึ้นตามธรรมชาติหรือเกิดขึ้นจากความรุนแรงทางการเมือง เช่น ปัญหาน้า
ท่วม ปัญหาภัยแล้ง
2. มีการแตกตัวและขยายวงกว้างออกไป เช่น ปัญหาของความเป็นเมือง
3. มีความกระเทือนต่อความรู้สึกและเป็นที่สนใจของสื่อมวลชนทั่วไป เช่น ปัญหา
อาชญากรรม ปัญหา แรงงานเด็ก
4. มีผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม เช่น ปัญหามลภาวะ
5. มีลักษณะท้าทายต่ออานาจและความชอบธรรมของรัฐ เช่น ปัญหาการแบ่งแยกดินแดง
6. เป็นเรื่องร่วมสมัย เช่น ปัญหาการจราจร ปัญหาโรคเอดส์
การกาหนดวัตถุประสงค์ของนโยบาย
~ 5 ~
เมื่อทราบลักษณะปัญหานโยบายที่ชัดเจนแล้ว จะต้องกาหนดเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ใน
การแก้ไขปัญหาให้ชัดเจน
- การกาหนดวัตถุประสงค์ของนโยบาย ทาให้ทราบถึงลาดับความสาคัญของนโยบายที่ต้อง
จัดทา และการเลือกใช้นโยบายให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ต้องการ
- วัตถุประสงค์ของนโยบายมีความสาคัญ ในฐานะที่เป็นปัจจัยกาหนดทิศทางของทางเลือก
นโยบายที่จะนาไปปฏิบัติให้ประสบผลสาเร็จ
- วัตถุประสงค์เป็นเกณฑ์ในการประเมินผลสาเร็จของนโยบาย ที่จะนาไปปฏิบัติว่าเป็น ตาม
วัตถุประสงค์ที่ได้กาหนดไว้มากน้อยเพียงใด
คุณลักษณะของวัตถุประสงค์ของนโยบาย
1.ความครอบคลุมประเด็นปัญหานโยบาย
2.ความสอดคล้องกับค่านิยมของสังคม
3.ความชัดเจนและความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ
4.ความสมเหตุสมผล
5.มีความสอดคล้องกับทรัพยากรที่จาเป็นต้องใช้
6.มีความสอดคล้องทางการเมือง
7.การกาหนดกรอบเวลาที่เหมาะสม
หมายเหตุ หรือจะจาว่าการก่อตัวนโยบาย
“ เริ่มต้นสถานการณ์ที่เกิดนโยบาย ตระหนักและระบุปัญหา กลั่นกรองปัญหา จัด
ระเบียบวาระนโยบาย กาหนดวัตถุประสงค์ ”
2. การกาหนดนโยบาย (Policy formulation)
หากพิจารณาปัญหา เพื่อนาเข้าสู่กระบวนการกาหนดนโยบายสาธารณะในกรอบการ
วิเคราะห์ “เชิงระบบ” หรือ “ทฤษฎีระบบ” ของ David Easton จะได้ปัจจัยนาเข้า ระบบ ปัจจัยนา
ออก ดังนี้
ปัจจัยนาเข้า ได้แก่ ปัญหาทั่วไป ปัญหาสังคม ประเด็นปัญหาสังคม และข้อเสนอของ
สังคม ในสภาวการณ์ที่สภาการเมืองมีบทบาทสูง ปัจจัยนาเข้าอาจมาจากการที่พรรคการเมืองต่าง ๆ
ได้นาเสนอนโยบายไว้ในการหาเสีย เช่น พรรคไทยรักไทยได้เสนอนโยบายโครงการพักชาระหนี้และ
ลดภาระหนี้ให้แก่เกษตรรายย่อยไว้ในการหาเสีย และในที่สุดก็กลายเป็นคามั่น ในการที่ต้องกาหนด
เป็นนโยบายสาธารณะ เมื่อพรรคไทยรักไทยเข้ามาเป็นรัฐบาลบริหารประเทศ
~ 6 ~
ระบบการเมือง คือ ข้อเสนอข้อรัฐบาล ซึ่งปัจจุบันรัฐบาลได้เสนอนบายต่าง ๆ
มากมาย เช่น นโยบายกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาที่ผูกกับรายได้ในอนาคต และนโยบายจัดสรร
งบประมาณตามขนาดประชากร ให้กับหมู่บ้านและชุมชน
นาออก คือ นโยบาย ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของกฎหมายต่าง ๆ คือ พระราชบัญญัติ พระราช
กฤษฎี และประกาศ คาสั่งกระทรวง เป็นต้น
ขณะเดียวกันก็จะมีการป้อนกลับสู่ระบบการเมือง โดยมีสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ สังคม
และการเมือง เป็นปัจจัยเป็นปัจจัยสาคัญที่มีส่วนกาหนดและเปลี่ยนแปลงนโยบาย ซึ่งมีทั้งปัจจัยที่
ควบคุมได้และควบคุมไม่ได้
ผู้มีบทบาทในการกาหนดนโยบายสาธารณะ
1. ฝ่ายบริหาร 2. ฝ่ายนิติบัญญัติ 3. ฝ่ายตุลาการ 4. องค์กรอิสระต่าง ๆ
หมายเหตุ หรือจะจาว่าขั้นตอนการกาหนดนโยบาย
“ การพัฒนาทางเลือก การประเมินทางเลือก การตัดสินใจทางเลือกเพื่อกาหนด
นโยบาย การประกาศใช้ ”
3. การตัดสินนโยบาย (Policy decision)
การเลือกนโยบาย หมายถึง การเลือกวิถีทางหรือแนวนโยบายที่เหมาะสมที่สุด ซึ่งสามารถ
บรรลุวัตถุประสงค์ได้ตามต้องการ อาจรวมถึงนโยบายเทคนิคและกลยุทธ์ต่าง ๆ ที่สามารถแก้ไข
ปัญหาได้เป็นอย่างดี หลักจริยธรรมหรือคุณธรรมมีความสาคัญอย่างยิ่งต่อค่านิยมที่เป็นรากฐานสาคัญ
ในการเลือกนโยบาย
การพิจารณาทางเลือกนโยบาย
- ประสิทธิผล effectiveness ความสามารถในการบรรลุเป้าหมายของทางเลือก
- ประสิทธิภาพ effeciency ความสามารถในผลิตผลผลิตโดยเปรียบเทียบจากต้นทุน
- ความพอเพียง adequacy ความสามารถของการดาเนินการให้บรรลุเป้าหมายภายใต้
เงื่อนไขของทรัพยากรที่มีอยู่
- ความเป็นธรรม equity การกระจายตัวของผลการดาเนินการตามทางเลือก
~ 7 ~
- การตอบสนอง reponsiveness ความสามารถในการเติมเต็มความต้องการของประชาชน
กลุ่มต่าง ๆ
- ความเหมาะสม appropriateness การพิจารณาเชิงคุณค่าและความเป็นไปได้ในทาง
กลยุทธ์ในการตัดสินใจเลือกนโยบาย
* การต่อรอง ปรับเป้าหมายที่ไม่สอดคล้องกันให้ยอมรับร่วมกัน โดยการ
เจรจา แลกเปลี่ยน ให้รางวัลและประนีประนอม
* การโน้มน้าว ความพยายามทาให้เชื่อหรือยอมรับ และสนับสนุนด้วยความเต็มใจ
* การสั่งการ การใช้อานาจที่เหนือกว่าในการบังคับการตัดสินใจ
* เสียงข้างมาก การอาศัยการลงมติโดยใช้ความคิดเห็นของคนส่วนใหญ่
* ฉันทามติ การยอมรับร่วมกัน โดยปราศจากข้อโต้แย้ง
4. การนานโยบายไปปฏิบัติ (Policy implementation)
ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการนานโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ
1. ฝ่ายนิติบัญญัติ 2. ฝ่ายบริหารหรือระบบราชการ 3. กลุ่มกดดัน 4. องค์กรชุมชนหรือภาค
ประชาสังคม
การนานโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ จะประสบความสาเร็จมากน้อยเพียงไรขึ้นอยู่กับปัจจัยหลาย
ประการ
- ความยากง่ายของสถานการณ์ - ปัญหาที่เผชิญอยู่
- โครงสร้างตัวบทของนโยบายสาธารณะ - โครงสร้างนอกเหนือตัวบทบาทของนโยบายสาธารณะ
กระบวนการที่เป็นปัญหาการนานโยบายไปปฏิบัติ
1. ปัญหาทางด้านสมรรถนะ : ปัจจัยบุคลากร เงินทุน เครื่องจักร วัสดุ ข้อมูล
ข่าวสาร เวลา (จากัด) เทคโนโลยี
(4MI2T) Man, Money, Machine, Material, Information, Time, Tecnology
2. ความสามารถในการควบคุม : การวัดความก้าวหน้าและผลการปฏิบัติ
3. การไม่ให้ความร่วมมือหรือต่อต้าน ทางบุคลากรในหน่วยงาน
4. การประสานงานระหว่างองค์กรรับผิดชอบกับองค์กรอื่น ๆ
5. การไม่ให้ความสนับสนุนทางผู้เกี่ยวข้อง ทั้งในด้านการเมือง เงินทุน งบประมาณ แต่
กลับสร้างอุปสรรคในแง่ของการต่อต้านหรือคัดค้านโยบาย
- กลุ่มผลประโยชน์ - กลุ่มการเมือง - ข้าราชการ - สื่อมวลชน
~ 8 ~
5.การประเมินผลนโยบาย (Policy evaluation)
เพื่อให้ทราบผลว่าการนานโยบายไปสู่การปฏิบัติเป็นไปตามเป้ าหมายหรือวัตถุประสงค์
หรือไม่ ในกรณีที่ไม่เป็นไปตามเป้ าหมายจะได้มีการปรับ แผน / แผนงาน / โครงการ ให้บรรลุเป้ า
หมายหรือวัตถุประสงค์มากขึ้นเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้รู้ว่า แผน / แผนงาน / โครงการ นั้นควรจะ
ดาเนินการต่อไปหรือยุติจุดมุ่งหมายของการประเมินผลโครงการมักจะมีคาถามอยู่ตลอดเวลาว่า
ประเมินผลเพื่ออะไร หรือ ประเมินผลไปทาไม ปฏิบัติงานตามโครงการแล้วไม่มีการประเมินผลไม่ได้
หรือ ตอบได้เลยว่าการบริหารแนวใหม่หรือการบริหารในระบบเปิ ด (OpenSystem) นั้นถือว่าการ
ประเมินผลเป็นขั้นตอนที่สาคัญมากซึ่งจุดมุ่งหมายของการประเมินผลโครงการมีดังนี้
1. เพื่อสนับสนุนหรือยกเลิก การประเมินผลจะเป็นเครื่องมือช่วยตัดสินใจว่าควรจะยกเลิก
โครงการหรือสนับสนุนให้มีการขยายผลต่อไป โดยเฉพาะการมีโครงการใหม่ ๆ ยังมิได้จัดทาในรูปของ
โครงการทดลองซึ่งมีโอกาสจะผิดพลาดหรือล้มเหลวได้ง่าย ความล้มเหลวของโครงการจึงมิใช่ความ
ล้มเหลวของผู้บริหารเสมอไปดังนั้นถ้าเราประเมินผลแล้วโครงการนั้นสาเร็จตามที่กาหนดวัตถุประสงค์
และเป้ าหมายไว้ก็ควรดาเนินการต่อไป แต่ถ้าประเมินผลแล้วโครงการนั้นมีปัญหาหรือมีผลกระทบเชิง
ลบมากกว่า เราก็ควรยกเลิกไป
2. เพื่อทราบถึงความก้าวหน้าของการปฏิบัติงานตามโครงการ ว่าเป็นไปตามที่กาหนด
วัตถุประสงค์และเป้าหมาย หรือกฎเกณฑ์ หรือมาตรฐานที่กาหนดไว้เพียงใดกลุ่มนโยบายสาธารณะ 17
3. เพื่อปรับปรุงงาน ถ้าเรานาโครงการไปปฏิบัติแล้ว พบว่าบางโครงการไม่ได้เสียทั้งหมด แต่
ก็ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ทุกข้อ เราควรนาโครงการนั้นมาปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้น โดยพิจารณา
ว่าโครงการนั้นบกพร่องในเรื่องใด เช่น ขาดความร่วมมือของประชาชน ขัดต่อค่านิยมของประชาชน
ขาดการประชาสัมพันธ์หรือสมรรถนะขององค์การที่รับผิดชอบต่า เมื่อเราทราบผลของการประเมินผล
เราก็จะได้ปรับปรุงแก้ไขให้ตรงประเด็น
4. เพื่อศึกษาทางเลือก โดยปกติในการนาโครงการไปปฏิบัตินั้น ผู้บริหารโครงการจะพยายาม
แสวงหาทางเลือกที่ดีที่สุด จากทางเลือกอย่างน้อย 2 ทางเลือก ดังนั้นการประเมินผลจะเป็นการ
เปรียบเทียบทางเลือกก่อนที่จะตัดสินใจเลือกทางเลือกใดปฏิบัติ ทั้งนี้เพื่อลดความเสี่ยงให้น้อยลง
5. เพื่อขยายผล ในการนาโครงการไปปฏิบัติ ถ้าเราไม่มีการติดตามและประเมินผลอย่าง
ต่อเนื่อง เราอาจจะไม่ทราบถึงความสาเร็จของโครงการ แต่ถ้าเราประเมินผลโครงการเป็นระยะ
สม่าเสมอ ผลปรากฏว่าโครงการนั้นบรรลุผลสาเร็จตามที่กาหนดวัตถุประสงค์ เราก็ควรจะขยายผล
โครงการนั้นต่อไป แต่การขยายผลนั้นมิได้หมายความว่าจะขยายไปได้ทุกพื้นที่ การขยายผลต้อง
~ 9 ~
คานึงถึงมิติของประชากร เวลา สถานที่ สถานการณ์ต่าง ๆปลูกพืชเมืองหนาวจะประสบความสาเร็จดีใน
พื้นที่ภาคเหนือ แต่ถ้าขยายผลไปยังภูมิภาคอื่นอาจจะไม่ได้ผลดีเสมอไป เพราะต้องคานึงถึงลักษณะภูมิ
ประเทศ ภูมิอากาศ เชื้อชาติ ค่านิยม ฯลฯ ดังนั้นสิ่งที่ต้องคานึงถึงคือ สิ่งที่นาไปในพื้นที่หนึ่งอาจได้ผลดี
แต่นาไปขยายผลในพื้นที่หนึ่งอาจไม่ได้ผล หรือ สิ่งที่เคยทาได้ผลดีในช่วงเวลาหนึ่ง อาจจะไม่ได้ผลดีใน
อีกช่วงเวลาหนึ่ง
อ้างอิงข้อมูลมาจาก
http://www.samutprakan.go.th
7 มิถุนายน 2553

More Related Content

What's hot

ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆLooktan Kp
 
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพkrupeem
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องmoohhack
 
4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัยkrupornpana55
 
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนSatapon Yosakonkun
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการบทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการSaiiew
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อKruthai Kidsdee
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงWan Wan
 
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21Prachyanun Nilsook
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptxTinnakritWarisson
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์niralai
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมthnaporn999
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001Thidarat Termphon
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘Duangnapa Inyayot
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัดตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัดNattakorn Sunkdon
 

What's hot (20)

ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษาปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
 
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย
 
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการบทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัดตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
 

Similar to ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร

Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์
Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์
Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์Patchara Patipant
 
หลักการและทฤฎีการสื่อสาร
หลักการและทฤฎีการสื่อสารหลักการและทฤฎีการสื่อสาร
หลักการและทฤฎีการสื่อสารMagicianslove Beer
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการบทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการอ๊อฟแอ๊บ รปศ
 
การมีส่วนร่วม ปชช
การมีส่วนร่วม ปชชการมีส่วนร่วม ปชช
การมีส่วนร่วม ปชชTaraya Srivilas
 
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนาSaiiew
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง daSaiiew
 
People Politic
People PoliticPeople Politic
People Politicpailinsarn
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์จตุรพล ชานันโท
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592CUPress
 
หน่วยที่ ๑ สังคมไทย ปวสใหม่
หน่วยที่  ๑ สังคมไทย ปวสใหม่หน่วยที่  ๑ สังคมไทย ปวสใหม่
หน่วยที่ ๑ สังคมไทย ปวสใหม่Sansanee Tooksoon
 
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”นู๋หนึ่ง nooneung
 
ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ
ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ
ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ weeraboon wisartsakul
 
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณweeraboon wisartsakul
 
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณweeraboon wisartsakul
 
Chapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningChapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningTeetut Tresirichod
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนthanathip
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240CUPress
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240CUPress
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240CUPress
 

Similar to ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร (20)

Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์
Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์
Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์
 
หลักการและทฤฎีการสื่อสาร
หลักการและทฤฎีการสื่อสารหลักการและทฤฎีการสื่อสาร
หลักการและทฤฎีการสื่อสาร
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการบทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
 
การมีส่วนร่วม ปชช
การมีส่วนร่วม ปชชการมีส่วนร่วม ปชช
การมีส่วนร่วม ปชช
 
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
 
People Politic
People PoliticPeople Politic
People Politic
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592
 
หน่วยที่ ๑ สังคมไทย ปวสใหม่
หน่วยที่  ๑ สังคมไทย ปวสใหม่หน่วยที่  ๑ สังคมไทย ปวสใหม่
หน่วยที่ ๑ สังคมไทย ปวสใหม่
 
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
 
ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ
ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ
ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ
 
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
 
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
 
Chapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningChapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planning
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240
 

More from ประพันธ์ เวารัมย์

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่นแนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่นประพันธ์ เวารัมย์
 
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...ประพันธ์ เวารัมย์
 
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ชุดที่ 2
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น  ชุดที่ 2แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น  ชุดที่ 2
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ชุดที่ 2ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยประพันธ์ เวารัมย์
 
สรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชน
สรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชนสรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชน
สรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชนประพันธ์ เวารัมย์
 
ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...
ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...
ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...ประพันธ์ เวารัมย์
 
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยประพันธ์ เวารัมย์
 
หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น
หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น
หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...
แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...
แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...ประพันธ์ เวารัมย์
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)
แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)
แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)ประพันธ์ เวารัมย์
 

More from ประพันธ์ เวารัมย์ (20)

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่นแนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่น
 
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...
 
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
 
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ชุดที่ 2
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น  ชุดที่ 2แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น  ชุดที่ 2
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ชุดที่ 2
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
 
สรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชน
สรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชนสรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชน
สรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชน
 
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณแนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
 
ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...
ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...
ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...
 
แนวข้อสอบท้องถิ่น 407 ข้อ
แนวข้อสอบท้องถิ่น 407 ข้อแนวข้อสอบท้องถิ่น 407 ข้อ
แนวข้อสอบท้องถิ่น 407 ข้อ
 
แนวข้อสอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบท้องถิ่นแนวข้อสอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบท้องถิ่น
 
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
 
หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น
หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น
หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น
 
แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...
แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...
แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
 
แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)
แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)
แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)
 

ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร

  • 1. ~ 1 ~ ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร? ความหมายของนโยบายสาธารณะ ความหมายของคาว่า “นโยบายสาธารณะ” นั้น มีนักวิชาการหลายท่าน ได้ให้ความหมายที่แตกต่างกันไป อาทิ (อมรศักดิ์ กิจธนานันท์, บรรยาย ) Ira Sharkansky : กิจกรรมที่กระทาโดยรัฐบาลซึ่งครอบคลุมกิจกรรมทั้งหมดของรัฐบาล Thomas R.Dye : สิ่งที่รัฐบาลเลือกจะกระทาหรือไม่กระทา ในส่วนที่รัฐบาลเลือกกระทา จะครอบคลุมกิจกรรม ต่างๆ ทั้งหมดของรัฐบาล ทั้งกิจกรรมที่เป็นกิจวัตรและกิจกรรมที่เกิดขึ้นในบางโอกาส James E. Anderson : แนวทางการปฏิบัติหรือการกระทาซึ่งมีองค์ประกอบหลายประการ ได้แก่ ผู้ปฏิบัติหรือ ผู้กระทาที่จะต้องรับผิดชอบในการแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับสังคม โดยมีจุดมุ่งหมายชัดเจนว่า สิ่งใดที่จะต้อง กระทาให้สาเร็จ มิใช่สิ่งที่รัฐบาลเพียงแต่ตั้งใจกระทาหรือเสนอให้กระทาเท่านั้น โดยต้องจาแนกให้เห็นความ แตกต่างที่ชัดเจนระหว่างนโยบายกับการตัดสินใจของรัฐบาล David Easton : อานาจในการจัดสรรคุณค่า (value) ทั้งมวลในสังคม โดยผู้มีอานาจในการจัดสรร ก็คือ รัฐบาล ซึ่ง สิ่งที่รัฐบาลตัดสินใจที่จะกระทาหรือไม่กระทาเป็นผลมาจากการจัดสรรคุณค่าในสังคม ส่วน พีรธร บุณยรัตพันธ์ (บรรยาย) ให้ความหมายนโยบายสาธารณะ ว่าหมายถึง การที่รัฐใช้อานาจตัดสินใจ เลือก หรือแสดงนัยที่จะกระทา หรือไม่กระทาสิ่งหนึ่งสิ่งใด ซึ่งปรากฏออกมาในรูปของแนวทาง หรือเงื่อนไข ที่นาไปสู่การ มีปฏิสัมพันธ์ภายในและภายนอกองค์กรของรัฐ และเพื่อบรรลุเป้าหมายที่พึงประสงค์ในการอยู่ร่วมกันเป็นรัฐ สรุปได้ว่า นโยบายสาธารณะ เป็นกิจกรรมที่รัฐบาลตัดสินใจกระทาแก่ประชาชน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประโยชน์ และความผาสุกของประชาชนเป็นส่วนใหญ่ หรือเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทั้งมวลของสังคมในด้านต่างๆ องค์ประกอบของนโยบายสาธารณะ องค์ประกอบนโยบายสาธารณะของแต่ละประเทศ มีองค์ประกอบที่แตกต่างกันไป ด้วยเพราะสภาพทางด้านสังคม ภูมิศาสตร์ ประเพณีวัฒนธรรม การนับถือศาสนา สิ่งแวดล้อม และบริบท แตกต่างกัน อมรศักดิ์ กิจธนานันท์ (บรรยาย ) ได้สรุปองค์ประกอบนโยบายสาธารณะโดยรวมที่สาคัญ ไว้ 13 ประการ คือ 1.เป็นกิจกรรมที่รัฐบาลเลือกที่จะกระทาหรือไม่กระทา 2.เป็นการใช้อานาจหน้าที่ของรัฐในการจัดสรรกิจกรรมเพื่อตอบสนองคุณค่าของสังคม 3.ผู้มีอานาจในการกาหนดนโยบายสาธารณะ ได้แก่ ผู้นาทางการเมือง ฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายตุลาการ พรรคการเมือง สถาบันราชการ ข้าราชการ และประมุขของประเทศ 4.กิจกรรมที่รัฐบาลเลือกที่จะกระทาต้องเป็นชุดของการกระทาที่มีแบบแผน ระบบ และกระบวนการอย่างชัดเจน เป็นการกระทาที่มีการสานต่ออย่างสม่าเสมอ และต่อเนื่อง 5. กิจกรรมที่รัฐบาลเลือกที่จะกระทาต้องมีเป้าหมาย วัตถุประสงค์หรือ จุดมุ่งหมายเพื่อตอบสนองความต้องการ ของประชาชนจานวนมาก 6.เป็นกิจกรรมที่ต้องกระทาให้ปรากฏเป็นจริง มิใช่เป็นเพียงการแสดงเจตนารมณ์หรือความตั้งใจที่จะกระทาด้วย คาพูดเท่านั้น 7.กิจกรรมที่เลือกกระทาต้องมีผลลัพธ์ในการแก้ไขปัญหาที่สาคัญของสังคม ทั้งปัญหาความขัดแย้งหรือความ ร่วมมือของประชาชน 8.เป็นการตัดสินที่จะกระทาเพื่อผลประโยชน์ของประชาชนจานวนมาก มิใช่การตัดสินเพื่อประโยชน์เฉพาะบุคคล และเป็นชุดของการตัดสินใจที่เป็นระบบมิใช่เป็นการตัดสินใจแบบเอกเทศ
  • 2. ~ 2 ~ 9.เป็นการเลือกทางเลือกที่จะกระทา โดยพิจารณาจากผลการวิเคราะห์ทางเลือกที่เหมาะสมที่สุดทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม 10. เป็นกิจกรรมที่เกิดจากการต่อรองหรือประนีประนอมระหว่างกลุ่มผลประโยชน์ที่เกี่ยวข้อง 11. เป็นกิจกรรมที่ครอบคลุมทั้งกิจกรรมภายในประเทศและระหว่างประเทศ 12. กิจกรรมที่รัฐบาลเลือกที่จะกระทาหรือไม่กระทา อาจก่อให้เกิดผลทั้งทางบวกและทางลบต่อสังคม 13. เป็นกิจกรรมที่ชอบด้วยกฎหมาย สรุปได้ว่า องค์ประกอบที่สาคัญของนโยบายสาธารณะ คือ ต้องเป็นกิจกรรมที่รัฐบาลตัดสินใจกระทา ต้องมี วัตถุประสงค์ เป้าหมายที่ชัดเจน ต้องมีการวางแผนการดาเนินการอย่างเป็นระบบ ต้องตอบสนองความต้องการของ ประชาชนส่วนมาก และต้องถูกต้องตามกฎหมาย ความสาคัญของนโยบายสาธารณะ ความสาคัญของนโยบายสาธารณะ อมรศักดิ์ กิจธนานันท์ (บรรยาย) ได้กล่าวว่า นโยบายสาธารณะ มีความสาคัญ ต่อผู้กาหนดนโยบาย ต่อประชาชน อีกทั้งยังเป็นเครื่องมือของรัฐบาลในการบริหารประเทศ ซึ่งพอสรุปได้ดังนี้ ความสาคัญต่อผู้กาหนดนโยบาย รัฐบาลที่สามารถกาหนดนโยบายให้สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน และสามารถนาโยบายไปปฏิบัติจนประสบความสาเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล จะได้รับความเชื่อถือ และความนิยมจากประชาชน ส่งผลให้รัฐบาลดังกล่าวมีโอกาสในการดารงอานาจในการบริหารประเทศยาวนานขึ้น ความสาคัญต่อประชาชน นโยบายสาธารณะเป็นผลผลิตทางการเมืองเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน ดังนั้นประชาชนสามารถแสดงออกซึ่งความต้องการของพวกเขาผ่านกลไกทางการเมืองต่าง ๆ เช่น ระบบราชการ นักการเมือง ฯลฯ ความต้องการดังกล่าวจะถูกนาเข้าสู่ระบบการเมืองไปเป็นนโยบายสาธารณะ เมื่อมีการนา นโยบายไปปฏิบัติและได้ผลตามเป้าประสงค์ ก็จะทาให้ประชาชนมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ในด้านการเป็นเครื่องมือบริหารประเทศ สามารถสรุปได้หลายประการ อาทิ 1.เป็นเครื่องมือสาคัญในการกาหนดทิศทางการพัฒนาประเทศ 2.เป็นเครื่องมือของรัฐบาลในการตอบสนองความต้องการของประชาชน 3.เป็นเครื่องมือของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาที่สาคัญของประชาชน 4.เป็นการใช้อานาจของรัฐบาลเพื่อจัดสรรสิ่งที่มีคุณค่าทางสังคม 5.เป็นเครื่องมือของรัฐบาลในการเสริมสร้างความเป็นธรรมในสังคม 6.เป็นเครื่องมือของรัฐบาลในการเสริมสร้างความเสมอภาคในโอกาสแก่ประชาชน 7.เป็นเครื่องมือของรัฐบาลในการกระจายรายได้ให้แก่ประชาชน 8.เป็นเครื่องมือของรัฐบาลในการกระจายความเจริญไปสู่ชนบท 9.เป็นเครื่องมือของรัฐบาลในการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 10. เป็นเครื่องมือของรัฐบาลในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม สรุปได้ว่าความสาคัญของนโยบายสาธารณะ ก็คือ เครื่องมือที่จะทาให้ประชาชนในประเทศมีความผาสุก และ สามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างสมานฉันท์
  • 3. ~ 3 ~ ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร? อนุสรณ์ ธรรมใจ ได้กล่าวไว้ในหนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ เมื่อวันศุกร์ที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2548 ว่า การบริหาร ประเทศเพื่อให้บรรลุเป้าหมายประโยชน์สูงสุดต่อประเทศและประชาชน จาเป็นต้องมีนโยบายสาธารณะที่ดี และ กระบวนการจัดการนโยบายต้องมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิดผลในทางปฏิบัติ นโยบายที่ดี นโยบายที่ดีน่าจะเกิดจาก การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนมากที่สุด เป็นแนวทางในการจัดสรรแบ่งปันทรัพยากรที่มีอยู่ในสังคมระหว่างกลุ่ม ผลประโยชน์ และประชาชนอย่างเป็นธรรม มีประสิทธิภาพ และยึดถือคุณธรรมในการดาเนินการ นโยบายที่ดี จะต้องเปิดกว้างให้ตอบรับและตอบสนองต่อความคิดและข้อเสนอแนะดีๆ ได้อย่างไม่มีข้อจากัด อัจฉรา รักยุติธรรม (2548) ได้กล่าวถึง นโยบายสาธารณที่พึงปรารถนาว่า ควรมีการพัฒนาการมีส่วนร่วม ของ ชุมชนท้องถิ่นซึ่งเป็นผู้ได้รับผลกระทบจากนโยบายต่างๆ โดยตรง แต่ปัจจุบัน พวกเขามีสิทธิมีส่วนร่วมแค่รับฟัง การชี้แจงโครงการ หรือให้ข้อมูลบางประการเท่านั้น แต่ไม่เคยที่ได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการตัดสินใจว่าควรจะให้มี โครงการนั้นๆ เกิดขึ้นหรือไม่ นี่เองเป็นที่มาของการต่อต้าน คัดค้าน และประท้วงกันอย่างขนานใหญ่ ไม่ว่าจะเป็น โครงการสร้างเขื่อน โครงการโรงไฟฟ้า และโครงการพัฒนาอะไรต่อมิอะไร จนบางครั้งรุนแรงถึงกับมีการล้มเวที ประชาพิจารณ์ ซึ่งถูกอ้างว่าเป็นเวทีเพื่อรับฟังความคิดเห็น แต่ชาวบ้านในท้องถิ่นไม่ยอมรับว่านั่นคือ กระบวนการ มีส่วนร่วมที่แท้จริง จากความเห็นที่กล่าวมา ประกอบกับความเห็นของผู้เขียนเอง จึงคิดว่าลักษณะของนโยบายสาธารณะที่ดีควรมี ลักษณะดังนี้ 1.ไม่ขัดแย้งต่อรัฐธรรมนูญที่ใช้ปกครองประเทศ 2.ไม่บั่นทอนความมั่นคงและผลประโยชน์ของชาติ ไม่ว่าโดยทางตรงและทางอ้อม 3.กระบวนการจัดทานโยบายต้องมีประสิทธิภาพ มีกระบวนการศึกษาปัญหาต่างๆ อย่างมีระบบ ค้นหาสาเหตุที่ แท้จริง และหาหนทางการแก้ไขที่ดีที่สุด แล้วจึงนามาออกเป็นนโยบาย 4.นโยบายสาธารณะที่ดี ควรจะเกิดจากการมีส่วนร่วมของประชาชน หน่วยงานและองค์กร ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุก ภาคส่วน 5.นโยบายสาธารณะนั้นทาให้ประชาชนในประเทศมีความผาสุก และสามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างสมานฉันท์ ไม่ก่อให้เกิดการแตกแยกความสามัคคีของประชาชน 6.วัตถุประสงค์ของนโยบายสาธารณะนั้น ต้องยึดถือผลประโยชน์ของประชาชนจานวนมาก มิใช่การเพื่อประโยชน์ เฉพาะบุคคลกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ¯¯¯¯¯¯¯¯¯¯ อ้างอิง พีรธร บุณยรัตพันธุ์ (ผู้บรรยาย). (2551). สไลด์ประกอบการบรรยายวิชานโยบายสาธารณะ.พิษณุโลก : สาขาวิชารัฐศาสตร์และรัฐ ประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. อนุสรณ์ ธรรมใจ. (2548, ธันวาคม 16). นโยบายสาธารณะเพื่อประเทศไทยที่ดีกว่า.กรุงเทพธุรกิจ. อัจฉรา รักยุติธรรม. (2548, มิถุนายน 23). นโยบายสาธารณะที่พึงปรารถนา.กรุงเทพธุรกิจ. อมรศักดิ์ กิจธนานันท์ (ผู้บรรยาย). (2551). สไลด์ประกอบการบรรยายวิชาแนวคิดและทฤษฎีกระบวนการนโยบายสาธารณะ. เพชรบุรี: คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี.
  • 4. ~ 4 ~ วงจรนโยบายสาธารณะ (Public Policy Cycle) องค์ประกอบของวงจรนโยบายสาธารณะ 1. การก่อตัวนโยบาย (Policy formation) เกิดอะไรขึ้นบ้าง 2. การกาหนดนโยบาย (Policy formulation) มีแนวทางอย่างไรบ้าง 3. การตัดสินนโยบาย (Policy decision) จะเลือกแนวทางใดดี 4. การนานโยบายไปปฏิบัติ (Policy implementation) จะนาแนวทางที่ได้ไปดาเนินการอย่างไร 5. การประเมินผลนโยบาย (Policy evaluation) การดาเนินการตามแนวทางได้ผลหรือไม่ 1.การก่อตัวนโยบาย (Policy formation) การศึกษาการก่อรูปนโยบายต้องเริ่มต้นด้วยการวิเคราะห์ลักษณะสภาพของปัญหาสาธารณะ ให้ชัดเจนเพื่อให้มั่นใจว่า ปัญหาที่กาลังปรากฏอยู่นั้นเป็นปัญหาอะไร เกิดขึ้นกับคนกลุ่มใด และมี ผลกระทบต่อสังคมอย่างไร รวมทั้งต้องการความแร่งด่วนในการแก้ไขปัญหาแค่ไหน และประชาชนใน สังคมต้องการให้แก้ไขปัญหานั้นอย่างไร ถ้าไม่แก้ไขจะเกิดผลอย่างไร และถ้ารัฐบาลเข้าไปแก้ไขใคร จะเป็นผู้ได้และเสียประโยชน์ ผลกระทบที่เกิดจากการแก้ไขตรงตามที่คาดหวังหรือไม่ ใครเป็น ผู้รับผิดชอบในการนาไปปฏิบัติต้องใช้ทรัพยากรอะไรบ้างการระบุปัญหาที่ชัดเจนจะเป็นพื้นฐานในการ กาหนดวัตถุประสงค์ในการแก้ไขปัญหาให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ปัญหาสาธารณะจะกลายเป็นประเด็นเชิงนโยบายหรือเข้าสู่วาระและได้รับความสนใจจากผู้ กาหนดนโยบายสาธารณะ มักจะต้องมีคุณลักษณะ 1. เกิดขึ้นตามธรรมชาติหรือเกิดขึ้นจากความรุนแรงทางการเมือง เช่น ปัญหาน้า ท่วม ปัญหาภัยแล้ง 2. มีการแตกตัวและขยายวงกว้างออกไป เช่น ปัญหาของความเป็นเมือง 3. มีความกระเทือนต่อความรู้สึกและเป็นที่สนใจของสื่อมวลชนทั่วไป เช่น ปัญหา อาชญากรรม ปัญหา แรงงานเด็ก 4. มีผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม เช่น ปัญหามลภาวะ 5. มีลักษณะท้าทายต่ออานาจและความชอบธรรมของรัฐ เช่น ปัญหาการแบ่งแยกดินแดง 6. เป็นเรื่องร่วมสมัย เช่น ปัญหาการจราจร ปัญหาโรคเอดส์ การกาหนดวัตถุประสงค์ของนโยบาย
  • 5. ~ 5 ~ เมื่อทราบลักษณะปัญหานโยบายที่ชัดเจนแล้ว จะต้องกาหนดเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ใน การแก้ไขปัญหาให้ชัดเจน - การกาหนดวัตถุประสงค์ของนโยบาย ทาให้ทราบถึงลาดับความสาคัญของนโยบายที่ต้อง จัดทา และการเลือกใช้นโยบายให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ต้องการ - วัตถุประสงค์ของนโยบายมีความสาคัญ ในฐานะที่เป็นปัจจัยกาหนดทิศทางของทางเลือก นโยบายที่จะนาไปปฏิบัติให้ประสบผลสาเร็จ - วัตถุประสงค์เป็นเกณฑ์ในการประเมินผลสาเร็จของนโยบาย ที่จะนาไปปฏิบัติว่าเป็น ตาม วัตถุประสงค์ที่ได้กาหนดไว้มากน้อยเพียงใด คุณลักษณะของวัตถุประสงค์ของนโยบาย 1.ความครอบคลุมประเด็นปัญหานโยบาย 2.ความสอดคล้องกับค่านิยมของสังคม 3.ความชัดเจนและความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ 4.ความสมเหตุสมผล 5.มีความสอดคล้องกับทรัพยากรที่จาเป็นต้องใช้ 6.มีความสอดคล้องทางการเมือง 7.การกาหนดกรอบเวลาที่เหมาะสม หมายเหตุ หรือจะจาว่าการก่อตัวนโยบาย “ เริ่มต้นสถานการณ์ที่เกิดนโยบาย ตระหนักและระบุปัญหา กลั่นกรองปัญหา จัด ระเบียบวาระนโยบาย กาหนดวัตถุประสงค์ ” 2. การกาหนดนโยบาย (Policy formulation) หากพิจารณาปัญหา เพื่อนาเข้าสู่กระบวนการกาหนดนโยบายสาธารณะในกรอบการ วิเคราะห์ “เชิงระบบ” หรือ “ทฤษฎีระบบ” ของ David Easton จะได้ปัจจัยนาเข้า ระบบ ปัจจัยนา ออก ดังนี้ ปัจจัยนาเข้า ได้แก่ ปัญหาทั่วไป ปัญหาสังคม ประเด็นปัญหาสังคม และข้อเสนอของ สังคม ในสภาวการณ์ที่สภาการเมืองมีบทบาทสูง ปัจจัยนาเข้าอาจมาจากการที่พรรคการเมืองต่าง ๆ ได้นาเสนอนโยบายไว้ในการหาเสีย เช่น พรรคไทยรักไทยได้เสนอนโยบายโครงการพักชาระหนี้และ ลดภาระหนี้ให้แก่เกษตรรายย่อยไว้ในการหาเสีย และในที่สุดก็กลายเป็นคามั่น ในการที่ต้องกาหนด เป็นนโยบายสาธารณะ เมื่อพรรคไทยรักไทยเข้ามาเป็นรัฐบาลบริหารประเทศ
  • 6. ~ 6 ~ ระบบการเมือง คือ ข้อเสนอข้อรัฐบาล ซึ่งปัจจุบันรัฐบาลได้เสนอนบายต่าง ๆ มากมาย เช่น นโยบายกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาที่ผูกกับรายได้ในอนาคต และนโยบายจัดสรร งบประมาณตามขนาดประชากร ให้กับหมู่บ้านและชุมชน นาออก คือ นโยบาย ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของกฎหมายต่าง ๆ คือ พระราชบัญญัติ พระราช กฤษฎี และประกาศ คาสั่งกระทรวง เป็นต้น ขณะเดียวกันก็จะมีการป้อนกลับสู่ระบบการเมือง โดยมีสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง เป็นปัจจัยเป็นปัจจัยสาคัญที่มีส่วนกาหนดและเปลี่ยนแปลงนโยบาย ซึ่งมีทั้งปัจจัยที่ ควบคุมได้และควบคุมไม่ได้ ผู้มีบทบาทในการกาหนดนโยบายสาธารณะ 1. ฝ่ายบริหาร 2. ฝ่ายนิติบัญญัติ 3. ฝ่ายตุลาการ 4. องค์กรอิสระต่าง ๆ หมายเหตุ หรือจะจาว่าขั้นตอนการกาหนดนโยบาย “ การพัฒนาทางเลือก การประเมินทางเลือก การตัดสินใจทางเลือกเพื่อกาหนด นโยบาย การประกาศใช้ ” 3. การตัดสินนโยบาย (Policy decision) การเลือกนโยบาย หมายถึง การเลือกวิถีทางหรือแนวนโยบายที่เหมาะสมที่สุด ซึ่งสามารถ บรรลุวัตถุประสงค์ได้ตามต้องการ อาจรวมถึงนโยบายเทคนิคและกลยุทธ์ต่าง ๆ ที่สามารถแก้ไข ปัญหาได้เป็นอย่างดี หลักจริยธรรมหรือคุณธรรมมีความสาคัญอย่างยิ่งต่อค่านิยมที่เป็นรากฐานสาคัญ ในการเลือกนโยบาย การพิจารณาทางเลือกนโยบาย - ประสิทธิผล effectiveness ความสามารถในการบรรลุเป้าหมายของทางเลือก - ประสิทธิภาพ effeciency ความสามารถในผลิตผลผลิตโดยเปรียบเทียบจากต้นทุน - ความพอเพียง adequacy ความสามารถของการดาเนินการให้บรรลุเป้าหมายภายใต้ เงื่อนไขของทรัพยากรที่มีอยู่ - ความเป็นธรรม equity การกระจายตัวของผลการดาเนินการตามทางเลือก
  • 7. ~ 7 ~ - การตอบสนอง reponsiveness ความสามารถในการเติมเต็มความต้องการของประชาชน กลุ่มต่าง ๆ - ความเหมาะสม appropriateness การพิจารณาเชิงคุณค่าและความเป็นไปได้ในทาง กลยุทธ์ในการตัดสินใจเลือกนโยบาย * การต่อรอง ปรับเป้าหมายที่ไม่สอดคล้องกันให้ยอมรับร่วมกัน โดยการ เจรจา แลกเปลี่ยน ให้รางวัลและประนีประนอม * การโน้มน้าว ความพยายามทาให้เชื่อหรือยอมรับ และสนับสนุนด้วยความเต็มใจ * การสั่งการ การใช้อานาจที่เหนือกว่าในการบังคับการตัดสินใจ * เสียงข้างมาก การอาศัยการลงมติโดยใช้ความคิดเห็นของคนส่วนใหญ่ * ฉันทามติ การยอมรับร่วมกัน โดยปราศจากข้อโต้แย้ง 4. การนานโยบายไปปฏิบัติ (Policy implementation) ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการนานโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ 1. ฝ่ายนิติบัญญัติ 2. ฝ่ายบริหารหรือระบบราชการ 3. กลุ่มกดดัน 4. องค์กรชุมชนหรือภาค ประชาสังคม การนานโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ จะประสบความสาเร็จมากน้อยเพียงไรขึ้นอยู่กับปัจจัยหลาย ประการ - ความยากง่ายของสถานการณ์ - ปัญหาที่เผชิญอยู่ - โครงสร้างตัวบทของนโยบายสาธารณะ - โครงสร้างนอกเหนือตัวบทบาทของนโยบายสาธารณะ กระบวนการที่เป็นปัญหาการนานโยบายไปปฏิบัติ 1. ปัญหาทางด้านสมรรถนะ : ปัจจัยบุคลากร เงินทุน เครื่องจักร วัสดุ ข้อมูล ข่าวสาร เวลา (จากัด) เทคโนโลยี (4MI2T) Man, Money, Machine, Material, Information, Time, Tecnology 2. ความสามารถในการควบคุม : การวัดความก้าวหน้าและผลการปฏิบัติ 3. การไม่ให้ความร่วมมือหรือต่อต้าน ทางบุคลากรในหน่วยงาน 4. การประสานงานระหว่างองค์กรรับผิดชอบกับองค์กรอื่น ๆ 5. การไม่ให้ความสนับสนุนทางผู้เกี่ยวข้อง ทั้งในด้านการเมือง เงินทุน งบประมาณ แต่ กลับสร้างอุปสรรคในแง่ของการต่อต้านหรือคัดค้านโยบาย - กลุ่มผลประโยชน์ - กลุ่มการเมือง - ข้าราชการ - สื่อมวลชน
  • 8. ~ 8 ~ 5.การประเมินผลนโยบาย (Policy evaluation) เพื่อให้ทราบผลว่าการนานโยบายไปสู่การปฏิบัติเป็นไปตามเป้ าหมายหรือวัตถุประสงค์ หรือไม่ ในกรณีที่ไม่เป็นไปตามเป้ าหมายจะได้มีการปรับ แผน / แผนงาน / โครงการ ให้บรรลุเป้ า หมายหรือวัตถุประสงค์มากขึ้นเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้รู้ว่า แผน / แผนงาน / โครงการ นั้นควรจะ ดาเนินการต่อไปหรือยุติจุดมุ่งหมายของการประเมินผลโครงการมักจะมีคาถามอยู่ตลอดเวลาว่า ประเมินผลเพื่ออะไร หรือ ประเมินผลไปทาไม ปฏิบัติงานตามโครงการแล้วไม่มีการประเมินผลไม่ได้ หรือ ตอบได้เลยว่าการบริหารแนวใหม่หรือการบริหารในระบบเปิ ด (OpenSystem) นั้นถือว่าการ ประเมินผลเป็นขั้นตอนที่สาคัญมากซึ่งจุดมุ่งหมายของการประเมินผลโครงการมีดังนี้ 1. เพื่อสนับสนุนหรือยกเลิก การประเมินผลจะเป็นเครื่องมือช่วยตัดสินใจว่าควรจะยกเลิก โครงการหรือสนับสนุนให้มีการขยายผลต่อไป โดยเฉพาะการมีโครงการใหม่ ๆ ยังมิได้จัดทาในรูปของ โครงการทดลองซึ่งมีโอกาสจะผิดพลาดหรือล้มเหลวได้ง่าย ความล้มเหลวของโครงการจึงมิใช่ความ ล้มเหลวของผู้บริหารเสมอไปดังนั้นถ้าเราประเมินผลแล้วโครงการนั้นสาเร็จตามที่กาหนดวัตถุประสงค์ และเป้ าหมายไว้ก็ควรดาเนินการต่อไป แต่ถ้าประเมินผลแล้วโครงการนั้นมีปัญหาหรือมีผลกระทบเชิง ลบมากกว่า เราก็ควรยกเลิกไป 2. เพื่อทราบถึงความก้าวหน้าของการปฏิบัติงานตามโครงการ ว่าเป็นไปตามที่กาหนด วัตถุประสงค์และเป้าหมาย หรือกฎเกณฑ์ หรือมาตรฐานที่กาหนดไว้เพียงใดกลุ่มนโยบายสาธารณะ 17 3. เพื่อปรับปรุงงาน ถ้าเรานาโครงการไปปฏิบัติแล้ว พบว่าบางโครงการไม่ได้เสียทั้งหมด แต่ ก็ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ทุกข้อ เราควรนาโครงการนั้นมาปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้น โดยพิจารณา ว่าโครงการนั้นบกพร่องในเรื่องใด เช่น ขาดความร่วมมือของประชาชน ขัดต่อค่านิยมของประชาชน ขาดการประชาสัมพันธ์หรือสมรรถนะขององค์การที่รับผิดชอบต่า เมื่อเราทราบผลของการประเมินผล เราก็จะได้ปรับปรุงแก้ไขให้ตรงประเด็น 4. เพื่อศึกษาทางเลือก โดยปกติในการนาโครงการไปปฏิบัตินั้น ผู้บริหารโครงการจะพยายาม แสวงหาทางเลือกที่ดีที่สุด จากทางเลือกอย่างน้อย 2 ทางเลือก ดังนั้นการประเมินผลจะเป็นการ เปรียบเทียบทางเลือกก่อนที่จะตัดสินใจเลือกทางเลือกใดปฏิบัติ ทั้งนี้เพื่อลดความเสี่ยงให้น้อยลง 5. เพื่อขยายผล ในการนาโครงการไปปฏิบัติ ถ้าเราไม่มีการติดตามและประเมินผลอย่าง ต่อเนื่อง เราอาจจะไม่ทราบถึงความสาเร็จของโครงการ แต่ถ้าเราประเมินผลโครงการเป็นระยะ สม่าเสมอ ผลปรากฏว่าโครงการนั้นบรรลุผลสาเร็จตามที่กาหนดวัตถุประสงค์ เราก็ควรจะขยายผล โครงการนั้นต่อไป แต่การขยายผลนั้นมิได้หมายความว่าจะขยายไปได้ทุกพื้นที่ การขยายผลต้อง
  • 9. ~ 9 ~ คานึงถึงมิติของประชากร เวลา สถานที่ สถานการณ์ต่าง ๆปลูกพืชเมืองหนาวจะประสบความสาเร็จดีใน พื้นที่ภาคเหนือ แต่ถ้าขยายผลไปยังภูมิภาคอื่นอาจจะไม่ได้ผลดีเสมอไป เพราะต้องคานึงถึงลักษณะภูมิ ประเทศ ภูมิอากาศ เชื้อชาติ ค่านิยม ฯลฯ ดังนั้นสิ่งที่ต้องคานึงถึงคือ สิ่งที่นาไปในพื้นที่หนึ่งอาจได้ผลดี แต่นาไปขยายผลในพื้นที่หนึ่งอาจไม่ได้ผล หรือ สิ่งที่เคยทาได้ผลดีในช่วงเวลาหนึ่ง อาจจะไม่ได้ผลดีใน อีกช่วงเวลาหนึ่ง อ้างอิงข้อมูลมาจาก http://www.samutprakan.go.th 7 มิถุนายน 2553