SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
Download to read offline
พุทธภาวนาวิธี
อนุสสติ 10
2
การพัฒนาตน
4
5
อนุสติ แปลว่า ตามระลึกถึง หมายถึง
ตามระลึกถึงคุณของบุคคล คุณแห่งธรรมะ
เพื่อประคองจิตไม่ให้ฟุ้งซ่านไปในอารมณ์
อื่นโดยเฉพาะอารมณ์ชั่วร้ายอื่นๆ
๑.
พุทธานุสสติ
คือ การระลึกถึง
คุณของ
พระพุทธเจ้า
พุทธานุสสติ
คือ การระลึกถึงคุณของพระพุทธเจ้า
กรรมฐาน กองนี้ท่านสอนให้ระลึกถึงคุณความดีของ
พระพุทธเจ้า การระลึกถึงความดีของพระพุทธเจ้า ระลึกได้ไม่
จํากัดว่าจะต้องระลึกตามแบบของท่านผู้นั้นผู้นั้นที่สอนไว้โดย
จํากัด เพราะพระพุทธคุณ คือคุณความดีของพระพุทธเจ้านั้นมี
มากมาย แล้วแต่บางท่านจะระลึกโดยใช้ว่า"พุทโธ" หรือ
"สัมมาอรหัง" "อิติสุคโต" ต่าง ๆ ดังนี้เป็นต้น แล้วแต่ท่านจะ
ถนัดหรือสะดวก ไม่มีกําหนดกฎเกณฑ์ใด ๆ ทั้งสิ้น
คุณของพระพุทธเจ้ามี ๙ประการคือ
๑. อรหํเป็นพระอรหันต์
๒. สมฺมาสมฺพุทโธ ตรัสรู้เองโดยชอบ
๓. วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน ถึงพร้อมด้วย
วิชชาและจรณะ
๔. สุคโต เสด็จไปดีแล้ว
๕. โลกวิทู เป็นผู้รู้แจ้งโลก
๖. อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ เป็นสารถี
ฝึกคนที่ฝึกได้ไม่มีใครยิ่งกว่า
๗. สตฺถา เทวมนุสฺสานํเป็นสาสดาของ
เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
๘. พุทฺโธ เป็นผู้ตื่นและเบิกบานแล้ว
๙. ภควา เป็นผู้มีโชค
พุทธคุณทั้งหมดนั้น โดยย่อมี ๒
คือ พระปัญญาคุณ และพระกรุณาคุณ
หรือ พุทธคุณ ตามที่นิยมกันย่อ
เป็น ๓ คือ
๑. พระปัญญาคุณ พระคุณคือ
พระปัญญา
๒. พระวิสุทธิคุณ พระคุณคือ
ความบริสุทธิ์
๓. พระมหากรุณาคุณ ประคุณ
10
๒.
ธัมมานุสสติ
คือ การระลึกถึง
คุณของพระธรรม
11
ธรรมคุณ ๖ประการ
๑. สวากขาโต ภควตา ธัมโม พระธรรมเป็นคํา
สอนอันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว เป็นความจริง
แท้ เป็นหลักครองชีวิตอันประเสริฐ
๒. สันทิฏฐิโก พระธรรมนี้ผู้ปฏิบัติตามจะเห็น
ได้ด้วยตนเอง
๓. อกาลิโก ไม่เนื่องด้วยกาลเวลา
๔. เอหิปัสสิโก ควรเรียกให้มาดู
๕. โอปะนะยิโกควรน้อมเข้ามา
๖. ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิ
คือวิญญูชนรู้ได้เฉพาะตน
๓.
สังฆานุสสติ
คือ การระลึกถึง
คุณของพระสงฆ์
สังฆคุณมี ๙ประการ
๔ประการแรกเป็นเหตุ ๕ประการหลังเป็นผล
๑.สุปฏิปันโน พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า
เป็นผู้ปฏิบัติดี
๒.อุชุปฏิปันโน ปฏิบัติตรง
๓.ญายปฏิปันโน ปฏิบัติถูกทาง
๔.สามีจิปฏิปันโน ปฏิบัติสมควร
๕.อาหุเนยโย เป็นผู้ควรแก่สิ่งของคํานับ
๖.ปาหุเนยโย เป็นผู้ควรแก่การต้อนรับ
๗.ทักขิเณยโย เป็นผู้ควรแก่ทักษิณาควรแก่สิ่งของทําบุญ
๘.อัญชลีกรณีโย เป็นผู้ควรแก่การทําอัญชลี
๙.อนุตตรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสะ เป็นเนื้อนาบุญของโลกไม่มีนาบุญ
อื่นยิ่งกว่า
การพัฒนาตน
๔.
สีลานุสสติ
คือการระลึกถึง
คุณของศีล
ที่ตนปฏิบัติอยู่
สีลานุสสติ
คือการระลึกถึงคุณของศีลที่ตนปฏิบัติอยู่
พึงชําระศีลของตนให้บริสุทธิ์ เห็นอานิสงส์ของศีลสมบัติ
(การบริบูรณ์ด้วยศีล) เพราะศีลเป็นบ่อเกิดของคุณงามความดีเป็นอันมาก
พระพุทธเจ้าตรัสถึงอานิสงส์ของศีลไว้เป็นอันมาก เช่น ตรัสไว้ว่า
“ดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย หากว่าภิกษุพึงหวังว่า ของเราพึงเป็นที่รัก
เป็นที่ชอบใจ เป็นที่เคารพ เป็นที่ยกย่องของเพื่อนสพรหมจารีด้วยกัน
ภิกษุนั้นพึงเป็นผู้ทําให้บริบูรณ์ในศีลทั้งหลายเกิด
ถึงเป็นฆราวาสก็เฉกเช่นกัน พึงระลึกถึงศีลอันตนได้รักษาไว้ดีแล้ว
จักเกิดความอาจหาญร่าเริงในธรรม”
การพัฒนาตน
๕.
จาคานุสติ
คือ การระลึกถึง
คุณของจาคะ
ที่ตนได้ทําไป
จาคานุสสติ
จาคานุสสติ แปลว่า ระลึกถึงการบริจาคทานเป็นนิตย์
กรรมฐานกองนี้ ท่านแนะให้ระลึกถึงการให้เป็นปกติ
ผลของการให้เป็นการตัดมัจฉริยะ ความตระหนี่
ตัดโลภะความโลภ ซึ่งจัดว่าเป็นกิเลสตัวสําคัญไปได้
ตัวหนึ่ง กิเลสมีรากเหง้าอยู่ คือ
ความโลภ ความโกรธ ความหลง
การพัฒนาตน
๖.
เทวตานุสสติ
คือ การระลึกถึง
คุณธรรมที่ทําให้เป็น
เทวดา
เทวตานุสสติ
คุณธรรมอย่างหนึ่งที่ทําให้บุคคลไปเกิดเป็นเทวดา ก็คือ หิริ =
ความละอายต่อบาป และโอตตัปปะ = ความเกรงกลัวต่อบาป
ถ้าบุคคลใดมีหิริ-โอตตัปปะอยู่ในใจ บุคคลนั้นก็ได้ชื่อว่า มี
ใจเป็นเทวดาแล้ว
ให้พึงน้อมนึกเทียบเคียงว่า คุณธรรมอันใดที่จะนําบุคคลไป
เกิดเป็นเทวดา คุณธรรมเหล่านั้นก็มีสมบูรณ์พร้อมอยู่ในใจเรา
เช่นกัน แล้วพึงทําความเอิบอิ่มให้เกิดขึ้น
การพัฒนาตน
การพัฒนาตน
๗.
มรณานุสติ
คือ การระลึกถึง
ความตาย
มรณานุสสติ
การนึกถึงความตายเป็นอารมณ์ ความตายเป็นของธรรมดาของ
สัตว์และมนุษย์ที่เกิดมาต้องตายในที่สุดเหมือนกันหมด ธรรมดาของ
คนที่มีกิเลสทั่วไป รู้ความตายว่าเป็นธรรมดาจริง แต่เห็นว่าเป็นธรรมดา
สําหรับผู้อื่นตายเท่านั้น ถ้าความตายจะเข้ามาถึงตนหรือคนที่รักของตน
ก็ดิ้นรน ไม่ต้องการให้ความตายมาถึงตนหรือคนที่ตนรัก พยายามทุก
ทางที่จะไม่ยอมตาย พระพุทธเจ้าจึงทรงสอนว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
ความตายนั้นเป็นสิ่งปกติธรรมดา ไม่มีใครจะหลีกหนีพ้นความตาย
ผู้ที่เจริญมรณานุสสติกรรมฐาน เมื่อคิดถึงความตายเป็นปกติ จนเห็น
ความตายเป็นปกติธรรมดา ก็เตรียมพร้อมเพื่อรับสถานการณ์
คือให้ทาน รักษาศีล เจริญภาวนา ต่อไป
การพัฒนาตน
๘.
กายคตาสติ
คือ การระลึก
เห็นร่างกาย
เป็นของไม่งาม
กายคตาสติ
กายคตาสติแปลว่า พิจารณากายให้เห็นว่า ไม่สวยไม่งาม มี
ความโสโครก ตามกฎแห่งความเป็นจริงเป็นอารมณ์ กายคตา
นุสสตินี้เป็นกรรมฐานสําคัญที่พระอริยเจ้าทุกองค์ไม่เคยเว้น
เพราะพระอริยเจ้าก่อนแต่จะได้สําเร็จมรรคผล ทุกท่านนิยม
พิจารณาให้เห็นว่าไม่สวย ไม่น่ารัก น่ารังเกียจ เพราะมีสภาพน่า
สะอิดสะเอียนตามปกติเป็นอารมณ์ และกายคตานุสสตินี้เป็น
กรรมฐานพิเศษกว่ากรรมฐานกองอื่น ๆ เพราะถ้าพระโยควาจร
พิจารณาตามกฎของกายคตานุสสติ
ผลที่ได้รับจะเข้าถึงปฐมฌาน
การพัฒนาตน
๙.
อานาปานสติ
คือ การกําหนด
ลมหายใจเข้า – ออก
อานาปนาสติ
อานาปานานุสสติ แปลว่า ระลึกถึงลมหายใจเป็นอารมณ์
กรรมฐานกองนี้เป็นกรรมฐานใหญ่คลุมกรรมฐานกองอื่น ๆ
เพราะจะปฎิบัติกรรมฐาน ๔๐ กองนี้ กองใดกองหนึ่งก็ตาม
จะต้องกําหนดลมหายใจเสียก่อน หรือต้องกําหนดลมหายใจ
ร่วมไปพร้อม ๆ กับกําหนดพิจารณากรรมฐานกองนั้น ๆ จึงจะ
ได้ผล หากท่านผู้ใดเจริญกรรมฐานกองใดก็ตาม ถ้าเว้นการ
กําหนดเสียแล้ว กรรมฐานที่ท่านเจริญจะไม่ได้ผลรวดเร็ว
สมความมุ่งหมาย
การพัฒนาตน
๑๐.
อุปสมานุสติ
คือ การระลึกถึง
พระนิพพาน
อุปสมานุสสติ
อุปสมานุสสติ แปลว่า ระลึกคุณพระนิพพานเป็นอารมณ์
ตามศัพท์ท่านน่าจะแปลว่าระลึกถึงคุณของความเข้าไปสงบ
ระงับจิตจากกิเลสและ ตัณหา ก็คือการเข้าถึงพระนิพพาน
นั้นเอง ท่านแปลเอาความหมายว่า ระลึกถึงคุณพระนิพพานนั้น
อานิสงส์ ที่ใช้อารมณ์ใคร่ครวญถึงพระนิพพานนี้มีผลมาก
เป็นปัจจัยให้ละอารมณ์ที่คลุกเคล้าด้วยกิเลสและตัณหา เห็น
โทษในวัฏฏะ เป็นปัจจัยให้แสวงหาทางปฏิบัติเพื่อความพ้น
ทุกข์อันเป็นปฏิปทาไปสู่พระนิพาน
การพัฒนาตน
การพัฒนาตน
ถัดจากนี้ ให้เราเจริญ อัปปนา
ภาวนา เรื่อยไป จนกระทั่ง
สามารถบังคับให้เกิด อัปปนา
สมาธิ ได้ตลอดเวลาที่เรากําหนด
จะเข้า จะออก ในเวลาใดก็ได้ตาม
ประสงค์ ขั้นนี้เรียกว่า
อัปปนาสมาธิ ที่เป็นฌานสมาบัติ
อันจัดเป็น ครุกรรมฝ่ ายกุศล
และใช้เป็นบาทแห่งการเจริญ
วิปัสสนาของผู้ต้องการให้ฌาน
เป็นฐานในการเจริญวิปัสสนาได้
สทา
โสตถี
ภวนฺตุ
เต

More Related Content

What's hot

ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะPadvee Academy
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานChainarong Maharak
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6Thanawut Rattanadon
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายSantichon Islamic School
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันPadvee Academy
 
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม ฉบับสมบูรณ์niralai
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาPadvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์Padvee Academy
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาPadvee Academy
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆAnchalee BuddhaBucha
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔Padvee Academy
 
คำแปลนิราศภูเขาทอง
คำแปลนิราศภูเขาทองคำแปลนิราศภูเขาทอง
คำแปลนิราศภูเขาทองโอ๋ อโนทัย
 
โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10
โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10
โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10Jurarat Thongma
 

What's hot (20)

ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
 
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม ฉบับสมบูรณ์
 
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐานอรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
 
คำแปลนิราศภูเขาทอง
คำแปลนิราศภูเขาทองคำแปลนิราศภูเขาทอง
คำแปลนิราศภูเขาทอง
 
โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10
โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10
โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10
 

Viewers also liked

บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
5. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย (1 57) wk 9-10
5. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย  (1 57) wk 9-105. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย  (1 57) wk 9-10
5. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย (1 57) wk 9-10pop Jaturong
 
06 costs and revenue for decision making
06 costs and revenue for decision making06 costs and revenue for decision making
06 costs and revenue for decision makingpop Jaturong
 
07 capital budgetting
07 capital budgetting07 capital budgetting
07 capital budgettingpop Jaturong
 
09 pricing decision
09 pricing decision09 pricing decision
09 pricing decisionpop Jaturong
 
08 accounting for jit
08 accounting for jit08 accounting for jit
08 accounting for jitpop Jaturong
 
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-4
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-41. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-4
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-4pop Jaturong
 
10evaluation & transfer pricing
10evaluation & transfer pricing10evaluation & transfer pricing
10evaluation & transfer pricingpop Jaturong
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2 Pa'rig Prig
 
05 standard cost & flexible budget
05 standard cost & flexible budget05 standard cost & flexible budget
05 standard cost & flexible budgetpop Jaturong
 

Viewers also liked (20)

สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 pptสมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
 
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน pptอสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
พรหมวิหาร 4 สมถกัมมัฏฐาน ppt
พรหมวิหาร 4 สมถกัมมัฏฐาน pptพรหมวิหาร 4 สมถกัมมัฏฐาน ppt
พรหมวิหาร 4 สมถกัมมัฏฐาน ppt
 
5. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย (1 57) wk 9-10
5. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย  (1 57) wk 9-105. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย  (1 57) wk 9-10
5. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย (1 57) wk 9-10
 
06 costs and revenue for decision making
06 costs and revenue for decision making06 costs and revenue for decision making
06 costs and revenue for decision making
 
03 cvp
03 cvp03 cvp
03 cvp
 
07 capital budgetting
07 capital budgetting07 capital budgetting
07 capital budgetting
 
02 abc
02 abc02 abc
02 abc
 
04 budget
04 budget04 budget
04 budget
 
09 pricing decision
09 pricing decision09 pricing decision
09 pricing decision
 
08 accounting for jit
08 accounting for jit08 accounting for jit
08 accounting for jit
 
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-4
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-41. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-4
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-4
 
Nrru 003
Nrru 003Nrru 003
Nrru 003
 
10evaluation & transfer pricing
10evaluation & transfer pricing10evaluation & transfer pricing
10evaluation & transfer pricing
 
Nrru 001
Nrru 001Nrru 001
Nrru 001
 
Nrru 002
Nrru 002Nrru 002
Nrru 002
 
Nrru 004
Nrru 004Nrru 004
Nrru 004
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
05 standard cost & flexible budget
05 standard cost & flexible budget05 standard cost & flexible budget
05 standard cost & flexible budget
 

Similar to อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt

ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานPadvee Academy
 
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาSongsarid Ruecha
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาppompuy pantham
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๕
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๕พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๕
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๕Rose Banioki
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓Rose Banioki
 
สรุปกิจกรรม Maditation (j)
สรุปกิจกรรม Maditation (j)สรุปกิจกรรม Maditation (j)
สรุปกิจกรรม Maditation (j)monthsut
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayatippaya6563
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาutumporn charoensuk
 
Ebook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกEbook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกPanda Jing
 
จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์duangdee tung
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน Tongsamut vorasan
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) niralai
 

Similar to อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt (20)

Dhammaratana journal 3
Dhammaratana journal 3Dhammaratana journal 3
Dhammaratana journal 3
 
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
Dhammaratana journal 6
Dhammaratana journal 6Dhammaratana journal 6
Dhammaratana journal 6
 
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๕
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๕พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๕
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๕
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๓
 
สรุปกิจกรรม Maditation (j)
สรุปกิจกรรม Maditation (j)สรุปกิจกรรม Maditation (j)
สรุปกิจกรรม Maditation (j)
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippaya
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
 
9 mantra
9 mantra9 mantra
9 mantra
 
Ebook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกEbook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดก
 
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 pptสมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
 
จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์
 
Jitpontook
JitpontookJitpontook
Jitpontook
 
Mindfulness in-organization
Mindfulness in-organizationMindfulness in-organization
Mindfulness in-organization
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
 

More from เตชะชิน เก้าเดือนยี่

บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาบทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาเตชะชิน เก้าเดือนยี่
 
สมถและวิปัสนา สมาธิ 3 ระดับ [โหมดความเข้ากันได้]
สมถและวิปัสนา สมาธิ 3 ระดับ [โหมดความเข้ากันได้]สมถและวิปัสนา สมาธิ 3 ระดับ [โหมดความเข้ากันได้]
สมถและวิปัสนา สมาธิ 3 ระดับ [โหมดความเข้ากันได้]เตชะชิน เก้าเดือนยี่
 

More from เตชะชิน เก้าเดือนยี่ (14)

6 mahapali-akhayata
6 mahapali-akhayata6 mahapali-akhayata
6 mahapali-akhayata
 
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
590806 บทที่-5-แก้ไขแล้ว
590806 บทที่-5-แก้ไขแล้ว590806 บทที่-5-แก้ไขแล้ว
590806 บทที่-5-แก้ไขแล้ว
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
590806 บทที่-4-แก้ไขแล้ว
590806 บทที่-4-แก้ไขแล้ว590806 บทที่-4-แก้ไขแล้ว
590806 บทที่-4-แก้ไขแล้ว
 
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาบทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว
 
วิถึชีวิต Course syllabus-1-59 (1)
วิถึชีวิต Course syllabus-1-59 (1)วิถึชีวิต Course syllabus-1-59 (1)
วิถึชีวิต Course syllabus-1-59 (1)
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
แนะนำอาจารย์
แนะนำอาจารย์แนะนำอาจารย์
แนะนำอาจารย์
 
สมถและวิปัสนา สมาธิ 3 ระดับ [โหมดความเข้ากันได้]
สมถและวิปัสนา สมาธิ 3 ระดับ [โหมดความเข้ากันได้]สมถและวิปัสนา สมาธิ 3 ระดับ [โหมดความเข้ากันได้]
สมถและวิปัสนา สมาธิ 3 ระดับ [โหมดความเข้ากันได้]
 

อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt