SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรม NaCl
เกลือสินเธาว มาจากผิวดิน
มาจากนํ้าบาดาล
มาจากชั้นเกลือหิน ซึ่งในขบวนการจะมีเกลือบางชนิด
ปนอยูเชน Na2 SO4 และ Na2 CO3 เรียกสารละลายนี้วานํ้าขม
หลักการทางวิทยาศาสตร
การละลาย
การกรอง
การระเหย
การตกผลึก
เกลือสมุทร การเตรียมพื้นที่นา
การทํานาเกลือ
ระเหย
นํ้าทะเล ระเหย
วังขังนํ้า ระเหย
นาตาก ตกผลึก ระเหย
นาเชื้อ ตกผลึก
นาปลง
การปองกันเกลือชื้น
1. เติมปูนขาวลงในนาเชื้อ → เกิดตะกอน Mg(OH)2
2. ระบายนํ้าจากนาเชื้อเขาสูนาปลงตลอดเวลา เพื่อมิใหถึงจุดอิ่มตัวของเกลือ Mg2+
การทําให NaCl บริสุทธิ์
1. เติม NaOH เพื่อกําจัด Mg
2+
→ ตะกอน Mg(OH)2
2. เติม BaCl2 เพื่อกําจัด −2
4so → ตะกอน BaSO4
3. เติม Na2CO3 เพื่อจัด Ca
2+
และ Ba
2+
→ ตะกอน CaCO3, BaCO3
4. เติม H Cl เพื่อกําจัด −2
3co → H2O + CO2
CaSO4
www.tutorferry.com/www.tutorferry.com/
127
การผลิต NaOH จาก NaCl
เมื่อนํา NaCl ที่ผลิตไดมาทําการแยกดวยวิธีการตาง ๆ จะไดผลิตภัณฑที่เปน NaOH H2 และ Cl2 ซึ่ง
สามารถนําไปเปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรมตาง ๆ มากมาย ซึ่งวิธีการผลิต NaOH ดวยกระแสไฟฟา มี 3 วิธี
1. การผลิตโดยใชเซลปรอท
2. การผลิตโดยใชเซลไดอะแฟรม
3. การผลิตโดยใชเซลเยื่อแลกเปลี่ยนไอออน
การผลิตโดยใชเซลปรอท
+ Anode
Anode 2Cl
-
⎯ →⎯ Cl2 + 2e
-
Cl Cathode Na
+
+ e
-
⎯→⎯
Hg
Na(Hg)
NaCl Na(Hg) ⎯⎯→⎯ OH2
NaOH + H2
Na
+
Hg
---
Cathode
ปฏิกิริยารวม ⇒ 2 NaCl + 2 H2O ⎯ →⎯ 2 NaOH + H2 + Cl2
วิธีนี้จะมี ขอเสีย คือ มีปรอท (Hg) อยูในนํ้าทิ้ง แตก็มี ขอดี ของการใชปรอท คือปองกันมิใหโลหะ Na
ที่เกิดขึ้นทําปฏิกิริยากับนํ้าทันที หรือปองกันมิใหผลิตภัณฑบางชนิดทําปฏิกิริยากัน ดังสมการ
2Na + 2H2O ⎯ →⎯ 2NaOH + H2
3Cl2 + 6NaOH ⎯ →⎯ 5NaCl + NaClO3 + 3H2O
การผลิตโดยใชเซลไดอะแฟรม
มีลักษณะเปนแผนกั้น ซึ่งมีคุณสมบัติยอมใหไอออนตาง ๆ ไหลผานได แตไมยอมใหกาซไหลผาน
เซลลนี้มีการปรับความดันดาน Anode มากกวา Cathode ทําให Na
+
และ Cl
-
เคลื่อนมาทาง Cathode ทั้งหมดเปนผล
ใหได NaOH ที่ไมบริสุทธิ์ กลาวคือ จะมี NaCl ปนออกมาดวย
www.tutorferry.com/
128
Cl2 H2
NaCl NaOH
NaCl
Na
+
Cl
-
Anode Cathode
ไดอะแฟรม
Anode 2Cl
-
⎯ →⎯ Cl2 + 2e
-
Cathode 2H2O + 2e
-
⎯ →⎯ H2 + 2OH
-
การผลิตโดยใชเซลเยื่อแลกเปลี่ยนไอออน
เซลลประเภทนี้จะมีเยื่อแลกเปลี่ยนไอออน กลาวคือ ยอมใหอิออนเคลื่อนที่ผานได แตเปนเฉพาะ
อิออน บวกเทานั้นจึงทําให Cl
-
ไมสามารถเคลื่อนผานได ผลที่เกิดขึ้นจะได NaOH ที่บริสุทธิ์มาก
Cl2 H2
NaCl
+
Na
+
NaOH
เยื่อแลกเปลี่ยนไอออน
Anode 2Cl
-
⎯ →⎯ Cl2 + 2e
-
Cathode 2H2O + 2e
-
⎯ →⎯ H2 + 2OH
-
www.tutorferry.com/
129
โจทย 18 ในการแยก NaCl พบวาเกิดกาซ Cl2 11.2 ลิตรที่ S.T.P จะมี NaOH เกิดขึ้นกี่กรัม
NaCl + H2O → NaOH + H2 + Cl2
สารฟอกขาว (NaOCl) สามารถเตรียมไดจากปฎิกริยาของ NaOH กับ Cl2 ดังสมการ
2NaOH + Cl2 ⎯ →⎯ NaCl + NaOCl + H2O
ซึ่ง NaOCl (สารฟอกขาว) สามารถทําปฎิกริยากับ KI ไดดังสมการ
NaOCl + 2KI + H2O ⎯ →⎯ 2KOH + NaCl + I2 ( ละลายไดทั้ง KI และ Hexane)
โจทย 19 เมื่อผาน Cl2 ไปบน NaOH พบวาไดสารฟอกขาว (NaOCl) ดังสมการ
2NaOH + Cl2 ⎯ →⎯ NaCl + NaOCl + H2O
เมื่อใชกาซคลอรีน 3.01 x 10
21
อะตอม จะเกิดสารฟอกขาวกี่กรัม
อุตสาหกรรมผงชูรส
ผงชูรสเปนเกลือโซเดียมของกรดกลูตามิก มีชื่อยอวา M.S.G. (Monosodium glutamate)
สูตร C5H8NO4Na
HOOC - CH2 - CH2 - CH - COONa
NH2
วัตถุดิบ แปงมันสําปะหลังหรือโมลาส
1. แปงหรือโมลาส ⎯⎯ →⎯ 4SO2H
นํ้าตาลกลูโคส
2. กลูโคส + ยูเรีย ⎯⎯ →⎯
จุลินทรีย
แอมโมเนียมกลูตาเมต
3. แอมโมเนียมกลูตาเมต + HCl ⎯ →⎯ กรดกลูตามิก + NH4Cl (ปุย N)
4. กรดกลูตามิก + NaOH ⎯ →⎯ M.S.G. + H2O
www.tutorferry.com/
130
จากสมการจะพบวาในการเกิด M.S.G. จะใช NaOH 1 โมล แตถาใช NaOH 2 โมล จะไดโซเดียม
กลูตาเมต ซึ่งไมใชผงชูรส
NaOOC - CH2 - CH2 - CH - COONa โซเดียมกลูตาเมต
NH2
การตรวจสอบผงชูรส
1. Borax (Na2B4O7 . 10H2O)
ผงชูรส →
∆
เปลวไฟสีเขียว
⎯⎯ →⎯
กระดาษ
สีนํ้าตาลเขม
ขมิ้น
2. Metaphosphate (NaPO3)
ผงชูรส ⎯⎯⎯⎯ →⎯ 4MoO2)4NH(
ตะกอนเหลือง [(NH4)3PO4 . 12MoO3]
3. NaCl
ผงชูรส ⎯⎯ →⎯ 3AgNO
ตะกอนขาว (AgCl)
4. C12H22O11
ผงชูรส ⎯⎯ →⎯
Benedict
ตะกอนแดงอิฐ (Cu2O)
อุตสาหกรรมโซดาแอช
โซดาแอชมีสูตรเคมีเปน Na2CO3ซึ่งมี CaCO3 และ NaCl เปนวัตถุดิบในการเตรียมโดยขบวนการ
Solvey process หรือ Soda ammonia ซึ่งมีขั้นตอนตาง ๆ ดังนี้
1. CaCO3 →
∆
CaO + CO2
2. CO2 + NaCl + NH4OH ⎯ →⎯ NaHCO3 + NH4Cl (ปุย N)
3. NaHCO3 →
∆
Na2CO3 + H2O + CO2
ในบางประเทศอาจใช NaOH ทําปฎิกริยากับ CO2 โดยตรงไดผลิตภัณฑ NaHCO3 จากนั้นนําไปเผาตอ
จะไดโซดาแอช
ผลิตภัณฑบางชนิดที่เกิดขึ้นสามารถนําไปรวมตัวกัน จะไดสารบางชนิดซึ่งสามารถนําไปเปนสารตั้ง
ตนไดอีก ดังสมการ CaO + NH4Cl ⎯ →⎯ CaCl2 + H2O + NH3
ขอเสีย
www.tutorferry.com/
131
อุตสาหกรรมปุย
ปุยโดยทั่วไปจะแบงเปน 2 ชนิด
1. ปุยอินทรีย (เทศบาล) ไดแก ปุยคอก ปุยหมัก
2. ปุยอนินทรีย (เคมี,วิทยาศาสตร) ไดแก NH4Cl (NH4)2SO4
NH2CONH2 K3PO4 Ca3(PO4)2 Ca(H2PO4)2
การเตรียมปุย NH2CONH2
(NH2)2CO NH3 N2 ⎯ →⎯ จากอากาศ
CO2 H2 ⎯ →⎯ จาก Coke
การเตรียมปุย (NH4)2SO4
(NH4)2SO4 ⎯ →⎯ NH3 ⇒ N2 + H2
⎯ →⎯ H2SO4 ⇒ S + O2 ⎯ →⎯ SO2
SO3 ⎯⎯ →⎯
OH
2 H2SO4
O2 H2SO4
H2SO4 ⎯⎯ ⎯← OH2
H2S2O7
การเตรียมปุยซูปเปอรฟอสเฟต [Ca(H2PO4)2]
โดยใชหินฟอสเฟต CaF2.3Ca3(PO4)2 มาเตรียมปุยฟอสเฟตได 2 วิธี คือ
วิธีที่ 1 CaF2.3Ca3(PO4)2 + 10H2SO4 ⎯ →⎯ 6H3PO4 + 10CaSO4 + 2HF
CaF2.3Ca3(PO4)2 + 14H3PO4 ⎯ →⎯ 10Ca(H2PO4)2 + 2HF
วิธีที่ 2 CaF2.3Ca3(PO4)2 + 7H2SO4 + 3H2O ⎯ →⎯ 3Ca(H2PO4)2 .H2O + 7CaSO4 + 2HF
HF ที่เกิดขึ้นจะระเหยกลายเปนไองายและเปนพิษ ซึ่ง HF บางสวนทําปฏิกิริยากับทราย (SiO2) ที่ปน
ในหินฟอสเฟตเกิดเปน SiF4 ซึ่งรวมกับ H2O เกิดเปน H2 SiF6 อาจทําปฏิกิริยาตอกับ MgO ได MgSiF6 ใชเปนยา
ฆาแมลง ดังสมการ
6HF + SiO2 H2SiF6 + 2H2O
H2SiF6 + MgO MgSiF6 + H2O
www.tutorferry.com/
132
HF ที่เกิดขึ้นในการผลิตจะถูกเก็บโดยผานลงในนํ้าแลวทําปฏิกิริยากับ Na2CO3 หรือ CaCO3
ดังสมการ
2HF + Na2CO3 ⎯ →⎯ 2NaF + CO2 + H2O
2HF + CaCO3 ⎯ →⎯ CaF2 + CO2 + H2O
อุตสาหกรรมแร
แรดีบุก (Sn) ดีบุกจะอยูในรูปของสินแรแคซิเทอไรต (SnO2) ในการถลุงโดยการนําสินแรผสมกับ
ถานโคกและหินปูนในอัตราสวน 20:4:5 โดยนําผลึกใสในเตาถลุงแบบนอน ดังสมการ
C + O2 ⎯ →⎯ CO2
C + CO2 ⎯ →⎯ 2CO
2CO + SnO2 ⎯ →⎯ Sn + 2CO2
ในสินแรดีบุกมักจะมี SiO2 เจือปนจะรวมกับผลิตภัณฑของหินปูนเกิดเปนตะกรัน (CaSiO3)
ดังสมการ
CaCO3 →
∆
CaO + CO2
CaO + SiO2 ⎯ →⎯ CaSiO3
แรพลวง ( Sb) สินแรพลวงจะอยูในสินแร 2 ชนิด คือ
1. สติบไนต หรือพลวงเงิน (Sb2S3) พบสวนมาก นํามาถลุงโดยวิธีการระเหยหรือยางแร
2. สติบโคไนต หรือพลวงทอง (Sb2O4 .nH2O)
2Sb2S3 + 9O2 ⎯ →⎯ 2Sb2O3 + 6SO2
Sb2O3 + 3CO ⎯ →⎯ 2Sb + 3CO2
แรสังกะสี-แคดเมียม (Zn-Cd) สินแรสังกะสีทีพบมากที่สุด คือ แรสฟาเลอไรต (ZnS) นอกจากนี้
อาจจะเปน ZnO, ZnCO3 เปนตน
ในการถลุงจะใช ZnS และ ZnCO3 มาทําใหเปน Oxide กอนจากนั้นทําปฏิกิริยากับ CO ไดโลหะ
สังกะสีซึ่งอยูในรูปของเหลวยังไมบริสุทธิ์มักจะมีแคดเมียมกับตะกั่วเจือปนออกมาดวย ดังสมการ
2ZnS + 3O2 ⎯ →⎯ 2ZnO + 2SO2 ⎯ →⎯
ZnCO3 ⎯ →⎯ ZnO + CO2 ⎯ →⎯
www.tutorferry.com/
133
จาก และ ทําปฎิกริยากับ CO
ZnO + CO Zn + CO2
สวนในประเทศไทยจะใชสินแรสังกะสีทําปฏิกิริยากับกรด H2SO4 เกิดเปน ZnSO4 ซึ่งมักจะมี CdSO4
Sb2(SO4)3 และ CuSO4 ปนอยูดวยจึงนํามาทําปฏิกิริยาผงสังกะสีเพื่อใหเกิดเปน ZnSO4 ใหหมดจากนั้นแยก
ตะกอน ( Cd, Sb, Cu ) และสารละลาย ZnSO4 ซึ่งนําไปแยกดวยไฟฟาตอไป ดังสมการ
Anode 2H2 O ⎯ →⎯ O2 + 4H
+
+ 4e
-
Cathode Zn
2+
+ 2e
-
⎯ →⎯ Zn
แรแทนทาลัม-ไนโอเบียม (Ta-Nb) แรทั้งสองชนิดจะพบอยูในดะกรีนของดีบุก ซึ่งพบวาทั้ง Ta และ
Nb สามารถละลายไดใน MIBK (Methyl Isobutyl Ketone) จากนั้นไปผานขบวนการแยกสุดทายจะได Nb2O5
และ Ta2O5 หรือ K2TaF7
แรเซอรโคเนียม ( Zr) Zr จะพบมากในสินแรเซอรคอน (ZrSiO4) ตามแหลงแรดีบุกเมื่อผานขบวน
การแยกตาง ๆ สุดทายจะไดในรูปของออกไซด (ZrO2)
ประโยชนของแรชนิดตาง ๆ
Sn - ทําตะกั่วบัดกรี
- ฉาบแผนเหล็กทํากระปองบรรจุอาหาร
- อุตสาหกรรมเครื่องเคลือบ เครื่องแกว ยอมสี กระดาษ พิมพเขียว
- ผสม Cu ทําทองสัมฤทธิ์
- ผสม Cu และ Sb ไดโลหะผสมคอมพิวเตอรซึ่งทําภาชนะตาง ๆ
Sb - ผสม Pb และ Sn ทําโลหะตัวพิมพ
- ผสม Pb ทําแผนตะกั่วในแบตเตอรี่
- อุตสาหกรรมยาง สี เซรามิกส
Zn - กลองถานไฟฉาย
- เคลือบโลหะ
- ทําโลหะผสม เขน ผสม Cu ทําทองเหลือง
- อุตสาหกรรมสี ยาและอาหารสัตว
Cd - ถานไฟฉาย แบตเตอรี่ สีและพลาสติก
Ta - ทําอุปกรณอีเลคโทรนิกในคอมพิวเตอร เครื่องมือสื่อสาร
- โลหะผสมทําเครื่องบิน จรวด ขีปนาวุธ อุปกรณเตาปรมาณู ออกไซดทําเลนส
Nb - ผสมเหล็กกลาทําทอสงกาซ วัสดุกอสรางของโรงงานเคมีทําเลนส
www.tutorferry.com/
134
Zr - อุตสาหกรรมเซรามิกส
- ชิ้นสวนเครื่องยนตจรวดและไอพน
- ชิ้นสวนของหัวเทียนรถยนต
- อุปกรณอีเลกโทรนิก
โจทย 20 ผงชูรส 10 กรัม เมื่อนํามาละลายนํ้าแลวเติม HNO3 และ Ag NO3 เขมขนใน 0.1 M ปรากฎวามี
ตะกอนขาวเกิดขึ้นหนัก 0.287 กรัม จงหาวาผงชูรสมี NaCl กี่เปอรเซนต โดยมวล (Ag = 108,
Cl = 35.5, Na = 23)
www.tutorferry.com/www.tutorferry.com/

More Related Content

What's hot

ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
008 pat 2
008 pat 2008 pat 2
008 pat 2konosor
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01jirat266
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01jirat266
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีTutor Ferry
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีPhasitta Chem
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)oraneehussem
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีTutor Ferry
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีWirun
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีPreeyapat Lengrabam
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2ครูแป้ง ครูตาว
 
O net เคมี ปี 53
O net เคมี ปี 53O net เคมี ปี 53
O net เคมี ปี 53Ja 'Natruja
 

What's hot (20)

ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
008 pat 2
008 pat 2008 pat 2
008 pat 2
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
 
09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมี
 
Chem equation
Chem equation  Chem equation
Chem equation
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
Chem electrochemistry
Chem electrochemistryChem electrochemistry
Chem electrochemistry
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมี
 
Acid base 1
Acid base 1Acid base 1
Acid base 1
 
Echem 2 redox balance
Echem 2 redox balanceEchem 2 redox balance
Echem 2 redox balance
 
Atom
AtomAtom
Atom
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
 
O net เคมี ปี 53
O net เคมี ปี 53O net เคมี ปี 53
O net เคมี ปี 53
 
Que oct 47
Que oct 47Que oct 47
Que oct 47
 

Viewers also liked

บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมบทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมJariya Jaiyot
 
ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมKorpong Sae-lee
 
อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์Chantana Yayod
 
บทที่10 ธาตุและสารประกอบอนินทรีย์ในอุตสาหกรรม
บทที่10 ธาตุและสารประกอบอนินทรีย์ในอุตสาหกรรมบทที่10 ธาตุและสารประกอบอนินทรีย์ในอุตสาหกรรม
บทที่10 ธาตุและสารประกอบอนินทรีย์ในอุตสาหกรรมTan Nattarika Kanthabubpa
 
อุตสาหกรรมปุ๋ย01
อุตสาหกรรมปุ๋ย01อุตสาหกรรมปุ๋ย01
อุตสาหกรรมปุ๋ย01Surasek Tikomrom
 
บทที่ 7 สมดุลเคมี
บทที่ 7 สมดุลเคมีบทที่ 7 สมดุลเคมี
บทที่ 7 สมดุลเคมีoraneehussem
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสoraneehussem
 
การถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียม
การถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียมการถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียม
การถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียมsailom
 
เคมีอุตสาหกรรมปุ๋ย
เคมีอุตสาหกรรมปุ๋ยเคมีอุตสาหกรรมปุ๋ย
เคมีอุตสาหกรรมปุ๋ยkansuda wongsasuwan
 
Whatever happened to building community
Whatever happened to building communityWhatever happened to building community
Whatever happened to building communityLouisville Digital
 
อุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ยอุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ยSurasek Tikomrom
 
วิชาฟิสิกส์ เรื่องงานและพลังงาน
วิชาฟิสิกส์ เรื่องงานและพลังงานวิชาฟิสิกส์ เรื่องงานและพลังงาน
วิชาฟิสิกส์ เรื่องงานและพลังงานTutor Ferry
 
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอมวิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอมTutor Ferry
 
วิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่ใน1มิติ
วิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่ใน1มิติวิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่ใน1มิติ
วิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่ใน1มิติTutor Ferry
 
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่Tutor Ferry
 

Viewers also liked (20)

บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมบทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
 
ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
 
อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์
 
บทที่10 ธาตุและสารประกอบอนินทรีย์ในอุตสาหกรรม
บทที่10 ธาตุและสารประกอบอนินทรีย์ในอุตสาหกรรมบทที่10 ธาตุและสารประกอบอนินทรีย์ในอุตสาหกรรม
บทที่10 ธาตุและสารประกอบอนินทรีย์ในอุตสาหกรรม
 
Industrial11
Industrial11Industrial11
Industrial11
 
อุตสาหกรรมปุ๋ย01
อุตสาหกรรมปุ๋ย01อุตสาหกรรมปุ๋ย01
อุตสาหกรรมปุ๋ย01
 
บทที่ 7 สมดุลเคมี
บทที่ 7 สมดุลเคมีบทที่ 7 สมดุลเคมี
บทที่ 7 สมดุลเคมี
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบส
 
การถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียม
การถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียมการถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียม
การถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียม
 
Drive Down
Drive DownDrive Down
Drive Down
 
Crowdsourced Media
Crowdsourced MediaCrowdsourced Media
Crowdsourced Media
 
เคมีอุตสาหกรรมปุ๋ย
เคมีอุตสาหกรรมปุ๋ยเคมีอุตสาหกรรมปุ๋ย
เคมีอุตสาหกรรมปุ๋ย
 
Whatever happened to building community
Whatever happened to building communityWhatever happened to building community
Whatever happened to building community
 
Neuropersuasion
NeuropersuasionNeuropersuasion
Neuropersuasion
 
อุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ยอุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ย
 
Becoming a measurement ninja
Becoming a measurement ninjaBecoming a measurement ninja
Becoming a measurement ninja
 
วิชาฟิสิกส์ เรื่องงานและพลังงาน
วิชาฟิสิกส์ เรื่องงานและพลังงานวิชาฟิสิกส์ เรื่องงานและพลังงาน
วิชาฟิสิกส์ เรื่องงานและพลังงาน
 
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอมวิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
 
วิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่ใน1มิติ
วิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่ใน1มิติวิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่ใน1มิติ
วิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่ใน1มิติ
 
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
 

Similar to วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม

Similar to วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม (7)

Ppt [compatibility mode]
Ppt [compatibility mode]Ppt [compatibility mode]
Ppt [compatibility mode]
 
อุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ยอุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ย
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
กรด เบส 6
กรด เบส 6กรด เบส 6
กรด เบส 6
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 
Ent chem48
Ent chem48Ent chem48
Ent chem48
 

More from Tutor Ferry

Student-pilot-workbook-by-tutor ferry (Ex)
Student-pilot-workbook-by-tutor ferry (Ex)Student-pilot-workbook-by-tutor ferry (Ex)
Student-pilot-workbook-by-tutor ferry (Ex)Tutor Ferry
 
Student-pilot-handbook-by-tutor ferry (Ex)
Student-pilot-handbook-by-tutor ferry (Ex)Student-pilot-handbook-by-tutor ferry (Ex)
Student-pilot-handbook-by-tutor ferry (Ex)Tutor Ferry
 
สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์Tutor Ferry
 
สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์Tutor Ferry
 
สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์ สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์ Tutor Ferry
 
Ged reasoning through_language_arts_language_section
Ged reasoning through_language_arts_language_sectionGed reasoning through_language_arts_language_section
Ged reasoning through_language_arts_language_sectionTutor Ferry
 
Ged reasoning through_language_arts_reading_section
Ged reasoning through_language_arts_reading_sectionGed reasoning through_language_arts_reading_section
Ged reasoning through_language_arts_reading_sectionTutor Ferry
 
Ged social studies Test
Ged social studies TestGed social studies Test
Ged social studies TestTutor Ferry
 
Ged Science Test
Ged Science TestGed Science Test
Ged Science TestTutor Ferry
 
Ged Mathematical Test
Ged Mathematical Test Ged Mathematical Test
Ged Mathematical Test Tutor Ferry
 
Ged Mathematical Test
Ged Mathematical TestGed Mathematical Test
Ged Mathematical TestTutor Ferry
 
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ University of Technology, Sydney - UTS
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ University of Technology, Sydney - UTSศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ University of Technology, Sydney - UTS
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ University of Technology, Sydney - UTSTutor Ferry
 
ศึกษาต่ออสเตรเลีย ที่ The Gordon Institute of TAFE
ศึกษาต่ออสเตรเลีย ที่ The Gordon Institute of TAFEศึกษาต่ออสเตรเลีย ที่ The Gordon Institute of TAFE
ศึกษาต่ออสเตรเลีย ที่ The Gordon Institute of TAFETutor Ferry
 
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ RMIT University
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ RMIT Universityศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ RMIT University
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ RMIT UniversityTutor Ferry
 
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบส
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบสวิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบส
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบสTutor Ferry
 
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับคณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับTutor Ferry
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตTutor Ferry
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิวคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิวTutor Ferry
 
41 แบบทดสอบความพร้อม และความรู้ทั่วไป อ.รสสุคนธ์
41 แบบทดสอบความพร้อม และความรู้ทั่วไป อ.รสสุคนธ์41 แบบทดสอบความพร้อม และความรู้ทั่วไป อ.รสสุคนธ์
41 แบบทดสอบความพร้อม และความรู้ทั่วไป อ.รสสุคนธ์Tutor Ferry
 
41 แนวข้อสอบ อ.3 อ.รสสุคนธ์ เล่ม 3
41 แนวข้อสอบ อ.3 อ.รสสุคนธ์ เล่ม 341 แนวข้อสอบ อ.3 อ.รสสุคนธ์ เล่ม 3
41 แนวข้อสอบ อ.3 อ.รสสุคนธ์ เล่ม 3Tutor Ferry
 

More from Tutor Ferry (20)

Student-pilot-workbook-by-tutor ferry (Ex)
Student-pilot-workbook-by-tutor ferry (Ex)Student-pilot-workbook-by-tutor ferry (Ex)
Student-pilot-workbook-by-tutor ferry (Ex)
 
Student-pilot-handbook-by-tutor ferry (Ex)
Student-pilot-handbook-by-tutor ferry (Ex)Student-pilot-handbook-by-tutor ferry (Ex)
Student-pilot-handbook-by-tutor ferry (Ex)
 
สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์
 
สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์
 
สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์ สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์
 
Ged reasoning through_language_arts_language_section
Ged reasoning through_language_arts_language_sectionGed reasoning through_language_arts_language_section
Ged reasoning through_language_arts_language_section
 
Ged reasoning through_language_arts_reading_section
Ged reasoning through_language_arts_reading_sectionGed reasoning through_language_arts_reading_section
Ged reasoning through_language_arts_reading_section
 
Ged social studies Test
Ged social studies TestGed social studies Test
Ged social studies Test
 
Ged Science Test
Ged Science TestGed Science Test
Ged Science Test
 
Ged Mathematical Test
Ged Mathematical Test Ged Mathematical Test
Ged Mathematical Test
 
Ged Mathematical Test
Ged Mathematical TestGed Mathematical Test
Ged Mathematical Test
 
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ University of Technology, Sydney - UTS
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ University of Technology, Sydney - UTSศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ University of Technology, Sydney - UTS
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ University of Technology, Sydney - UTS
 
ศึกษาต่ออสเตรเลีย ที่ The Gordon Institute of TAFE
ศึกษาต่ออสเตรเลีย ที่ The Gordon Institute of TAFEศึกษาต่ออสเตรเลีย ที่ The Gordon Institute of TAFE
ศึกษาต่ออสเตรเลีย ที่ The Gordon Institute of TAFE
 
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ RMIT University
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ RMIT Universityศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ RMIT University
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ RMIT University
 
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบส
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบสวิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบส
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบส
 
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับคณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิวคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
41 แบบทดสอบความพร้อม และความรู้ทั่วไป อ.รสสุคนธ์
41 แบบทดสอบความพร้อม และความรู้ทั่วไป อ.รสสุคนธ์41 แบบทดสอบความพร้อม และความรู้ทั่วไป อ.รสสุคนธ์
41 แบบทดสอบความพร้อม และความรู้ทั่วไป อ.รสสุคนธ์
 
41 แนวข้อสอบ อ.3 อ.รสสุคนธ์ เล่ม 3
41 แนวข้อสอบ อ.3 อ.รสสุคนธ์ เล่ม 341 แนวข้อสอบ อ.3 อ.รสสุคนธ์ เล่ม 3
41 แนวข้อสอบ อ.3 อ.รสสุคนธ์ เล่ม 3
 

วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม

  • 1. ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม อุตสาหกรรม NaCl เกลือสินเธาว มาจากผิวดิน มาจากนํ้าบาดาล มาจากชั้นเกลือหิน ซึ่งในขบวนการจะมีเกลือบางชนิด ปนอยูเชน Na2 SO4 และ Na2 CO3 เรียกสารละลายนี้วานํ้าขม หลักการทางวิทยาศาสตร การละลาย การกรอง การระเหย การตกผลึก เกลือสมุทร การเตรียมพื้นที่นา การทํานาเกลือ ระเหย นํ้าทะเล ระเหย วังขังนํ้า ระเหย นาตาก ตกผลึก ระเหย นาเชื้อ ตกผลึก นาปลง การปองกันเกลือชื้น 1. เติมปูนขาวลงในนาเชื้อ → เกิดตะกอน Mg(OH)2 2. ระบายนํ้าจากนาเชื้อเขาสูนาปลงตลอดเวลา เพื่อมิใหถึงจุดอิ่มตัวของเกลือ Mg2+ การทําให NaCl บริสุทธิ์ 1. เติม NaOH เพื่อกําจัด Mg 2+ → ตะกอน Mg(OH)2 2. เติม BaCl2 เพื่อกําจัด −2 4so → ตะกอน BaSO4 3. เติม Na2CO3 เพื่อจัด Ca 2+ และ Ba 2+ → ตะกอน CaCO3, BaCO3 4. เติม H Cl เพื่อกําจัด −2 3co → H2O + CO2 CaSO4 www.tutorferry.com/www.tutorferry.com/
  • 2. 127 การผลิต NaOH จาก NaCl เมื่อนํา NaCl ที่ผลิตไดมาทําการแยกดวยวิธีการตาง ๆ จะไดผลิตภัณฑที่เปน NaOH H2 และ Cl2 ซึ่ง สามารถนําไปเปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรมตาง ๆ มากมาย ซึ่งวิธีการผลิต NaOH ดวยกระแสไฟฟา มี 3 วิธี 1. การผลิตโดยใชเซลปรอท 2. การผลิตโดยใชเซลไดอะแฟรม 3. การผลิตโดยใชเซลเยื่อแลกเปลี่ยนไอออน การผลิตโดยใชเซลปรอท + Anode Anode 2Cl - ⎯ →⎯ Cl2 + 2e - Cl Cathode Na + + e - ⎯→⎯ Hg Na(Hg) NaCl Na(Hg) ⎯⎯→⎯ OH2 NaOH + H2 Na + Hg --- Cathode ปฏิกิริยารวม ⇒ 2 NaCl + 2 H2O ⎯ →⎯ 2 NaOH + H2 + Cl2 วิธีนี้จะมี ขอเสีย คือ มีปรอท (Hg) อยูในนํ้าทิ้ง แตก็มี ขอดี ของการใชปรอท คือปองกันมิใหโลหะ Na ที่เกิดขึ้นทําปฏิกิริยากับนํ้าทันที หรือปองกันมิใหผลิตภัณฑบางชนิดทําปฏิกิริยากัน ดังสมการ 2Na + 2H2O ⎯ →⎯ 2NaOH + H2 3Cl2 + 6NaOH ⎯ →⎯ 5NaCl + NaClO3 + 3H2O การผลิตโดยใชเซลไดอะแฟรม มีลักษณะเปนแผนกั้น ซึ่งมีคุณสมบัติยอมใหไอออนตาง ๆ ไหลผานได แตไมยอมใหกาซไหลผาน เซลลนี้มีการปรับความดันดาน Anode มากกวา Cathode ทําให Na + และ Cl - เคลื่อนมาทาง Cathode ทั้งหมดเปนผล ใหได NaOH ที่ไมบริสุทธิ์ กลาวคือ จะมี NaCl ปนออกมาดวย www.tutorferry.com/
  • 3. 128 Cl2 H2 NaCl NaOH NaCl Na + Cl - Anode Cathode ไดอะแฟรม Anode 2Cl - ⎯ →⎯ Cl2 + 2e - Cathode 2H2O + 2e - ⎯ →⎯ H2 + 2OH - การผลิตโดยใชเซลเยื่อแลกเปลี่ยนไอออน เซลลประเภทนี้จะมีเยื่อแลกเปลี่ยนไอออน กลาวคือ ยอมใหอิออนเคลื่อนที่ผานได แตเปนเฉพาะ อิออน บวกเทานั้นจึงทําให Cl - ไมสามารถเคลื่อนผานได ผลที่เกิดขึ้นจะได NaOH ที่บริสุทธิ์มาก Cl2 H2 NaCl + Na + NaOH เยื่อแลกเปลี่ยนไอออน Anode 2Cl - ⎯ →⎯ Cl2 + 2e - Cathode 2H2O + 2e - ⎯ →⎯ H2 + 2OH - www.tutorferry.com/
  • 4. 129 โจทย 18 ในการแยก NaCl พบวาเกิดกาซ Cl2 11.2 ลิตรที่ S.T.P จะมี NaOH เกิดขึ้นกี่กรัม NaCl + H2O → NaOH + H2 + Cl2 สารฟอกขาว (NaOCl) สามารถเตรียมไดจากปฎิกริยาของ NaOH กับ Cl2 ดังสมการ 2NaOH + Cl2 ⎯ →⎯ NaCl + NaOCl + H2O ซึ่ง NaOCl (สารฟอกขาว) สามารถทําปฎิกริยากับ KI ไดดังสมการ NaOCl + 2KI + H2O ⎯ →⎯ 2KOH + NaCl + I2 ( ละลายไดทั้ง KI และ Hexane) โจทย 19 เมื่อผาน Cl2 ไปบน NaOH พบวาไดสารฟอกขาว (NaOCl) ดังสมการ 2NaOH + Cl2 ⎯ →⎯ NaCl + NaOCl + H2O เมื่อใชกาซคลอรีน 3.01 x 10 21 อะตอม จะเกิดสารฟอกขาวกี่กรัม อุตสาหกรรมผงชูรส ผงชูรสเปนเกลือโซเดียมของกรดกลูตามิก มีชื่อยอวา M.S.G. (Monosodium glutamate) สูตร C5H8NO4Na HOOC - CH2 - CH2 - CH - COONa NH2 วัตถุดิบ แปงมันสําปะหลังหรือโมลาส 1. แปงหรือโมลาส ⎯⎯ →⎯ 4SO2H นํ้าตาลกลูโคส 2. กลูโคส + ยูเรีย ⎯⎯ →⎯ จุลินทรีย แอมโมเนียมกลูตาเมต 3. แอมโมเนียมกลูตาเมต + HCl ⎯ →⎯ กรดกลูตามิก + NH4Cl (ปุย N) 4. กรดกลูตามิก + NaOH ⎯ →⎯ M.S.G. + H2O www.tutorferry.com/
  • 5. 130 จากสมการจะพบวาในการเกิด M.S.G. จะใช NaOH 1 โมล แตถาใช NaOH 2 โมล จะไดโซเดียม กลูตาเมต ซึ่งไมใชผงชูรส NaOOC - CH2 - CH2 - CH - COONa โซเดียมกลูตาเมต NH2 การตรวจสอบผงชูรส 1. Borax (Na2B4O7 . 10H2O) ผงชูรส → ∆ เปลวไฟสีเขียว ⎯⎯ →⎯ กระดาษ สีนํ้าตาลเขม ขมิ้น 2. Metaphosphate (NaPO3) ผงชูรส ⎯⎯⎯⎯ →⎯ 4MoO2)4NH( ตะกอนเหลือง [(NH4)3PO4 . 12MoO3] 3. NaCl ผงชูรส ⎯⎯ →⎯ 3AgNO ตะกอนขาว (AgCl) 4. C12H22O11 ผงชูรส ⎯⎯ →⎯ Benedict ตะกอนแดงอิฐ (Cu2O) อุตสาหกรรมโซดาแอช โซดาแอชมีสูตรเคมีเปน Na2CO3ซึ่งมี CaCO3 และ NaCl เปนวัตถุดิบในการเตรียมโดยขบวนการ Solvey process หรือ Soda ammonia ซึ่งมีขั้นตอนตาง ๆ ดังนี้ 1. CaCO3 → ∆ CaO + CO2 2. CO2 + NaCl + NH4OH ⎯ →⎯ NaHCO3 + NH4Cl (ปุย N) 3. NaHCO3 → ∆ Na2CO3 + H2O + CO2 ในบางประเทศอาจใช NaOH ทําปฎิกริยากับ CO2 โดยตรงไดผลิตภัณฑ NaHCO3 จากนั้นนําไปเผาตอ จะไดโซดาแอช ผลิตภัณฑบางชนิดที่เกิดขึ้นสามารถนําไปรวมตัวกัน จะไดสารบางชนิดซึ่งสามารถนําไปเปนสารตั้ง ตนไดอีก ดังสมการ CaO + NH4Cl ⎯ →⎯ CaCl2 + H2O + NH3 ขอเสีย www.tutorferry.com/
  • 6. 131 อุตสาหกรรมปุย ปุยโดยทั่วไปจะแบงเปน 2 ชนิด 1. ปุยอินทรีย (เทศบาล) ไดแก ปุยคอก ปุยหมัก 2. ปุยอนินทรีย (เคมี,วิทยาศาสตร) ไดแก NH4Cl (NH4)2SO4 NH2CONH2 K3PO4 Ca3(PO4)2 Ca(H2PO4)2 การเตรียมปุย NH2CONH2 (NH2)2CO NH3 N2 ⎯ →⎯ จากอากาศ CO2 H2 ⎯ →⎯ จาก Coke การเตรียมปุย (NH4)2SO4 (NH4)2SO4 ⎯ →⎯ NH3 ⇒ N2 + H2 ⎯ →⎯ H2SO4 ⇒ S + O2 ⎯ →⎯ SO2 SO3 ⎯⎯ →⎯ OH 2 H2SO4 O2 H2SO4 H2SO4 ⎯⎯ ⎯← OH2 H2S2O7 การเตรียมปุยซูปเปอรฟอสเฟต [Ca(H2PO4)2] โดยใชหินฟอสเฟต CaF2.3Ca3(PO4)2 มาเตรียมปุยฟอสเฟตได 2 วิธี คือ วิธีที่ 1 CaF2.3Ca3(PO4)2 + 10H2SO4 ⎯ →⎯ 6H3PO4 + 10CaSO4 + 2HF CaF2.3Ca3(PO4)2 + 14H3PO4 ⎯ →⎯ 10Ca(H2PO4)2 + 2HF วิธีที่ 2 CaF2.3Ca3(PO4)2 + 7H2SO4 + 3H2O ⎯ →⎯ 3Ca(H2PO4)2 .H2O + 7CaSO4 + 2HF HF ที่เกิดขึ้นจะระเหยกลายเปนไองายและเปนพิษ ซึ่ง HF บางสวนทําปฏิกิริยากับทราย (SiO2) ที่ปน ในหินฟอสเฟตเกิดเปน SiF4 ซึ่งรวมกับ H2O เกิดเปน H2 SiF6 อาจทําปฏิกิริยาตอกับ MgO ได MgSiF6 ใชเปนยา ฆาแมลง ดังสมการ 6HF + SiO2 H2SiF6 + 2H2O H2SiF6 + MgO MgSiF6 + H2O www.tutorferry.com/
  • 7. 132 HF ที่เกิดขึ้นในการผลิตจะถูกเก็บโดยผานลงในนํ้าแลวทําปฏิกิริยากับ Na2CO3 หรือ CaCO3 ดังสมการ 2HF + Na2CO3 ⎯ →⎯ 2NaF + CO2 + H2O 2HF + CaCO3 ⎯ →⎯ CaF2 + CO2 + H2O อุตสาหกรรมแร แรดีบุก (Sn) ดีบุกจะอยูในรูปของสินแรแคซิเทอไรต (SnO2) ในการถลุงโดยการนําสินแรผสมกับ ถานโคกและหินปูนในอัตราสวน 20:4:5 โดยนําผลึกใสในเตาถลุงแบบนอน ดังสมการ C + O2 ⎯ →⎯ CO2 C + CO2 ⎯ →⎯ 2CO 2CO + SnO2 ⎯ →⎯ Sn + 2CO2 ในสินแรดีบุกมักจะมี SiO2 เจือปนจะรวมกับผลิตภัณฑของหินปูนเกิดเปนตะกรัน (CaSiO3) ดังสมการ CaCO3 → ∆ CaO + CO2 CaO + SiO2 ⎯ →⎯ CaSiO3 แรพลวง ( Sb) สินแรพลวงจะอยูในสินแร 2 ชนิด คือ 1. สติบไนต หรือพลวงเงิน (Sb2S3) พบสวนมาก นํามาถลุงโดยวิธีการระเหยหรือยางแร 2. สติบโคไนต หรือพลวงทอง (Sb2O4 .nH2O) 2Sb2S3 + 9O2 ⎯ →⎯ 2Sb2O3 + 6SO2 Sb2O3 + 3CO ⎯ →⎯ 2Sb + 3CO2 แรสังกะสี-แคดเมียม (Zn-Cd) สินแรสังกะสีทีพบมากที่สุด คือ แรสฟาเลอไรต (ZnS) นอกจากนี้ อาจจะเปน ZnO, ZnCO3 เปนตน ในการถลุงจะใช ZnS และ ZnCO3 มาทําใหเปน Oxide กอนจากนั้นทําปฏิกิริยากับ CO ไดโลหะ สังกะสีซึ่งอยูในรูปของเหลวยังไมบริสุทธิ์มักจะมีแคดเมียมกับตะกั่วเจือปนออกมาดวย ดังสมการ 2ZnS + 3O2 ⎯ →⎯ 2ZnO + 2SO2 ⎯ →⎯ ZnCO3 ⎯ →⎯ ZnO + CO2 ⎯ →⎯ www.tutorferry.com/
  • 8. 133 จาก และ ทําปฎิกริยากับ CO ZnO + CO Zn + CO2 สวนในประเทศไทยจะใชสินแรสังกะสีทําปฏิกิริยากับกรด H2SO4 เกิดเปน ZnSO4 ซึ่งมักจะมี CdSO4 Sb2(SO4)3 และ CuSO4 ปนอยูดวยจึงนํามาทําปฏิกิริยาผงสังกะสีเพื่อใหเกิดเปน ZnSO4 ใหหมดจากนั้นแยก ตะกอน ( Cd, Sb, Cu ) และสารละลาย ZnSO4 ซึ่งนําไปแยกดวยไฟฟาตอไป ดังสมการ Anode 2H2 O ⎯ →⎯ O2 + 4H + + 4e - Cathode Zn 2+ + 2e - ⎯ →⎯ Zn แรแทนทาลัม-ไนโอเบียม (Ta-Nb) แรทั้งสองชนิดจะพบอยูในดะกรีนของดีบุก ซึ่งพบวาทั้ง Ta และ Nb สามารถละลายไดใน MIBK (Methyl Isobutyl Ketone) จากนั้นไปผานขบวนการแยกสุดทายจะได Nb2O5 และ Ta2O5 หรือ K2TaF7 แรเซอรโคเนียม ( Zr) Zr จะพบมากในสินแรเซอรคอน (ZrSiO4) ตามแหลงแรดีบุกเมื่อผานขบวน การแยกตาง ๆ สุดทายจะไดในรูปของออกไซด (ZrO2) ประโยชนของแรชนิดตาง ๆ Sn - ทําตะกั่วบัดกรี - ฉาบแผนเหล็กทํากระปองบรรจุอาหาร - อุตสาหกรรมเครื่องเคลือบ เครื่องแกว ยอมสี กระดาษ พิมพเขียว - ผสม Cu ทําทองสัมฤทธิ์ - ผสม Cu และ Sb ไดโลหะผสมคอมพิวเตอรซึ่งทําภาชนะตาง ๆ Sb - ผสม Pb และ Sn ทําโลหะตัวพิมพ - ผสม Pb ทําแผนตะกั่วในแบตเตอรี่ - อุตสาหกรรมยาง สี เซรามิกส Zn - กลองถานไฟฉาย - เคลือบโลหะ - ทําโลหะผสม เขน ผสม Cu ทําทองเหลือง - อุตสาหกรรมสี ยาและอาหารสัตว Cd - ถานไฟฉาย แบตเตอรี่ สีและพลาสติก Ta - ทําอุปกรณอีเลคโทรนิกในคอมพิวเตอร เครื่องมือสื่อสาร - โลหะผสมทําเครื่องบิน จรวด ขีปนาวุธ อุปกรณเตาปรมาณู ออกไซดทําเลนส Nb - ผสมเหล็กกลาทําทอสงกาซ วัสดุกอสรางของโรงงานเคมีทําเลนส www.tutorferry.com/
  • 9. 134 Zr - อุตสาหกรรมเซรามิกส - ชิ้นสวนเครื่องยนตจรวดและไอพน - ชิ้นสวนของหัวเทียนรถยนต - อุปกรณอีเลกโทรนิก โจทย 20 ผงชูรส 10 กรัม เมื่อนํามาละลายนํ้าแลวเติม HNO3 และ Ag NO3 เขมขนใน 0.1 M ปรากฎวามี ตะกอนขาวเกิดขึ้นหนัก 0.287 กรัม จงหาวาผงชูรสมี NaCl กี่เปอรเซนต โดยมวล (Ag = 108, Cl = 35.5, Na = 23) www.tutorferry.com/www.tutorferry.com/