SlideShare a Scribd company logo
1 of 244
Download to read offline
1
รายงานผลการดำเนินงานของสถานศึกษา
เพื่อประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงานของโรงเรียนปางมะคาวิทยาคม
ประวัติโรงเรียน
โรงเรียนปางมะคาวิทยาคมตั้งอยูเลขที่ ๒๕๓ หมู ๑ ตำบลปางมะคา อำเภอขาณุวรลักษบุรี
จังหวัดกำแพงเพชร รหัสไปรษณีย ๖๒๑๔๐ โทรศัพท ๐๘๔ – ๘๑๙๐๓๔๘ โทรสาร - เว็บไซต
www.makawit.ac.th. อีเมล admin@makawit.ac.th และเพจโรงเรียนปางมะคาวิทยาคม รหัส
สถานศึกษา ๑๐๖๒๐๔๐๔๔๗ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากำแพงเพชร สังกัดสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เปดสอนตั้งแตชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑ ถึง ชั้น
มัธยมศึกษาปที่ ๖ เปดสอนตั้งแตระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑ - ๖ ตั้งแต วันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๓๕ มีเนื้อ
ที่ ๔๘ ไร ๓ งาน ๔๓ ตารางวา เขตพื้นที่บริการ ไดแก ตำบลปางมะคา อำเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัด
กำแพงเพชร มีครูและบุคลากรทางการศึกษา ๓๕ คน ผูเรียนจำนวน ๔๕๒ คน
แนวทางการจัดการศึกษา
เอกลักษณ ดนตรีสรางสรรค ผลิตภัณฑสรางอาชีพ
อัตลักษณ มารยาทดี มีน้ำใจ
วิสัยทัศน พัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา รักษสิ่งแวดลอม
นอมนำศาสตรพระราชา รวมพัฒนาคูชุมชน
พันธกิจ
๑. พัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา โดยจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปน
สำคัญ
๒. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาใหมีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ
๓. สงเสริมใหผูเรียนมีจิตสำนึกรักษสิ่งแวดลอม มีคุณธรรม จริยธรรม ดำรงชีวิตตาม
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
๔. สงเสริมและสนับสนุนการกระจายอำนาจการจัดการศึกษา โดยชุมชนมีสวนรวม
เปาประสงค
๑. พัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา โดยจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปน
สำคัญ
๒. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาใหมีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ
๓. พัฒนาผูเรียนมีจิตสำนึกรักษสิ่งแวดลอม มีคุณธรรม จริยธรรม ดำรงชีวิตตามหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
๔. ผูบริหารมีการกระจายอำนาจการจัดการศึกษา โดยชุมชนมีสวนรวม
2
ขอมูลบุคลากรของสถานศึกษา (ครูและบุคลากรทางการศึกษา, นักเรียน)
ที่ ชื่อ – ชื่อสกุล อายุ
อายุ
ราชการ
ตำแหนง/
วิทยฐานะ
วุฒิ วิชา เอก
สอนวิชา/
ชั้น
๑ นายวิฑูรย พานชัย ๕๖ ๓๓ ชำนาญการพิเศษ กศ.ม. บริหาร
การศึกษา
ผูอำนวยการ
๒ นายพิจารณ อุสสาหกิจ ๕๘ ๓๐ ชำนาญการพิเศษ ทษ.บ. สัตวบาล คอมพิวเตอร
๓ นางวาสนา อินทะเรืองศร ๔๘ ๒๕ ชำนาญการพิเศษ ค.บ. ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ
๔ นางเนาวรัตน ชางนอย ๔๔ ๑๕ ชำนาญการพิเศษ ค.ม. บริหาร
การศึกษา
ภาษาไทย
๕ นางกมลรัตน ชางตีทอง ๔๗ ๑๔ ชำนาญการพิเศษ ศษ.ม. บริหาร
การศึกษา
วิทยาศาสตร
๖ นางสาวกชกร ขมพิษ ๔๒ ๑๒ ชำนาญการพิเศษ ศษ.ม. บริหาร
การศึกษา
ภาษาไทย
๗ น.ส.ฐิตารีย พรมพันธ ๔๔ ๑๒ ชำนาญการพิเศษ กศ.ม. บริหาร
การศึกษา
ชีววิทยา
๘ นางเพียงตะวัน ศรีเวียง ๔๐ ๑๔ ชำนาญการพิเศษ กศ.ม. บริหาร
การศึกษา
เคมี
๙ นายประทีป ขันกสิกรรม ๔๔ ๑๔ ชำนาญการพิเศษ ศศ.บ. ศิลปกรรม ศิลปะ
๑๐
นางวิระพันธ จันทรา ๓๗ ๑๒ ชำนาญการพิเศษ ศษ.ม. บริหาร
การศึกษา
ภาษาอังกฤษ
๑๓ นายอำนาจ ขอนแกน ๔๒ ๑๒ ชำนาญการพิเศษ ศษ.ม. บริหาร
การศึกษา
คณิตศาสตร
๑๔ นางสาวฐานิดา ฟองหนองออ ๔๐ ๙ ชำนาญการพิเศษ ศศ.ม. บริหาร
การศึกษา
คณิตศาสตร
๑๕ นายเลิศธนิสร คำกองแกว ๕๕ ๓๐ ชำนาญการ ค.บ. คณิตศาสตร คณิตศาสตร
๑๖ นางสาวชอเอื้อง ธรรมศักดิ์ ๓๗ ๗ ชำนาญการ ศศ.ม บริหาร
การศึกษา
ภาษาอังกฤษ
๑๗ นางสาววัชราภรณ พรมทอง ๓๒ ๓ ครูผูชวย วท.บ. ฟสิกส ฟสิกส
๑๘ นายวรรณพล บูรัมย ๒๖ ๒ ครูผูชวย ศษ.บ พลศึกษา พลศึกษา
3
ครูอัตราจาง
ที่ ชื่อ – ชื่อสกุล อายุ
อายุ
ราชการ
ตำแหนง/
วิทยฐานะ วุฒิ วิชา เอก
สอนวิชา/
ชั้น
๑๙ นายวัฒนชัย แยบกสิกิจ ๒๗ ๒ ครูผูชวย ค.บ. คณิตศาสตร คณิตศาสตร
๒๐ นางสาวรุงอรุณ เขาคาย ๓๐ ๑ ครูผูชวย ค.บ. สังคมศึกษา สังคมศึกษา
๒๑ นายชัยวัฒน จันทรหอม ๒๘ ๑ ครูผูชวย ค.บ. สังคมศึกษา สังคมศึกษา
๒๒ นางสาวกำไลทิพย ปนทอง ๒๘ ๑ ครูผูชวย ค.บ. ภาษาไทย ภาษาไทย
๒๓ นางสาวสุกัญญา ขวัญตา ๓๘ ๗
เดือน
ครูผูชวย วท.บ. เทคโนโลยี
การอาหาร
คหกรรม
๒๔ นางสาวสุมิลตรา สอนธรรม ๒๔ ๕
เดือน
ครูผูชวย ศศ.บ. คอมพิวเตอร
ศึกษา
คอมพิวเตอร
ที่ ชื่อ – ชื่อสกุล อายุ
ประสบการณ
การสอน (ป)
วุฒิ วิชา เอก สอนวิชา/ชั้น
๑ นายณัฐภัทร ปุกลางดอน ๔๔ ๑๓ ค.บ. อุตสาหกรรม งานชาง
๒ นางสาวหทัยชนก ขำสกล ๒๘ ๒ ค.บ. สังคมศึกษา สังคม
๓ นางสาววราภรณ พวงสมบัติ ๒๙ ๖ เดือน ค.บ. ดนตรีศึกษา ดนตรี
๔ นายฐรรธนพล พุมพวง ๓๐ ๖ เดือน ค.บ. พลศึกษา พลศึกษา
๔ นางสาววารินทร เตยสระนอย ๒๕ ๖ เดือน ค.บ. ภาษาจีน ภาษาจีน
๕ นางสาวจิราภา ธีระธาดา ๒๔ ๑ เดือน ค.บ. ภาษาไทย ภาษาไทย
4
กลุมสงเสริมและสนับสนุนการเรียนการสอน
ที่ ชื่อ – ชื่อสกุล อายุ
ประสบการณ
การทำงาน (ป)
วุฒิ งานที่รับผิดชอบ
๑ นางสาวกัญญาณัฐ เจียมพรหมราช ๓๖ ๘ บธ.บ. จนท.ธุรการ
๒ นายอำนาจ คณโฑพรหมราช ๕๘ ๓๔ ม.๖ ชางไม/ชางไฟ
๓ นายอำนวย คำดี ๕๙ ๓๓ ม.๖ ชางสี/ชางไฟ
๔ นายมะยม แจสูงเนิน ๕๗ ๓๐ ม.๖ ชางครุภัณฑ/ชางไฟ
๕ นายวิโรจน ยศพรหมราช ๕๐ ๒๔ ม.๖ ชางโลหะ/ชางไฟ
สรุป ขอมูลบุคลากรของสถานศึกษา ประจำปการศึกษา ๒๕๖๔
ตำแหนง จำนวน
วุฒิการศึกษา สาขาวิชา
ป.ตรี ป.โท ป.เอก
บริหาร
การศึกษา
คณิตฯ
วิทยฯ
ภาษา
ไทย
ภาษา
อังกฤษ
สังคม
ศิลปะ
การงานฯ พลศึกษา
ผูบริหาร ๑ - ๑ - ๑ - - - - - - - -
ครู ๒๓ ๑๓ ๑๐ - - ๔ ๕ ๓ ๓ ๒ ๑ ๒ ๑
พนักงานราชการ - - - - - - - - - - - - -
ครูอัตราจาง ๖ ๖ - - - - - ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑
เจาหนาที่อื่น ๆ
ครูธุรการ ๑ ๑ - - - - - - - - - - -
ลูกจางประจำ ๔ - - - - - - - - - - - -
รวม ๓๑ ๑๙ ๑๑ - ๑ ๔ ๕ ๔ ๔ ๓ ๒ ๓ ๒
5
ขอมูลนักเรียน (ณ วันที่ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๖๔)
๑) จำนวนนักเรียนในโรงเรียนทั้งสิ้น …๔๕๒………คน จำแนกตามระดับชั้นที่เปดสอน
ระดับชั้นเรียน จำนวนหอง
เพศ
รวม
ชาย หญิง
มัธยมศึกษาปที่ ๑ ๓ ๔๑ ๔๖ ๘๗
มัธยมศึกษาปที่ ๒ ๓ ๔๕ ๔๖ ๙๑
มัธยมศึกษาปที่ ๓ ๓ ๔๔ ๔๕ ๘๙
รวม ๙ ๑๓๐ ๑๓๗ ๒๖๗
มัธยมศึกษาปที่ ๔ ๒ ๒๕ ๔๒ ๖๗
มัธยมศึกษาปที่ ๕ ๒ ๒๑ ๔๘ ๖๙
มัธยมศึกษาปที่ ๖ ๒ ๑๘ ๓๑ ๔๙
รวม ๖ ๖๔ ๑๒๑ ๑๘๕
รวมทั้งหมด ๑๕ ๑๙๔ ๒๕๘ ๔๕๒
ขอมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา
๑.๑. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑ – ๖ ปการศึกษา ๒๕๖๓
44.07
20.34
23.91
5.18
3.27
1.07 1.57 0.60
3.33
0.00
4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 ร มส
สรุปผลสัมฤทธิ์แยกตามระดับผลการเรียน ปการศึกษา ๒๕๖๓
ผลการเรียน
6
สภาพชุมชนโดยรวม
สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนลักษณะของชุมชนที่ตั้งสถานศึกษาโรงเรียน
ปางมะคาวิทยาคม เปนโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๔๑ ตั้งอยู ณ หมูที่ ๑ ตำบลปางมะคา อำเภอขาณุวรลักษบุรี
จังหวัดกำแพงเพชร รหัสไปรษณีย ๖๒๑๔๐ โทรศัพท ๐๘๔-๘๑๙-๐๓๔-๘ มีพื้นที่ ๖๗ ไร ไดเปดทำการ
ตั้งแต วันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๒๘ เปนปแรก ผูปกครองสวนใหญจบการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาปที่ ๖
ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม (คิดเปนรอยละ) ๑๐๐ นับถือศาสนาพุทธ (คิดเปนรอยละ) ๑๐๐ ฐานะทาง
เศรษฐกิจ/รายไดโดยเฉลี่ยตอครอบครัวตอป ๕๐,๐๐๐ บาท จำนวนคนเฉลี่ยตอครอบครัว ๔ คน อาคาร
สถานที่ สภาพแวดลอม สภาพแวดลอมทั่วๆไป รอบโรงเรียนเงียบสงบ ไมเปนแหลงชุมชนเมือง อากาศบริสุทธิ์
ภายในโรงเรียนมีสภาพที่รมรื่นมีการปลูกปาเพื่อสรางบรรยากาศและอาศัยรมเงาในการจัดทำกิจกรรมอื่นและมี
การอนุรักษพันธุไมที่หายากเชน ไมมะคา สารพี มะเค็ง สีเสียดแกน ไมประจำจังหวัด ภายในโรงเรียนรอบตัว
อาคารจะสะอาดอยูในระดับดีไมมีขยะมูลฝอยประเภทถุงพลาสติกหรือหลอดกาแฟ สภาพแวดลอมภายในบริเวณ
โรงเรียนถูกพัฒนาตลอดเวลาเพื่อใหเกิดบรรยากาศแหงการเรียนรูและสรางความประทับใจตอแขกผูมาเยือน มี
ประชากรประมาณ ๓,๕๐๐ คน บริเวณใกลเคียงโดยรอบโรงเรียน ไดแกวัดศรีไพศาล อนามัยศรีไพศาล โรงเรียน
บานศรีไพศาล โรงเรียนบานคลองสะพานชาง อาชีพหลักของชุมชน คือ อาชีพเกษตรกรรม เนื่องจากประชากร
สวนใหญปลูกมันสำปะหลัง สวนใหญนับถือศาสนาพุทธประเพณี/ศิลปวัฒนธรรมทองถิ่นที่เปนที่รูจักโดยทั่วไป คือ
ตักบาตรเทโว งานเทศนมหาชาติ ประเพณีเขาพรรษา ประเพณีออกพรรษา รดน้ำขอพรจากผูอาวุโสในวัน
สงกรานตเปนตน โรงเรียนปางมะคาวิทยาคม เปนโรงเรียนประจำตำบลขนาดกลาง ตั้งอยูหมูบานศรีไพศาลหมูที่
๑ ตำบลปางมะคา อยูในชุมชนขนาดเล็ก หางจากตัวอำเภอประมาณ ๓๔ กิโลเมตร หางจากตัวจังหวัดประมาณ
๑๐๐ กิโลเมตร ประชาชนสวนใหญมีอาชีพทำไรมันสำปะหลัง ไรออย ทำนา สวนมะมวง และรับจางทั่วไป
โรงเรียนตั้งอยูทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของหมูบาน โดยทิศเหนือติดกับบานใหมหนองยาง บานโปงขาม ทิศ
ตะวันออกติดกับบานโปงแต ทิศตะวันตกติดกับบานคลองสะพานชาง และทิศใตติดกับบานวังน้ำขาว
3.51
3.16
3.48 3.38
3.63 3.48 3.42
3.22
คาเฉลี่ยระดับผลการเรียนตามกลุมสาระการเรียนรู
คาเฉลี่ยระดับผลการเรียน
7
แหลงเรียนรูภายใน/ภายนอกโรงเรียนและภูมิปญญาทองถิ่น
๑. แหลงเรียนรูภายในโรงเรียน
แหลงเรียนรูภายใน สถิติการใชจำนวนครั้ง/ป
ชื่อแหลงเรียนรู
๑. ศูนยสงเสริมการเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียง
๒. ศูนยสงเสริมการเรียนรูการปลูกพืชสมุนไพร
๕. ศูนยสงเสริมการเรียนรูสวนมะมวง ป.ว.
๕. ศูนยสงเสริมการเรียนรูชีวภัณฑ ชีววิธี
๖. ศูนยสงเสริมการเรียนรู ปุยหมักชีวภาพ
๗. ศูนยสงเสริมการเรียนรู EM
๘. ศูนยสงเสริมการเรียนรู การปลูกพืชผักสวนครัว
๙. ศูนยสงเสริมการเรียนรู โรงเรียนธนาคาร
๑๐. ศูนยสงเสริมการเรียนรู กิจกรรม สหกรณ
๑๑. ศูนยสงเสริมการเรียนรู มะนาววงบอ
๑๒. ศูนยสงเสริมการเรียนรู ขยะรีไซเคิล
๑๕. ศูนยสงเสริมการเรียนรู เห็ด
๑๕. ศูนยสงเสริมการเรียนรู นักธุรกิจนอย
๒๐๐
๑๘
๑๘
๑๘
๑๘
๑๘
๑๘
๑๘
๑๘
๑๘
๑๘
๑๘
๑๘
๒. แหลงเรียนรูภายนอกโรงเรียน
แหลงเรียนรูภายนอก สถิติการใช
จำนวนครั้ง/ป
ชื่อแหลงเรียนรู
๑. มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
๒. อุทยานแหงชาติคลองลาน
๓. อุทยานประวัติศาสตร จ.กำแพงเพชร
๕
๑
๑
8
ปราชญชาวบาน/ภูมิปญญาทองถิ่น/ผูทรงคุณวุฒิที่สถานศึกษาเชิญมาใหความรู
๑. รพ.สต.ศรีไพศาล ใหความรูเรื่อง ยุงลายและการปองกัน ทองกอนวัยอันควร สถิติการใหความรูใน
โรงเรียนแหงนี้ จำนวน ๕ ครั้ง/ป
๒. สถานีตำรวจปางมะคา อบรมและเปดโครงการตำรวจเปดโรงรถ สถิติการใหความรูในโรงเรียน
แหงนี้ จำนวน ๒ ครั้ง/ป
๓. โครงการสงเสริมคุณธรรมศีลธรรมนำการศึกษา โดย บริษัท เฉากวยชากังราว จำกัด ไดรับมอบหมาย
จาก ดร.เสริมวุฒิ สุวรรณโรจน ประกอบดวย นายไพโรจน พลาพล, นายสวัสดิ์ ปองเหลือบ, นายสำราญ คงธ
นะ และนายไพฑูรย มะณู จำนวน ๑ ครั้ง
๔. มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะวิทยาศาสตร(เคมี) อบรมเคมีสูชุมชน
๕. สำนักงานขนสง จ.กำแพงเพชร สาขาขาณุวรลักษบุรี จัดอบรม ขับขี่ปลอดภัย โครงการ
นักเรียนรุนใหมมีใบขับขี่
9
การดำเนินงานของสถานศึกษาตามแบบตรวจการประเมินคุณธรรมและความโปรงใส
สำหรับสถานศึกษาในจังหวัดกำแพงเพชร ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
ตัวชี้วัดที่ ๙ การเปดเผยขอมูล (จำนวน ๒๙ ขอ )
๑. โครงสรางการบริหารงานโรงเรียน
โรงเรียนปางมะคาวิทยาคมแบงการบริหารงานออกเปน ๔ ฝาย ดังนี้
ฝายบริหารงานวิชาการ
๑. พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาใหสอดคลองกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานและความ
ตองการของผูเรียน ชุมชนและทองถิ่น
๒. จัดการเรียนการสอน สภาพแวดลอม บรรยากาศการเรียนการสอนที่เหมาะสม และสงเสริม
กระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ ตลอดจนการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการจัด
การศึกษาอยางตอเนื่อง
๓. จัดใหมีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และรายงานผลการประเมินใหคณะกรรมการ
สถานศึกษารับทราบ
ฝายบริหารงานงบประมาณ
๑. จัดตั้งและรับผิดชอบการใชจายงบประมาณของสถานศึกษา ตามที่กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ
กำหนด
๒. ออกระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ และแนวปฏิบัติ ฯลฯ เกี่ยวกับการบริหารการเงินและการจัดหารายได
จากทรัพยสินของสถานศึกษา ทั้งนี้ ตามที่กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ กำหนด
ฝายบริหารงานบุคคล
๑. ดำเนินการตามที่กฎหมายวาดวยขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากำหนด
ฝายบริหารทั่วไป
๑. จัดทำนโยบาย แผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาใหสอดคลองกับนโยบายและแผนของ
กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
รวมทั้งความตองการของชุมชนและทองถิ่น
๒. ดำเนินการและกำกับ ติดตาม และประเมินผลงานตามแผนงาน โครงการของสถานศึกษา
๓. ระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา รวมทั้งปกครองดูแลบำรุงรักษา ใช และจัดหาผลประโยชนจากทรัพยสิน
ของสถานศึกษาตามที่กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ กำหนด
๔. ออกระเบียบ ขอบังคับ ประกาศแนวปฏิบัติ ฯลฯ ในการดำเนินงานดานตาง ๆ ตามกฎหมาย ระเบียบ
ประกาศ ฯลฯ กำหนด
๕. สงเสริมความเขมแข็งในชุมชนและสรางความสัมพันธกับสถาบันอื่น ๆ ในชุมชนและทองถิ่น
๖. ปฏิบัติหนาที่อื่นเกี่ยวกับกิจการของสถานศึกษา หรือตามที่ไดรับมอบหมายและตามที่กฎหมาย ระเบียบ
ประกาศ ฯลฯ กำหนด
10
11
๒. ขอมูลผูบริหาร
ชื่อ นายวิฑูรย์ พานชัย
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษาโรงเรียนปางมะค่าวิทยาคม
วิทยฐานะ ชํานาญการพิเศษ
เกิด เมื่อวันที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๐๘
ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ ๘๖ หมู่ที่ ๗ ตำบล ท่ามะเขือ อำเภอ คลองขลุง
จังหวัด กําแพงเพชร
วุฒิการศึกษาสูงสุด จบการศึกษาระดับปริญญาโท สาขา วิชาการบริหารการศึกษา
มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
12
๓. อำนาจหนาที่
บทบาทหนาที่ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
เพื่อใหสอดคลองกับเจตนารมณของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ สถานศึกษามีบทบาทหนาที่ดังนี้
๑.จัดทำนโยบาย แผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาใหสอดคลองกับนโยบายและแผนของ
กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ตลอดจนบริบท
และความตองการของชุมชนและทองถิ่น
๒. จัดตั้งงบประมาณ และรับผิดชอบการใชจายงบประมาณของสถานศึกษา
๓. พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาใหสอดคลองกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานและความ
ตองการของนักเรียน ชุมชน และทองถิ่น
๔. จัดการเรียนการสอน สภาพแวดลอม บรรยากาศการเรียนการสอนที่เหมาะสมและสงเสริม
กระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ ตลอดจนการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาอยาง
ตอเนื่อง
๕. ออกระเบียบ ขอบังคับ ประกาศและแนวปฏิบัติตาง ๆ ตามที่กฎหมายกำหนด
๖. กำกับ ติดตาม ประเมินผลงานตามแผนงาน โครงการและประเมินผลการปฏิบัติงาน ตลอดจนการ
พิจารณาความดีความชอบ การพัฒนา และการดำเนินการทางวินัยกับครูและบุคลากรทางการศึกษาใน
สถานศึกษาตามที่กฎหมายกำหนด
๗. ระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษารวมทั้งปกครอง ดูแล บำรุงรักษา ใชและจัดหาผลประโยชนจาก
ทรัพยสินของสถานศึกษา
๘. จัดใหมีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและใหความรวมมือในการประเมินคุณภาพการศึกษา
จากหนวยงานภายนอกสถานศึกษา รวมทั้งการรายงานผลการประเมินตอคณะกรรมการสถานศึกษาและ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
๙. สงเสริมความเขมแข็งใหกบชุมชนและสรางความสัมพันธกับสถานศึกษา และสถาบันอื่นในชุมชน
และทองถิ่น
๑๐. ปฏิบัติหนาที่อื่นที่เกี่ยวกับกิจการภายในสถานศึกษาหรือตามที่ไดรับมอบหมายและตามที่กฎหมาย
กำหนด
ดานวิชาการ
๑. พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาใหสอดคลองกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานและความ
ตองการของผูเรียน ชุมชนและทองถิ่น
๒. จัดการเรียนการสอน สภาพแวดลอม บรรยากาศการเรียนการสอนที่เหมาะสม และสงเสริม
กระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ ตลอดจนการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการจัด
การศึกษาอยางตอเนื่อง
๓. จัดใหมีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และรายงานผลการประเมินใหคณะกรรมการ
สถานศึกษารับทราบ
13
ดานงบประมาณ
๑. จัดตั้งและรับผิดชอบการใชจายงบประมาณของสถานศึกษา ตามที่กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ
กำหนด
๒. ออกระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ และแนวปฏิบัติ ฯลฯ เกี่ยวกับการบริหารการเงินและการจัดหา
รายไดจากทรัพยสินของสถานศึกษา ทั้งนี้ ตามที่กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ กำหนด
ดานการบริหารงานบุคคล
๑. ดำเนินการตามที่กฎหมายวาดวยขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากำหนด
ดานการบริหารทั่วไป
๑. จัดทำนโยบาย แผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาใหสอดคลองกับนโยบายและแผนของ
กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
รวมทั้งความตองการของชุมชนและทองถิ่น
๒. ดำเนินการและกำกับ ติดตาม และประเมินผลงานตามแผนงาน โครงการของสถานศึกษา
๓. ระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา รวมทั้งปกครองดูแลบำรุงรักษา ใช และจัดหาผลประโยชนจาก
ทรัพยสินของสถานศึกษาตามที่กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ กำหนด
๔. ออกระเบียบ ขอบังคับ ประกาศแนวปฏิบัติ ฯลฯ ในการดำเนินงานดานตาง ๆ ตามกฎหมาย
ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ กำหนด
๕. สงเสริมความเขมแข็งในชุมชนและสรางความสัมพันธกับสถาบันอื่น ๆ ในชุมชนและทองถิ่น
๖. ปฏิบัติหนาที่อื่นเกี่ยวกับกิจการของสถานศึกษา หรือตามที่ไดรับมอบหมายและตามที่กฎหมาย
ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ กำหนด
14
๔. แผนยุทธศาสตรและแผนพัฒนาหนวยงาน
อุดมการณ หลักการในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
อุดมการณ
เปนการจัดการศึกษาเพื่อปวงชนโดยรัฐตองจัดใหมีการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อพัฒนาเยาวชนไทยทุก
คนใหมีคุณลักษณะที่พึงประสงคทั้งในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและพลเมืองโลก เพื่อเปนรากฐานที่พอเพียงสำหรับ
การใฝเรียนรูตลอดชีวิต รวมทั้งเพื่อการพัฒนาหนาที่การงานและการพัฒนาคุณภาพชีวิตสวนตนและครอบครัว
และเพื่อสรางรากฐานที่แข็งแกรงสำหรับการสรางสรรคสังคมไทยใหเปนสังคมแหงการเรียนรู เพื่อการพัฒนา
ประเทศที่ยั่งยืนในอนาคต
หลักการ
ในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยึดหลักที่สอดคลองกับอุดมการณ ดังนี้
๑.หลักการพัฒนาผูเรียนอยางครบถวนสมบูรณ ทั้งรางกายและจิตใจ สติปญญา ความรู และ
คุณธรรม เปนผูมีจริยธรรมในการดำเนินชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข ใฝรูมีทักษะในการ
แสวงหาความรูที่พอเพียงตอการพัฒนางานอาชีพและคุณภาพชีวิตสวนตน สามารถเผชิญความเปลี่ยนแปลงได
อยางเทาทันและชาญฉลาด และมีความเปนประชาธิปไตย
๒.หลักการจัดการศึกษาเพื่อความเปนไทย ใหมีความรัก และภาคภูมิใจในทองถิ่นและ
ประเทศชาติ มีความรูและทักษะพื้นฐานสำหรับการประกอบอาชีพสุจริต มีความมุงมั่น ขยัน ซื่อสัตย ประหยัด
อดทน มีลักษณะนิสัยและทัศนคติที่พึงประสงค เพื่อเปนสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคมไทย และสังคม
โลก
๓.หลักแหงความเสมอภาค คนไทยทั่งปวงตองมีสิทธิ์เสมอกันในการรับการศึกษา
พื้นฐานไมนอยกวา ๑๒ ป อยางเทาถึงเทาเทียม ควบคูไปกับความมีคุณภาพ โดยไมแบงชนชั้นหรือความแตกตาง
ทางสังคมวัฒนธรรม
๔.หลักการมีสวนรวม องคกรปกครองสวนทองถิ่นและภาคเอกชนมีสวนรวมในการบริหารและ
การจัดการศึกษารวมกับคณะกรรมการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาเพื่อเสริมสรางเอกลักษณ
ศักดิ์ศรีและตอบสนองความตองการของทองถิ่นตามนัยของธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐
เกี่ยวกับการกระจายอำนาจ
๕.หลักแหงความสอดคลอง อุดมการณและมาตรฐานในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ตองสอดคลองกับสาระบัญญัติในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ พระราชบัญญัติ
การศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ และแกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒ ) พุทธศักราช ๒๕๔๕ นโยบายการศึกษา
ของรัฐบาลที่แถลงตอรัฐสภา สอดคลองกับมาตรฐานการศึกษาของชาติและสัมพันธเชื่อมโยงกับมาตรฐานการ
อาชีวศึกษา และมาตรฐานการอุดมศึกษา
15
มาตรฐานการศึกษาของชาติ
มาตรฐานการศึกษาของชาติ ประกอบดวยสาระสำคัญ ๔ ประเด็น
๑. อุดมการณ หลักการในการจัดการศึกษาของชาติ
๒. คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค ทั้งในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก
๓. การจัดการศึกษา
๔. แนวนำสูการปฏิบัติ
มาตรฐานที่ ๑ อุดมการณ หลักการในการจัดการศึกษาของชาติ การศึกษาตลอดชีวิต เพื่อทุกคน และทุกคน
เพื่อการศึกษา
การศึกษาตลอดชีวิต เพื่อสรางคุณภาพชีวิตและสังคมที่บูรณาการอยางสมดุลระหวาง ปญญาธรรม
คุณธรรมและวัฒนธรรม เพื่อคนไทยทุกคน โดยทุกคนมีสวนรวมในการจัดการศึกษาที่มีคุณคา เต็มตามศักยภาพ
ตรงตามความตองการ แตตนทุนต่ำ รัฐสนับสนุนการจัดการศึกษามุงสรางพื้นฐานที่ดีในวัยเด็ก ปลูกฝงความเปน
สมาชิกที่ดีของสังคมในวัยเรียน และพัฒนาทรัพยากรบุคคลวัยทำงานที่มีคุณภาพ โดยใหสังคมมีสวนรวมในการ
ดำเนินการ และตรวจสอบไดอยางมั่นใจวาการศึกษาเปนกระบวนการพัฒนาชีวิตและสังคม เปนปจจัยสำคัญใน
การพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน ใหสามารถแขงขันไดในระดับนานาชาติจริง
ตัวบงชี้
๑. อุดมการณ
- ทุกฝายที่มีสวนรวมในการจัดและรับการศึกษาเขาใจและถือปฏิบัติตามแนวการจัดการศึกษา ตลอด
ชีวิตเพื่อพัฒนามนุษยและสังคม
๒. การศึกษาเต็มตามสิทธิ อยางเสมอภาคและเปนธรรม
- คนไทยทุกคนไดรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑๒ ป ที่รัฐจัดใหอยางทั่วถึง
- คนไทยสวนใหญรู ใชสิทธิ และไดรับสิทธิในการศึกษาทุกรูปแบบอยางเสมอภาคและเปนธรรม
๓. หลักการจัดการศึกษาในภาพรวม
- การจัดการศึกษาทุกระบบ (การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย) มี
คุณภาพเทียบเทามาตรฐานสากล และสัมพันธเชื่อมโยงถึงกัน
- ขอบขายและปริมาณความรวมมือระหวางภาครัฐ เอกชน องคกร และชุมชน เพิ่มมากขึ้นทุกป ทั้ง
ในดานการจัด การกำกับ สนับสนุน และการตรวจสอบผลการจัดการศึกษา
- ผลการจัดอันดับคุณภาพระบบการศึกษาของไทย ไมดอยกวาประเทศที่มีงบประมาณทางการศึกษา
ใกลเคียงกัน และอยูในภูมิภาคเดียวกัน
มาตรฐานที่ ๒ คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค ทั้งในฐานะพลเมืองและพลโลกคนไทยเปนคนเกง คนดี
16
และมีความสุข
เปาหมายของการจัดการศึกษา อยูที่การพัฒนาคนไทยทุกคนใหเปน "คนเกง คนดี และมีความสุข" โดย
มีการพัฒนาที่เหมาะสมกับชวงวัย เต็มตามศักยภาพ และตรงตามความตองการ ทั้งในดานสุขภาพรางกายและ
จิตใจ ปญญา ความรูและทักษะ คุณธรรมและจิตสำนึกที่พึงประสงค
คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค ประกอบดวยเบญจคุณ หรือ คุณ ๕ ประการ
๑. คุณลักษณ มีรูปลักษณ (สุขภาพ บุคลิกภาพ) กิจลักษณ (พฤติกรรม ทักษะความสามารถ) ดี
๒. คุณคา มีประสบการณจากการเรียนรู สัมพันธเชื่อมโยงกับการพัฒนาชีวิต
๓. คุณประโยชน มีชีวิตที่เปนประโยชนตอตนเองและสวนรวม รวมสรางและใหสิ่งดีแกสังคม
๔. คุณภาพ มีชีวิตรมเย็นเปนสุข พออยูพอกิน เปนสมาชิกครอบครัว พลเมืองและพลโลก ที่ดี
๕. คุณธรรม มีความดี เขาถึงความงามและความจริง ดำเนินชีวิตโดยกายสุจริต วจีสุจริต และมโนสุจริต
เบญจคุณ อันเปนลักษณะที่พึงประสงคของคนไทยดังกลาว จักเกิดขึ้นไดดวยการจัดการเรียนรูของครู
และวิถีการเรียนรูของผูเรียน เพื่อสรางผูเรียนใหมีคุณลักษณะตาม "พรพระราชทาน ๓ ประการ คือ ขอจงมีความ
เพียรที่บริสุทธิ์ ปญญาที่เฉียบแหลม กำลังกายที่สมบูรณ " (จาก...การวิเคราะหคุณลักษณะที่พึงประสงคของคน
ไทย เพื่อตอบคำถามวา "เราจัดการศึกษาเพื่อใหผูเรียนไดอะไร?" จากขอมูลหลายแหลง และการบูรณาการตาม
แนวพระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เรื่องพระมหาชนก (สุมน อมรวิวัฒน, ๕๔๖) ดังนี้
๑. ความเพียรที่บริสุทธิ์ (pure perseverance) ประกอบดวย
๑) ความสามารถ (performance and skills) เปนผูรัก ใสใจในหนาที่การงาน มีทักษะทาง
ภาษา ทักษะการสื่อสาร ทักษะการทำงาน ทักษะทางสังคม ทักษะชีวิต ทักษะการคิดคำนวณ ทักษะการคนควา
ทดลองพิสูจนเหตุผล ทักษะการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการจัดการ
๒) คุณธรรมและจิตสำนึก (morality and conscience) มีคุณธรรมในการกระทำ ดานความ
ละอายชั่วกลัวบาป ความซื่อสัตยสุจริต ความกตัญูรูคุณ ความไมเห็นแกตัว ความปารถนาดีเอื้อเฟอตอกัน
ความจริงใจ และความขยันหมั่นเพียร และมีจิตสำนึกในการกระทำ ดานจิตสำนึกความรับผิดชอบ จิตสำนึกใน
คุณคาของตนและผูอื่น จิตสำนึกความเปนไทย จิตสำนึกประชาธิปไตย
๒. ปญญาที่เฉียบแหลม ประกอบดวย
๓) ความฉลาดรู (knowledge and wisdom) เปนผูรูจริง รูครบถวน รูเหตุผล รูเทาทัน รู
เชื่อมโยงความเปนไทยกับสากล รูจักตนเอง รูจักสังคมและธรรมชาติสิ่งแวดลอม รูวิธีทำมาหากิน และสามารถนำ
ความรูไปใชใหเกิดประโยชนแกชีวิต
๔) สติปญญาและความคิด (intelligence and thinking) จิตและสมองมีการทำงานเกิดการ
รับรู จดจำ และการคิดอยางถูกตองแยบคาย สามารถคิดวิเคราะหวิจารณ คิดริเริ่มและสรางสรรค คิดตอเนื่อง
เชื่อมโยง คิดสุจริต คิดมีเหตุผล คิดเปนระบบ คิดเร็ว คิดคลอง คิดละเอียด คิดมีจินตนาการ สามารถแสดงความ
คิดเห็นเพื่อสื่อสารแกผูอื่นได
๓. กำลังกายที่สมบูรณ (completely physical health) ประกอบดวย
๕) มีสุขภาพกายและจิต (physical, mental and spiritual health) รวมทั้งสุขภาวะ (well
being) ทางกายและจิต มีรางกายแข็งแรง ปราศจากโรค มีภูมิคุมกัน ภาวะโภชนาการดี บริหารกาย เลนกีฬา
ทาทางคลองแคลวราเริง และมีสภาพจิตใจที่แจมใส ไมเครียด มีสุขภาพจิตดี มีความมั่นคงทางอารมณ มี
สุนทรียภาพ มีทักษะทางดนตรี ศิลปะ และใชเวลาวางอยางเกิดประโยชน
17
ตัวบงชี้
๑. กำลังกายกำลังใจที่สมบูรณ
-คนไทยสวนใหญมีสุขภาพกายและจิตที่ดี มีพัฒนาการดานรางกาย สมองและสติปญญา และดานจิตใจ
เจริญเติบโตอยางสมบูรณตามเกณฑการพัฒนาในแตละชวงวัย
๒. ความรูและทักษะที่จำเปนและเพียงพอในการดำรงชีวิตและการพัฒนาสังคม
-คนไทยสวนใหญไดเรียนรูเต็มตามศักยภาพของตนเอง
-คนไทยสวนใหญมีงานทำ และนำความรูไปใชในการสรางงานและสรางประโยชนใหสังคม
-ชุมชนหรือสังคมสวนใหญมีการใชหรือสรางภูมิปญญาที่เปนประโยชนตอสวนรวม
๓. ทักษะการเรียนรูและการปรับตัว
-คนไทยสวนใหญสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง รักการเรียนรู รูทันโลก และปรับตัวได
๔. ทักษะทางสังคม
-คนไทยสวนใหญมีทักษะและความสามารถ ที่จำเปนตอการดำเนินชีวิตในสังคมอยางมีความสุข และ
สามารถอยูรวมกันไดอยางสันติสุข
๕. คุณธรรมและจิตสำนึกในความเปนพลเมืองไทยและพลโลก
-คนไทยสวนใหญดำเนินชีวิตโดยกายสุจริต วจีสุจริต และมโนสุจริต
มาตรฐานที่ ๓ การจัดการศึกษา
การจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียน และการบริหารที่เนนสถานศึกษาเปนสำคัญการจัดกระบวนการเรียนรูที่
เนนผูเรียนเปนสำคัญ (ผูเรียนเห็นแบบอยางที่ดี ไดฝกการคิด และไดเรียนจากประสบการณตรงที่หลากหลาย ได
เรียนตรงตามความสนใจ และมีความสุขในการเรียน ครูรูจักผูเรียนเปนรายบุคล ครูเตรียมการสอนและสื่อที่
ผสมผสานความรูสากลกับภูมิปญญาไทย ครูจัดบรรยากาศเอื้อตอการเรียนรู จัดหาและพัฒนาแหลงเรียนรูที่
หลากหลาย และการพัฒนาความคิดผูเรียนเปนระบบที่สรางสรรค) ความสำเร็จของการจัดกระบวนการเรียนรูที่
ผูเรียนเปนสำคัญ ขึ้นอยูกับปจจัยดานบุคคล และปจจัยดานการบริหาร ดังตอไปนี้
๓.๑ ปจจัยดานบุคคล ผูเรียนไดรับการเตรียมใหมีความพรอมที่จะเรียน ครูเปนปูชนียบุคคล และเปน
กัลยาณมิตร อุทิศตนเพื่อพัฒนาผูเรียนและสังคม ผูบริหารเปนผูนำที่เชี่ยวชาญ ผูจัดการที่ถอมตน และปูชนีย
บุคคล ผูปกครองและสมาชิกชุมชนมีสำนึก ใสใจ และเต็มใจใหความรวมมือ และมีสวนรวมตรวจสอบในการ
พัฒนาผูเรียน และการจัดการศึกษา
๓.๒ ปจจัยดานการบริหาร การบริหารจัดการทั้งในระดับชาติ เขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา มี
เอกภาพดานนโยบาย แตหลากหลายในการปฏิบัติ มีการกระจายอำนาจลงสูระดับสถานศึกษา โดยใชหลักการ
บริหารจัดการตามพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ หลัก
ธรรมาภิบาล โปรงใส เปนธรรม (good governance) ซึ่งมีหลักการที่สำคัญ ๗ ประการ คือ หลักประสิทธิภาพ
หลักความคุมคา หลักประสิทธิผล หลักความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได หลักคุณภาพ หลักการ มีสวนรวมของ
ประชาชน และหลักนิติรัฐ/นิติธรรม
18
ตัวบงชี้
๑. ผลการเรียนรูที่ผูเรียนเปนสำคัญ
- ผูเรียนทุกกลุม สำนึกคุณคาการเรียนรู สนใจใฝเรียนรู มีความสุขในการเรียนรู และไดเรียนรูตรงตาม
ความตองการของตนเองและชุมชน อยางเต็มตามศักยภาพ
- ครู ผูบริหาร และบุคลากรทางการศึกษาสวนใหญ มีคุณธรรม มีความพึงพอใจในการทำงาน และ
ผูกพันกับงาน มีอัตราการออกจากงานและอัตราความผิดทางวินัยลดลง
- หนวยงานที่ใหบริการทางการศึกษามีคุณภาพติดอันดับคุณภาพตามเกณฑระดับนานาชาติ มี
สภาพแวดลอม อาคารสถานที่ และความปลอดภัยตามเกณฑ
- มีการพัฒนาสื่อและการใหบริการเทคโนโลยีสื่อสารสารสนเทศทุกรูปแบบเพิ่มขึ้น ใหเอื้อตอการเรียนรู
ดวยตนเองของคนไทยทุกคน
๒. ผลการบริหารที่สถานศึกษาเปนสำคัญ
- ผูเรียน ครู ผูบริหาร ผูปกครอง และสมาชิกชุมชนสวนใหญมีความเต็มใจ ตั้งใจ มีสวนรวมปฏิบัติหนาที่
ของตน สงผลใหผูรับบริการ/ผูเกี่ยวของทุกกลุมมีความพึงพอใจตอการจัดบริการการศึกษา
- ชุมชนซึ่งเปนที่ตั้งของหนวยงานที่ใหบริการการศึกษา สวนใหญ เปนสังคมแหงการเรียนรู มีความ
ปลอดภัย ลดความขัดแยง มีสันติสุข และมีการพัฒนากาวหนาอยางตอเนื่อง
- มีแนวโนมในการรวมตัวจัดตั้งองคกรอิสระ เพื่อสรางเกณฑมาตรฐานเฉพาะกลุม และติดตามการ
ดำเนินงานของสถานศึกษา และหนวยงาน ตลอดจนการสั่งสมองคความรูที่หลากหลาย
มาตรฐานที่ ๔ แนวนำสูการปฏิบัติ
การสรางวิถีการเรียนรู แหลงเรียนรูใหเขมแข็ง และการใชมาตรฐานการศึกษา เพื่อใหการพัฒนา
การศึกษาบรรลุผลตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ ควรตองมีแนวนำสูการปฏิบัติ ๓ ประการ ดังนี้
๔.๑ การสรางวิถีการเรียนรูของคนไทยใหเขมแข็งในดานตอไปนี้ การสรางสำนึก ใหคนไทยเห็นคุณคา
ของการศึกษา โดยการโฆษณา ประชาสัมพันธ และการสงเสริมการสรางชุมชนแหงการเรียนรู การสรางโอกาส
การเรียนรู โดยการจัดสรรแหลงเรียนรู สงเสริมการเรียนรูที่หลากหลายทั้งในระบบ นอกระบบ และการเรียนรู
ดวยตนเอง การสรางลักษณะชีวิต โดยการวางรากฐานนิสัยตั้งแตเด็กใหรักการอาน รักการคนควา สงเสริมให
เรียนรูในสิ่งที่ตนเองชอบ การสรางกำไร ใหคนไทยสามารถนำสิ่งที่เรียนรูไปทำประโยชนตอชีวิต และสังคมได
๔.๒ การสรางความเขมแข็งใหแหลงเรียนรูและกลไกการเรียนรู ในระบบครอบครัว ชุมชน กลุมเพื่อน
รวมวัย องคกร/สถาบันทางศาสนา แหลงอาชีพ สื่อมวลชน องคกรความรูในสังคม ระบบสถานศึกษา โดยให
ความสำคัญกับการเรียนรูดวยตนเอง และการเรียนรูจากการวิจัยปฏิบัติการเปนเครื่องมือแสวงหาความรูใหม เปน
เครื่องมือสืบทอดและผสมผสานความรูสากลกับภูมิปญญาไทย และเปนเครื่องมือพัฒนาคุณภาพของครู ผูบริหาร
บุคลากรทางการศึกษา องคกรและสังคม
๔.๓ กระทรวงศึกษาธิการตองเปนผูนำในการใชมาตรฐานการศึกษาของชาติ จัดลำดับความสำคัญ
ติดตามกำกับดูแลการปฏิบัติงานและประเมินผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐาน สื่อสารและเผยแพรใหผูเกี่ยวของรู
และเขาใจบทบาทของมาตรฐานการศึกษา วางระบบการจัดทำมาตรฐานการศึกษาเปนสวนหนึ่งของระบบงาน
พัฒนากลไกที่จะชวยพัฒนาใหกิจกรรมการดำเนินงานทั้งหมดมีมาตรฐานตามที่กำหนด
19
ตัวบงชี้
- มีการดำเนินงานเพื่อเสริมสรางวิถีการเรียนรูของคนไทยทุกวิถีทาง
- มีการวิจัยศึกษาสรางเสริม และมีการสนับสนุนแหลงเรียนรู และกลไกการเรียนรูทุกประเภท
- มีการปรับปรุงมาตรฐานการศึกษาชาติ ที่เชื่อมโยงระหวางภาคเศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง
การศึกษา สอดคลองกับลำดับความสำคัญของความจำเปนเรงดวนในการพัฒนาสังคม และเหมาะสมทันกับความ
เปลี่ยนแปลงของโลก
- มีการจัดตั้ง และกำกับการดำเนินงาน ขององคกรที่รับผิดชอบประสานงานระหวางองคกร/หนวยงาน
ที่เกี่ยวของ และสถานศึกษาทั้งหมด เพื่อพัฒนาปรับปรุง ติดตามกำกับ
นโยบายการปฏิรูปการศึกษา ของนายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ
รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ
นโยบายการปฏิรูปการศึกษา
ยุทธศาสตรชาติดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย
ยุทธศาสตรชาติดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษยมีเปาหมายการพัฒนาที่สำคัญ
เพื่อพัฒนาทุกมิติและทุกชวงวัยใหเปนคนดี เกงและมีคุณภาพ โดยที่คนไทยมีความพรอมทั้งทางรางกาย ใจ
สติปญญา มีการพัฒนาที่ดีรอบดานและมีสุขภาวะที่ดีในทุกชวงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบตอสังคมและผูอื่น
มัธยัสถ อดออม โอบออมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรมและเปนพลเมืองดีของชาติ มีหลักคิดที่ถูกตอง มีทักษะที่
จำเปนในศตวรรษที่ ๒๑ มีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาที่๓ และอนุรักษภาษาถิ่น มีนิสัยรักการเรียนรู
และการพัฒนาตนเองตอเนื่องตลอดชีวิต สูการเปนคนไทยที่มีทักษะสูง เปนนวัตกร นักคิด ผูประกอบการ
เกษตรกรยุคใหม และอื่นๆ โดยมีสัมมาชีพตามความถนัดของตนเอง
ตัวชี้วัด
ประกอบดวย
๑. การพัฒนาคุณภาพชีวิต สุขภาวะและความเปนอยูที่ดีของคนไทย
๒. ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิต และ
๓. การพัฒนาสังคมและครอบครัวไทย
โดยประเด็นยุทธศาสตรชาติดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย ไดแก
๑. การปรับเปลี่ยนคานิยมและวัฒนธรรม มุงเนนใหสถาบันทางสังคมรวมปลูกฝงคานิยมและ
วัฒนธรรมที่พึงประสงค โดย
๑) การปลูกฝงคานิยมและวัฒนธรรมผานการเลี้ยงดูในครอบครัว
๒) การบูรณาการเรื่องความซื่อสัตย วินัย คุณธรรม จริยธรรมในการจัดการเรียนการสอนใน
สถานศึกษา
๓) การสรางความเขมแข็งในสถาบันศาสนา
๔) การปลูกฝงคานิยมและวัฒนธรรมโดยใชชุมชนเปนฐาน
๕) การสรางคานิยมและวัฒนธรรมที่พึงประสงคจากภาคธุรกิจ
20
๖) การใชสื่อและสื่อสารมวลชนในการปลูกฝงคานิยมและวัฒนธรรมของคนไทยในสังคม
๗) การสงเสริมใหคนไทยมีจิตสาธารณะและมีความรับผิดชอบ
๒. การพัฒนาศักยภาพคนตลงอดชวงชีวิต มุงเนนการพัฒนาเชิงคุณภาพในทุกชวงวัย ประกอบดวย
๑) ชวงการตั้งครรภ/ปฐมวัย เนนการเตรียมความพรอมแกพอแมกอนการตั้งครรภ
๒) ชวงวัยเรียน/วัยรุน ปลูกฝงความเปนคนดี มีวินัยพัฒนาทักษะการเรียนรูที่สอดคลองกับ
ศตวรรษที่ ๒๑
๓) ชวงวัยแรงงาน ยกระดับศักยภาพ ทักษะและสมรรถนะแรงงานสอดคลองกับความ
ตองการของตลาด และพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหกับประเทศไทย
๓. ปฏิรูปกระบวนการเรียนรูที่ตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ มุงเนนผูเรียนใหมี
ทักษะการเรียนรูและมีใจใฝเรียนรูตลอดเวลา โดย
๑) การปรับเปลี่ยนระบบการเรียนรูใหเอื้อตอการพัฒนาทักษะสำหรับศตวรรษที่ ๒๑
๒) การเปลี่ยนโฉมบทบาทครู ใหเปนครูยุคใหม
๓) การเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษาในทุกระดับทุกประเภท
๔) การพัฒนาระบบการเรียนรูตลอดชีวิต
๕) การสรางความตื่นตัวใหคนไทยตระหนักถึงบทบาท ความรับผิดชอบและการวางตำแหนง
ของประเทศไทยในภูมิภาคเอเชียอาคเนยและประชาคมโลก
๖) การวางพื้นฐานระบบรับรองการเรียนรูโดยใชดิจิตทัลแฟลตฟอรม
๗) การสรางระบบการศึกษาเพื่อเปนเลิศทางวิชาการ ระดับนานาชาติ
๔. การตระหนักถึงพหุปญญาของมนุษยที่หลากหลาย โดย
๑) การพัฒนาและสงเสริมพหุปญญาผานครอบครัว ระบบสถานศึกษา สภาพแวดลอม
รวมทั้งสื่อระดับปฐมวัย
๒) การสรางเสนทางอาชีพ สภาพแวดลอมสภาพแวดลอมการทำงานและระบบสนับสนุน ที่
เหมาะสมสำหรับผูมีความสามารถพิเศษผานกลไกลตางๆ
๓) การดึงดูดกลุมผูเชี่ยวชาญตางชาติและคนไทยที่มีความสามารถในตางประเทศใหมาสราง
และพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรมใหกับประเทศ
นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๒
วิสัยทัศน
สรางคุณภาพทุนมนุษย สูสังคมอนาคตที่ยั่งยืน
พันธกิจ
๑. จัดการศึกษาเพื่อเสริมสรางความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข
๒. พัฒนาศักยภาพผูเรียนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันโดยพัฒนาคุณภาพผูเรียนใหมี
ความรู ทักษะวิชาการ ทักษะชีวิต ทักษะวิชาชีพ คุณลักษณะในศตวรรษที่ ๒๑
21
๓. สงเสริมการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาใหเปนมืออาชีพ
๔. สรางโอกาส ความเสมอภาคลดความเหลื่อมล้ำ ใหผูเรียนทุกคนไดรับบริการทางการศึกษาอยาง
ทั่วถึงและเทาเทียม
๕. สงเสริมการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ยึดหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง และเปาหมายโลกเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs)
๖. พัฒนาระบบบริหารจัดการแบบบูรณาการ และสงเสริมใหทุกภาคสวนมีสวนรวมในการจัด
การศึกษา
เปาหมาย
๑. ผูเรียน เปนบุคคลแหงการเรียนรู คิดริเริ่มและสรางสรรคนวัตกรรม มีความรู มีทักษะ
และคุณลักษณะของผูเรียนในศตวรรษที่ ๒๑ มีสุขภาวะที่เหมาะสมตามวัย มีความสามารถในการ
พึ่งพาตนเอง และปรับตัวตอ เปนพลเมืองและพลโลกที่ดี
๒. ผูเรียนที่มีความตองการจำเปนพิเศษ กลุมชาติพันธุ กลุมผูดอยโอกาส และกลุมที่อยูในพื้นที่
หางไกลทุรกันดารไดรับการศึกษาอยางทั่วถึง เทาเทียม และมีคุณภาพ พรอมกาวสูสากล ตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๓. ครูเปนผูเรียนรูมีจิตวิญญาณความเปนครูมีความแมนยำทางวิชาการ และมีทักษะการจัด
การเรียนรูที่หลากหลายตอบสนองผูเรียนเปนรายบุคคล เปนผูสรางสรรคนวัตกรรม และ
ทักษะในการใชเทคโนโลยี
๔. ผูบริหารสถานศึกษา มีความเปนเลิศสวนบุคคล คิดเชิงกลยุทธและนวัตกรรม มีภาวะผูนำทาง
วิชาการ มีสำนึกความรับผิดชอบ (Accountability) และการบริหารแบบรวมมือ
๕. สถานศึกษา มีความเปนอิสระในการบริหารงานและจัดการเรียนรู รวมมือกับชุมชน ภาคเอกชน
และผูเกี่ยวของในการจัดการศึกษาระดับพื้นที่ จัดสภาพแวดลอมในโรงเรียนเพื่อการเรียนรูใน
ทุกมิติเปนโรงเรียนนวัตกรรม
๖. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มีการบริหารงานเชิงบูรณาการ เปนสำนักงานแหงนวัตกรรมยุค
ใหมใชขอมูลสารสนเทศและการวิจัยและพัฒนาในการขับเคลื่อนคุณภาพ กำกับ ติดตาม
ประเมินและรายงานผลอยางเปนระบบ
๗. สำนักงานสวนกลาง ปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมการทำงาน โดย กระจายอำนาจการบริหารงานและ
การจัดการศึกษาใหสถานศึกษา บริหารเชิงบูรณาการ มีระบบขอมูลสารสนเทศที่มี
ประสิทธิภาพ กำกับ ติดตาม ประเมินผล และการรายงานผลอยางเปนระบบ ใชวิจัยและ
นวัตกรรมในการขับเคลื่อนคุณภาพ
22
นโยบาย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
นโยบายที่ ๑ จัดการศึกษาเพื่อความมั่นคง
นโยบายที่ ๒ พัฒนาคุณภาพผูเรียน
นโยบายที่ ๓ พัฒนาผูบริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา
นโยบายที่ ๔ สรางโอกาสในการเขาถึงบริการการศึกษาที่มีคุณภาพ มีมาตรฐาน และลดความ
เหลื่อมล้ำทางการศึกษา
นโยบายที่ ๕ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ
กลยุทธเชิงนโยบาย
นโยบายที่ ๑ จัดการศึกษาเพื่อความมั่นคง
๑. บทนำ
การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคง จะเนนการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผูเรียนในเขต
พื้นที่พิเศษเฉพาะ ที่มีความยากลำบากในการบริหารจัดการ เชน การจัดศึกษาของสถานศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษ
เฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต และการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสรางคุณภาพของประชากรวัยเรียนกลุมชาติพันธุ
กลุมที่ดอยโอกาส และกลุมที่อยูในพื้นที่หางไกลทุรกันดาร เชน พื้นที่สูง ชายแดน ชายฝงทะเล และเกาะแกง เพื่อ
สรางความมั่งคงของประเทศในระยะยาว
๒. เปาประสงค
๑. ผูเรียนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใตและเขตพื้นที่พิเศษเฉพาะ ไดรับการ
บริการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีคุณภาพเหมาะสมกับสังคมพหุวัฒนธรรม
๒. เสริมสรางคุณภาพประชากรวัยเรียนกลุมชาติพันธุ กลุมที่ดอยโอกาส และกลุมที่อยูในพื้นที่
หางไกลสูงในถิ่นทุรกันดาร อาทิ พื้นที่สูง ชายแดน ชายฝงทะเล และเกาะแกง เพื่อสราง
ความมั่งคงของประเทศในระยะยาว
23
๓. ประเด็นกลยุทธ
๓.๑ พัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต
๓.๑.๑ ตัวชี้วัด
๑. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรูของผูเรียนสูงขึ้น
๒. รอยละของสถานศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต
จัดการเรียนรูใหแกผูเรียนโดยการบูรณาการหลักสูตรใหสอดคลองกับสังคม
วัฒนธรรม และภาษาของทองถิ่น
๓. ผูเรียนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใตไดรับบริการ
การศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีคุณภาพ
๓.๑.๒ แนวทางการดำเนินการ
ดำเนินการตามยุทธศาสตรการศึกษาเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต
(พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) ของกระทรวงศึกษาธิการ ๖ ยุทธศาสตร ไดแก
๑. การศึกษาเพื่อเสริมสรางความมั่นคง
๒. การผลิตและพัฒนาก าลังคนใหมีสมรรถนะในการแขงขัน
๓. การพัฒนาศักยภาพคนทุกชวงวัยและการสรางสังคมแหงการเรียนรู
๔. การสรางโอกาสความเสมอภาคและเทาเทียมกันทางการศึกษา
๕. การศึกษาเพื่อเสริมสรางคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
๖. การพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษา
ทั้งนี้ดำเนินการในลักษณะบูรณาการรวมกันของหนวยงานกระทรวงศึกษาธิการ และหนวยงาน
ที่เกี่ยวของในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต
๓.๒ สงเสริมและสนับสนุนใหผูเรียนในเขตพื้นที่เฉพาะ กลุมชาติพันธุ กลุมที่ดอยโอกาส และกลุมที่อยู
ในพื้นที่หางไกลทุรกันดาร เชน พื้นที่สูง ชายแดน ชายฝงทะเล และเกาะแกงไดรับการบริการดานการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน ที่มีคุณภาพ และเหมาะสมตรงตามความตองการ
๓.๒.๑ ตัวชี้วัด
๑. จำนวนผูเรียนบ านไกลไดรับโอกาสท างการศึกษ าจากการไดเขาพักใน
โรงเรียนที่มีหอพักนอน หรือการสนับสนุนการเดินทางจากบานถึงโรงเรียน
อยางปลอดภัย
๒. จำนวนโรงเรียนไดรับการสนับสนุนงบประมาณเพื่อใชในการประกอบอาหาร
การพัฒนาทักษะชีวิต และการพัฒนาสภาพหอพักนอนใหมีคุณภาพที่ดีอยาง
เหมาะสม
๓. จำนวนผูเรียนไดรับการพัฒนาคุณภาพทั้งดานทักษะวิชาการ ทักษะชีวิต
และทักษะอาชีพ ที่เหมาะสมกับบริบท
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf
ITA.pdf

More Related Content

Similar to ITA.pdf

แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7
แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7
แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7Aon Narinchoti
 
แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7
แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7
แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7Aon Narinchoti
 
ประกาศ ผู้ประเมิน รอบที่ 5
ประกาศ ผู้ประเมิน รอบที่ 5ประกาศ ผู้ประเมิน รอบที่ 5
ประกาศ ผู้ประเมิน รอบที่ 5Pochchara Tiamwong
 
Sar ปีการศึกษา 2554
Sar ปีการศึกษา 2554Sar ปีการศึกษา 2554
Sar ปีการศึกษา 2554Wangtachuay
 
มหกรรมวิชาการ
มหกรรมวิชาการมหกรรมวิชาการ
มหกรรมวิชาการNarapong Asarin
 
มหกรรมวิชาการ
มหกรรมวิชาการมหกรรมวิชาการ
มหกรรมวิชาการNarapong Asarin
 
SAR ตูมพิทย์ 56
SAR ตูมพิทย์ 56SAR ตูมพิทย์ 56
SAR ตูมพิทย์ 56Ekachai Duangjai
 
Sar boripat2558
Sar boripat2558Sar boripat2558
Sar boripat2558chartthai
 
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555Worrachet Boonyong
 
2 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 25572 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 2557somdetpittayakom school
 
Sar โรงเรียนนาดีวิทยา ปีการศึกษา ๒๕๕๗
Sar โรงเรียนนาดีวิทยา ปีการศึกษา ๒๕๕๗Sar โรงเรียนนาดีวิทยา ปีการศึกษา ๒๕๕๗
Sar โรงเรียนนาดีวิทยา ปีการศึกษา ๒๕๕๗Nadeewittaya School
 
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558Miss.Yupawan Triratwitcha
 
ประกาศ ผู้ประเมิน รอบที่ 4
ประกาศ ผู้ประเมิน รอบที่ 4ประกาศ ผู้ประเมิน รอบที่ 4
ประกาศ ผู้ประเมิน รอบที่ 4Pochchara Tiamwong
 
Sar pakmaiwittayanukul-school-2559
Sar pakmaiwittayanukul-school-2559Sar pakmaiwittayanukul-school-2559
Sar pakmaiwittayanukul-school-2559kroodarunee samerpak
 
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์Krupol Phato
 
ประกาศรับสมัครนักเรียนโรงเรียนนามนพิทยาคม
ประกาศรับสมัครนักเรียนโรงเรียนนามนพิทยาคมประกาศรับสมัครนักเรียนโรงเรียนนามนพิทยาคม
ประกาศรับสมัครนักเรียนโรงเรียนนามนพิทยาคมเทวัญ ภูพานทอง
 

Similar to ITA.pdf (20)

แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7
แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7
แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7
 
แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7
แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7
แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7
 
ประกาศ ผู้ประเมิน รอบที่ 5
ประกาศ ผู้ประเมิน รอบที่ 5ประกาศ ผู้ประเมิน รอบที่ 5
ประกาศ ผู้ประเมิน รอบที่ 5
 
Sar ปีการศึกษา 2554
Sar ปีการศึกษา 2554Sar ปีการศึกษา 2554
Sar ปีการศึกษา 2554
 
มหกรรมวิชาการ
มหกรรมวิชาการมหกรรมวิชาการ
มหกรรมวิชาการ
 
มหกรรมวิชาการ
มหกรรมวิชาการมหกรรมวิชาการ
มหกรรมวิชาการ
 
Sar5 255
Sar5 255Sar5 255
Sar5 255
 
SAR ตูมพิทย์ 56
SAR ตูมพิทย์ 56SAR ตูมพิทย์ 56
SAR ตูมพิทย์ 56
 
Sar ปี2555
Sar ปี2555Sar ปี2555
Sar ปี2555
 
Sar boripat2558
Sar boripat2558Sar boripat2558
Sar boripat2558
 
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555
 
Rub 2
Rub 2Rub 2
Rub 2
 
2 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 25572 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 2557
 
Sar โรงเรียนนาดีวิทยา ปีการศึกษา ๒๕๕๗
Sar โรงเรียนนาดีวิทยา ปีการศึกษา ๒๕๕๗Sar โรงเรียนนาดีวิทยา ปีการศึกษา ๒๕๕๗
Sar โรงเรียนนาดีวิทยา ปีการศึกษา ๒๕๕๗
 
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
 
aaaaaa8
aaaaaa8aaaaaa8
aaaaaa8
 
ประกาศ ผู้ประเมิน รอบที่ 4
ประกาศ ผู้ประเมิน รอบที่ 4ประกาศ ผู้ประเมิน รอบที่ 4
ประกาศ ผู้ประเมิน รอบที่ 4
 
Sar pakmaiwittayanukul-school-2559
Sar pakmaiwittayanukul-school-2559Sar pakmaiwittayanukul-school-2559
Sar pakmaiwittayanukul-school-2559
 
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
 
ประกาศรับสมัครนักเรียนโรงเรียนนามนพิทยาคม
ประกาศรับสมัครนักเรียนโรงเรียนนามนพิทยาคมประกาศรับสมัครนักเรียนโรงเรียนนามนพิทยาคม
ประกาศรับสมัครนักเรียนโรงเรียนนามนพิทยาคม
 

ITA.pdf

  • 1. 1 รายงานผลการดำเนินงานของสถานศึกษา เพื่อประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงานของโรงเรียนปางมะคาวิทยาคม ประวัติโรงเรียน โรงเรียนปางมะคาวิทยาคมตั้งอยูเลขที่ ๒๕๓ หมู ๑ ตำบลปางมะคา อำเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัดกำแพงเพชร รหัสไปรษณีย ๖๒๑๔๐ โทรศัพท ๐๘๔ – ๘๑๙๐๓๔๘ โทรสาร - เว็บไซต www.makawit.ac.th. อีเมล admin@makawit.ac.th และเพจโรงเรียนปางมะคาวิทยาคม รหัส สถานศึกษา ๑๐๖๒๐๔๐๔๔๗ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากำแพงเพชร สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เปดสอนตั้งแตชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑ ถึง ชั้น มัธยมศึกษาปที่ ๖ เปดสอนตั้งแตระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑ - ๖ ตั้งแต วันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๓๕ มีเนื้อ ที่ ๔๘ ไร ๓ งาน ๔๓ ตารางวา เขตพื้นที่บริการ ไดแก ตำบลปางมะคา อำเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัด กำแพงเพชร มีครูและบุคลากรทางการศึกษา ๓๕ คน ผูเรียนจำนวน ๔๕๒ คน แนวทางการจัดการศึกษา เอกลักษณ ดนตรีสรางสรรค ผลิตภัณฑสรางอาชีพ อัตลักษณ มารยาทดี มีน้ำใจ วิสัยทัศน พัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา รักษสิ่งแวดลอม นอมนำศาสตรพระราชา รวมพัฒนาคูชุมชน พันธกิจ ๑. พัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา โดยจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปน สำคัญ ๒. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาใหมีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ ๓. สงเสริมใหผูเรียนมีจิตสำนึกรักษสิ่งแวดลอม มีคุณธรรม จริยธรรม ดำรงชีวิตตาม หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๔. สงเสริมและสนับสนุนการกระจายอำนาจการจัดการศึกษา โดยชุมชนมีสวนรวม เปาประสงค ๑. พัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา โดยจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปน สำคัญ ๒. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาใหมีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ ๓. พัฒนาผูเรียนมีจิตสำนึกรักษสิ่งแวดลอม มีคุณธรรม จริยธรรม ดำรงชีวิตตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๔. ผูบริหารมีการกระจายอำนาจการจัดการศึกษา โดยชุมชนมีสวนรวม
  • 2. 2 ขอมูลบุคลากรของสถานศึกษา (ครูและบุคลากรทางการศึกษา, นักเรียน) ที่ ชื่อ – ชื่อสกุล อายุ อายุ ราชการ ตำแหนง/ วิทยฐานะ วุฒิ วิชา เอก สอนวิชา/ ชั้น ๑ นายวิฑูรย พานชัย ๕๖ ๓๓ ชำนาญการพิเศษ กศ.ม. บริหาร การศึกษา ผูอำนวยการ ๒ นายพิจารณ อุสสาหกิจ ๕๘ ๓๐ ชำนาญการพิเศษ ทษ.บ. สัตวบาล คอมพิวเตอร ๓ นางวาสนา อินทะเรืองศร ๔๘ ๒๕ ชำนาญการพิเศษ ค.บ. ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ ๔ นางเนาวรัตน ชางนอย ๔๔ ๑๕ ชำนาญการพิเศษ ค.ม. บริหาร การศึกษา ภาษาไทย ๕ นางกมลรัตน ชางตีทอง ๔๗ ๑๔ ชำนาญการพิเศษ ศษ.ม. บริหาร การศึกษา วิทยาศาสตร ๖ นางสาวกชกร ขมพิษ ๔๒ ๑๒ ชำนาญการพิเศษ ศษ.ม. บริหาร การศึกษา ภาษาไทย ๗ น.ส.ฐิตารีย พรมพันธ ๔๔ ๑๒ ชำนาญการพิเศษ กศ.ม. บริหาร การศึกษา ชีววิทยา ๘ นางเพียงตะวัน ศรีเวียง ๔๐ ๑๔ ชำนาญการพิเศษ กศ.ม. บริหาร การศึกษา เคมี ๙ นายประทีป ขันกสิกรรม ๔๔ ๑๔ ชำนาญการพิเศษ ศศ.บ. ศิลปกรรม ศิลปะ ๑๐ นางวิระพันธ จันทรา ๓๗ ๑๒ ชำนาญการพิเศษ ศษ.ม. บริหาร การศึกษา ภาษาอังกฤษ ๑๓ นายอำนาจ ขอนแกน ๔๒ ๑๒ ชำนาญการพิเศษ ศษ.ม. บริหาร การศึกษา คณิตศาสตร ๑๔ นางสาวฐานิดา ฟองหนองออ ๔๐ ๙ ชำนาญการพิเศษ ศศ.ม. บริหาร การศึกษา คณิตศาสตร ๑๕ นายเลิศธนิสร คำกองแกว ๕๕ ๓๐ ชำนาญการ ค.บ. คณิตศาสตร คณิตศาสตร ๑๖ นางสาวชอเอื้อง ธรรมศักดิ์ ๓๗ ๗ ชำนาญการ ศศ.ม บริหาร การศึกษา ภาษาอังกฤษ ๑๗ นางสาววัชราภรณ พรมทอง ๓๒ ๓ ครูผูชวย วท.บ. ฟสิกส ฟสิกส ๑๘ นายวรรณพล บูรัมย ๒๖ ๒ ครูผูชวย ศษ.บ พลศึกษา พลศึกษา
  • 3. 3 ครูอัตราจาง ที่ ชื่อ – ชื่อสกุล อายุ อายุ ราชการ ตำแหนง/ วิทยฐานะ วุฒิ วิชา เอก สอนวิชา/ ชั้น ๑๙ นายวัฒนชัย แยบกสิกิจ ๒๗ ๒ ครูผูชวย ค.บ. คณิตศาสตร คณิตศาสตร ๒๐ นางสาวรุงอรุณ เขาคาย ๓๐ ๑ ครูผูชวย ค.บ. สังคมศึกษา สังคมศึกษา ๒๑ นายชัยวัฒน จันทรหอม ๒๘ ๑ ครูผูชวย ค.บ. สังคมศึกษา สังคมศึกษา ๒๒ นางสาวกำไลทิพย ปนทอง ๒๘ ๑ ครูผูชวย ค.บ. ภาษาไทย ภาษาไทย ๒๓ นางสาวสุกัญญา ขวัญตา ๓๘ ๗ เดือน ครูผูชวย วท.บ. เทคโนโลยี การอาหาร คหกรรม ๒๔ นางสาวสุมิลตรา สอนธรรม ๒๔ ๕ เดือน ครูผูชวย ศศ.บ. คอมพิวเตอร ศึกษา คอมพิวเตอร ที่ ชื่อ – ชื่อสกุล อายุ ประสบการณ การสอน (ป) วุฒิ วิชา เอก สอนวิชา/ชั้น ๑ นายณัฐภัทร ปุกลางดอน ๔๔ ๑๓ ค.บ. อุตสาหกรรม งานชาง ๒ นางสาวหทัยชนก ขำสกล ๒๘ ๒ ค.บ. สังคมศึกษา สังคม ๓ นางสาววราภรณ พวงสมบัติ ๒๙ ๖ เดือน ค.บ. ดนตรีศึกษา ดนตรี ๔ นายฐรรธนพล พุมพวง ๓๐ ๖ เดือน ค.บ. พลศึกษา พลศึกษา ๔ นางสาววารินทร เตยสระนอย ๒๕ ๖ เดือน ค.บ. ภาษาจีน ภาษาจีน ๕ นางสาวจิราภา ธีระธาดา ๒๔ ๑ เดือน ค.บ. ภาษาไทย ภาษาไทย
  • 4. 4 กลุมสงเสริมและสนับสนุนการเรียนการสอน ที่ ชื่อ – ชื่อสกุล อายุ ประสบการณ การทำงาน (ป) วุฒิ งานที่รับผิดชอบ ๑ นางสาวกัญญาณัฐ เจียมพรหมราช ๓๖ ๘ บธ.บ. จนท.ธุรการ ๒ นายอำนาจ คณโฑพรหมราช ๕๘ ๓๔ ม.๖ ชางไม/ชางไฟ ๓ นายอำนวย คำดี ๕๙ ๓๓ ม.๖ ชางสี/ชางไฟ ๔ นายมะยม แจสูงเนิน ๕๗ ๓๐ ม.๖ ชางครุภัณฑ/ชางไฟ ๕ นายวิโรจน ยศพรหมราช ๕๐ ๒๔ ม.๖ ชางโลหะ/ชางไฟ สรุป ขอมูลบุคลากรของสถานศึกษา ประจำปการศึกษา ๒๕๖๔ ตำแหนง จำนวน วุฒิการศึกษา สาขาวิชา ป.ตรี ป.โท ป.เอก บริหาร การศึกษา คณิตฯ วิทยฯ ภาษา ไทย ภาษา อังกฤษ สังคม ศิลปะ การงานฯ พลศึกษา ผูบริหาร ๑ - ๑ - ๑ - - - - - - - - ครู ๒๓ ๑๓ ๑๐ - - ๔ ๕ ๓ ๓ ๒ ๑ ๒ ๑ พนักงานราชการ - - - - - - - - - - - - - ครูอัตราจาง ๖ ๖ - - - - - ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ เจาหนาที่อื่น ๆ ครูธุรการ ๑ ๑ - - - - - - - - - - - ลูกจางประจำ ๔ - - - - - - - - - - - - รวม ๓๑ ๑๙ ๑๑ - ๑ ๔ ๕ ๔ ๔ ๓ ๒ ๓ ๒
  • 5. 5 ขอมูลนักเรียน (ณ วันที่ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๖๔) ๑) จำนวนนักเรียนในโรงเรียนทั้งสิ้น …๔๕๒………คน จำแนกตามระดับชั้นที่เปดสอน ระดับชั้นเรียน จำนวนหอง เพศ รวม ชาย หญิง มัธยมศึกษาปที่ ๑ ๓ ๔๑ ๔๖ ๘๗ มัธยมศึกษาปที่ ๒ ๓ ๔๕ ๔๖ ๙๑ มัธยมศึกษาปที่ ๓ ๓ ๔๔ ๔๕ ๘๙ รวม ๙ ๑๓๐ ๑๓๗ ๒๖๗ มัธยมศึกษาปที่ ๔ ๒ ๒๕ ๔๒ ๖๗ มัธยมศึกษาปที่ ๕ ๒ ๒๑ ๔๘ ๖๙ มัธยมศึกษาปที่ ๖ ๒ ๑๘ ๓๑ ๔๙ รวม ๖ ๖๔ ๑๒๑ ๑๘๕ รวมทั้งหมด ๑๕ ๑๙๔ ๒๕๘ ๔๕๒ ขอมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา ๑.๑. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑ – ๖ ปการศึกษา ๒๕๖๓ 44.07 20.34 23.91 5.18 3.27 1.07 1.57 0.60 3.33 0.00 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 ร มส สรุปผลสัมฤทธิ์แยกตามระดับผลการเรียน ปการศึกษา ๒๕๖๓ ผลการเรียน
  • 6. 6 สภาพชุมชนโดยรวม สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนลักษณะของชุมชนที่ตั้งสถานศึกษาโรงเรียน ปางมะคาวิทยาคม เปนโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๔๑ ตั้งอยู ณ หมูที่ ๑ ตำบลปางมะคา อำเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัดกำแพงเพชร รหัสไปรษณีย ๖๒๑๔๐ โทรศัพท ๐๘๔-๘๑๙-๐๓๔-๘ มีพื้นที่ ๖๗ ไร ไดเปดทำการ ตั้งแต วันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๒๘ เปนปแรก ผูปกครองสวนใหญจบการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม (คิดเปนรอยละ) ๑๐๐ นับถือศาสนาพุทธ (คิดเปนรอยละ) ๑๐๐ ฐานะทาง เศรษฐกิจ/รายไดโดยเฉลี่ยตอครอบครัวตอป ๕๐,๐๐๐ บาท จำนวนคนเฉลี่ยตอครอบครัว ๔ คน อาคาร สถานที่ สภาพแวดลอม สภาพแวดลอมทั่วๆไป รอบโรงเรียนเงียบสงบ ไมเปนแหลงชุมชนเมือง อากาศบริสุทธิ์ ภายในโรงเรียนมีสภาพที่รมรื่นมีการปลูกปาเพื่อสรางบรรยากาศและอาศัยรมเงาในการจัดทำกิจกรรมอื่นและมี การอนุรักษพันธุไมที่หายากเชน ไมมะคา สารพี มะเค็ง สีเสียดแกน ไมประจำจังหวัด ภายในโรงเรียนรอบตัว อาคารจะสะอาดอยูในระดับดีไมมีขยะมูลฝอยประเภทถุงพลาสติกหรือหลอดกาแฟ สภาพแวดลอมภายในบริเวณ โรงเรียนถูกพัฒนาตลอดเวลาเพื่อใหเกิดบรรยากาศแหงการเรียนรูและสรางความประทับใจตอแขกผูมาเยือน มี ประชากรประมาณ ๓,๕๐๐ คน บริเวณใกลเคียงโดยรอบโรงเรียน ไดแกวัดศรีไพศาล อนามัยศรีไพศาล โรงเรียน บานศรีไพศาล โรงเรียนบานคลองสะพานชาง อาชีพหลักของชุมชน คือ อาชีพเกษตรกรรม เนื่องจากประชากร สวนใหญปลูกมันสำปะหลัง สวนใหญนับถือศาสนาพุทธประเพณี/ศิลปวัฒนธรรมทองถิ่นที่เปนที่รูจักโดยทั่วไป คือ ตักบาตรเทโว งานเทศนมหาชาติ ประเพณีเขาพรรษา ประเพณีออกพรรษา รดน้ำขอพรจากผูอาวุโสในวัน สงกรานตเปนตน โรงเรียนปางมะคาวิทยาคม เปนโรงเรียนประจำตำบลขนาดกลาง ตั้งอยูหมูบานศรีไพศาลหมูที่ ๑ ตำบลปางมะคา อยูในชุมชนขนาดเล็ก หางจากตัวอำเภอประมาณ ๓๔ กิโลเมตร หางจากตัวจังหวัดประมาณ ๑๐๐ กิโลเมตร ประชาชนสวนใหญมีอาชีพทำไรมันสำปะหลัง ไรออย ทำนา สวนมะมวง และรับจางทั่วไป โรงเรียนตั้งอยูทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของหมูบาน โดยทิศเหนือติดกับบานใหมหนองยาง บานโปงขาม ทิศ ตะวันออกติดกับบานโปงแต ทิศตะวันตกติดกับบานคลองสะพานชาง และทิศใตติดกับบานวังน้ำขาว 3.51 3.16 3.48 3.38 3.63 3.48 3.42 3.22 คาเฉลี่ยระดับผลการเรียนตามกลุมสาระการเรียนรู คาเฉลี่ยระดับผลการเรียน
  • 7. 7 แหลงเรียนรูภายใน/ภายนอกโรงเรียนและภูมิปญญาทองถิ่น ๑. แหลงเรียนรูภายในโรงเรียน แหลงเรียนรูภายใน สถิติการใชจำนวนครั้ง/ป ชื่อแหลงเรียนรู ๑. ศูนยสงเสริมการเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียง ๒. ศูนยสงเสริมการเรียนรูการปลูกพืชสมุนไพร ๕. ศูนยสงเสริมการเรียนรูสวนมะมวง ป.ว. ๕. ศูนยสงเสริมการเรียนรูชีวภัณฑ ชีววิธี ๖. ศูนยสงเสริมการเรียนรู ปุยหมักชีวภาพ ๗. ศูนยสงเสริมการเรียนรู EM ๘. ศูนยสงเสริมการเรียนรู การปลูกพืชผักสวนครัว ๙. ศูนยสงเสริมการเรียนรู โรงเรียนธนาคาร ๑๐. ศูนยสงเสริมการเรียนรู กิจกรรม สหกรณ ๑๑. ศูนยสงเสริมการเรียนรู มะนาววงบอ ๑๒. ศูนยสงเสริมการเรียนรู ขยะรีไซเคิล ๑๕. ศูนยสงเสริมการเรียนรู เห็ด ๑๕. ศูนยสงเสริมการเรียนรู นักธุรกิจนอย ๒๐๐ ๑๘ ๑๘ ๑๘ ๑๘ ๑๘ ๑๘ ๑๘ ๑๘ ๑๘ ๑๘ ๑๘ ๑๘ ๒. แหลงเรียนรูภายนอกโรงเรียน แหลงเรียนรูภายนอก สถิติการใช จำนวนครั้ง/ป ชื่อแหลงเรียนรู ๑. มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร ๒. อุทยานแหงชาติคลองลาน ๓. อุทยานประวัติศาสตร จ.กำแพงเพชร ๕ ๑ ๑
  • 8. 8 ปราชญชาวบาน/ภูมิปญญาทองถิ่น/ผูทรงคุณวุฒิที่สถานศึกษาเชิญมาใหความรู ๑. รพ.สต.ศรีไพศาล ใหความรูเรื่อง ยุงลายและการปองกัน ทองกอนวัยอันควร สถิติการใหความรูใน โรงเรียนแหงนี้ จำนวน ๕ ครั้ง/ป ๒. สถานีตำรวจปางมะคา อบรมและเปดโครงการตำรวจเปดโรงรถ สถิติการใหความรูในโรงเรียน แหงนี้ จำนวน ๒ ครั้ง/ป ๓. โครงการสงเสริมคุณธรรมศีลธรรมนำการศึกษา โดย บริษัท เฉากวยชากังราว จำกัด ไดรับมอบหมาย จาก ดร.เสริมวุฒิ สุวรรณโรจน ประกอบดวย นายไพโรจน พลาพล, นายสวัสดิ์ ปองเหลือบ, นายสำราญ คงธ นะ และนายไพฑูรย มะณู จำนวน ๑ ครั้ง ๔. มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะวิทยาศาสตร(เคมี) อบรมเคมีสูชุมชน ๕. สำนักงานขนสง จ.กำแพงเพชร สาขาขาณุวรลักษบุรี จัดอบรม ขับขี่ปลอดภัย โครงการ นักเรียนรุนใหมมีใบขับขี่
  • 9. 9 การดำเนินงานของสถานศึกษาตามแบบตรวจการประเมินคุณธรรมและความโปรงใส สำหรับสถานศึกษาในจังหวัดกำแพงเพชร ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ตัวชี้วัดที่ ๙ การเปดเผยขอมูล (จำนวน ๒๙ ขอ ) ๑. โครงสรางการบริหารงานโรงเรียน โรงเรียนปางมะคาวิทยาคมแบงการบริหารงานออกเปน ๔ ฝาย ดังนี้ ฝายบริหารงานวิชาการ ๑. พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาใหสอดคลองกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานและความ ตองการของผูเรียน ชุมชนและทองถิ่น ๒. จัดการเรียนการสอน สภาพแวดลอม บรรยากาศการเรียนการสอนที่เหมาะสม และสงเสริม กระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ ตลอดจนการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการจัด การศึกษาอยางตอเนื่อง ๓. จัดใหมีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และรายงานผลการประเมินใหคณะกรรมการ สถานศึกษารับทราบ ฝายบริหารงานงบประมาณ ๑. จัดตั้งและรับผิดชอบการใชจายงบประมาณของสถานศึกษา ตามที่กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ กำหนด ๒. ออกระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ และแนวปฏิบัติ ฯลฯ เกี่ยวกับการบริหารการเงินและการจัดหารายได จากทรัพยสินของสถานศึกษา ทั้งนี้ ตามที่กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ กำหนด ฝายบริหารงานบุคคล ๑. ดำเนินการตามที่กฎหมายวาดวยขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากำหนด ฝายบริหารทั่วไป ๑. จัดทำนโยบาย แผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาใหสอดคลองกับนโยบายและแผนของ กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งความตองการของชุมชนและทองถิ่น ๒. ดำเนินการและกำกับ ติดตาม และประเมินผลงานตามแผนงาน โครงการของสถานศึกษา ๓. ระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา รวมทั้งปกครองดูแลบำรุงรักษา ใช และจัดหาผลประโยชนจากทรัพยสิน ของสถานศึกษาตามที่กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ กำหนด ๔. ออกระเบียบ ขอบังคับ ประกาศแนวปฏิบัติ ฯลฯ ในการดำเนินงานดานตาง ๆ ตามกฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ กำหนด ๕. สงเสริมความเขมแข็งในชุมชนและสรางความสัมพันธกับสถาบันอื่น ๆ ในชุมชนและทองถิ่น ๖. ปฏิบัติหนาที่อื่นเกี่ยวกับกิจการของสถานศึกษา หรือตามที่ไดรับมอบหมายและตามที่กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ กำหนด
  • 10. 10
  • 11. 11 ๒. ขอมูลผูบริหาร ชื่อ นายวิฑูรย์ พานชัย ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษาโรงเรียนปางมะค่าวิทยาคม วิทยฐานะ ชํานาญการพิเศษ เกิด เมื่อวันที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๐๘ ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ ๘๖ หมู่ที่ ๗ ตำบล ท่ามะเขือ อำเภอ คลองขลุง จังหวัด กําแพงเพชร วุฒิการศึกษาสูงสุด จบการศึกษาระดับปริญญาโท สาขา วิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
  • 12. 12 ๓. อำนาจหนาที่ บทบาทหนาที่ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อใหสอดคลองกับเจตนารมณของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ สถานศึกษามีบทบาทหนาที่ดังนี้ ๑.จัดทำนโยบาย แผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาใหสอดคลองกับนโยบายและแผนของ กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ตลอดจนบริบท และความตองการของชุมชนและทองถิ่น ๒. จัดตั้งงบประมาณ และรับผิดชอบการใชจายงบประมาณของสถานศึกษา ๓. พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาใหสอดคลองกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานและความ ตองการของนักเรียน ชุมชน และทองถิ่น ๔. จัดการเรียนการสอน สภาพแวดลอม บรรยากาศการเรียนการสอนที่เหมาะสมและสงเสริม กระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ ตลอดจนการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาอยาง ตอเนื่อง ๕. ออกระเบียบ ขอบังคับ ประกาศและแนวปฏิบัติตาง ๆ ตามที่กฎหมายกำหนด ๖. กำกับ ติดตาม ประเมินผลงานตามแผนงาน โครงการและประเมินผลการปฏิบัติงาน ตลอดจนการ พิจารณาความดีความชอบ การพัฒนา และการดำเนินการทางวินัยกับครูและบุคลากรทางการศึกษาใน สถานศึกษาตามที่กฎหมายกำหนด ๗. ระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษารวมทั้งปกครอง ดูแล บำรุงรักษา ใชและจัดหาผลประโยชนจาก ทรัพยสินของสถานศึกษา ๘. จัดใหมีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและใหความรวมมือในการประเมินคุณภาพการศึกษา จากหนวยงานภายนอกสถานศึกษา รวมทั้งการรายงานผลการประเมินตอคณะกรรมการสถานศึกษาและ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ๙. สงเสริมความเขมแข็งใหกบชุมชนและสรางความสัมพันธกับสถานศึกษา และสถาบันอื่นในชุมชน และทองถิ่น ๑๐. ปฏิบัติหนาที่อื่นที่เกี่ยวกับกิจการภายในสถานศึกษาหรือตามที่ไดรับมอบหมายและตามที่กฎหมาย กำหนด ดานวิชาการ ๑. พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาใหสอดคลองกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานและความ ตองการของผูเรียน ชุมชนและทองถิ่น ๒. จัดการเรียนการสอน สภาพแวดลอม บรรยากาศการเรียนการสอนที่เหมาะสม และสงเสริม กระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ ตลอดจนการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการจัด การศึกษาอยางตอเนื่อง ๓. จัดใหมีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และรายงานผลการประเมินใหคณะกรรมการ สถานศึกษารับทราบ
  • 13. 13 ดานงบประมาณ ๑. จัดตั้งและรับผิดชอบการใชจายงบประมาณของสถานศึกษา ตามที่กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ กำหนด ๒. ออกระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ และแนวปฏิบัติ ฯลฯ เกี่ยวกับการบริหารการเงินและการจัดหา รายไดจากทรัพยสินของสถานศึกษา ทั้งนี้ ตามที่กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ กำหนด ดานการบริหารงานบุคคล ๑. ดำเนินการตามที่กฎหมายวาดวยขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากำหนด ดานการบริหารทั่วไป ๑. จัดทำนโยบาย แผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาใหสอดคลองกับนโยบายและแผนของ กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งความตองการของชุมชนและทองถิ่น ๒. ดำเนินการและกำกับ ติดตาม และประเมินผลงานตามแผนงาน โครงการของสถานศึกษา ๓. ระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา รวมทั้งปกครองดูแลบำรุงรักษา ใช และจัดหาผลประโยชนจาก ทรัพยสินของสถานศึกษาตามที่กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ กำหนด ๔. ออกระเบียบ ขอบังคับ ประกาศแนวปฏิบัติ ฯลฯ ในการดำเนินงานดานตาง ๆ ตามกฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ กำหนด ๕. สงเสริมความเขมแข็งในชุมชนและสรางความสัมพันธกับสถาบันอื่น ๆ ในชุมชนและทองถิ่น ๖. ปฏิบัติหนาที่อื่นเกี่ยวกับกิจการของสถานศึกษา หรือตามที่ไดรับมอบหมายและตามที่กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ กำหนด
  • 14. 14 ๔. แผนยุทธศาสตรและแผนพัฒนาหนวยงาน อุดมการณ หลักการในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน อุดมการณ เปนการจัดการศึกษาเพื่อปวงชนโดยรัฐตองจัดใหมีการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อพัฒนาเยาวชนไทยทุก คนใหมีคุณลักษณะที่พึงประสงคทั้งในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและพลเมืองโลก เพื่อเปนรากฐานที่พอเพียงสำหรับ การใฝเรียนรูตลอดชีวิต รวมทั้งเพื่อการพัฒนาหนาที่การงานและการพัฒนาคุณภาพชีวิตสวนตนและครอบครัว และเพื่อสรางรากฐานที่แข็งแกรงสำหรับการสรางสรรคสังคมไทยใหเปนสังคมแหงการเรียนรู เพื่อการพัฒนา ประเทศที่ยั่งยืนในอนาคต หลักการ ในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยึดหลักที่สอดคลองกับอุดมการณ ดังนี้ ๑.หลักการพัฒนาผูเรียนอยางครบถวนสมบูรณ ทั้งรางกายและจิตใจ สติปญญา ความรู และ คุณธรรม เปนผูมีจริยธรรมในการดำเนินชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข ใฝรูมีทักษะในการ แสวงหาความรูที่พอเพียงตอการพัฒนางานอาชีพและคุณภาพชีวิตสวนตน สามารถเผชิญความเปลี่ยนแปลงได อยางเทาทันและชาญฉลาด และมีความเปนประชาธิปไตย ๒.หลักการจัดการศึกษาเพื่อความเปนไทย ใหมีความรัก และภาคภูมิใจในทองถิ่นและ ประเทศชาติ มีความรูและทักษะพื้นฐานสำหรับการประกอบอาชีพสุจริต มีความมุงมั่น ขยัน ซื่อสัตย ประหยัด อดทน มีลักษณะนิสัยและทัศนคติที่พึงประสงค เพื่อเปนสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคมไทย และสังคม โลก ๓.หลักแหงความเสมอภาค คนไทยทั่งปวงตองมีสิทธิ์เสมอกันในการรับการศึกษา พื้นฐานไมนอยกวา ๑๒ ป อยางเทาถึงเทาเทียม ควบคูไปกับความมีคุณภาพ โดยไมแบงชนชั้นหรือความแตกตาง ทางสังคมวัฒนธรรม ๔.หลักการมีสวนรวม องคกรปกครองสวนทองถิ่นและภาคเอกชนมีสวนรวมในการบริหารและ การจัดการศึกษารวมกับคณะกรรมการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาเพื่อเสริมสรางเอกลักษณ ศักดิ์ศรีและตอบสนองความตองการของทองถิ่นตามนัยของธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ เกี่ยวกับการกระจายอำนาจ ๕.หลักแหงความสอดคลอง อุดมการณและมาตรฐานในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตองสอดคลองกับสาระบัญญัติในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ พระราชบัญญัติ การศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ และแกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒ ) พุทธศักราช ๒๕๔๕ นโยบายการศึกษา ของรัฐบาลที่แถลงตอรัฐสภา สอดคลองกับมาตรฐานการศึกษาของชาติและสัมพันธเชื่อมโยงกับมาตรฐานการ อาชีวศึกษา และมาตรฐานการอุดมศึกษา
  • 15. 15 มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานการศึกษาของชาติ ประกอบดวยสาระสำคัญ ๔ ประเด็น ๑. อุดมการณ หลักการในการจัดการศึกษาของชาติ ๒. คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค ทั้งในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก ๓. การจัดการศึกษา ๔. แนวนำสูการปฏิบัติ มาตรฐานที่ ๑ อุดมการณ หลักการในการจัดการศึกษาของชาติ การศึกษาตลอดชีวิต เพื่อทุกคน และทุกคน เพื่อการศึกษา การศึกษาตลอดชีวิต เพื่อสรางคุณภาพชีวิตและสังคมที่บูรณาการอยางสมดุลระหวาง ปญญาธรรม คุณธรรมและวัฒนธรรม เพื่อคนไทยทุกคน โดยทุกคนมีสวนรวมในการจัดการศึกษาที่มีคุณคา เต็มตามศักยภาพ ตรงตามความตองการ แตตนทุนต่ำ รัฐสนับสนุนการจัดการศึกษามุงสรางพื้นฐานที่ดีในวัยเด็ก ปลูกฝงความเปน สมาชิกที่ดีของสังคมในวัยเรียน และพัฒนาทรัพยากรบุคคลวัยทำงานที่มีคุณภาพ โดยใหสังคมมีสวนรวมในการ ดำเนินการ และตรวจสอบไดอยางมั่นใจวาการศึกษาเปนกระบวนการพัฒนาชีวิตและสังคม เปนปจจัยสำคัญใน การพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน ใหสามารถแขงขันไดในระดับนานาชาติจริง ตัวบงชี้ ๑. อุดมการณ - ทุกฝายที่มีสวนรวมในการจัดและรับการศึกษาเขาใจและถือปฏิบัติตามแนวการจัดการศึกษา ตลอด ชีวิตเพื่อพัฒนามนุษยและสังคม ๒. การศึกษาเต็มตามสิทธิ อยางเสมอภาคและเปนธรรม - คนไทยทุกคนไดรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑๒ ป ที่รัฐจัดใหอยางทั่วถึง - คนไทยสวนใหญรู ใชสิทธิ และไดรับสิทธิในการศึกษาทุกรูปแบบอยางเสมอภาคและเปนธรรม ๓. หลักการจัดการศึกษาในภาพรวม - การจัดการศึกษาทุกระบบ (การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย) มี คุณภาพเทียบเทามาตรฐานสากล และสัมพันธเชื่อมโยงถึงกัน - ขอบขายและปริมาณความรวมมือระหวางภาครัฐ เอกชน องคกร และชุมชน เพิ่มมากขึ้นทุกป ทั้ง ในดานการจัด การกำกับ สนับสนุน และการตรวจสอบผลการจัดการศึกษา - ผลการจัดอันดับคุณภาพระบบการศึกษาของไทย ไมดอยกวาประเทศที่มีงบประมาณทางการศึกษา ใกลเคียงกัน และอยูในภูมิภาคเดียวกัน มาตรฐานที่ ๒ คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค ทั้งในฐานะพลเมืองและพลโลกคนไทยเปนคนเกง คนดี
  • 16. 16 และมีความสุข เปาหมายของการจัดการศึกษา อยูที่การพัฒนาคนไทยทุกคนใหเปน "คนเกง คนดี และมีความสุข" โดย มีการพัฒนาที่เหมาะสมกับชวงวัย เต็มตามศักยภาพ และตรงตามความตองการ ทั้งในดานสุขภาพรางกายและ จิตใจ ปญญา ความรูและทักษะ คุณธรรมและจิตสำนึกที่พึงประสงค คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค ประกอบดวยเบญจคุณ หรือ คุณ ๕ ประการ ๑. คุณลักษณ มีรูปลักษณ (สุขภาพ บุคลิกภาพ) กิจลักษณ (พฤติกรรม ทักษะความสามารถ) ดี ๒. คุณคา มีประสบการณจากการเรียนรู สัมพันธเชื่อมโยงกับการพัฒนาชีวิต ๓. คุณประโยชน มีชีวิตที่เปนประโยชนตอตนเองและสวนรวม รวมสรางและใหสิ่งดีแกสังคม ๔. คุณภาพ มีชีวิตรมเย็นเปนสุข พออยูพอกิน เปนสมาชิกครอบครัว พลเมืองและพลโลก ที่ดี ๕. คุณธรรม มีความดี เขาถึงความงามและความจริง ดำเนินชีวิตโดยกายสุจริต วจีสุจริต และมโนสุจริต เบญจคุณ อันเปนลักษณะที่พึงประสงคของคนไทยดังกลาว จักเกิดขึ้นไดดวยการจัดการเรียนรูของครู และวิถีการเรียนรูของผูเรียน เพื่อสรางผูเรียนใหมีคุณลักษณะตาม "พรพระราชทาน ๓ ประการ คือ ขอจงมีความ เพียรที่บริสุทธิ์ ปญญาที่เฉียบแหลม กำลังกายที่สมบูรณ " (จาก...การวิเคราะหคุณลักษณะที่พึงประสงคของคน ไทย เพื่อตอบคำถามวา "เราจัดการศึกษาเพื่อใหผูเรียนไดอะไร?" จากขอมูลหลายแหลง และการบูรณาการตาม แนวพระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เรื่องพระมหาชนก (สุมน อมรวิวัฒน, ๕๔๖) ดังนี้ ๑. ความเพียรที่บริสุทธิ์ (pure perseverance) ประกอบดวย ๑) ความสามารถ (performance and skills) เปนผูรัก ใสใจในหนาที่การงาน มีทักษะทาง ภาษา ทักษะการสื่อสาร ทักษะการทำงาน ทักษะทางสังคม ทักษะชีวิต ทักษะการคิดคำนวณ ทักษะการคนควา ทดลองพิสูจนเหตุผล ทักษะการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการจัดการ ๒) คุณธรรมและจิตสำนึก (morality and conscience) มีคุณธรรมในการกระทำ ดานความ ละอายชั่วกลัวบาป ความซื่อสัตยสุจริต ความกตัญูรูคุณ ความไมเห็นแกตัว ความปารถนาดีเอื้อเฟอตอกัน ความจริงใจ และความขยันหมั่นเพียร และมีจิตสำนึกในการกระทำ ดานจิตสำนึกความรับผิดชอบ จิตสำนึกใน คุณคาของตนและผูอื่น จิตสำนึกความเปนไทย จิตสำนึกประชาธิปไตย ๒. ปญญาที่เฉียบแหลม ประกอบดวย ๓) ความฉลาดรู (knowledge and wisdom) เปนผูรูจริง รูครบถวน รูเหตุผล รูเทาทัน รู เชื่อมโยงความเปนไทยกับสากล รูจักตนเอง รูจักสังคมและธรรมชาติสิ่งแวดลอม รูวิธีทำมาหากิน และสามารถนำ ความรูไปใชใหเกิดประโยชนแกชีวิต ๔) สติปญญาและความคิด (intelligence and thinking) จิตและสมองมีการทำงานเกิดการ รับรู จดจำ และการคิดอยางถูกตองแยบคาย สามารถคิดวิเคราะหวิจารณ คิดริเริ่มและสรางสรรค คิดตอเนื่อง เชื่อมโยง คิดสุจริต คิดมีเหตุผล คิดเปนระบบ คิดเร็ว คิดคลอง คิดละเอียด คิดมีจินตนาการ สามารถแสดงความ คิดเห็นเพื่อสื่อสารแกผูอื่นได ๓. กำลังกายที่สมบูรณ (completely physical health) ประกอบดวย ๕) มีสุขภาพกายและจิต (physical, mental and spiritual health) รวมทั้งสุขภาวะ (well being) ทางกายและจิต มีรางกายแข็งแรง ปราศจากโรค มีภูมิคุมกัน ภาวะโภชนาการดี บริหารกาย เลนกีฬา ทาทางคลองแคลวราเริง และมีสภาพจิตใจที่แจมใส ไมเครียด มีสุขภาพจิตดี มีความมั่นคงทางอารมณ มี สุนทรียภาพ มีทักษะทางดนตรี ศิลปะ และใชเวลาวางอยางเกิดประโยชน
  • 17. 17 ตัวบงชี้ ๑. กำลังกายกำลังใจที่สมบูรณ -คนไทยสวนใหญมีสุขภาพกายและจิตที่ดี มีพัฒนาการดานรางกาย สมองและสติปญญา และดานจิตใจ เจริญเติบโตอยางสมบูรณตามเกณฑการพัฒนาในแตละชวงวัย ๒. ความรูและทักษะที่จำเปนและเพียงพอในการดำรงชีวิตและการพัฒนาสังคม -คนไทยสวนใหญไดเรียนรูเต็มตามศักยภาพของตนเอง -คนไทยสวนใหญมีงานทำ และนำความรูไปใชในการสรางงานและสรางประโยชนใหสังคม -ชุมชนหรือสังคมสวนใหญมีการใชหรือสรางภูมิปญญาที่เปนประโยชนตอสวนรวม ๓. ทักษะการเรียนรูและการปรับตัว -คนไทยสวนใหญสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง รักการเรียนรู รูทันโลก และปรับตัวได ๔. ทักษะทางสังคม -คนไทยสวนใหญมีทักษะและความสามารถ ที่จำเปนตอการดำเนินชีวิตในสังคมอยางมีความสุข และ สามารถอยูรวมกันไดอยางสันติสุข ๕. คุณธรรมและจิตสำนึกในความเปนพลเมืองไทยและพลโลก -คนไทยสวนใหญดำเนินชีวิตโดยกายสุจริต วจีสุจริต และมโนสุจริต มาตรฐานที่ ๓ การจัดการศึกษา การจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียน และการบริหารที่เนนสถานศึกษาเปนสำคัญการจัดกระบวนการเรียนรูที่ เนนผูเรียนเปนสำคัญ (ผูเรียนเห็นแบบอยางที่ดี ไดฝกการคิด และไดเรียนจากประสบการณตรงที่หลากหลาย ได เรียนตรงตามความสนใจ และมีความสุขในการเรียน ครูรูจักผูเรียนเปนรายบุคล ครูเตรียมการสอนและสื่อที่ ผสมผสานความรูสากลกับภูมิปญญาไทย ครูจัดบรรยากาศเอื้อตอการเรียนรู จัดหาและพัฒนาแหลงเรียนรูที่ หลากหลาย และการพัฒนาความคิดผูเรียนเปนระบบที่สรางสรรค) ความสำเร็จของการจัดกระบวนการเรียนรูที่ ผูเรียนเปนสำคัญ ขึ้นอยูกับปจจัยดานบุคคล และปจจัยดานการบริหาร ดังตอไปนี้ ๓.๑ ปจจัยดานบุคคล ผูเรียนไดรับการเตรียมใหมีความพรอมที่จะเรียน ครูเปนปูชนียบุคคล และเปน กัลยาณมิตร อุทิศตนเพื่อพัฒนาผูเรียนและสังคม ผูบริหารเปนผูนำที่เชี่ยวชาญ ผูจัดการที่ถอมตน และปูชนีย บุคคล ผูปกครองและสมาชิกชุมชนมีสำนึก ใสใจ และเต็มใจใหความรวมมือ และมีสวนรวมตรวจสอบในการ พัฒนาผูเรียน และการจัดการศึกษา ๓.๒ ปจจัยดานการบริหาร การบริหารจัดการทั้งในระดับชาติ เขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา มี เอกภาพดานนโยบาย แตหลากหลายในการปฏิบัติ มีการกระจายอำนาจลงสูระดับสถานศึกษา โดยใชหลักการ บริหารจัดการตามพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ หลัก ธรรมาภิบาล โปรงใส เปนธรรม (good governance) ซึ่งมีหลักการที่สำคัญ ๗ ประการ คือ หลักประสิทธิภาพ หลักความคุมคา หลักประสิทธิผล หลักความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได หลักคุณภาพ หลักการ มีสวนรวมของ ประชาชน และหลักนิติรัฐ/นิติธรรม
  • 18. 18 ตัวบงชี้ ๑. ผลการเรียนรูที่ผูเรียนเปนสำคัญ - ผูเรียนทุกกลุม สำนึกคุณคาการเรียนรู สนใจใฝเรียนรู มีความสุขในการเรียนรู และไดเรียนรูตรงตาม ความตองการของตนเองและชุมชน อยางเต็มตามศักยภาพ - ครู ผูบริหาร และบุคลากรทางการศึกษาสวนใหญ มีคุณธรรม มีความพึงพอใจในการทำงาน และ ผูกพันกับงาน มีอัตราการออกจากงานและอัตราความผิดทางวินัยลดลง - หนวยงานที่ใหบริการทางการศึกษามีคุณภาพติดอันดับคุณภาพตามเกณฑระดับนานาชาติ มี สภาพแวดลอม อาคารสถานที่ และความปลอดภัยตามเกณฑ - มีการพัฒนาสื่อและการใหบริการเทคโนโลยีสื่อสารสารสนเทศทุกรูปแบบเพิ่มขึ้น ใหเอื้อตอการเรียนรู ดวยตนเองของคนไทยทุกคน ๒. ผลการบริหารที่สถานศึกษาเปนสำคัญ - ผูเรียน ครู ผูบริหาร ผูปกครอง และสมาชิกชุมชนสวนใหญมีความเต็มใจ ตั้งใจ มีสวนรวมปฏิบัติหนาที่ ของตน สงผลใหผูรับบริการ/ผูเกี่ยวของทุกกลุมมีความพึงพอใจตอการจัดบริการการศึกษา - ชุมชนซึ่งเปนที่ตั้งของหนวยงานที่ใหบริการการศึกษา สวนใหญ เปนสังคมแหงการเรียนรู มีความ ปลอดภัย ลดความขัดแยง มีสันติสุข และมีการพัฒนากาวหนาอยางตอเนื่อง - มีแนวโนมในการรวมตัวจัดตั้งองคกรอิสระ เพื่อสรางเกณฑมาตรฐานเฉพาะกลุม และติดตามการ ดำเนินงานของสถานศึกษา และหนวยงาน ตลอดจนการสั่งสมองคความรูที่หลากหลาย มาตรฐานที่ ๔ แนวนำสูการปฏิบัติ การสรางวิถีการเรียนรู แหลงเรียนรูใหเขมแข็ง และการใชมาตรฐานการศึกษา เพื่อใหการพัฒนา การศึกษาบรรลุผลตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ ควรตองมีแนวนำสูการปฏิบัติ ๓ ประการ ดังนี้ ๔.๑ การสรางวิถีการเรียนรูของคนไทยใหเขมแข็งในดานตอไปนี้ การสรางสำนึก ใหคนไทยเห็นคุณคา ของการศึกษา โดยการโฆษณา ประชาสัมพันธ และการสงเสริมการสรางชุมชนแหงการเรียนรู การสรางโอกาส การเรียนรู โดยการจัดสรรแหลงเรียนรู สงเสริมการเรียนรูที่หลากหลายทั้งในระบบ นอกระบบ และการเรียนรู ดวยตนเอง การสรางลักษณะชีวิต โดยการวางรากฐานนิสัยตั้งแตเด็กใหรักการอาน รักการคนควา สงเสริมให เรียนรูในสิ่งที่ตนเองชอบ การสรางกำไร ใหคนไทยสามารถนำสิ่งที่เรียนรูไปทำประโยชนตอชีวิต และสังคมได ๔.๒ การสรางความเขมแข็งใหแหลงเรียนรูและกลไกการเรียนรู ในระบบครอบครัว ชุมชน กลุมเพื่อน รวมวัย องคกร/สถาบันทางศาสนา แหลงอาชีพ สื่อมวลชน องคกรความรูในสังคม ระบบสถานศึกษา โดยให ความสำคัญกับการเรียนรูดวยตนเอง และการเรียนรูจากการวิจัยปฏิบัติการเปนเครื่องมือแสวงหาความรูใหม เปน เครื่องมือสืบทอดและผสมผสานความรูสากลกับภูมิปญญาไทย และเปนเครื่องมือพัฒนาคุณภาพของครู ผูบริหาร บุคลากรทางการศึกษา องคกรและสังคม ๔.๓ กระทรวงศึกษาธิการตองเปนผูนำในการใชมาตรฐานการศึกษาของชาติ จัดลำดับความสำคัญ ติดตามกำกับดูแลการปฏิบัติงานและประเมินผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐาน สื่อสารและเผยแพรใหผูเกี่ยวของรู และเขาใจบทบาทของมาตรฐานการศึกษา วางระบบการจัดทำมาตรฐานการศึกษาเปนสวนหนึ่งของระบบงาน พัฒนากลไกที่จะชวยพัฒนาใหกิจกรรมการดำเนินงานทั้งหมดมีมาตรฐานตามที่กำหนด
  • 19. 19 ตัวบงชี้ - มีการดำเนินงานเพื่อเสริมสรางวิถีการเรียนรูของคนไทยทุกวิถีทาง - มีการวิจัยศึกษาสรางเสริม และมีการสนับสนุนแหลงเรียนรู และกลไกการเรียนรูทุกประเภท - มีการปรับปรุงมาตรฐานการศึกษาชาติ ที่เชื่อมโยงระหวางภาคเศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง การศึกษา สอดคลองกับลำดับความสำคัญของความจำเปนเรงดวนในการพัฒนาสังคม และเหมาะสมทันกับความ เปลี่ยนแปลงของโลก - มีการจัดตั้ง และกำกับการดำเนินงาน ขององคกรที่รับผิดชอบประสานงานระหวางองคกร/หนวยงาน ที่เกี่ยวของ และสถานศึกษาทั้งหมด เพื่อพัฒนาปรับปรุง ติดตามกำกับ นโยบายการปฏิรูปการศึกษา ของนายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายการปฏิรูปการศึกษา ยุทธศาสตรชาติดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย ยุทธศาสตรชาติดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษยมีเปาหมายการพัฒนาที่สำคัญ เพื่อพัฒนาทุกมิติและทุกชวงวัยใหเปนคนดี เกงและมีคุณภาพ โดยที่คนไทยมีความพรอมทั้งทางรางกาย ใจ สติปญญา มีการพัฒนาที่ดีรอบดานและมีสุขภาวะที่ดีในทุกชวงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบตอสังคมและผูอื่น มัธยัสถ อดออม โอบออมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรมและเปนพลเมืองดีของชาติ มีหลักคิดที่ถูกตอง มีทักษะที่ จำเปนในศตวรรษที่ ๒๑ มีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาที่๓ และอนุรักษภาษาถิ่น มีนิสัยรักการเรียนรู และการพัฒนาตนเองตอเนื่องตลอดชีวิต สูการเปนคนไทยที่มีทักษะสูง เปนนวัตกร นักคิด ผูประกอบการ เกษตรกรยุคใหม และอื่นๆ โดยมีสัมมาชีพตามความถนัดของตนเอง ตัวชี้วัด ประกอบดวย ๑. การพัฒนาคุณภาพชีวิต สุขภาวะและความเปนอยูที่ดีของคนไทย ๒. ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิต และ ๓. การพัฒนาสังคมและครอบครัวไทย โดยประเด็นยุทธศาสตรชาติดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย ไดแก ๑. การปรับเปลี่ยนคานิยมและวัฒนธรรม มุงเนนใหสถาบันทางสังคมรวมปลูกฝงคานิยมและ วัฒนธรรมที่พึงประสงค โดย ๑) การปลูกฝงคานิยมและวัฒนธรรมผานการเลี้ยงดูในครอบครัว ๒) การบูรณาการเรื่องความซื่อสัตย วินัย คุณธรรม จริยธรรมในการจัดการเรียนการสอนใน สถานศึกษา ๓) การสรางความเขมแข็งในสถาบันศาสนา ๔) การปลูกฝงคานิยมและวัฒนธรรมโดยใชชุมชนเปนฐาน ๕) การสรางคานิยมและวัฒนธรรมที่พึงประสงคจากภาคธุรกิจ
  • 20. 20 ๖) การใชสื่อและสื่อสารมวลชนในการปลูกฝงคานิยมและวัฒนธรรมของคนไทยในสังคม ๗) การสงเสริมใหคนไทยมีจิตสาธารณะและมีความรับผิดชอบ ๒. การพัฒนาศักยภาพคนตลงอดชวงชีวิต มุงเนนการพัฒนาเชิงคุณภาพในทุกชวงวัย ประกอบดวย ๑) ชวงการตั้งครรภ/ปฐมวัย เนนการเตรียมความพรอมแกพอแมกอนการตั้งครรภ ๒) ชวงวัยเรียน/วัยรุน ปลูกฝงความเปนคนดี มีวินัยพัฒนาทักษะการเรียนรูที่สอดคลองกับ ศตวรรษที่ ๒๑ ๓) ชวงวัยแรงงาน ยกระดับศักยภาพ ทักษะและสมรรถนะแรงงานสอดคลองกับความ ตองการของตลาด และพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหกับประเทศไทย ๓. ปฏิรูปกระบวนการเรียนรูที่ตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ มุงเนนผูเรียนใหมี ทักษะการเรียนรูและมีใจใฝเรียนรูตลอดเวลา โดย ๑) การปรับเปลี่ยนระบบการเรียนรูใหเอื้อตอการพัฒนาทักษะสำหรับศตวรรษที่ ๒๑ ๒) การเปลี่ยนโฉมบทบาทครู ใหเปนครูยุคใหม ๓) การเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษาในทุกระดับทุกประเภท ๔) การพัฒนาระบบการเรียนรูตลอดชีวิต ๕) การสรางความตื่นตัวใหคนไทยตระหนักถึงบทบาท ความรับผิดชอบและการวางตำแหนง ของประเทศไทยในภูมิภาคเอเชียอาคเนยและประชาคมโลก ๖) การวางพื้นฐานระบบรับรองการเรียนรูโดยใชดิจิตทัลแฟลตฟอรม ๗) การสรางระบบการศึกษาเพื่อเปนเลิศทางวิชาการ ระดับนานาชาติ ๔. การตระหนักถึงพหุปญญาของมนุษยที่หลากหลาย โดย ๑) การพัฒนาและสงเสริมพหุปญญาผานครอบครัว ระบบสถานศึกษา สภาพแวดลอม รวมทั้งสื่อระดับปฐมวัย ๒) การสรางเสนทางอาชีพ สภาพแวดลอมสภาพแวดลอมการทำงานและระบบสนับสนุน ที่ เหมาะสมสำหรับผูมีความสามารถพิเศษผานกลไกลตางๆ ๓) การดึงดูดกลุมผูเชี่ยวชาญตางชาติและคนไทยที่มีความสามารถในตางประเทศใหมาสราง และพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรมใหกับประเทศ นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๒ วิสัยทัศน สรางคุณภาพทุนมนุษย สูสังคมอนาคตที่ยั่งยืน พันธกิจ ๑. จัดการศึกษาเพื่อเสริมสรางความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ๒. พัฒนาศักยภาพผูเรียนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันโดยพัฒนาคุณภาพผูเรียนใหมี ความรู ทักษะวิชาการ ทักษะชีวิต ทักษะวิชาชีพ คุณลักษณะในศตวรรษที่ ๒๑
  • 21. 21 ๓. สงเสริมการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาใหเปนมืออาชีพ ๔. สรางโอกาส ความเสมอภาคลดความเหลื่อมล้ำ ใหผูเรียนทุกคนไดรับบริการทางการศึกษาอยาง ทั่วถึงและเทาเทียม ๕. สงเสริมการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง และเปาหมายโลกเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ๖. พัฒนาระบบบริหารจัดการแบบบูรณาการ และสงเสริมใหทุกภาคสวนมีสวนรวมในการจัด การศึกษา เปาหมาย ๑. ผูเรียน เปนบุคคลแหงการเรียนรู คิดริเริ่มและสรางสรรคนวัตกรรม มีความรู มีทักษะ และคุณลักษณะของผูเรียนในศตวรรษที่ ๒๑ มีสุขภาวะที่เหมาะสมตามวัย มีความสามารถในการ พึ่งพาตนเอง และปรับตัวตอ เปนพลเมืองและพลโลกที่ดี ๒. ผูเรียนที่มีความตองการจำเปนพิเศษ กลุมชาติพันธุ กลุมผูดอยโอกาส และกลุมที่อยูในพื้นที่ หางไกลทุรกันดารไดรับการศึกษาอยางทั่วถึง เทาเทียม และมีคุณภาพ พรอมกาวสูสากล ตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓. ครูเปนผูเรียนรูมีจิตวิญญาณความเปนครูมีความแมนยำทางวิชาการ และมีทักษะการจัด การเรียนรูที่หลากหลายตอบสนองผูเรียนเปนรายบุคคล เปนผูสรางสรรคนวัตกรรม และ ทักษะในการใชเทคโนโลยี ๔. ผูบริหารสถานศึกษา มีความเปนเลิศสวนบุคคล คิดเชิงกลยุทธและนวัตกรรม มีภาวะผูนำทาง วิชาการ มีสำนึกความรับผิดชอบ (Accountability) และการบริหารแบบรวมมือ ๕. สถานศึกษา มีความเปนอิสระในการบริหารงานและจัดการเรียนรู รวมมือกับชุมชน ภาคเอกชน และผูเกี่ยวของในการจัดการศึกษาระดับพื้นที่ จัดสภาพแวดลอมในโรงเรียนเพื่อการเรียนรูใน ทุกมิติเปนโรงเรียนนวัตกรรม ๖. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มีการบริหารงานเชิงบูรณาการ เปนสำนักงานแหงนวัตกรรมยุค ใหมใชขอมูลสารสนเทศและการวิจัยและพัฒนาในการขับเคลื่อนคุณภาพ กำกับ ติดตาม ประเมินและรายงานผลอยางเปนระบบ ๗. สำนักงานสวนกลาง ปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมการทำงาน โดย กระจายอำนาจการบริหารงานและ การจัดการศึกษาใหสถานศึกษา บริหารเชิงบูรณาการ มีระบบขอมูลสารสนเทศที่มี ประสิทธิภาพ กำกับ ติดตาม ประเมินผล และการรายงานผลอยางเปนระบบ ใชวิจัยและ นวัตกรรมในการขับเคลื่อนคุณภาพ
  • 22. 22 นโยบาย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน นโยบายที่ ๑ จัดการศึกษาเพื่อความมั่นคง นโยบายที่ ๒ พัฒนาคุณภาพผูเรียน นโยบายที่ ๓ พัฒนาผูบริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา นโยบายที่ ๔ สรางโอกาสในการเขาถึงบริการการศึกษาที่มีคุณภาพ มีมาตรฐาน และลดความ เหลื่อมล้ำทางการศึกษา นโยบายที่ ๕ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ กลยุทธเชิงนโยบาย นโยบายที่ ๑ จัดการศึกษาเพื่อความมั่นคง ๑. บทนำ การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคง จะเนนการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผูเรียนในเขต พื้นที่พิเศษเฉพาะ ที่มีความยากลำบากในการบริหารจัดการ เชน การจัดศึกษาของสถานศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษ เฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต และการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสรางคุณภาพของประชากรวัยเรียนกลุมชาติพันธุ กลุมที่ดอยโอกาส และกลุมที่อยูในพื้นที่หางไกลทุรกันดาร เชน พื้นที่สูง ชายแดน ชายฝงทะเล และเกาะแกง เพื่อ สรางความมั่งคงของประเทศในระยะยาว ๒. เปาประสงค ๑. ผูเรียนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใตและเขตพื้นที่พิเศษเฉพาะ ไดรับการ บริการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีคุณภาพเหมาะสมกับสังคมพหุวัฒนธรรม ๒. เสริมสรางคุณภาพประชากรวัยเรียนกลุมชาติพันธุ กลุมที่ดอยโอกาส และกลุมที่อยูในพื้นที่ หางไกลสูงในถิ่นทุรกันดาร อาทิ พื้นที่สูง ชายแดน ชายฝงทะเล และเกาะแกง เพื่อสราง ความมั่งคงของประเทศในระยะยาว
  • 23. 23 ๓. ประเด็นกลยุทธ ๓.๑ พัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต ๓.๑.๑ ตัวชี้วัด ๑. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรูของผูเรียนสูงขึ้น ๒. รอยละของสถานศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต จัดการเรียนรูใหแกผูเรียนโดยการบูรณาการหลักสูตรใหสอดคลองกับสังคม วัฒนธรรม และภาษาของทองถิ่น ๓. ผูเรียนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใตไดรับบริการ การศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีคุณภาพ ๓.๑.๒ แนวทางการดำเนินการ ดำเนินการตามยุทธศาสตรการศึกษาเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) ของกระทรวงศึกษาธิการ ๖ ยุทธศาสตร ไดแก ๑. การศึกษาเพื่อเสริมสรางความมั่นคง ๒. การผลิตและพัฒนาก าลังคนใหมีสมรรถนะในการแขงขัน ๓. การพัฒนาศักยภาพคนทุกชวงวัยและการสรางสังคมแหงการเรียนรู ๔. การสรางโอกาสความเสมอภาคและเทาเทียมกันทางการศึกษา ๕. การศึกษาเพื่อเสริมสรางคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ๖. การพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษา ทั้งนี้ดำเนินการในลักษณะบูรณาการรวมกันของหนวยงานกระทรวงศึกษาธิการ และหนวยงาน ที่เกี่ยวของในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต ๓.๒ สงเสริมและสนับสนุนใหผูเรียนในเขตพื้นที่เฉพาะ กลุมชาติพันธุ กลุมที่ดอยโอกาส และกลุมที่อยู ในพื้นที่หางไกลทุรกันดาร เชน พื้นที่สูง ชายแดน ชายฝงทะเล และเกาะแกงไดรับการบริการดานการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ที่มีคุณภาพ และเหมาะสมตรงตามความตองการ ๓.๒.๑ ตัวชี้วัด ๑. จำนวนผูเรียนบ านไกลไดรับโอกาสท างการศึกษ าจากการไดเขาพักใน โรงเรียนที่มีหอพักนอน หรือการสนับสนุนการเดินทางจากบานถึงโรงเรียน อยางปลอดภัย ๒. จำนวนโรงเรียนไดรับการสนับสนุนงบประมาณเพื่อใชในการประกอบอาหาร การพัฒนาทักษะชีวิต และการพัฒนาสภาพหอพักนอนใหมีคุณภาพที่ดีอยาง เหมาะสม ๓. จำนวนผูเรียนไดรับการพัฒนาคุณภาพทั้งดานทักษะวิชาการ ทักษะชีวิต และทักษะอาชีพ ที่เหมาะสมกับบริบท