SlideShare a Scribd company logo
1 of 44
พื้นฐานทางชีววิทยาที่มีผลต่อพฤติกรรม
THE BIOLOGICAL OF BEHAVIOR
บทที่ 4
สมาชิกในกลุ่ม
นางสาวจุฑารัตน์ สุวรรณรัตน์ ผม.3/1 เลขที่3
นางสาวธีรารัตน์ จันทโร ผม.3/1 เลขที่26
นางสาวพรทิพา หนูเกิด ผม.3/1 เลขที่27
นางสาวปิยะพร ศรีสุวรรณ ผม.3/1 เลขที่28
นางสาวพิชชาพร มะอักษร ผม.3/2 เลขที่2
นางสาวภัทรภรณ์ ผ่องถวิล ผม.3/2 เลขที่4
นางสาววรรนิดา ศรีแก้ว ผม.3/2 เลขที่7
URBAN
PLANNING
ปั จจัยพื้นฐานทางชีววิทยา
ระบบต่างๆ ของร่างกาย
มนุษย์สามารถดารงชีวิตอยู่ได้นั้นเนื่องจากการที่มนุษย์มีระบบต่างๆ
ในร่างกายมีการทางานที่สัมพันธ์อย่างเป็นปกติ สาหรับการทางานทั้งหมดของ
ร่างกาย สามารถจาแนกได้ทั้งสิ้น 10 ระบบ ดังนี้
1. ระบบผิวหนัง (Intergumentary System)
ทำหน้ำที่ห่อหุ้มปกคลุมร่ำงกำย และเป็ น
ปรำกำรด่ำนแรกที่จะป้ องกันเชื้ อโรคไม่ให้
เข้ำสู่ร่ำงกำย ประกอบด้วยผิวหนัง (Skin)
และอวัยวะที่เปลี่ยนแปลงมำจำกผิวหนัง เช่น
ขน ผม เล็บ ต่อมเหงื่อ ต่อมน้ำมัน
ระบบต่างๆ ของร่างกาย
ปั จจัยพื้นฐานทางชีววิทยา
เซลล์เมลำโนไซต์เป็นตัวที่ผลิตเม็ดสีเมลำนิน (ทำให้เกิดสีผิว)
2. ระบบกล้ามเนื้อ (Muscular System) ทำหน้ำที่ช่วยทำให้ร่ำงกำยเกิดกำรเคลื่อนไหว ประกอบด้วย
กล้ำมเนื้ อเรียบ กล้ำมเนื้ อลำย และกล้ำมเนื้ อหัวใจ
3. ระบบโครงกระดูก (Skeletal System) ทำหน้ำที่ทำงำนร่วมกับระบบกล้ำมเนื้ อ เพื่อช่วยให้ร่ำงกำย
สำมำรถเคลื่อนไหวได้ นอกจำกนี้ ยังทำหน้ำที่เป็นโครงร่ำงของร่ำงกำย เป็นตัวกำหนดสัดส่วนของ
ร่ำงกำยบุคคลว่ำจะมีรูปร่ำงสูง ต่ำ เล็ก ใหญ่ อย่ำงไรบ้ำง
ระบบโครงกระดูกประกอบไปด้วยองค์ประกอบที่สำคัญ
1.กระดูกอ่อน (Cartilage)
2.ข้อต่อ (Joints)
3.เอ็น (Tendon)
4.กระดูก (Bone)
4. ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System) ทำหน้ำที่นำอำหำรและออกซิเจนไปเลี้ยงเซลล์ต่ำง ๆ ทั่ว
ร่ำงกำย และนำคำร์บอนไดออกไซด์กับของเสียจำกเซลล์มำขับทิ้ง นอกจำกนี้ ยังนำฮอร์โมนที่ผลิตได้
จำกต่อมไร้ท่อเพื่อส่งไปยังอวัยวะต่ำง ๆ ของร่ำงกำย
หัวใจ (heart)
ทำหน้ำที่สูบฉีดเลือดให้
ไหลไปตำมหลอดเลือดไป
ยังส่วนต่ำงๆของร่ำงกำย
แล้วไหลกลับคืนสู่หัวใจ
หัว ใ จ ป ร ะ ก อ บ ด้ว ย
กล้ำมเนื้ อพิเศษที่เรียกว่ำ
กล้ำมเนื้ อหัวใจ
5. ระบบหายใจ (Respiratory System) ทำหน้ำที่รับออกซิเจนจำกภำยนอกเข้ำสู่ร่ำงกำยและนำ
คำร์บอนไดออกไซด์จำกภำยในออกมำขับทิ้งสู่ภำยนอกร่ำงกำย โดยอำศัยระบบไหลเวียนโลหิตเป็น
ตัวกลำงในกำรลำเลียงแก๊ส
กระบวนการหายใจ
กำรหำยใจ คือ ระบบกำรระบำยอำกำศของร่ำงกำย
กล้ำมเนื้ อที่ทรวงอกและกะบังลมทำให้หน้ำอกขยำย เพื่อ
อำกำศจะได้เข้ำไปในปอด
6. ระบบขับถ่าย (Excretory System) ทำหน้ำที่ขับถ่ำยของเสียที่ร่ำงกำยไม่ต้องกำรให้ออกจำกร่ำงกำย
โครงสร้างของระบบขับถ่าย
ไตเป็นอวัยวะที่กรองของเสียเพื่อกำจัดของเสียออกจำกร่ำงกำย ไตของคนมี 1 คู่ อยู่ใน
ช่องท้องสองข้ำงของกระดูกสันหลังระดับเอว มีรูปร่ำงคล้ำยเมล็ดถั่ว ต่อจำกไตทั้งสองข้ำงมีท่อไตทำ
หน้ำที่ลำเลียงน้ำปัสสำวะจำกไตไปเก็บไว้ที่กระเพำะปัสสำวะ ก่อนจะขับถ่ำยออกมำนอกร่ำงกำยทำง
ท่อปัสสำวะเป็นน้ำปัสสำวะ
การกาจัดของเสียทางไต
การกาจัดของเสียทางลาไส้ใหญ่
การกาจัดของเสียทางปอดการกาจัดของเสียทางผิวหนัง
7.ระบบย่อยอาหาร (Digestive System) ทำหน้ำที่ย่อยสลำยอำหำรที่รับประทำนเข้ำไปให้เป็น
สำรอำหำร จะถูกย่อยจำกอวัยวะต่ำงๆจำกฟันลงสู่ลำไส้ กระเพำะอำหำรและดูดซึมเข้ำสู่กระแสเลือด
เพื่อไปเลี้ยงส่วนต่ำง ๆ ของร่ำงกำย
1.ต่อมน้ำลำย (Salivary Gland)
5.ตับอ่อน (Pancreas)
อวัยวะที่ช่วยย่อยอาหาร
2.กระเพำะอำหำร (Stomach)
3.ลำไส้เล็ก (Small Intestine)
4.ตับ (Liver)
8.ระบบประสาท (Nervous System) เป็นระบบที่ทำหน้ำที่ควบคุมกำรทำงำนของทุกระบบในร่ำงกำย
ให้สัมพันธ์กันโดยทำงำนร่วมกับระบบต่อมไร้ท่อนอกจำกนี้ ยังทำหน้ำที่รับและตอบสนองต่อสิ่งเร้ำ
ภำยนอก ประกอบด้วยสมอง ไขสันหลัง และเส้นประสำทต่ำงๆ
สมอง
ไขสันหลัง
เส้นประสาท
9.ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System) ทำหน้ำที่สืบทอด ดำรงและขยำยเผ่ำพันธุ์ ให้มีจำนวนมำกขึ้น
เพื่อไม่ให้สิ่งมีชีวิตสูญพันธุ์ ประกอบด้วยรังไข่ มดลูก อัณฑะ และอวัยวะเพศของทั้งสองเพศ
เพศชาย เพศหญิง
10.ระบบต่อมต่าง ๆ (glands System) ได้แก่ต่อมมีท่อและต่อมไร้ท่อ ทำหน้ำที่สร้ำงฮอร์โมน
(hormone) ซึ่งเป็นสำรเคมีและของเหลวโดยทำงำนร่วมกับระบบประสำทในกำรควบคุมปฏิกริยำกำร
เผำผลำญต่ำง ๆ ในร่ำงกำย
จะเห็นได้ว่ำระบบต่ำงๆของ
ร่ำงกำยมีควำมสัมพันธ์กันหมด ไม่มี
ระบบใดทำงำนแยกเป็นอิสระและอยู่ได้
ตำมลำพัง เช่น ระบบกำรหำยใจกับ
ระบบหมุนเวียนโลหิต เช่น ในขณะที่เรำ
วิ่งออกกำลังกำย ระบบกำรหำยใจจะ
หำยใจเอำออกซิเจนเข้ำไปในร่ำงกำย
เพื่อฟอกโลหิตดำให้กลำยเป็นโลหิตแดง
เพื่อนำไปเลี้ยงเซลล์ กำรหำยใจของ
มนุษย์ที่เร็วและแรงขึ้นหัวใจจะทำงำน
หนักขึ้น ขณะเดียวกันระบบกล้ำมเนื้ อ
และโครงกระดูกทำหน้ำที่ในกำร
เคลื่อนไหว ระบบกำรขับของเสียก็จะขับ
เหงื่อและเกลือออกจำกร่ำงกำยไป
พร้อมๆกัน
ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
1.ระบบกล้ามเนื้อลาย
2.กล้ามเนื้อเรียบ
3.กล้ามเนื้อหัวใจ
1. ระบบกล้ามเนื้อ(MUSCLE SYSTEM)
1.ระบบกล้ามเนื้อลาย
ประกอบด้วยเซลล์ที่มีลักษณะคล้ำยเส้นใยยำวๆ คล้ำยเส้นด้ำยวำงเรียงขนำนกันไป
ตำมควำมยำวเป็นลำย ในผู้ใหญ่จะมีกล้ำมเนื้ อลำยถึง40%ของน้ำหนักตัว เซลล์เหล่ำนี้ รวมกัน
เป็นมัดของกล้ำมเนื้ อมีเอ็นยึดติดทำให้กล้ำมเนื้ อติดต่อกันเมื่อกล้ำมเนื้อหดตัวจะทำให้อวัยวะ
เคลื่อนไหว กล้ำมเนื้ อลำยทำงำนตำมประสำทส่วนกลำง ซึ่งได้แก่ สมองและไขสันหลัง
กล้ำมเนื้ อลำย เป็นกล้ำมเนื้ อที่ประกอบเป็น
โครงสร้ำงส่วนใหญ่ของร่ำงกำย พบได้ทั่วไปที่ใต้
ผิวหนัง เป็นเปลือกห่อหุ้มร่ำงกำย เช่น กล้ำมเนื้ อที่
หน้ำ คอ แขน และมือ เป็นต้น
2.กล้ามเนื้อเรียบ
ประกอบด้วยเซลล์ที่มีลักษณะคล้ำยกระสวย
ท้อผ้ำ คือ หัวท้ำยแหลม แต่ตรงกลำงโป่งออก มีเส้นใย
เล็ก ทอดไปตำมยำวประสำนกันเรียบสนิทจนเป็นเนื้อ
แผ่นเดียวกัน เป็นกล้ำมเนื้ อของอวัยวะภำยในของ
ร่ำงกำย เช่น ลำไส้ กระเพำะอำหำร กระเพำะปัสสำวะ
หลอดลม และอวัยวะสืบพันธุ์
3.กล้ามเนื้อหัวใจ
เป็นกล้ำมเนื้ อที่หัวใจ มีลักษณะเหมือนทั้ง
กล้ำมเนื้ อลำยและกล้ำมเนื้ อเรียบ คือมีเส้นใยเรียบกับ
ลักษณะเป็นลำยเหมือนกล้ำมเนื้ อลำยแต่ทำงำนด้วยตัวเอง
เป็นอิสระไม่อยู่ภำยใต้คำสั่งของระบบประสำทส่วนกลำง
เหมือนกล้ำมเนื้ อเรียบ กล้ำมเนื้ อหัวใจจะหดตัวและ
ขยำยตัวในเวลำสูบฉีดโลหิตตั้งแต่เกิดจนตำยถ้ำกล้ำมเนื้ อ
หัวใจชำรุดทำให้เกิดกำรเจ็บป่วยได้
1. ต่อมมีท่อ (Duct gland) คือ ต่อมที่ผลิตสำรเคมีที่เป็นของเหลวออกมำตำมท่อ
ขนำดเล็ก ส่งผ่ำนไปส่วนต่ำงๆ ของร่ำงกำย หรือส่งผ่ำนออกไปนอกร่ำงกำยได้ มีหลำยต่อม
แต่ละต่อมทำหน้ำที่ผลิตสำรต่ำงชนิดกัน ได้แก่
1.2 ต่อมเหงื่อ (Sweet gland) มีหน้ำที่ขับเหงื่อ
จำกร่ำงกำยให้มีอุณหภูมิในระดับปกติ
1.1 ต่อมน้ำลำย (Salivary gland) อยู่ในปำกใต้ลิ้น
มีหน้ำที่ขับน้ำลำยเพื่อย่อยอำหำรในปำก
2.ระบบต่อม(Glands Systdem)
1.3 ต่อมน้ำตำ (Tear gland) ต่อมนี้ อยู่ที่ขอบตำมีหน้ำที่
สร้ำงต่อมน้ำตำออกมำหล่อเลี้ยงชะล้ำงนัยน์ตำให้สะอำด
1.5 ต่อมน้ำนม (Mammary gland) มีเฉพำะใน
เพศหญิงช่วยสร้ำงน้ำนมขณะมีลูกอ่อน
1.4 ต่อมน้ำมันใต้ผิวหนัง
(Sebaceous gland) มี
หน้ำที่ผลิตน้ำมันออกมำ
หล่อเลี้ยงผม ขน ผิวหนัง
ไม่ให้แห้งและเปรำะง่ำย
2.ต่อมไร้ท่อ (Ductless glands Endocrine glands) เป็นต่อมไม่มีท่อผลิตสำรเคมีเพื่อส่งผ่ำนไป
ตำมกระแสโลหิตไปยังส่วนต่ำงๆ ของร่ำงกำย สำรเคมีที่ต่อมไร้ท่อผลิตออกมำเรียกว่ำ ฮอร์โมน
(Hormone) ซึ่งมีผลต่อกำรเจริญเติบโต พฤติกรรม และบุคลิกภำพของมนุษย์ ต่อมไรท่อมี
ดังต่อไปนี้
2. ต่อมพาราไทรอยด์ (Parathyroid gland )
ต่อมนี้ มีลักษณะเป็นเนื้ อเยื่อขนำด
เท่ำเมล็ดถั่วเขียว อยู่ในไทรอยด์ข้ำงล่ะ 2
ต่อม เป็นต่อมที่มีเฉพำะในสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ
สัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง และสัตว์เลี้ยงลูกด้วย
นม
1.ต่อมไทรอยด์ (Thyroidgland)
เป็นต่อมอยู่ข้ำงหลอดลมใกล้ลูกกระเดือก
ในคนต่อมทั้ง 2 ข้ำง จะเชื่อมติดต่อกันด้วยเยื่อแถบ
เป็นคอคอดทำงด้ำนหน้ำหลอดลม
3.ต่อมไทมัส (Thymus gland)
หรือต่อมขั้วปอด มีลักษณะ
เป็น 2 พูติดต่อกัน มีลักษณะอ่อนนุ่มที่
ขั้วหัวใจระหว่ำงปอดทั้ง 2 ข้ำง ผลิต
ฮอร์โมนชื่อ ไทโมวิดิน หรือ ไทโมซิน 4.ต่อมไพเนียล (Pineal glan )
หรือต่อมเหนือสมอง เป็นต่อม
เล็กๆรูปไข่ หรือรูปกรวย คล้ำย ๆ เมล็ดสน
(pine cone) อยู่ตรงกลำงสมองด้ำนบน
1. อินซูลิน ทำหน้ำที่กระตุ้นอำหำรจำพวก
คำร์โบไฮเดรท น้ำตำลกลูโคสในเลือดให้
สลำยเป็นพลังงำน กระตุ้นให้ตับเปลี่ยน
น้ำตำลในเลือดเป็นไกลโครเจนเพื่อควบคุม
ระดับน้ำตำลในเลือดให้อยู่ในระดับสมดุล
ควบคุมกำรใช้ไขมันและโปรตีนในร่ำงกำย
ให้เป็นประโยชน์
2. กลูคากอน ทำหน้ำที่ตรงข้ำมกับอินซูลินคือ
เพิ่มปริมำณกลูโคสในเลือด ดังนั้นจึงใช้
กลูคำกอนช่วยรักษำคนที่มีน้ำตำลในเลือด
ต่ำ
5 .ต่อมแพนครีส (Pancreas gland)
เป็นกลุ่มเซลล์กระจำยแทรก
อยู่ในเนื้ อตับอ่อน สร้ำงฮอร์โมน 2 ชนิด
คือ
6.ต่อมหมวกไต(Adrerenal gland)
ต่อมนี้ สำคัญโดยถ้ำตัดทิ้งไปจะเสียชีวิตใน1
วัน ถ้ำกำรทำงำนของต่อมช้ำลงพฤติกรรมของเจ้ำของจะ
ช้ำตำม และอ่อนแอ สุขภำพจะเสื่อมโทรม ถ้ำกำรทำงำน
ของต่อมมำกไปตั้งแต่วัยเด็กก็จะดูแก่เกินวัย เสียงห้ำว มี
หนวดเครำเต็มไปหมด อวัยวะเพศก็จะใหญ่เท่ำผู้ใหญ่
7.ต่อมเพศ(Gonad gland)
ทำหน้ำที่สร้ำงฮอร์โมน ซึ่งไม่เพียงแต่เกี่ยวข้องกับแรงจูงใจทำงเพศ หรือพฤติกรรม
ทำงเพศเท่ำนั้น แต่ยังเกี่ยวข้องกับกำรพัฒนำกำรของลักษณะทำงเพศ ชั้นที่ 2 หรือที่เรียกว่ำ
ลักษณะทุติยภูมิทำงเพศ ต่อมเพศหญิงในชำยกับหญิงจะแยกกันอยู่ ในชำยอยู่ที่ลูกอัณฑะ ส่วน
ในหญิงอยู่ที่รังไข่
1.อัณฑะ
ฮอร์โมนเพศชำยสร้ำงมำจำกอัณฑะ (Testis) ภำยในอัณฑะมีกลุ่มเซลล์ซึ่งทำหน้ำที่ในกำร
สร้ำงฮอร์โมน คือ อินเตอร์สติเชียลเซลล์ออฟเลย์ติก อยู่ระหว่ำงหลอดสร้ำงอสุจิ เมื่อเซลล์นี้ ถูกกระตุ้นโดย
ICSH หรือLH จำกต่อมใต้สมองส่วนหน้ำ จะสร้ำงฮอร์โมนเพศชำยที่เรียกว่ำ แอนโดรเจน (Androgen) ตัว
ที่สำคัญที่สุด คือ เทสโทสเตอโรน (Testosterone) มีหน้ำที่ควบคุมกำรเจริญเติบโตของ อวัยวะสืบพันธุ์
และควบคุมลักษณะชั้นที่สองของเพศชำย
2.รังไข่
มีหน้ำที่สำคัญ 2 อย่ำงคือ สร้ำงไข่ และสร้ำงฮอร์โมนเซลล์ทำหน้ำที่สร้ำงฮอร์โมนที่มี
ชื่อว่ำ คอร์ปัส ลูเทียม ฮอร์โมนที่สร้ำงขึ้น คือ เอสโตรเจน เอสโตรเจนทำหน้ำที่ควบคุมลักษณะ
ทุติยภูมิเพศในหญิง ควบคุมกำรมีประจำเดือนร่วมกับโปรเจสเตอโรน
3.โปรเจสเตอโรน
มีหน้ำที่ควบคุมเยื่อชั้นใน
ของมดลูก ทำให้มีกำรเตรียมตัวเพื่อรอ
รับกำรฝังตัวของไข่ที่ถูกผสมแล้ว ทำให้
ต่อมน้ำนมเจริญเติบโต และขยำยตัวแต่
ไม่กระตุ้นให้สร้ำงน้ำนม ทำหน้ำที่
ร่วมกับเอสโตรเจน
8. ต่อมใต้สมอง(Pituitary gland)
เป็นต่อมอยู่ฐำนสมองด้ำนซ้ำย ใกล้กับโฮโปทัลลำมัส มีลักษณะเป็นก้อนเนื้ อสีชมพู-
แดงขนำดเท่ำเม็ดถั่ว เป็นต่อมไร้ท่อที่สำคัญที่สุด เพรำะฮอร์โมนที่สร้ำงขึ้ น จะทำหน้ำที่ควบคุม
กำรสร้ำงฮอร์โมนของต่อมไร้ท่อในร่ำงกำย แบ่งออกได้เป็น
-ต่อมใต้สมองส่วนหน้า
-ต่อมใต้สมองส่วนกลาง
-ต่อมใต้สมองส่วนหลัง
1.ต่อมใต้สมองส่วนหน้า
เซลล์ของต่อมใต้สมองส่วนหน้ำ
จะสร้ำงฮอร์โมนได้ต้องถูกกระตุ้นจำก
ฮอร์โมนประสำทหรือรีลีสซิ่งฮอร์โมน ที่
สร้ำงจำกนิวโรซีครีทอรีเซลล์ ที่มีตัวเซลล์อยู่
ที่สมองส่วนไฮโพทำลำมัสเสียก่อน ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า
1.อะดรีโนคอร์ติโคโทรฟริกฮอร์โมน
(adrenocorticotrophic hormone)เรียกย่อว่ำ ACTH
2.ไทรอยด์ สติมูเลติงฮอร์โมน
(thyroid stimulating hormone) เรียกย่อว่ำ TSH
3.ลูทิไนซิง ฮอร์โมน
(luteinizing hormone) เรียกย่อว่ำ LH
4.ฟอลลิเคิลสติมิวเลติงฮอร์โมน
(follicle stimulating hormone)เรียกย่อว่ำ FSH
5.โกรทฮอร์โมน
(growth hormone) เรียกย่อว่ำ GH
6.โพรแลกทิน
(prolactin) เรียกย่อว่ำ PRL
2.ต่อมใต้สมองส่วนกลาง
จะมีควำมสำคัญและหน้ำที่เด่นชัดเฉพำะใน
สัตว์ที่มีกระดูกสันหลังบำงชนิดเท่ำนั้น โดยทำหน้ำที่
ผลิตและหลั่งเมลำโนไซต์สติมิวเลติงฮอร์โมนควบคุม
กำรกระจำยของเม็ดรงควัตถุในเซลล์ที่ผิวหนัง ทำให้
ผิวหนังมีสีเข้มขึ้น เพื่อเปลี่ยนสีผิวให้เข้ำกับสิ่งแวดล้อม
ในสัตว์เลื้อยคลำน
ในสัตว์จำพวกปลำ สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำและสัตว์เลื้อยคลำนบำงชนิดสำมำรถ
เปลี่ยนสีผิวให้เข้ำกับสภำพแวดล้อมเพื่อกำรพรำงตัวได้อย่ำงรวดเร็วกำรเปลี่ยนสีผิว
ดังกล่ำวเกิดจำกกำรกระจำยตัวของเมลำนินภำยในเมลำโนไซต์
3.ต่อมใต้สมองส่วนหลัง
เป็นเนื้ อเยื่อประสำทที่เคลื่อนตัวลงมำในระหว่ำงกำรเจริญเติบโตในระยะเอ็นบริโอ
ดังนั้นจึงประกอบด้วยเส้นประสำทที่มำจำกเซลล์ประสำทในสมองส่วนไฮโพทำลำมัส
ฮอร์โมนที่สาคัญในต่อมใต้สมอง
คือ
- วำโซเพรสซิน (vasopressin)
- ออกซิโทซิน (oxytocin)
ระบบประสาท เป็นระบบที่สำคัญที่สุดในร่ำงกำยในกำรรับรู้และกำรแสดงพฤติกรรมเป็น
ระบบอวัยวะภำยในที่คอยควบคุมกลไกทั้งหมดของปฏิกิริยำภำยในร่ำงกำย ได้แก่ กำรเต้นของหัวใจ กำร
หำยใจ สภำพกำรหมุนเวียนของโลหิต กล้ำมเนื้ อต่ำงๆ กำรเคลื่อนไหว ตลอดจนกำรหลั่ง หรือกำรผลิต
สำรเคมีที่มีหน้ำที่เกี่ยวกับกำรสั่งงำน กำรติดต่อเชื่อมโยงกับสิ่งแวดล้อม กำรรับส่งต่ำงๆ
3.ระบบประสาท(NERVOUS SYSTEM)
การจัดแบ่งระบบประสาทแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ
1.ระบบประสาทส่วนกลาง (Central nervous system,CNS)
2.ระบบประสาทส่วนปลาย(Peripheral nervous system,PNS)
1.ระบบประสาทส่วนกลาง (Central nervous system,CNS)
ประกอบด้วยสมองและไขสันหลังทำหน้ำที่เป็นศูนย์ควบคุมกำร
ทำงำนของระบบต่ำงๆในร่ำงกำยมีใยประสำทแผ่กระจำยไปทั่วร่ำงกำย เซลล์
ประสำทเหล่ำนี้ จะติดต่อกับอวัยวะสัมผัสและอวัยวะมอเตอร์
1.1สมอง (Brain) คือ ศูนย์สั่งงำนของระบบ
ประสำท บรรจุอยู่ภำยในกะโหลกศีรษะ
ประกอบด้วยเนื้ อเยื่อเป็นรอยย่นๆ เนื้ อส่วนนอก
เป็นสีเทำ เนื้ อส่วนในเป็นสีขำว แบ่งเป็นสมอง
ส่วนหน้ำ สมองส่วนกลำง และสมองส่วนหลัง
1) สมองส่วนหน้า (Forebrain)
ประกอบด้วยส่วนสำคัญ คือ
เซเรบรัม (Cerebrum)
ทัลลำมัส(Thalamus)
ไฮโปทัลลำมัส (Hypothalamus)
คอร์ปัส แคลโลซัม (Corpus Callosum)
2)สมองส่วนกลาง(Midbrain)
เป็นสมองที่อยู่ระหว่ำงสมองส่วนหน้ำ
และส่วนหลัง ประกอบด้วยเส้นประสำทที่
เชื่อมต่อกับเซเรบรัม
3)สมองส่วนหลัง (Hindbrain)
ประกอบด้วยส่วนสำคัญ คือ
เซเรเบลลัม หรือ สมองเล็ก (Cerebellum)
พอนส์(pons)
เมดุลลำ (Medulla)
เรติคิวลำร์ ฟอร์เมชั่น (Reticular Fornmation)
1.2ไขสันหลัง (Spinal Cord)
เป็นโครงกระดูกอยู่ภำยนอกตำมแนวของลำตัวเป็นสันยำวจำกคอถึงก้นกบ ดูด้ำนหลังตัว
คนจะพอเห็นลำงๆ เป็นส่วนที่ต่อก้ำนสมอง ไขสันหลังมีลักษณะคล้ำยสมองคือมีสีเทำแต่เหลวกว่ำ
สมอง เรียกว่ำ น้ำไขสันหลัง มีเส้นประสำทเชื่อมโยงไปยังส่วนต่ำงๆ ของร่ำงกำย ทำหน้ำที่ 2
ประกำรคือ
2.1 รับควำมรู้สึกจำกอวัยวะสัมผัส
2.2 เป็นศูนย์กลำงของกำรเกิดปฏิกิริยำสะท้อน
2.ระบบประสาทส่วนปลาย
ประกอบด้วย เส้นประสำทสมอง เส้นประสำทไขสันหลัง แบ่งออกเป็นระบบรับ
(Afferent system) และระบบส่ง (Efferent system) ระบบรับจะทำหน้ำที่รับควำมรู้สึกจำก
อวัยวะรับควำมรู้สึกที่อยู่ตำมร่ำงกำย แล้วส่งไปยังระบบประสำทส่วนกลำง ระบบส่ง ทำหน้ำที่ส่ง
คำสั่งระบบประสำทส่วนกลำงไปยังกล้ำมเนื้ อและต่อมต่ำงๆ ซึ่งเป็นอวัยวะรับควำมรู้สึก
ระบบส่งแบ่งเป็น
1.ระบบประสาทอัตโนมัติ (ANS)
2.ระบบประสาทโซมาติก (SNS)
1.ระบบประสาทอัตโนมัติ (ANS)
ประกอบด้วยเส้นประสำทเป็นชุดๆ ซึ่งส่วนใหญ่ส่งกระแสประสำทไปกระตุ้นกล้ำมเนื้ อ
เรียบและต่อมรวมทั้งบำงส่วนของหัวใจ โดยทำหน้ำที่เป็นระบบสั่งงำน มีบทบำทสำคัญในกำร
เกิดปฏิกิริยำทำงอำรมณ์ เช่น กำรเต้นของหัวใจ กำรบีบตัวของลำไส้ กำรย่อยอำหำร ทำหน้ำที่
ควบคุมกำรทำงำนของอวัยวะภำยในของร่ำงกำย ระบบประสำทอัตโนมัติแบ่งออกเป็น 2 ระบบย่อย
คือ ระบบประสาทซิมพาเธติก และ ระบบประสาทพาราซิมพาเธติก
2.ระบบประสาทโซมาติก (SNS)
เป็นระบบประสำทที่ควบคุมกำรทำงำนของกล้ำมเนื้ อลำยได้แก่ เส้นประสำทสมอง และ
เส้นประสำทไขสันหลังซึ่งมีใยประสำทนำคำสั่งไปควบคุมกล้ำมเนื้ อลำยกำรตอบสนองสิ่งเร้ำที่มำ
กระตุ้น เช่น กำรกระตุกขำเมื่อเคำะหัวเข่ำจะเกิดขึ้นเองโดยอัตโนมัติ เรียกว่ำ รีเฟล็กซ์ กิริยำอำกำร
ที่แสดงออกมำเมื่อมีสิ่งเร้ำมำกระตุ้นในระยะเวลำสั้น ๆ เรียกว่ำ รีเฟล็กซ์แอกชัน เป็นกำตอบสนอง
ของหน่วยปฏิบัติงำนที่เกิดขึ้นในทันทีทันใด โดยไม่มีกำรเตรียมตัวไว้ล่วงหน้ำ เป็นกำรสั่งกำรของไข
สันหลัง โดยไม่ต้องอำศัยคำสั่งจำกสมอง
เซลล์ประสาท(nerve cell หรือ neuron)
เป็นหน่วยโครงสร้ำงที่ทำหน้ำที่เฉพำะในระบบประสำท คือ กำรนำกระแสประสำท
ประกอบด้วยเซลล์ (cell body) และแขนงที่ออกจำกตัวเซลล์ ได้แก่ เดนไดรท์ (dendrites)และ
แอกซอน (axon)
เส้นประสาท (Nerve)
เป็นกลุ่มของเส้นใยจำนวนมำกซึ่งมำจำกเซลล์ประสำทหลำยตัวรวมกลุ่มเข้ำกันเป็น
มัด เส้นประสำทอำจเป็นมัดของแอกซอน หรือเดนไดรท์ หรือทั้ง 2 อย่ำง รวมกัน เส้นประสำท
แบ่งได้ตำมลักษณะกำรทำงำนได้ 3 ประเภทคือ
1.เส้นประสาทรับความรู้สึก (sensory nerve)
ทำหน้ำที่รับควำมรู้สึกจำกผิวหนังหรือ
ส่วนอื่นๆ เพื่อรำยงำนไปยังสมองหรือไขสันหลัง
2.เส้นประสาทยนต์ (motor nerve)
ทำหน้ำที่จำกสมองหรือไขสันหลังส่งไป
ให้อวัยวะต่ำงๆ
3.เส้นประสาทเชื่อมโยง(association nerve )
ทำหน้ำที่เชื่อมโยงระหว่ำงประสำทรับ
ควำมรู้สึกและประสำทยนต์หรือทำหน้ำที่
เชื่อมโยงระหว่ำงเซลล์และประสำทอื่น
ระบบต่อม
ไร้ท่อ
ระบบ
กล้ามเนื้อ
ระบบ
ประสาท
สรุป

More Related Content

What's hot

อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาPinutchaya Nakchumroon
 
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอกโครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอกRatarporn Ritmaha
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมฟลุ๊ค ลำพูน
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจPinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์sirieiei
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the rootThanyamon Chat.
 
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอกบท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอกWichai Likitponrak
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์feeonameray
 
ชั้นบรรยากาศ
ชั้นบรรยากาศชั้นบรรยากาศ
ชั้นบรรยากาศkrupornpana55
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจพัน พัน
 

What's hot (20)

อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
Kingdom animal
Kingdom animalKingdom animal
Kingdom animal
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตา
 
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอกโครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
 
Animal55
Animal55Animal55
Animal55
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
Cell
CellCell
Cell
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the root
 
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอกบท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
ชั้นบรรยากาศ
ชั้นบรรยากาศชั้นบรรยากาศ
ชั้นบรรยากาศ
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
01เอกสารสอนเสริม01 16
01เอกสารสอนเสริม01 1601เอกสารสอนเสริม01 16
01เอกสารสอนเสริม01 16
 
Kingdom protista
Kingdom protistaKingdom protista
Kingdom protista
 

Viewers also liked

รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1
รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1
รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1ประกายทิพย์ แซ่กี่
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2Kobchai Khamboonruang
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยาkaewcomedu
 
ชนิดของกล้ามเนื้อ
ชนิดของกล้ามเนื้อชนิดของกล้ามเนื้อ
ชนิดของกล้ามเนื้อSarawut Fnp
 
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาAngkana Chongjarearn
 
Facial muscles
Facial musclesFacial muscles
Facial musclesLisalou82
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตพัน พัน
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตTa Lattapol
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemkasidid20309
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญsukanya petin
 
skeletal system
skeletal systemskeletal system
skeletal systemRungsaritS
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)Aom S
 
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemsupreechafkk
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาประกายทิพย์ แซ่กี่
 

Viewers also liked (20)

รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1
รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1
รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยา
 
vbvb
vbvbvbvb
vbvb
 
อินเดีย
อินเดียอินเดีย
อินเดีย
 
ชนิดของกล้ามเนื้อ
ชนิดของกล้ามเนื้อชนิดของกล้ามเนื้อ
ชนิดของกล้ามเนื้อ
 
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
 
Facial muscles
Facial musclesFacial muscles
Facial muscles
 
ชุดการสอนที่ 7 ต่อมไทมัสและเนื้อเยื่ออื่นๆ
ชุดการสอนที่ 7 ต่อมไทมัสและเนื้อเยื่ออื่นๆ ชุดการสอนที่ 7 ต่อมไทมัสและเนื้อเยื่ออื่นๆ
ชุดการสอนที่ 7 ต่อมไทมัสและเนื้อเยื่ออื่นๆ
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
 
ระบบกระดูก
ระบบกระดูกระบบกระดูก
ระบบกระดูก
 
skeletal system
skeletal systemskeletal system
skeletal system
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
 
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
 
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
แนวข้อสอบ  100  ข้อแนวข้อสอบ  100  ข้อ
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 

Similar to ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม

ชีวิตและกฏธรรมชาติของ
ชีวิตและกฏธรรมชาติของชีวิตและกฏธรรมชาติของ
ชีวิตและกฏธรรมชาติของบรรพต แคไธสง
 
บทที่3 Basic Of Physiological
บทที่3  Basic Of  Physiologicalบทที่3  Basic Of  Physiological
บทที่3 Basic Of PhysiologicalTuk Diving
 
รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์dnavaroj
 
Animal kingdom
Animal kingdomAnimal kingdom
Animal kingdomIssara Mo
 
Animal kingdom
Animal kingdomAnimal kingdom
Animal kingdomIssara Mo
 
โครงงานคอม การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
โครงงานคอม   การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตโครงงานคอม   การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
โครงงานคอม การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตPathitta Satethakit
 
ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)พัน พัน
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาkrulam007
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาkrulam007
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์Pattiya Lasutti
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งWichai Likitponrak
 
เล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newเล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newsavong0
 
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)kookoon11
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงาน
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงานพื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงาน
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงานNichakorn Sengsui
 

Similar to ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม (20)

ชีวิตและกฏธรรมชาติของ
ชีวิตและกฏธรรมชาติของชีวิตและกฏธรรมชาติของ
ชีวิตและกฏธรรมชาติของ
 
บทที่3 Basic Of Physiological
บทที่3  Basic Of  Physiologicalบทที่3  Basic Of  Physiological
บทที่3 Basic Of Physiological
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์
 
Body system
Body systemBody system
Body system
 
Animal tissue
Animal tissueAnimal tissue
Animal tissue
 
Animal kingdom
Animal kingdomAnimal kingdom
Animal kingdom
 
Animal kingdom
Animal kingdomAnimal kingdom
Animal kingdom
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
โครงงานคอม การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
โครงงานคอม   การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตโครงงานคอม   การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
โครงงานคอม การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
Kingdom
KingdomKingdom
Kingdom
 
ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
 
เล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newเล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย New
 
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงาน
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงานพื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงาน
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงาน
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 

ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม